แถลงการณ์ เรียกร้ องขอให้ ยุตกิ ารกักขังบุคคลหรื อผู้แสวงหาที่ลีภ้ ัยโดยไม่ มีกาหนด และให้ มีการสอบสวนกรณีวิสามัญฆาตรกรรมชาวโรฮิงญาที่จังหวัดพังงาอย่ างอิสระ ตามที่ปรากฎเป็ นข่าวว่าเมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 เวลาประมาณ 01.00 นาฬิกา ได้ เกิด เหตุการณ์ ที่ช าวโรฮิ ง ญา ซึ่งอยู่ในห้ องกัก ภายใต้ การควบคุม ของส านักตรวจคนเข้ าเมื องจังหวัดพัง งา ได้ พยายามหลบหนีออกจากห้ องกัก ซึ่งต่อมาทางพนักงานเจ้ าหน้ าที่สามารถควบคุมตัว กลับมาได้ จานวน 5 คน ในวันต่อมา แต่พบว่าในขณะที่มีการพยายามควบคุมตัวผู้ที่หลบหนีนนั ้ พนักงานเจ้ าหน้ าที่ได้ ทาการวิสามัญ ฆาตรกรรมชาวโรฮิงญาไปหนึง่ ราย โดยอ้ างว่าเพื่อป้องกันตน เครื อข่ายประชากรข้ ามชาติซึ่งเป็ นเครื อข่ายฯ ในการติดตามการดาเนิน นโยบายของรัฐในการบริ หาร จัดการด้ านแรงงานข้ ามชาติ รวมทัง้ สถานการณ์ ของการเข้ าเมืองของชาวโรฮิงญาในสถานการณ์ ที่ไม่ปกติ พบว่า ในรอบหนึ่ง ปี ที่ ผ่านมา รั ฐบาลไทยได้ มี ความพยายามในการดาเนินการกวาดล้ างกลุ่ม ขบวนการที่ เกี่ยวข้ องกับการขนย้ ายคนอย่างผิดกฎหมาย ซึ่งเหตุการณ์สาคัญที่ทาให้ ประเทศไทยเป็ นที่จบั ตามองเรื่ องการ แก้ ไขจัดการปั ญหาด้ านการค้ ามนุษย์ คือกรณีก ารพบศพนิรนามมากกว่า 30 ศพ ที่ตาบลปาดังเบซาร์ อาเภอ สะเดา จังหวัดสงขลา และมีการขยายผลการสอบสวนทาให้ พนักงานเจ้ าหน้ าที่สามารถจับกุมและดาเนินคดีแก่ ผู้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ขบวนการค้ า มนุ ษ ย์ ม ากกว่ า 80 ราย ซึ่ ง คดี ยัง อยู่ ใ นการพิ จ ารณาคดี ข องศาลอาญา กรุงเทพมหานคร อย่างไรก็ตามยังมีชาวโรฮิงญาบางส่วนที่ไม่ได้ รับการปฏิบตั ใิ นฐานะการเป็ นผู้เสียหายจากกาค้ ามนุษย์ ที่จะต้ องถูกดาเนินคดีภายใต้ พระราชบัญญัติคนเข้ าเมืองและถูกควบคุมอยู่ในห้ องกักของสานักงานตรวจคน เข้ าเมือง ซึง่ จากการรวบรวมข้ อมูลของเครื อข่ายฯพบว่า ห้ องกักของสานักงานตรวจคนเข้ าเมืองหลายแห่งไม่ได้ เหมาะสมต่อการควบคุมบุคคลผู้ต้องกักเป็ นระยะเวลานาน ผู้ต้องกักหลายรายมีสภาพกล้ ามเนื ้ออ่อนแรง มี ปั ญหาทางระบบหายใจ ระบบทางเดินอาหาร มีการกักขังเด็กและเยาวชนที่มีอายุตงแต่ ั ้ 4-18 ปี มีอย่างน้ อย หนึ่งกรณี ที่ เป็ นเด็กชายอายุ 4 ขวบเสียจากความเจ็บป่ วยในระหว่างที่อยู่ในห้ องกัก การกักตัวมากกว่า 12 เดือนจนถึง 2 ปี ซึง่ ทาให้ เกิดความเครี ยด ย่อมเปิ ดช่องทางให้ ขบวนการค้ ามนุษย์ กลุ่มนายหน้ าเข้ าไปแสวงหา โอกาสในการดาเนินการได้ มากขึ ้น
ทางเครื อข่ายฯเห็นว่า “การกักตัวเพื่อรอการผลักดันกลับ” ที่ไม่ได้ มีการกาหนดระยะเวลาที่แน่นอน ตามพระราชบัญญัติคนเข้ าเมืองเช่นนี ้ เป็ นการเหตุผสาคัญที่ทาให้ เกิดความความพยายามหลบหนีออกจาก สถานที่ควบคุมตัวของผู้ต้องกัก กระทัง่ มีการวิสามัญฆาตกรรมต่อบุคคลที่พยายามหลบหนี กรณี ที่เกิดขึ ้นนี ้จึง เป็ นการสะท้ อนถึงความล้ มเหลวในการบังคับใช้ พระราชบัญญัตคิ นเข้ าเมืองของรัฐที่ไร้ มนุษยธรรม ย่ายีศกั ดิ์ศรี ความเป็ นมนุษย์อย่างที่สดุ เครื อข่ายฯรวมทังองค์ ้ กรและรายชื่อบุคคลแนบท้ าย จึงขอเรี ยกร้ องต่อรัฐไทยในการ ดาเนินมาตรการ ดังต่อไปนี ้โดยเร่งด่วน 1. ยุติการกักขังชาวโรฮิงยาจานวนมากกว่า 400 คนที่ดาเนินการมามากกว่า 12 เดือน และให้ ใช้ การ ควบคุมตัวภายนอกห้ องกักภายใต้ อานาจตามพระราชบัญญัติคนเข้ าเมือง มาตรา 54 ในการให้ ประกันภายใต้ เงื่อนไข หรื อมาตรา 17 ในการผ่อนผันอยู่ในประเทศ โดยคานึงถึงการเป็ นบุคคลที่แสวงหาที่ลี ้ภัย / ผู้เสียหาย จากการค้ ามนุษย์ที่ไม่สามารถกลับประเทศต้ นทางได้ 2. ยุตกิ ารกักขังเด็กและเยาวชนที่เดินทางเข้ ามาในประเทศพร้ อมกับผู้ปกครอง หรื อเดินทางเข้ ามาคน เดียว และให้ ดาเนินการปกป้องและคุ้มครองที่เหมาะสมภายใต้ พระราชบัญญัตคิ ้ มุ ครองเด็ก พ.ศ.2546 3. ให้ ดาเนินการตรวจสอบเหตุวิสามัญชาวโรฮิงญา โดยหน่วยงานภายนอกหรื อคณะทางานที่เป็ น อิสระจากหน่วยงานที่รับผิดชอบปฏิบตั ิการดังกล่าว และให้ ดาเนินการไต่สวนการเสียชีวิตตามมาตรา 150 ใน ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ทังนี ้ ้รัฐบาลควรประสานงานร่วมกับองค์กรระหว่างประเทศและภาคประชาสังคมเพื่อให้ การดาเนินการ เป็ นไปตามหลักสิทธิมนุษยชนต่อไป การกักขังอย่างไม่มีกาหนดคือการประหารชีวิตที่เกิดขึ ้นต่อเนื่องยาวนาน เครื อข่ายองค์กรด้ านประชากรข้ ามชาติ (Migrant Working Group) เครื อข่ายสิทธิผ้ ลู ี ้ภัยและคนไร้ รัฐ (Coalition for the Rights of Refugees and Stateless Persons) ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ติดต่ อเพิ่ม อดิศร เกิดมงคล ผู้ประสานเครื อข่ายองค์กรด้ านประชากรข้ ามชาติ 089 788 7138 หรื อ ศิววงศ์ สุขทวี 081 4339125