30 มิ ถนุ ายน 2560 แถลงการณ์ ด่วน ขอให้รฐั เร่งทบทวนรากเหง้าปญั หาการบริหารจัดการแรงงานข้ามชาติ เพื่อสร้างความเชื่อมันด้ ่ านนโยบาย บริหารจัดการแรงงานข้ามชาติ และการพัฒนาเศรษฐกิจทีย่ งยื ั่ น ตามทีค่ ณะรัฐมนตรีได้มมี ติอนุ มตั พิ ระราชกาหนดการบริหารจัดการการทางานของคนต่างด้าว ตามข้อเสนอของกระทรวงแรงงาน ทัง้ นี้เพื่อให้เป็ นไปตามเป้าหมายของกระทรวงแรงงานโดยเฉพาะ การป้องกันการขยายตัวของปญั หาทีน่ าไปสู่การละเมิดสิทธิขนั ้ พื้นฐานของแรงงานหรือการกระทาอัน เป็นการค้ามนุษย์ต่อคนต่างด้าว โดยให้มผี ลบังคับใช้วนั ที่ 23 มิถุนายน 2560 หลังมีการประกาศใช้แล้ว ทางเครือข่ายสมาชิกประชากรข้ามชาติ ได้รบั แจ้งจากฝ่ายลูกจ้าง และนายจ้างถึงกระบวนการบังคับใช้กฎหมาย เนื่องจากมีการกาหนดมาตรการทางกฎหมายเพิม่ เติม หลายประการจากกฎหมายเดิมได้แก่ พระราชบัญญัตกิ ารทางานของคนต่างด้าว พ.ศ.2551 และพระ ราชก าหนดการนาคนต่ างด้าวมาทางานกับนายจ้างในประเทศ พ.ศ.2559 โดยเฉพาะอย่างยิง่ บท กาหนดโทษทัง้ สาหรับนายจ้างและลูกจ้างที่มไิ ด้มกี ารจ้างงานหรือทางานตามเงื่อนไขของกฎหมายใน ลักษณะที่สูงขึน้ จนนาสู่การสร้างความสับสนทัง้ ฝ่ายลูกจ้าง นายจ้าง และเจ้าหน้าที่ฝ่ายปฏิบตั ใิ นการ ั หากระบวนการจ้า งงานทัง้ ระบบภายใต้ก ฎหมายฉบับ ดัง กล่ า วนี้ โดยเครือ ข่า ยฯพบว่ า แก้ ไ ขป ญ นายจ้างเริ่มละทิ้ง ลูก จ้างตัว เอง ลูก จ้างถู ก กวาดล้างจับ กุ ม โดยเจ้าหน้ า ที่บงั คับใช้กฎหมายในการ ควบคุมตัวและส่งกลับเป็นจานวนมาก รวมทัง้ การอาศัยช่องทางของเจ้าหน้าทีบ่ งั คับใช้กฎหมายในการ พยายามเรียกรับเงินจากทัง้ ตัวแรงงานและนายจ้าง ดังนัน้ เครือข่ายประชากรข้ามชาติจงึ ขอเรียกร้อง ให้รฐั ดาเนินการอย่างเร่งด่วนในการวางมาตรการด้านกระบวนการจ้างแรงงานแทนการปราบปราม แรงงาน อันเนื่องมาจากความไม่ชดั เจนด้านนโนบายของการบริหารจัดการแรงงานข้ามชาติ และไม่ สอดคล้องกับสภาพรากเหง้าของปญั หาการจ้างงาน ดังต่อไปนี้ 1. การตราพระราชกาหนดฉบับนี้ อาศัยช่องทางตามมาตรา 172 ของรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย ทีบ่ ญ ั ญัตไิ ว้ให้คณะรัฐมนตรีสามารถออกพระราชกาหนดได้ในกรณี ”เพื่อ ประโยชน์ ในอันทีจ่ ะรักษาความปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความมันคงในทางเศรษฐกิ ่ จของ ประเทศ...” โดยอยู่ภ ายใต้เ งื่อ นไขเฉพาะ “เป็ น กรณีฉุ ก เฉิ น ที่ม ีค วามจ าเป็ น รีบ ด่ ว นอัน มิอ าจจะ หลีกเลีย่ งได้”
เครือข่ายประชากรแรงงานข้ามชาติเห็นว่า กรณีการจัดการแรงงานต่างด้าว มิได้เป็ นหนึ่งใน “กรณีฉุ ก เฉิ น ที่ม ีค วามจ าเป็ นรีบด่ ว นไม่อ าจหลีก เลี่ยงได้” ซึ่ง จาเป็ นต้อ งตราเป็ น พระราชก าหนด ประกอบกับแนวทางการตราพระราชกาหนดภายใต้เงื่อนไขดังกล่าวตามรัฐธรรมนู ญฉบับก่อนหน้า จะ เห็นได้ชดั ว่าฝา่ ยบริหารหรือคณะรัฐมนตรีจะใช้ช่องทางนี้อย่างจากัด เเละเป็ นข้อยกเว้นเฉพาะประเด็น ทีเ่ สีย่ งต่อความมันคงของประเทศด้ ่ านอื่น ดังนัน้ รัฐบาลควรพิจารณาเปิ ดโอกาสให้มกี ารรับฟงั ความคิดเห็นจากภาคส่วนต่างๆอย่างรอบ ด้าน รวมถึงการออกงานวิชาการออกมารองรับ เพื่อนาไปสู่กระบวนการปรับปรุงแก้ไขกฎหมายฉบับนี้ ต่อไป ทัง้ นี้ เพื่อให้สอดคล้องกับเจตนารมณ์ของรัฐในการบัญญัติกฎหมายให้ครอบคลุมการบริหาร จัดการการทางานของคนต่างด้าวได้ทงั ้ ระบบและการส่งเสริมงานทีม่ คี ุณค่าและการพัฒนาทีย่ งยื ั ่ นอย่าง เเท้จริง 2. เครื อข่ายประชากรเเรงงานข้ ามชาติเห็นว่านิตนิ โยบายของกฎหมายฉบับนี ้ มีบทลงโทษ มากกว่ากฎหมายทุกฉบับที่ผา่ นมา ซึง่ การที่รัฐมีมาตรการในการเพิ่มโทษ เช่น การเพิ่มจานวนเงินค่าปรับ หรื อโทษจาคุก อาจจะยิ่งเป็ นช่องทางในการทาผิดกฎหมาย การทุจริ ตในวงราชการ รวมทังส่ ้ งผลกระทบ ต่อการประกอบกิจการที่จ้างแรงงานข้ ามชาติ ในขณะที่แนวทางในการจัดการเพื่อให้ เกิด การขออนุญาต ทางานอย่างถูกต้ อง เช่น การนาเข้ า MoU จากประเทศต้ นทางยังมีปัญหาการดาเนินการที่เอื ้อต่อการจ้ าง งาน นอกจากนี ้กระบวนการลงโทษระหว่างลูกจ้ างและนายจ้ างยังมีความแตกต่างกัน เช่น กรณีลูกจ้ าง ทางานโดยไม่มีใบอนุญาตต้ องระวางโทษจาคุกหรื อปรับ กรณีที่นายจ้ างฝ่ าฝื น กาหนดบทลงโทษไว้ เฉพาะ โทษปรับ อาจจะกลายเป็ นประเด็นในการเลือกปฏิบตั ิอีกได้ ด้วย เครื อข่ายฯขอเรี ยกร้ องให้ รัฐทบทวน มาตราการบทลงโทษที่มีมาตรการรุนแรง โดยเฉพาะให้ ยกเลิกจาคุกโดยทันที 3. ยุตมิ าตรการของเจ้ าหน้ าที่ในการกวาดล้ าง จับกุมแรงงานข้ ามชาติ และกาหนดนโยบายและ มาตการในการปฏิบตั ิให้ ชดั เจน เพื่อให้ เจ้ าหน้ าที่ในท้ องที่ตา่ งๆปฏิบตั ิเป็ นแนวเดียวกันอย่างเป็ นเอกภาพ ออกประกาศ แจ้ งให้ หน่วยงานด้ านความมัน่ คงและฝ่ ายพลเรื อนที่เกี่ยวข้ องระมัดระวังในการดาเนินการ ปราบปรามกลุ่มแรงานที่ ขณะนีก้ ระบวนการบริ หารจัดการแรงงานข้ ามชาติมีความเปลี่ยนแปลงอย่าง กระทันหัน โดยที่หน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้ องกับการออกกฎหมายยังมิได้ มีการทาความเข้ าใจถึงผู้มีส่วนได้ เสีย ทุกฝ่ าย และแรงงานจานวนมากยังอยู่ในระหว่างปรับสถานะด้ านการเข้ าเมืองและสิทธิการทางาน การ อาศัยอยู่ จึงทาให้ แรงงานกลุม่ ดังกล่าวนี ้มีความเสี่ยงอย่างมากในการถูกกวาดล้ างและจับกุม 4. ออกมาตรการด่วนที่จะสร้ างความมัน่ ใจต่อแรงงานข้ ามชาติ และผู้ประกอบการว่ามาตรการ การจัดระบบแรงงานข้ ามชาติจะไม่ส่งผลกระทบต่อการจ้ างงาน เพื่ อยับยัง้ การไหลออกของแรงงาน สืบเนื่องจากมีกระแสข่าวการปิ ดล้ อมจับกุมแรงงานข้ ามชาติ ในหลายพื ้นที่ ดังที่เคยเกิดขึ ้นเมื่อปี 2557
5. ขอให้ พิจารณาข้ อเสนอของเครื อข่ายประชากรข้ ามชาติ ที่ยื่นถึงนายกรัฐมนตรี และ รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงแรงงาน เมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม 2560 ซึ่งทางเครื อข่ายฯได้ รวบรวมไว้ จากเวที แสดงความคิดเห็นต่อร่ างพระราชกาหนด เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2560 โดยมีผ้ เู ข้ าร่ วมซึ่งเป็ นตัวแทน ของหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ได้ แก่ ตัวแทนผู้ประกอบการ ตัวแทนลูกจ้ าง สภาอุตสาหกรรม ฝ่ าย วิชาการ ผู้นาแรงงาน องค์กรพัฒนาเอกชน นักกฎหมาย ด้ วยความเคารพในสิทธิมนุษยชนและศักดิ์ศรี ความเป็ นมนุษย์ เครือข่ายประชากรข้ามชาติ ---------------------------------------------------------------------ข้อมูลเพิม่ เติมติดต่อ นายอดิศร เกิดมงคล ผูป้ ระสานงาน เครือข่ายประชากรข้ามชาติ โทรศัพท์ 089 788 7138 หรือ อีเมลล์ adisorn.keadmongkol@gmail.com