จดหมายเปิ ดผนึ ก เรื่อง ขอให้รฐั บาลไทยทบทวนการประกาศใช้ร่างพระราชบัญญัตวิ ธิ พี จิ ารณาคดีคา้ มนุษย์ พ.ศ.... เรียน นายกรัฐมนตรี สาเนา ประธานสภานิตบิ ญ ั ญัตแิ ห่งชาติ ตามที่นายกรัฐมนตรี พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ได้มหี นังสือที่ นร 0503/2704 ลงวันที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2559 ถึงประธานสภานิตบิ ญ ั ญัตแิ ห่งชาติ เรื่อง ร่างพระราชบัญญัตวิ ธิ พี จิ ารณาคดีค้า มนุ ษย์ พ.ศ. ... พร้อมด้วยบันทึกหลักการและเหตุผลและบันทึกวิเคราะห์สรุปสาระสาคัญ ให้สภานิติ บัญญัตแิ ห่งชาติ (สนช.) พิจารณาเป็ นเรื่องด่วน โดยเมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2559 ที่ประชุมสภานิติ บัญญัตแิ ห่งชาติได้ลงมติในวาระที่ 3 เห็นสมควรประกาศใช้รา่ งพระราชบัญญัตวิ ธิ พี จิ ารณาคดีคา้ มนุ ษย์ พ.ศ. ...เป็นกฎหมายแล้วนัน้ เเม้ค ณะรัฐ มนตรีจ ะให้ ค วามเห็น ต่ อ การเร่ ง รัด ให้ ส ภานิ ติบ ัญ ญัติแ ห่ ง ชาติ พิจ ารณาร่ า ง พระราชบัญญัตฉิ บับนี้ดว้ ยมุ่งประสงค์จะปรับปรุงวิธพี จิ ารณาคดีค้ามนุ ษย์ในกระบวนการยุตธิ รรมทาง อาญา จาก “ระบบกล่าวหา” (Accusatorial Procedure) ที่คู่ความสามารถเสนอและตรวจสอบ ข้อเท็จจริงกันเองตามหลักเกณฑ์การสืบพยานทีเ่ คร่งครัด โดยศาลมีบทบาทจากัดเป็ นเพียงผูต้ ดั สินคดี ให้เป็น “ระบบไต่สวน” (Inquisitorial Procedure) ทีเ่ ป็ นการดาเนินคดีระหว่างศาลกับจาเลย ส่วนโจทก์ เป็นเพียงผูช้ ่วยเหลือศาลในการค้นหาข้อเท็จจริง ทัง้ ยังเปิดโอกาสให้มกี ารเสนอพยานหลักฐานต่อศาล อย่างกว้างขว้าง อันจะก่อให้เกิดความรวดเร็วเเละสอดคล้องกับหลักการคุม้ ครองสิทธิของผูเ้ สียหายจาก การค้ามนุ ษย์ตามพระราชบัญญัตปิ ้ องกันเเละปราบปรามการค้ามนุ ษย์ พ.ศ.2551 มากขึน้ อย่างไรก็ตาม มูลนิธเิ พื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา และเครือข่ายประชากรข้ามชาติ ยังมีขอ้ กังวลและข้อสังเกตต่อกระบวนการเเละหลักการของร่างพระราชบัญญัตดิ งั กล่าวในประเด็นดังต่อไปนี้ กระบวนการตราร่างพระราชบัญญัตวิ ธิ พี จิ ารณาคดีคา้ มนุ ษย์ พ.ศ. ... มูลนิธเิ ห็นว่า หากรัฐบาล ประสงค์จะยกระดับวิธพี จิ ารณาคดีคา้ มนุ ษย์เพื่อให้ตอบสนองต่อความรวดเร็วในการดาเนินคดี รัฐบาล ควรทีจ่ ะทบทวนถึงสภาพปญั หาของการบังคับใช้ประมวลกฎหมายวิธพี จิ ารณาความอาญาว่าเหตุแห่ง ความล่าช้าเป็ นเพราะหลักการตาม “ระบบกล่าวหา” หรือเพราะเหตุแห่งการบังคับใช้ประมวลกฎหมาย
ดังกล่าว เหตุเพราะการตรากฎหมายใหม่โดยปราศจากการทบทวนถึงประสิทธิภาพของกฎหมายเก่า ย่อมไม่ก่อประโยชน์ใดแก่ผบู้ งั คับใช้เเละยังอาจก่อให้เกิดปญั หาแก่ผปู้ ฏิบตั งิ านในอนาคตด้วย นอกจากนี้ มูลนิธยิ งั เห็นว่าในกระบวนการยกร่าง ยังขาดซึง่ การพิจารณาความเห็นของหน่ วยงานที่ เกีย่ วข้อง โดยเฉพาะกลุ่มผูบ้ งั คับใช้กฎหมาย ตลอดทัง้ ยังขาดซึง่ กระบวนการเผยเเพร่เนื้อหาต่อสาธารณะที่ เเม้ในภาวะนี้จะไม่สามารถขอทบทวนเนื้อหาว่าชอบตามรัฐธรรมนูญหรือไม่ได้ เเต่โดยทีบ่ ทบัญญัตมิ ผี ลเป็ น การจากัดซึ่งสิทธิเ เละเสรีภาพของประชาชนผู้ต้อ งเข้าสู่กระบวนการยุติ ธ รรมทางอาญาเป็ นอย่างมาก หน่ วยงานผู้เสนอจึงควรเป็ นอย่างยิง่ ที่จะคานึงถึงประเด็นนี้ไม่น้อยไปกว่าการมุ่งปราบปรามการกระทา ความผิดฐานค้ามนุษย์เพียงอย่างเดียว ที่ม าของการบัญ ญัติค วามผิด ฐานค้า มนุ ษ ย์ต ามพัน ธกรณีร ะหว่ า งประเทศ กล่ า วคือ ตาม อนุ สญ ั ญาสหประชาชาติเพื่อต่อต้านอาชญากรรมข้ามชาติ ทีจ่ ดั ตัง้ ในลักษณะองค์กร ค.ศ. 2000 เเละ พิธสี ารเพื่อป้องกัน ปราบปรามและลงโทษการค้ามนุ ษย์ โดยเฉพาะสตรีและเด็ก กาหนดเพียงนิยาม ของฐานความผิดที่ร้า ยเเรงว่า หมายความถึง ความผิดที่มโี ทษจ าคุ ก อย่างสูงตัง้ เเต่ 4 ปี ข้นึ ไปเมื่อ ความผิดดังกล่าวมีลกั ษณะข้ามชาติและเกีย่ วข้องกับกลุ่มองค์กรอาชญากรรม ซึง่ รวมถึงความผิดฐาน ค้ามนุษย์ดว้ ย ภายใต้ก ฎหมายภายในของประเทศไทย ความผิดฐานค้ามนุ ษ ย์ถู กจัด ให้ เ ป็ นความผิดอัน เกีย่ วพันถึงเหตุแห่งความสงบเรียบร้อยเเละศีลธรรมอันดีของประชาชน ดังนัน้ จึงอยู่ในหมวดเดียวกับ ความผิดที่เกี่ยวกับการวางเพลงเผาทรัพย์และความผิดที่เกี่ยวกับยาเสพติด ซึ่งมีเพียงเเต่ความผิดที่ เกี่ยวกับยาเสพติดเท่านัน้ ที่มพี ระราชบัญญัติวธิ พี จิ ารณาคดียาเสพติด พ.ศ.๒๕๕๐ บัญญัติให้ใช้วธิ ี พิจารณาความความเเตกต่างจากประมวลกฎหมายวิธพี จิ ารณาความอาญา เเต่ยงั คง “ระบบกล่าวหา” ไว้ในพระราชบัญญัตดิ งั กล่าว มูลนิธจิ งึ ยังไม่เห็นถึงความจาเป็ นนอกจากความรวดเร็วในการพิจารณาคดีเเละความเชื่อมโยง ในการปรับให้ใช้ “ระบบไต่สวน” เเทนที่ “ระบบกล่าวหา” ในความผิดเกี่ยวกับการค้ามนุ ษย์ โดยเฉพาะ อย่างยิง่ เมือ่ เปรียบเทียบกับฐานความผิดในกลุ่มเดียวกันตามทีก่ ล่าวมาในข้างต้นเเต่อย่างใด เนื้อหาในร่างพระราชบัญ ญัติว ิธพี ิจารณาคดีค้ามนุ ษ ย์ พ.ศ. ...ด้ว ยการกาหนดนิยามของคดีค้า มนุ ษย์เพื่อนาเข้าสู่ระบบวิธพี จิ ารณาคดีตามระบบไต่สวน การกาหนดขอบเขตการบังคับใช้ การสืบพยาน ล่วงหน้า การเรียกค่าสินไหมทดแทนเเละค่าเสียหายกรณีอ่นื การปล่อยชัวคราว ่ การรับฟงั พยานหลักฐาน ในชัน้ ศาล ตลอดทัง้ การอุ ทธรณ์ เ เละฎีก านัน้ ถู ก บัญ ญัติต ามหลัก การของ “ระบบไต่ ส วน” ในร่า ง พระราชบัญญัตดิ งั กล่าว
ในการนี้ มูลนิธกิ ลับพบว่ามีบทบัญญัติสาคัญหลายประการที่ทาให้จาเลยถูกจากัดสิทธิในลักษณะ เป็ นกรรมแห่งคดี ด้วยการไม่นาหลักกฎหมายวิธพี จิ ารณาความอาญาทัวไปมาใช้ ่ เช่น การเพิม่ เงื่อนไขใน การพิจารณาปล่อยชัวคราวของผู ่ ้ต้องหาหรือจาเลย การกาหนดให้จาเลยมีหน้าที่นาสืบความบริสุทธิ ขของ ตนเอง การวางโครงสร้างการดาเนินคดีทท่ี าให้จาเลยถูกสันนิษฐานตัง้ แต่เบื้องต้นว่ามีความผิด การไม่ใช้ หลักยกผลประโยชน์แห่งข้อสงสัยให้กบั จาเลย การใช้พยานหลักฐานของจาเลยเองมาลงโทษจาเลยได้ เเละ การกาหนดให้จาเลยเป็นคู่ความกับศาลเช่นนี้ ย่อมทาให้ผตู้ ้องหาหรือจาเลยต้องเผชิญกับความยากลาบาก ในการต่อสูค้ ดี มูลนิธเิ ห็นว่า“ระบบไต่สวน” ในร่างพระราชบัญญัตนิ ้ี มีนัยมุ่งเน้นไปที่การลงโทษจาเลย และไม่ เคารพสิทธิของจาเลย ซึง่ มีความเสีย่ งต่อการขัดหลักสิทธิมนุ ษยชน ทัง้ นี้ การดาเนินคดีอาญาทีข่ ดั ต่อหลัก นิตธิ รรมและหลักสิทธิมนุ ษยชนนัน้ เป็ นสิง่ ทีน่ านาอารยะประเทศเห็นว่าเป็ นสิง่ ทีไ่ ม่ถูกต้อง และย่อมทาให้ “ขาดคุณลักษณะความเป็นประชาธิปไตย” ด้วย ดังนัน้ มูลนิธแิ ละเครือข่ายประชากรข้ามชาติ จึงขอเรียกร้องให้รฐั บาลไทย โดยคณะรัฐมนตรี สภา นิตบิ ญ ั ญัติเเห่งชาติเเละหน่ วยงานที่เกี่ยวข้องทบทวนถึงหลักการของบทบัญญัติเเละความจาเป็ นในการ ประกาศใช้ร่างพระราชบัญญัตวิ ธิ พี จิ ารณาคดีคา้ มนุ ษย์ พ.ศ. ... ตามเหตุเเละผลทีก่ ล่าวมาเบือ้ งต้น รวมทัง้ ควรจัดให้มกี ารจัดทาประชาพิจารณ์เ พื่อ เปิ ดโอกาสให้หน่ ว ยงานต่ างๆที่เ กี่ยวข้อ ง ทัง้ จากภาครัฐ ภาค ประชาชน และนักวิชาการ ทีท่ างานส่งเสริมและสนับสนุ นรัฐเพื่อปกป้องและคุม้ ครองสิทธิของผูเ้ สียหายจาก การค้ามนุ ษย์ ได้แสดงความคิดเห็นต่อร่างพระราชบัญญัติ ทัง้ นี้ เพื่อประโยชน์ในการกาหนดทิศทางการ แก้ไขปญั หาการค้ามนุ ษย์อย่างมีประสิทธิภาพและสอดคล้องกับหลักกฎหมายภายในตลอดทัง้ พันธกรณี ระหว่างประเทศด้วย
ด้วยความเคารพในสิทธิมนุ ษยชนและศักดิ ขศรีความเป็ นมนุ ษย์ 1.มูลนิธเิ พื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา 2.เครือข่ายประชากรข้ามชาติ ---------------------------------------------------------------------ข้อมูลเพิม่ เติมติดต่อ นายปภพ เสียมหาญ ผูป้ ระสานงานโครงการต่อต้านการค้ามนุ ษย์ดา้ นแรงงงาน มูลนิธ ิ เพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา โทรศัพท์ 094 548 5306 หรือ อีเมลล์ mthaim420@gmail.com