รู้ รัก สามัคคี
การทีจ่ ะพระราชทานพระราชด�ำริเพือ่ ด�ำเนินงานโครงการใดโครงการหนึง่ จะทรงศึ ก ษาข้ อ มู ล รายละเอี ย ดอย่ า งเป็นระบบจากข้อมูลพื้นฐานใน เบือ้ งต้น จากเอกสารต่างๆ แผนที่ สอบถามจากเจ้าหน้าที่ นักวิชาการ และสอบถามจากราษฎรในพื้นที่ ให้ได้รายละเอียดที่ถูกต้อง เพื่อที่จะ พระราชทานความช่วยเหลือได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว ตรงตามความ ต้องการของประชาชน
หลักการทรงงาน ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพยลอดุลยเดช
หลักการทรงงาน ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
พระองค์ทรงมุง่ เน้น เรือ่ งการพัฒนาคน ทรงตรัสว่า “ต้องระเบิดจากข้างใน” หมายความ ว่า ต้องสร้างความเข้มแข็งให้คนในชุมชนทีเ่ ราเข้าไปพัฒนามีสภาพพร้อมทีจ่ ะรับการ พัฒนาเสียก่อน แล้วจึงค่อยออกมาสูส่ งั คมภายนอก มิใช่การน�ำเอาความเจริญ หรือบุคคลจากสังคมภายนอกเข้าไปหาชุมชนหมูบ่ า้ นทีย่ งั ไม่ทนั ได้มโี อกาสเตรียมตัวหรือ ตัง้ ตัว
หลักการทรงงาน ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
หลักการทรงงาน ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงเปี่ยมไปด้วยพระ อัจฉริยภาพในการแก้ไขปัญหา ทรงมองปัญหาในภาพรวม (Macro) ก่อน เสมอ แต่การแก้ปญั หาของพระองค์จะเริม่ จากจุดเล็กๆ(Micro) คือ การแก้ไข ปัญหาเฉพาะหน้า ทีค่ นมักจะมองข้าม ดังพระราชด�ำรัสความตอนหนึ่งว่า
"ถ้าปวดหัวก็คดิ อะไรไม่ออก
เป็นอย่างนัน้ ต้องแก้ไขการปวดหัวนีก้ อ่ น มันไม่ได้เป็นการแก้อาการจริง แต่ตอ้ งแก้ปวดหัวก่อน เพือ่ ทีจ่ ะให้อยู่ ในสภาพทีค่ ดิ ได้ แบบ (Macro) นี้ เขาจะท�ำแบบรื้อทั้งหมด ฉันไม่ เห็นด้วย อย่างบ้านคนอยู่ เราบอก บ้านนี้มันผุตรงนั้น ผุตรงนี้ ไม่ คุ้มที่จะไปซ่อเอา ตกลงรื้อบ้านนี้ ระเบิดเลย เราจะไปอยู่ที่ไหน ไม่มีที่อยู่ วิธีท�ำต้องค่อยๆท�ำ จะไประเบิดหมดไม่ได้ "
หลักการทรงงาน ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
หลักการทรงงาน ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
จากนัน้ จะเป็นเรือ่ งสาธารณูปโภคขัน้ พืน้ ฐาน และสิง่ จ�ำเป็นในการประกอบ อาชีพ อาทิ ถนน แหล่งน�ำ้ เพือ่ การเกษตร การอุปโภค บริโภค ทีเ่ อือ้ ประโยชน์ตอ่ ประชาชนโดยไม่ทำ� ลายทรัพยากรธรรมชาติ รวมถึงการให้ ความรู้ทางวิชาการและเทคโนโลยีที่เรียบง่าย เน้นการปรับใช้ภูมิปัญญา ท้องถิ่นที่ราษฎรสามารถน�ำไปปฏิบัติได้และเกิดประโยชน์สูงสุด ดัง พระบรมราโชวาท เมือ่ วันที่ ๑๘ กรกฏาคม ๒๕๑๗ ความตอนหนึง่ ว่า "การพัฒนาประเทศ จ�ำเป็นต้องท�ำตามล�ำดับขั้น ต้องสร้างพื้นฐาน คือ ความพอมี พอกิน พอใช้ ของประชาชนส่วนใหญ่เป็นเบือ้ งต้นก่อน ใช้วิธีการ และอุปกรณ์ที่ประหยัด แต่ถูกต้องตามหลักวิชาการ เมื่อได้พื้นฐานที่ มั่นคง พร้อมพอสมควรและปฏิบัติได้แล้ว จึงค่อยสร้างค่อยเสริมความ เจริญ และฐานะเศรษฐกิจขั้นที่สูงขึ้นโดยล�ำดับต่อไป หากมุ่งแต่จะทุ่ม สร้างความเจริญ ยกเศรษฐกิจให้รวดเร็วแต่ประการเดียว โดยไม่ให้ แผนปฏิบัติการสัมพันธ์กับสภาวะของประเทศและของประชาชนโดย สอดคล้องด้วย ก็จะเกิดความไม่สมดุลในเรือ่ งต่างๆ ขึน้ ซึง่ อาจกลาย เป็นความยุ่งยากล้มเหลวได้ในที่สุด ดังเห็นได้ที่อารยประเทศก�ำลัง ประสบปัญหาทางเศรษฐกิจอย่างรุนแรงในเวลานี้ การช่วยเหลือสนับสนุนประชาชนในการประกอบอาชีพและตั้งตัวให้มี ความพอกินพอใช้ก่อนอื่นเป็นพื้นฐานนั้น เป็นสิ่งส�ำคัญอย่างยิ่งยวด เพราะผู้ที่มีอาชีพและฐานะเพียงพอที่จะพึ่งตนเอง ย่อมสามารถสร้าง ความเจริญก้าวหน้าระดับที่สูงได้ต่อไปโดยแน่นอน ส่วนการถือหลัก ที่จะส่งเสริมความเจริญให้ค่อยเป็นไปตามล�ำดับ ด้วยความรอบคอบ ระมั ด ระวั ง และประหยั ด นั้ น ก็ เ พื่ อ ป้ อ งกั น ความผิ ด พลาดล้ ม เหลว และเพื่อให้บรรลุผลส�ำเร็จได้แน่นอนบริบูรณ์ " หลักการทรงงาน ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ในการทรงงานพระองค์จะทรง เริม่ ต้นจากสิง่ ทีจ่ ำ� เป็นของประชาชนทีส่ ดุ ก่อน ได้แก่ สาธารณสุข เมือ่ มีรา่ งกายสมบูรณ์แข็งแรงแล้วก็จะสามารถท�ำ ประโยชน์ดา้ นอืน่ ๆ ต่อไปได้ หลักการทรงงาน ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
การพัฒนาใดๆ ต้องค�ำนึงถึงสภาพภูมปิ ระเทศของบริเวณนัน้ ว่าเป็นอย่างไร และสังคมวิทยาเกีย่ วกับนิสยั ใจคอของคน ตลอดจนวัฒนธรรมประเพณีใน แต่ละท้องถิน่ ทีม่ คี วามแตกต่างกัน ดังพระราชด�ำรัสความตอนหนึง่ ว่า "การพัฒนาจะต้องเป็นไปตามภูมิประเทศทางภูมิศาสตร์ และภูมิประเทศทาง สังคมศาสตร์ในสังคมวิทยา คือ นิสัยใจคอของคนเรา จะไปบังคับให้คน อื่นคิดอย่างอื่นไม่ได้ เราต้องแนะน�ำ เราเข้าไปช่วยโดยที่จะคิดให้เขาเข้ากับ เราไม่ได้ แต่ถ้าเราเข้าไปแล้ว เราเข้าไปดูว่าเขาต้องการอะไรจริง ๆ แล้วก็ อธิบายให้เขาเข้าใจหลักการของการพัฒนานี้ ก็จะเกิดประโยชน์อย่างยิ่ง "
หลักการทรงงาน ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
หลักการทรงงาน ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ทรงมีวิธีคิดอย่างองค์รวม(Holistic) หรือมองอย่างครบวงจร ในการ ที่จะพระราชทานพระราชด�ำริเกี่ยวกับโครงการหนึ่งนั้น จะทรงมอง เหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้น และแนวทางแก้ไขอย่างเชื่อมโยง ดังเช่น กรณี ของ “ทฤษฎีใหม่” ที่พระราชทานให้แก่ปวงชนชาวไทย เป็นแนวทางใน การประกอบอาชีพแนวทางหนึ่งที่พระองค์ทรงมองอย่างองค์รวม ตั้งแต่ การถือครองที่ดินโดยเฉลี่ยของประชาชนคนไทย ประมาณ ๑๐-๑๕ ไร่ การบริหารจัดการที่ดินและแหล่งน�้ำ อันเป็นปัจจัยพื้นฐานที่ส�ำคัญใน การประกอบอาชีพ เมื่อมีน�้ำในการท�ำเกษตรแล้ว จะส่งผลให้ผลผลิต ดีขึ้น และหากมีผลผลิตเพิ่มมากขึ้น เกษตรกรจะต้องรู้จักวิธีการจัดการ และการตลาด รวมถึงการรวมกลุ่มรวมพลังชุมชนให้มีความเข้มแข็ง เพื่อพร้อมที่จะออกสู่การเปลี่ยนแปลงของสังคมภายนอกได้อย่างครบ วงจรนั่นคือ ทฤษฎีใหม่ ขั้นที่ ๑, ๒ และ ๓ หลักการทรงงาน ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
หลักการทรงงาน ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
การพั ฒ นาตามแนวพระราชด� ำ ริ ใ นพระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทร มหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช มี ลั ก ษณะของการพั ฒ นาที่ อ นุ โ ลม และ รอมชอมกับสภาพธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมและสภาพของสังคมจิตวิทยา แห่งชุมชน คือ “ไม่ติดต�ำรา” ไม่ผูกมัดติดกับวิชาการ และเทคโนโลยี ที่ไม่เหมาะสมกับสภาพชีวิตความเป็นอยู่ที่แท้จริงของคนไทย หลักการทรงงาน ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
หลักการทรงงาน ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ในเรือ่ งของความประหยัดนี้ ประชาชนชาวไทยทราบกันดีวา่ เรือ่ งส่วนพระองค์ ก็ทรงประหยัดมาก ดังทีเ่ ราเคยเห็นว่า หลอดยาสีพระทนต์นนั้ ทรงใช้อย่าง คุม้ ค่าอย่างไร หรือฉลองพระองค์แต่ละองค์ ทรงใช้อยูเ่ ป็นเวลานาน ดังที่ นายสุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการมูลนิธชิ ยั พัฒนา เคยเล่าว่า "กองงานในพระองค์โดยท่านผู้หญิงบุตรี วีระไวทยะ บอกว่า ปีหนึ่ง พระองค์เบิกดินสอ ๑๒ แท่ง เดือนละแท่ง ใช้จนกระทั่งกุด ใครอย่าไป ทิง้ ของท่านนะ จะกริว้ เลย ประหยัดทุกอย่าง เป็นต้นแบบทุกอย่าง ทุกอย่าง นีม้ คี า่ ส�ำหรับพระองค์หมด ทุกบาททุกสตางค์จะใช้อย่างระมัดระวัง จะสัง่ ให้เราปฏิบตั งิ านด้วยความรอบคอบ " ขณะเดียวกัน การพัฒนาและช่วยเหลือราษฎร ทรงใช้หลักในการแก้ไข ปัญหาด้วยความเรียบง่ายและประหยัด ราษฎรสามารถท�ำได้เอง หา ได้ในท้องถิ่น และประยุกต์ใช้สิ่งที่มีอยู่ในภูมิภาคนั้นๆ มาแก้ไขปัญหา โดยไม่ตอ้ งลงทุนสูงหรือใช้เทคโนโลยีทไี่ ม่ยงุ่ ยากนัก ดังพระราชด�ำรัสความ ตอนหนึ่งว่า "ให้ปลูกป่า โดยไม่ต้องปลูก โดยปล่อยให้ขึ้นเองตามธรรมชาติ จะได้ ประหยัดงบประมาณ " หลักการทรงงาน ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
หลักการทรงงาน ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ด้วยพระอัจฉริยภาพและพระปรีชาสามารถ ท�ำให้การคิดค้น ดัดแปลง ปรับปรุง และแก้ไขงานการพัฒนาประเทศตามแนวพระราชด�ำริ ด�ำเนิน ไปได้โดยง่าย ไม่ยงุ่ ยากซับซ้อน และทีส่ ำ� คัญอย่างยิง่ คือ สอดคล้อง กับสภาพความเป็นอยู่และระบบนิเวศโดยส่วนรวม ตลอดจนสภาพทาง สังคมของชุมชนนั้นๆ ทรงโปรดที่จะท�ำสิ่งที่ยากให้กลายเป็นง่าย ท�ำ สิ่งที่สลับซับซ้อนให้เข้าใจง่าย อันเป็นการแก้ปัญหาด้วยการใช้กฎแห่ง ธรรมชาติ แต่การท�ำสิง่ ยาก ให้กลายเป็นง่ายนัน้ เป็นของยาก ฉะนัน้ ค�ำ ว่า “ท�ำให้งา่ ย” หรือ “Simplicity” จึงเป็นหลักคิดส�ำคัญทีส่ ดุ ของการพัฒนา ประเทศ ในรูปแบบของโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ
หลักการทรงงาน ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
หลักการทรงงาน ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช ทรงเป็ น นั ก ประชาธิปไตย จึงทรงน�ำ “ประชาพิจารณ์” มาใช้ในการบริหาร เพื่อ เปิดโอกาสให้สาธารณชน ประชาชนหรือเจ้าหน้าที่ทุกระดับ ได้มาร่วม กันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่จะต้องค�ำนึงถึงความคิดเห็นของ ประชาชน หรือความต้องการของสาธารณชน ดังพระราชด�ำรัสความ ตอนหนึ่งว่า "ส�ำคัญที่สุด จะต้องหัดท�ำใจให้กว้างขวางหนักแน่น รู้จักรับฟังความ คิดเห็น แม้กระทั่งความวิพากษ์วิจารณ์จากผู้อื่นอย่างฉลาด เพราะ การรู้จักรับฟังอย่างฉลาดนั้น แท้จริงคือ การระดมสติปัญญาและ ประสบการณ์ อั น หลากหลาย มาอ�ำ นวยการปฏิ บั ติ บ ริ ห ารงาน ให้ ประสบความส�ำเร็จที่สมบูรณ์นั่นเอง " หลักการทรงงาน ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
หลักการทรงงาน ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ทรงเป็นนักประชาธิปไตย ทรงเปิดโอกาสให้ทุกฝ่ายทั้งสาธารณชน ประชาชน หรือเจ้าหน้าที่ทุกระดับได้เข้ามาร่วมกันแสดงความคิดเห็น และร่วมกันท�ำงานโครงการพระราชด�ำริ โดยค�ำนึงถึงความคิดเห็นของ ประชาชนหรือความต้องการของสาธารณชนด้วย ดังพระราชด�ำรัส ความตอนหนึ่งว่า "ส� ำ คั ญ ที่ สุ ด จะต้ อ งหั ด ท� ำ ใจให้ ก ว้ า งขวางหนั ก แน่ น รู ้ จั ก รั บ ฟั ง ความ คิ ด เห็ น แม้ ก ระทั่ ง ความวิ พ ากษ์ วิ จ ารณ์ จ าก ผู ้ อื่ น อย่ า งฉลาด เพราะการรู้จักรับฟังอย่างฉลาดนั้น แท้จริงคือการระดมสติปัญญา และประสบการณ์ อันหลากหลายมาอ�ำนวยการปฏิบัติบริหารงานให้ ประสบความส�ำเร็จที่สมบูรณ์นั่นเอง " หลักการทรงงาน ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
หลักการทรงงาน ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
การบริ ก ารรวมที่ จุ ด เดี ย ว เป็ น รู ป แบบการบริ ก ารแบบเบ็ ด เสร็ จ หรือ One Stop Service ที่เกิดขึ้นเป็นครั้งแรกในระบบบริหารราชการ แผ่นดินของประเทศไทย โดยทรงให้ศูนย์ศึกษาพัฒนาอันเนื่องมาจาก พระราชด�ำริ เป็นต้นแบบในการบริการรวมที่จุดเดียว เพื่อประโยชน์ ต่อประชาชนที่มาขอใช้บริการ จะประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย โดย มี ห น่ ว ยงานราชการต่ า งๆ มาร่ ว มด� ำ เนิ น การและให้ บ ริ ก ารประชา ชน ณ ที่แห่งเดียว ดังพระราชด�ำรัสความตอนหนึ่งว่า " กรม กองต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประชาชนทุกด้าน จะได้สามารถ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ปรองดองกัน ประสานกัน ตามธรรมดา แต่ละฝ่ายต้องมีศูนย์ของตน แต่วา่ อาจจะมีงานถือว่าเป็นศูนย์ของตัวเอง คนอื่นไม่เกี่ยวข้อง และศูนย์ศกึ ษาการพัฒนา เป็นศูนย์ที่รวบรวมก�ำลัง ทั้งหมดของเจ้าหน้าที่ทุกกรม กอง ทั้งในด้านเกษตรหรือในด้านสังคม ทั้งในด้านหางาน ซึง่ จะต้องใช้วชิ าการทัง้ หลาย ก็สามารถทีจ่ ะมาดู ส่วน เจ้าหน้าทีจ่ ะให้ความอนุเคราะห์แก่ประชาชน ก็มาอยูพ่ ร้อมกันในทีเ่ ดียวกัน เหมื อ นกั น ซึ่ ง เป็ น สองด้ า น ก็ ห มายถึ ง ว่ า ที่ ส� ำ คั ญ ปลายทางคื อ ประชาชนจะได้รบั ประโยชน์ และต้นทางของผูเ้ ป็นเจ้าหน้าทีจ่ ะให้ประโยชน์ "
หลักการทรงงาน ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
หลักการทรงงาน ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ทรงเข้าใจถึงธรรมชาติและต้องการให้ประชาชนใกล้ชดิ กับทรัพยากรธรรมชาติ ทรงมองปัญหาธรรมชาติอย่างละเอียด โดยหากเราต้องการแก้ไขธรรมชาติ จะต้องใช้ธรรมชาติเข้าช่วยเหลือ เช่น การแก้ไขปัญหาป่าเสือ่ มโทรม ได้ พระราชทานพระราชด�ำริ "การปลูกป่าโดยไม่ตอ้ งปลูก" ปล่อยให้ธรรมชาติ ช่วยในการฟืน้ ฟูธรรมชาติ หรือแม้กระทัง่ "การปลูกป่า ๓ อย่าง ประโยชน์ ๔ อย่าง" ได้แก่ ปลูกไม้เศรษฐกิจ ไม้ผลและไม้ฟนื นอกจากได้ประโยชน์ ตามประเภทของการปลูกแล้ว ยังช่วยสร้างความชุ่มชื้นให้แก่พื้นดินด้วย พระองค์จงึ ทรงเข้าใจธรรมชาติและมนุษย์ ทีอ่ ยูอ่ ย่างเกือ้ กูลกัน ท�ำให้คนอยู่ ร่วมกับป่าไม้ได้อย่างยัง่ ยืน
หลักการทรงงาน ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
หลักการทรงงาน ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ทรงน�ำความจริงในเรื่องความเป็นไปแห่งธรรมชาติและกฎเกณฑ์ ของธรรมชาติมาเป็นหลักการ แนวปฏิบัติที่ส�ำคัญในการแก้ปญั หา และปรับปรุงเปลี่ยนแปลงสภาวะที่ไม่ปกติเข้าสู่ระบบที่เป็นปกติ เช่น การน�ำน�้ำดีขับไล่น�้ำเสีย หรือเจือจางน�้ำเสียให้กลับเป็นน�ำ้ ดี ตามจังหวะการขึน้ ลงตามธรรมชาติของน�ำ้ การบ�ำบัดน�ำ้ เน่าเสียโดยใช้ ผักตบชวาซึง่ มีตามธรรมชาติ ให้ดูดซึมสิ่งสกปรกปนเปื้อนในน�้ำ ดัง พระราชด�ำรัสความว่า “ใช้อธรรมปราบอธรรม
หลักการทรงงาน ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
หลักการทรงงาน ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
เป็นการปลูกป่าลงบนแผ่นดิน ด้วยความต้องการอยูร่ อดของมนุษย์ ท�ำให้ตอ้ งมีการบริโภคและใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างสิน้ เปลือง เพื่อ ประโยชน์ของตนเองและสร้างความเสียหายให้แก่สิ่งแวดล้อม ปั ญ หาความไม่ ส มดุ ล จึ ง บั ง เกิ ดขึ้ น ดั ง นั้ น ในการที่ จ ะฟื ้ น ฟู ทรัพยากรธรรมชาติให้กลับคืนมา จะต้องปลูกจิตส�ำนึกในการรัก ผืนป่าให้แก่คนเสียก่อน ดังพระราชด�ำรัสความตอนหนึ่งว่า "เจ้าหน้าที่ป่าไม้ควรจะปลูกต้นไม้ลงในใจคนเสียก่อน แล้วคนเหล่า นัน้ ก็จะพากันปลูกต้นไม้ลงบนแผ่นดิน และรักษาต้นไม้ดว้ ยตนเอง "
หลักการทรงงาน ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
หลักการทรงงาน ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
จากพระราชด�ำรัสดังกล่าว คือ หลักการในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา ภูมพิ ลอดุลยเดชทีม่ ตี อ่ พสกนิกรไทย “การให้” และ “การเสียสละ” เป็นการ กระท�ำอันมีผลเป็นก�ำไร คือ ความอยูด่ มี สี ขุ ของราษฎร ซึง่ สามารถสะท้อนให้ เห็นเป็นรูปธรรมชัดเจนได้ ดังพระราชด�ำรัสทีไ่ ด้พระราชทานแก่ตวั แทนของปวง ชนชาวไทย ทีไ่ ด้เข้าเฝ้าฯ ถวายพระพรเนือ่ งในวโรกาสเฉลิมพระชนมพรรษา เมือ่ วันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๓๔ ณ ศาลาดุสดิ าลัย พระต�ำหนักจิตรลดารโหฐาน ความตอนหนึง่ ว่า "ประเทศต่ า งๆ ในโลก ในระยะ ๓ ปี ม านี้ คนที่ ก ่ อ ตั้ ง ประเทศ ที่ มหี ลักทฤษฎีในอุดมคติทใี่ ช้ในการปกครองประเทศ ล้วนแต่ลม่ สลายลงไปแล้ว เมืองไทยของเราจะสลายลงไปหรือ เมืองไทยนับว่าอยู่ได้มาอย่างดีเมือ่ ประมาณ ๑๐ วันก่อน มีชาวต่างประเทศมาขอพบ เพือ่ ขอโอวาทเกี่ยวกับ การปกครองประเทศว่าจะท�ำอย่างไร จึงได้แนะน�ำว่า ให้ปกครองแบบ คนจน แบบทีไ่ ม่ตดิ ต�ำรามากเกินไป ท�ำอย่างมีสามัคคี มีเมตตากัน ก็จะ อยูไ่ ด้ตลอด ไม่เหมือนกับคนทีท่ ำ� ตามวิชาการ ทีเ่ วลาปิดต�ำราแล้ว ไม่รู้ จะท�ำอย่างไร ลงท้ายก็ตอ้ งเปิดหน้าแรกเริม่ ใหม่ ถอยหลังเข้าคลอง ถ้า เราใช้ตำ� ราแบบอะลุม้ อล่วยกันในทีส่ ดุ ได้ ก็เป็นการดี ให้โอวาทเขาไปว่า ขาดทุนเป็นการได้ก�ำไรของเรา นักเศรษฐศาสตร์คงค้านว่าไม่ใช่ แต่ เราอธิบายได้ว่า ถ้าเราท�ำอะไรที่เราเสีย แต่ในที่สุดเราเสียนั้น เป็นการ ได้ทางอ้อม ตรงกับงานของรัฐบาลโดยตรง เงินของรัฐบาลหรืออีกนัย หนึง่ คือเงินของประชาชน ถ้าอยากให้ประชาชนอยูด่ กี นิ ดี ก็ตอ้ งลงทุน ต้อง สร้างโครงสร้าง ซึง่ ต้องใช้เงินเป็นร้อย พัน หมืน่ ล้าน ถ้าท�ำไป เป็นการ จ่ายเงินของรัฐบาล แต่ในไม่ชา้ ประชาชนจะได้รบั ผล ราษฎรอยูด่ กี นิ ดี ราษฎรได้ก�ำไรไป ถ้าราษฎรมีรายได้ รัฐบาลก็เก็บภาษีได้สะดวก เพื่อ ให้รฐั บาลได้ทำ� โครงการต่อไป เพือ่ ความก้าวหน้าของประเทศชาติ ถ้ารู้ รัก สามัคคี รูเ้ สียสละ คือการได้ ประเทศชาติกจ็ ะก้าวหน้า และการที่ คนอยูด่ มี สี ขุ นัน้ เป็นการนับทีเ่ ป็นมูลค่าเงินไม่ได้ " หลักการทรงงาน ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
"ขาดทุน
คือ ก�ำไร (Our loss is our gain) การเสีย คือ การได้ ประเทศ ชาติกจ็ ะก้าวหน้า และการทีค่ นอยูด่ มี สี ขุ เป็นการนับทีเ่ ป็นมูลค่าเงินไม่ได้ " หลักการทรงงาน ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
การพัฒนาตามแนวพระราชด�ำรัสเพือ่ แก้ไขปัญหาในเบือ้ งต้น ด้วยการ แก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า เพือ่ ให้มคี วามแข็งแรงพอทีจ่ ะด�ำรงชีวติ ได้ตอ่ ไป แล้วขั้นต่อไปก็คือการพัฒนาให้ประชาชนสามารถอยู่ในสังคมได้ ตามสภาพแวดล้อม และสามารถ “พึง่ ตนเองได้” ในทีส่ ดุ ดังพระราช ด�ำรัสความตอนหนึง่ ว่า "การช่วยเหลือสนับสนุนประชาชนในการประกอบอาชีพและตั้งตัวให้ มีความพอกินพอใช้ก่อนอื่น เป็นสิ่งส�ำคัญยิ่งยวด เพราะผู้มีอาชีพ และฐานะเพียงพอทีจ่ ะพึง่ พาตนเองได้ ย่อมสามารถสร้างความเจริญ ในระดับสูงขัน้ ต่อไป "
หลักการทรงงาน ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
หลักการทรงงาน ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
การพัฒนาเพือ่ ให้พสกนิกรทัง้ หลายประสบความสุขสมบูรณ์ในชีวติ ได้ เริ่ม จากการเสด็จ ไปเยี่ยมเยียนประชาชนทุกหมู่เหล่าในทุกภูมิภาค ของประเทศ ได้ ท อดพระเนตรความเป็ น อยู ่ ข องราษฎรด้ ว ย พระองค์เอง จึงทรงสามารถเข้าพระราชหฤทัยในสภาพปัญหาได้ อย่างลึกซึ้ง ว่ามีเหตุผลมากมายที่ท�ำให้ราษฎรตกอยู่ในวงจรแห่ง ทุกข์เข็น จากนั้นได้พระราชทานความช่วยเหลือให้แก่พสกนิกร มี ความอยู่ดีกินดี มีชีวิตอยู่ในขั้น “พออยู่พอกิน” ก่อน แล้วจึงขยับ ขยายให้มีขีดสมรรถนะที่ก้าวหน้าต่อไป ในการพัฒนาหากมองในภาพรวมของประเทศ มิใช่งานเล็กน้อย แต่ต้องใช้ความคิดและก�ำลังของคนทั้งชาติ จึงจะบรรลุผลส�ำเร็จ ด้วยพระปรีชาญาณในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช จึงท�ำให้คนทั้งหลายได้ประจักษ์ว่า แนวพระราชด�ำริในพระองค์นั้น “เรียบง่าย ปฏิบัติได้ผล” เป็นที่ยอมรับโดยทั่วกัน ดังพระราชด�ำรัส ความตอนหนึ่งว่า " ถ้าโครงการดี ในไม่ช้า ประชาชนก็ได้ก�ำไร จะ ได้ผล ราษฎรอยู่ดีกินดีขึ้น จะได้ประโยชน์ไป
หลักการทรงงาน ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
หลักการทรงงาน ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
เศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทร
มหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช มี พ ระราชด� ำ รั สชี้แนะแนวทางการด�ำเนิน ชีวติ แก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอด นานกว่า ๓๐ ปี ตัง้ แต่กอ่ นเกิด วิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ และเมื่อภายหลังได้ทรงย�้ำแนวทางการ แก้ไข เพื่อให้รอดพ้นและสามารถด�ำรงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืน ภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์และความเปลี่ยนแปลงต่างๆ ดังปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงทีไ่ ด้พระราชทานไว้ดงั นี้ เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชีถ้ งึ แนวการด�ำรงอยูแ่ ละปฏิบตั ติ นของ ประชาชนในทุกระดับ ตัง้ แต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทัง้ ในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดำ� เนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะ การพัฒนาเศรษฐกิจเพือ่ ให้กา้ วทันต่อโลกยุคโลกาภิวตั น์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจ�ำเป็นทีจ่ ะต้อง มีระบบภูมคิ มุ้ กันในตัวทีด่ พี อสมควรต่อการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจาก การเปลีย่ นแปลงทัง้ ภายนอกและภายใน ทัง้ นี้ จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบและความระมัดระวังอย่างยิง่ ในการน�ำวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการด�ำเนินการทุกขัน้ ตอน และขณะเดียวกัน จะต้องเสริมสร้างพืน้ ฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าทีข่ องรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับ ให้มีส�ำนึกในคุณธรรม ความ ซื่อสัตย์สจุ ริต และให้มคี วามรอบรูท้ เี่ หมาะสม ด�ำเนินชีวติ ด้วยความ อดทน ความเพียร มีสติปญั ญา และความรอบคอบ เพือ่ ให้สมดุลและ พร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ทั้งด้านวัตถุ สังคม สิง่ แวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็น อย่างดี หลักการทรงงาน ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
หลักการทรงงาน ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระราชทาน พระราชด�ำรัส เรือ่ ง ความซือ่ สัตย์ สุจริต จริงใจต่อกันอย่างต่อเนือ่ ง ตลอด เพราะทรงเห็นว่าหากคนไทยทุกคนได้รว่ มมือกันช่วยชาติ พัฒนา ชาติด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต จริงใจต่อกันแล้ว ประเทศไทยจะ เจริญก้าวหน้าอย่างมาก คนที่ ไ ม่ มี ค วามสุ จ ริ ต คนที่ ไ ม่ มี ค วามมั่ น คง ชอบแต่ มั ก ง่ า ย ไม่มีวันจะสร้างสรรค์ประโยชน์ส่วนรวมที่ส�ำคัญอันใดได้ ผู้ที่มี ความสุจริตและความมุ่งมั่นเท่านั้น จึงจะท�ำงานส�ำคัญยิ่งใหญ่ที่ เป็นคุณเป็นประโยชน์แท้จริงได้ส�ำเร็จ พระราชด�ำรัส เมื่อ ๑๒ กรกฎาคม ๒๕๒๒ ผู้ที่มีความสุจริตและบริสุทธิ์ใจ แม้จะมีความรูน้ อ้ ยก็ยอ่ มท�ำประโยชน์ ให้แก่สว่ นรวมได้ มากกว่าผูม้ คี วามรูม้ ากแต่ไม่มคี วามสุจริต ไม่มีความ บริสุทธิ์ใจ พระราชด�ำรัส เมื่อ ๑๘ มีนาคม ๒๕๓๓ ผูว้ า่ CEO ต้องเป็นคนทีส่ จุ ริต ทุจริตไม่ได้ ถ้าทุจริตแม้แต่นิดเดียวก็ ขอแช่งให้มีอันเป็นไป ข้าราชการหรือประชาชนมีการทุจริต ถ้ามีทจุ ริต แล้ว บ้านเมืองพัง ทีเ่ มืองไทยพังมาเพราะมีทจุ ริต พระราชด�ำรัส เมื่อ ๑๘ มีนาคม ๒๕๓๓ หลักการทรงงาน ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
หลักการทรงงาน ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ทรงพระเกษมส�ำราญและ ทรงมีความสุขทุกคราที่จะช่วยเหลือประชาชน ซึ่งเคยรับสั่งครั้งหนึ่งว่า "ท�ำงานกับฉัน ฉันไม่มอี ะไรจะให้ นอกจากการมีความสุขร่วมกัน ในการท�ำประโยชน์ให้กบั ผูอ้ นื่ "
หลักการทรงงาน ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
หลักการทรงงาน ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
จากพระราชนิพนธ์ “พระมหาชนก” เป็นพระราชนิพนธ์ที่พระองค์ทรงใช้ เวลาค่อนข้างนานในการคิดประดิษฐ์ ท�ำให้เข้าใจง่าย และปรับเปลี่ยน ให้เข้ากับสภาพสังคมปัจจุบัน อีกทั้งภาพประกอบและคติธรรมต่างๆ ได้สง่ เสริมให้หนังสือเล่มนีม้ คี วามศักดิส์ ทิ ธิ์ ทีห่ ากคนไทยน้อมรับมาศึกษา วิเคราะห์และปฏิบัติตามรอยพระมหาชนก กษัตริย์ผู้เพียรพยายาม แม้จะไม่เห็นฝั่ง ก็ยังว่ายน�้ำต่อไป เพราะถ้าไม่เพียรว่ายก็จะตกเป็น อาหาร ปู ปลา และไม่ได้พบกับเทวดาที่มาช่วยเหลือมิให้จมน�้ำไป เช่น เดียวกับพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ทีท่ รงริเริม่ ท�ำ โครงการต่างๆ ในระยะแรก ที่ไม่มีความพร้อมในการท�ำงานมากนัก และทรงใช้ พ ระราชทรั พ ย์ ส ่ ว นพระองค์ ทั้ ง สิ้ น แต่ พ ระองค์ ก็ มิ ไ ด้ ท ้ อ พระราชหฤทัย มุ่งมั่นพัฒนาบ้านเมืองให้บังเกิดความร่มเย็นเป็นสุข หลักการทรงงาน ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
หลักการทรงงาน ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลเดช
รู้
การที่ เ ราจะลงมื อท�ำสิ่งใดนั้น จะต้องรู้เสีย ก่อน รู้ถึง ปัจจัยทั้งหมด รู้ถึงปัญหา และรู้ถึงวิธีแก้ปัญหา รัก คือ ความรั ก เมื่ อ เรารู ้ ค รบถ้ ว นกระบวนความแล้ ว จะต้องมีความรัก การพิจารณาที่จะเข้าไปลงมือปฏิบัติ แก้ไขปัญหานั้นๆ คือ การสร้างฉันทะ สามัคคี การทีจ่ ะลงมือปฏิบตั ิ ควรค�ำนึงเสมอว่า เราจะท�ำงานคนเดียว ไม่ได้ ต้องร่วมมือร่วมใจกันเป็นองค์กร เป็นหมูค่ ณะ จึงจะมี พลังเข้าไปแก้ปญั หาให้ลลุ ว่ งไปได้ดว้ ยดี บ้านเมืองจะมีความมั่นคงและปกติสุขอยู่ได้ ก็ด้วยนานาสถาบัน อันเป็นหลักของประเทศ และคนไทยทุกหมูเ่ หล่ามีความสมัครสมาน ปรองดองกันดี และรูจ้ กั ปฏิบตั หิ น้าทีใ่ ห้ประสานส่งเสริมกัน ความ พร้อมเพรียงของทุกฝ่ายทุกคน ทีม่ คี วามส�ำนึกแน่ชดั ในหน้าทีค่ วามรับ ผิดชอบ และต้องใจปฏิบตั ติ นปฏิบตั งิ านให้ดใี ห้สอดคล้องกันนี้ ความ สามัคคีในชาติ ถ้าทุกคนในชาติจะได้ตงั้ ตนตัง้ ใจให้อยูใ่ นความสามัคคี ดังกล่าว ประโยชน์และความสุขก็จะพึงเกิดขึน้ พร้อมทัง้ แก่สว่ นตัว และส่วนรวม ประเทศชาติของเราก็จะสามารถรักษาความปกติมนั่ คง พร้อมทัง้ พัฒนาให้รดุ หน้าไปได้
หลักการทรงงาน ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระราชด�ำรัสใน เรื่อง "รู้ รัก สามัคคี" มาอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็น แนวทางปฏิบัติที่มีคุณค่า และมีความหมายลึกซึ้ง สามารถปรับใช้ได้กับทุกยุคทุกสมัย หลักการทรงงาน ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
อ้างอิง : รูปภาพ
ชือ่ ภาพ ห้องท�ำงานของพ่อ ผูส้ ร้างสรรค์/ผูแ้ ต่ง/เจ้าของผลงาน : ภัทรพล อัมพะวา licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercialNoDerivatives 3.0 Thailand License
คุณภัทรพล อัมพะวา ได้วาดภาพเพื่อส่งเข้าโครงการ "วาดเพื่อ พ่อ Draw For King" แสดงความรักและสิง่ ทีร่ ะลึกถึงในหลวงได้ทกุ เรือ่ ง ราว โดยโครงการนี้ได้คัดเลือกภาพวาดจ�ำนวน 599 ภาพจัดท�ำเป็น หนังสือภาพฉบับพิเศษน�ำไปจัดเก็บที่หอสมุดแห่งชาติและน�ำไปจัด นิทรรศการต่อ
ทีม่ า : คลังทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด เข้าถึงได้ที่ : https://oer.learn.in.th/search_detail/result/44547
สถาบันวิจยั และพัฒนาพืน้ ทีส่ งู (องค์การมหาชน