เผยแพรวันที่ 10 กรกฎาคม 2558 การสงกลับชาวมุสลิม อุยกูร จำนวนกวา 90 คน ไปโดยไมสมัครใจ เปนการขัดกฎหมายระหวางประเทศ เมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม 2558 พ.อ.วีร ชน สุคนธปฏิภาค รองโฆษกประจำสักนักนายกรัฐมนตรี ไดแถลงขาว อย่างเปนทางการภายหลังเกิดเหตุประชาชนในประเทศตุร กีทำการประทวงและทำลายทรัพยสินของสถานกงสุล ไทยในกรุงอิสตัลบูล ประเทศตุร กี สืบเนื่องมาจากความไมพอใจที่ทางการไทยสงผูอพยพชาวอุยกูร จำนวนกวา 90 คน ไปยังประเทศจีน นอกจากนี้ยังมีองคกรดานสิทธิม นุษยชนระหวางประเทศ เจาหนาที่สถานฑูตตางประเทศ จำนวนหลายแหง รวมทั้งสำนักขาหลวงใหญผูลี้ภัยแหงสหประชาชาติ (UNHCR) ไดติดตามและสอบถามเจาหนาที่ ของไทยถึงกระบวนการสงกลับชาวอุยกูร ดังกลาว แมทางตัวแทนรัฐบาลไทยจะยืนยันการตัดใจและการกระทำดังกลาวเปนไปตามหลักมนุษยธรรม และ หลักสากล แตองคกรดานสิทธิม นุษยชนระหวางประเทศและ UNHCR เห็นวากระบวนการสงกลับชาวอุยกูร นั้น ขัด ตอกฎหมายระหวางประเทศอยางชัดเจน โดยเฉพาะในหลักการไมผลักดันกลับไปสูความไมปลอดภัย (NonRefoulement) อันเปนหลักการสำคัญในการปกปองคุม ครองสิทธิม นุษยชน โดย UNHCR ยังไดแถลงวา “ตกใจ” กับการกระทำดังกลาวของรัฐบาลไทยและเรียกรองใหร ัฐบาลไทยทำการสอบสวนเรื่องดังกลาวที่เกิดขึ้น นอกจากนี้ ยังมีร ายขาวระบุอยางชัดเจนวาชาวมุสลิม อุยกูร ม ีความประสงคจะเดินทางไปประเทศตุร กีซึ่งทางประเทศตุร กีเอง ยินดีร ับชาวอุยกูร ทั้งหมด เครือขายประชากรขามชาติและองคกรทายแถลงการณฉบับนี้ มีความกังวลตอสถานการณที่เกิดขึ้น แมวาที่ผานมาประเทศไทยจะยืนยันวาไดดำเนินการใหม ีการพิสูจนสัญชาติโดยตัวแทนจากทั้งประเทศตุร กีและ ประเทศจีน แตดังที่ทราบกันดีวา สถานการณภายในพื้นที่บางสวนของประเทศจีนยังคงมีปญหาความขัดแยง ระหวางชนชาติอุยกูร และรัฐบาลจีน ทำใหชาวมุสลิม จำนวนหลายรายตองหนีภัยประหัติประหารออกจากพื้นที่ ความขัดแยง การตัดสินใจผลักดันกลับชาวมุสลิม ไปยังประเทศจีนโดยไมสมัครใจและไมตระหนักถึงการตองเผ ชิญกับภัยประหัตประหาร หรือมีความเสี่ยงตอชีวิตหรือเสรีภาพของผูถูกผลักดันกลับ จึงเปนการละเมิดหลักการ หามผลักดันไปเผชิญอันตราย (Non-Refoulement) ซึ่งเปนกฎหมายจารีตประเพณีร ะหวางประเทศ (Customary international law) ที่ผูกพันรัฐไทย แมวาประเทศไทยไมไดเปนผูร ับอนุสัญญาผูลี้ภัยก็ตาม นอกจากนี้ การสงตัว ชาวอุยกูร จำนวนกวา 90 รายแกประเทศจีน มีความเปนไปไดวากลุม คนดังกลาวอาจไดร ับการตั้งขอหาที่ร ายแรง โดยไมเปนธรรม โดยปราศจากกระบวนการเฝาระวังตอการดำเนินกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของประเทศจีน โดยองคกรอิสระภายนอก จากสถานการณที่เกิดขึ้นดังกลาว ทางเครือขายฯ และองคกรทายแถลงการณนี้ ขอประนามกระบวนสง กลับดังกลาวของรัฐบาลไทยและมีขอเรียกรองถึงรัฐบาลไทยและองคกรเอกชนที่ทำงานดานสิทธิม นุษยชน นานาชาติ ดังตอไปนี้ 1.ขอใหร ัฐบาลไทยทบทวนการปฏิบัติตามกฎหมายจารีตประเพณีร ะหวางประเทศและกติการะหวาง ประเทศที่ประเทศไทยเปนรัฐภาคีและในฐานะสมาชิกขององคการสหประชาชาติ เพื่อปองกันและคุม ครองความ ปลอดภัยในชีวิตของผูหนีภัยประหัติประหาร ซึ่งนอกจากจะเปนการยึดหลักมนุษยธรรมและหลักสากลตามที่ไทย ไดยืนยันมาตลอดแลว ยังเปนการชวยใหร ัฐไทยรอดพนจากความโกรธแคนหรือเกลียดชัง โดยเฉพาะอยางยิ่งจาก กลุม ผูที่ม ีความเห็นใจตอกลุม ชายมุสลิม อุยกูร ยในตุร กี ที่อาจจะตองเผชิญกับภัยประหัติประหาร การปฏิบัติที่โหด
กลุม ผูที่ม ีความเห็นใจตอกลุม ชายมุสลิม อุยกูร ยในตุร กี ที่อาจจะตองเผชิญกับภัยประหัติประหาร การปฏิบัติที่โหด ราย ไรม นุษยยธรรม การทรมาน เปนตน 2.ขอใหร ัฐบาลไทยมีม าตรการในการตรวจสอบการดำเนินการในครั้งนี้ และขอใหผูที่ม ีความรับผิดชอบ ตอการดำเนินการดังกลาวแสดงความรับผิดชอบตอการดำเนินการที่เกิดขึ้น รวมทั้งกำหนดมาตรการในการจัดการ ตอกรณีการดำเนินตอผูอพยพแสวงหาที่พักพิงตามกฎหมายระหวางประเทศ 3. ยินยอมให เจาหนาที่จากสำนักขาหลวงใหญผูลี้ภัยแหงองคการสหประชาชาติ ซึ่งเปนองคกรอิสระที่ม ี ความเปนมืออาชีพ และไดร ับการยอมรับโดยสมาชิกขององคการสหประชาชาติดวยกัน ในการเขาไปดูแลและ ตรวจสอบขอเท็จจริงเกี่ยวกับสถานะของผูลี้ภัยของกลุม ชาวมุสลิม อุยกูร ไดอยางเปนอิสระ เพื่อสามารถกำหนด แนวทางใหการชวยเหลือไดตามกรอบหนาที่ 4. ขอใหองคกรดานการตรวจสอบการละเมิดสิทธิม นุษยชนระหวางประเทศ หนวยงานขององคการ สหประชาชาติ และภาคประชาสังคมของประเทศจีนเอง เฝาติดตามชะตากรรมและตรวจสอบการดำเนินการใดๆ ของรัฐบาลจีนที่จะเปนการละเมิดสิทธิม นุษยชนตอชาวอุยกูร ที่ถูกสงกลับกลุม ดังกลาว 5. ขอใหเรียกรองใหร ัฐบาลจีน เปดโอกาสใหผูแทนขององคการสหประชาชาติ สนับสนุนกระบวนการ สรางสันติภาพในพื้นที่ความขัดแยง เพื่อประกันการอยูร วมกันของประชาชนที่ม ีวัฒนธรรม ภาษา ศาสนาที่หลาก หลาย อยางสันติ เคารพศักดิ์ศรีความเปนมนุษย และเคารพตอหลักสิทธิม นุษยชนระหวางประเทศ ดวยความเคารพในสิทธิม นุษยชนและศักดิ์ศรีความเปนมนุษย 1.เครือขายประชากรขามชาติ (Migrants Working Group) 2.สมาคมนักกฎหมายสิทธิม นุษยชน 3.มูลนิธิเพื่อสิทธิม นุษยชนและการพัฒนา 4.โครงการเฝาระวังสภาวะไรร ัฐ (stateless watch) 5.มูลนิธิสงเสริม และคุม ครองสิทธิม นุษยชน (Prorights Foundation) 6.มูลนิธิผสานวัฒนธรรม 7.สมาคมสิทธิเสรีภาพของประชาชน