คู่มือ การปลูกผัก
คู่มือปลูกผัก
1
2
คู่มือปลูกผัก
คำ�นำ�
คู่มือปลูกผัก
3
สารบัญ
หน้า 3
คำ�นำ�
4
ผักตระกูลกะหลํ่า (Family Cruciferae) กะหลำ่�ปลีแดง (Red Cabbage) กะหลำ่�ปลี (Cabbage) กะหลำ่�ปลีรูปหัวใจ (Pointed Cabbage) บร็อคโคลี่ (Broccoli) บร็อคโคโลนี่ (Brocoloni/ Baby Brocoli) ผักก�ดข�วปลี (Chinese Cabbage) ผักก�ดห�งหงษ์ (Michilli) เบบี้ฮ่องเต้ (Baby Pak-Choi, Mini Pak Choi) คะน้�ยอดโครงก�รหลวง (Chinese Kale) คะน้�ฮ่องกง (Kailaan)
7 9 13 17 21 25 27 31 35 37 39
ผักตระกูลผักกาดหอม (Family Compositae) ผักก�ดหอมห่อ (Head Lettuce, Iceberg, Crisp Lettuce) ผักก�ดหอมใบแดง (Red Leaf Lettuce) คอสสลัด (Cos Lettuce or Romain Lettuce) เบบี้คอสสลัด (Baby Cos Lettuce) พืชกลุ่มสลัด บัตเทอร์เฮดสลัด (Butterhead Lettuce ) โอ๊คลีฟเขียว (Green Oak Leaf Lettuce) โอ๊คลีฟแดง (Red Oak Leaf Lettuce) ฟิลเล่ย์ไอซ์เบิร์ก (Frillice Iceberg Lettuce) เรดคอรัลสลัด (Red Coral Lettuce)
41 43 45 -
ผักตระกูลแตง (Family Cucurbitaceae) ซุกินี่ (Zucchini) แตงกว�ญี่ปุ่น (Japanese Cucumber) พืชกลุ่มฟักทอง ฟักทองญี่ปุ่น (Japanese Pumpkin) ฟักทองจิ๋ว(ฟักทองญี่ปุ่นมินิ) ฟักทองสีข�ว (White Pumpkin) ฟักทองสีส้ม (Orange Pumpkin) มะระหยก (Bitter Grourd) ยอดซ�โยเต้ (Chayote Shoot)
47 49 51 55 -
คู่มือปลูกผัก
สารบัญ ผักตระกูลมะเขือ (Family Solanaceae) พืชกลุ่มพริกหว�น พริกหว�นเขียว (Bell Pepper, Sweet Pepper) พริกหว�นเหลือง (Bell Pepper, Sweet Pepper) พริกหว�นแดง (Bell Pepper, Sweet Pepper) มะเขือเทศโครงก�รหลวง (Table Tomato) มะเขือเทศเชอร์รี่แดง (Red Cherry Tomato) มะเขือม่วงก้�นเขียว (Egg Plant: pear-shaped) มะเขือม่วงก้�นดำ� (Egg Plant: long-shaped)
หน้า 59 61 69 73 77 79
ผักตระกูลแครอท (Family Umbelliferae) เบบี้แครอท (Baby Carrot) เซเลอรี่ (Celery)
81 83 85
ผักตระกูลถั่ว (Family Leguminosae) ถั่วแขก (Common Bean)-ถั่วเข็ม (Needle Bean) ถั่วลันเต�หว�น (Sugar Snap Pea)
87 89 91
ผักตระกูล Chenopodiaceae ปวยเหล็ง (Spinach)
95 97
ผักตระกูล Amaryllidacea กระเทียมต้น (Leek) หอมญี่ปุ่น (Japanese Bunching Onion)
99 101 103
ผักตระกูลหญ้า (Family Graminae) ข้�วโพดหว�น 2 สี (Bi-color Sweet Corn)
105 107
การป้องกันกําจัดโรคและแมลง
111
รายชื่อผู้จัดทํา
149
เอกสารอ้างอิง
150
คู่มือปลูกผัก
5
6
คู่มือปลูกผัก
ผักตระกูลกะหลํ่า
(Family Brassicaceae)
FAMILY BRASSICACEAE
กะหล่ำ�ปลีแดง Red cabbage
1. ลักษณะทั่วไป
RED
CABBAGE
กะหลา่ํ ปลีแดง (Brassica oleracea var. capitata f. rubra) จัดอยูใ่ นวงศ์ Brassicaceae (Cruciferae) เป็นพืชล้มลุกสองปี มีลกั ษณะคล้ายกะหลา่ํ ปลีธรรมดา ใบมีสแี ดงหรือม่วงเข้ม เนือ่ งจากมีสาร anthocyanin (flavins) จำ�นวนมาก ทั้งนี้ระดับความเข้มของสีใบขึ้นอยู่กับสภาพความเป็นกรดด่างของดิน กะหลํ่าปลีแดง มีลำ�ต้นสั้น ใบหนา และมีนวล ใบเจริญจากลำ�ต้นเรียงซ้อนกันหลายชั้น ใบในระยะแรกมีขนาดใหญ่แต่ไม่ เข้าปลี ใบใหม่ที่เกิดขึ้นด้านในเรียงสลับซ้อนกันหลายชั้นจนเข้าปลีแน่น การเข้าปลีในระยะแรกจะช้า แต่ จะเข้าปลีแน่นในช่วงท้ายของการเจริญเติบโต ลักษณะปลีอาจแตกต่างกัน กลมหรือค่อนข้างกลมขึ้นอยู่กับ สายพันธุ์
2. สภาพแวดลอมที่เหมาะสม กะหลา่ํ ปลีแดงสามารถขึน้ ได้ในดินแทบทุกชนิด โดยเฉพาะดินทีม่ ลี กั ษณะโปร่งและร่วนซุย มีความชืน้ ในดิน ค่าความเป็นกรด-ด่างทีเ่ หมาะสมอยูใ่ นช่วง 6-6.5 สำ�หรับอุณหภูมทิ เ่ี หมาะสมสำ�หรับการเจริญเติบโต อยู่ระหว่าง 15-20ºC หากอุณหภูมิสูงกว่า 25ºC อัตราการเจริญเติบโตและการให้ผลผลิตจะลดลง อย่างไร ก็ตามระดับอุณหภูมิอาจมีผลกระทบแตกต่างกันบ้างเล็กน้อย ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสายพันธุ์ เนื่องจากกะหลํ่าปลี เป็นพืชทีต่ อ้ งการความชืน้ ในดินมาก ดังนัน้ จึงควรให้นา้ํ อย่างพอเพียง หากความชืน้ ในดินตํา่ กว่า 50 เปอร์เซ็นต์ จะทำ�ให้ผลผลิตลดลงกว่าปกติ 20 - 30 เปอร์เซ็นต์ ระยะที่กะหลํ่าปลีต้องการนํ้ามากที่สุด ได้แก่ ระยะการ เจริญเติบโตเต็มที่ และระยะเริ่มห่อปลี
คู่มือปลูกผัก
9
3. การใชประโยชนและคุณคาทางอาหาร กะหลํ่าปลีแดงเป็นพืชที่มีเยื่อใยสูง อุดมไปด้วยคุณค่าสารอาหารหลายชนิด เช่น โปรตีน (สาร indoles เป็นผลึก ที่แยกมาจาก tryptophan ซึ่งเป็นกรดอะมิโนที่จำ�เป็นต่อร่างกาย) คาร์โบไฮเดรต โซเดียม วิตามินซี พบมากกว่า กะหลํ่าปลีสีเขียวถึงสองเท่า ช่วยป้องกันโรคเลือดออกตามไรฟัน นอกจากนี้มีสารซัลเฟอร์ (sulfer) ช่วยกระตุ้นการ ทำ�งานของลำ�ไส้ใหญ่ การกินกะหลํ่าปลีบ่อยๆ ช่วยลดโอกาสการเกิดมะเร็งลำ�ไส้ใหญ่ มะเร็งในช่องท้อง และลดระดับ คลอเลสเตอรอล นํ้ากะหลํ่าปลีคั้นสดๆ ช่วยรักษาโรคกระเพาะ อย่างไรก็ตามกะหลํ่าปลีมีสารชนิดหนึ่งที่เรียกว่า goitrogen ถ้าสารนีม้ มี ากจะขัดขวางการทำ�งานของต่อมไทรอยด์ ทำ�ให้น�ำ ไอโอดีนในเลือดไปใช้ได้นอ้ ย ดังนัน้ ไม่ควร กินกะหลํ่าปลีแดงสดๆ วันละ 1-2 กิโลกรัม แต่การปรุงสุกจะทำ�ให้สาร goitrogen หายไป การบริโภคนิยมรับประทานสด เช่น ใส่สลัด หรือนำ�มาตกแต่งจานอาหาร การนำ�มาประกอบอาหารไม่ควรผ่าน ความร้อนนาน เพราะจะทำ�ให้สูญเสียวิตามินและคุณค่าอาหาร
4. การปลูก และดูแลรักษา 4.1 การเตรียมกล้า เพาะกล้าในถาดหลุมโดยใช้วัสดุเพาะ และพ่นปุ๋ยทางใบในช่วงก่อนย้ายปลูก 1 สัปดาห์ สำ�หรับอายุกล้าที่เหมาะสม คือ 25-30 วัน หรือมีใบจริง 2-3 ใบ การย้ายกล้าช้าหรือกล้าแก่เกินไปจะมีผลต่อการ เจริญเติบโตและทำ�ให้การเข้าปลีช้า ควรเลือกต้นกล้าที่แข็งแรง ปราศจากโรคและแมลง 4.2 การเตรียมดิน และย้ายปลูก ไถดินให้ลกึ ประมาณ 20 - 30 เซนติเมตร ตากแดดทิง้ ไว้ 7 - 14 วัน เพือ่ ทำ�ลาย โรคแมลง และวัชพืช หากมีเศษวัชพืชควรเก็บออกจากแปลงเพื่อไม่ให้เป็นแหล่งสะสมของโรคและแมลง จากนั้น ย่อยดินให้ละเอียด ใส่ปุ๋ยหมัก หรือปุ๋ยคอกหมัก อัตรา 3 - 4 ตัน/ไร่ ควรวัดค่าความเป็นกรด - ด่าง ของดินก่อน การปลูก การปรับค่าความเป็นกรด-ด่างของดินให้เหมาะสม จะทำ�ให้การดูดธาตุอาหารในดินไปใช้ได้ดยี ง่ิ ขึน้ การปลูก ควรขึ้นแปลงกว้าง 1.0 - 1.2 เมตร ช่วงฤดูฝนควรยกแปลงให้สูง 20 - 30 เซนติเมตร เพื่อลดปัญหานํ้าท่วมขัง และ เพิ่มการระบายนํ้า ระยะปลูกมีอิทธิพลต่อขนาดของปลี อย่างไรก็ตามกะหลํ่าปลีที่นิยมปลูกบนพื้นที่สูงส่วนใหญ่ มี ขนาดไม่ใหญ่มากหรือเป็นพันธุ์เบา ดังนั้นควรใช้ระยะปลูก 40x40 หรือ 40x50 เซนติเมตร ข้อควรระวัง การปลูกในฤดูร้อน ควรให้นํ้าสมํ่าเสมอ หากขาดนํ้าจะทำ�ให้การเข้าปลีไม่แน่น ชะงักการเจริญเติบโต และมีผล ต่อปริมาณและคุณภาพผลผลิต 4.3 การให้นา้ํ กะหลํา่ ปลีมคี วามต้องการความชืน้ ในดินสูง ความชืน้ ทีพ่ อเหมาะประมาณ 60 - 80% หากตํา่ กว่า 50% ผลผลิตจะลดลง 20 - 30% โดยช่วงทีก่ ะหลํา่ ปลีตอ้ งการนา้ํ มากทีส่ ดุ คือ ระยะหลังจากปลูกไปจนถึงระยะห่อปลี เมื่อห่อปลีแน่นแล้วความต้องการนํ้าจะลดลง ดังนั้นจึงควรลดปริมาณการให้นํ้าก่อนการเก็บเกี่ยว 4.4 การให้ปยุ๋ กะหลา่ํ ปลีแดงมีความต้องการธาตุอาหารสูง โดยเฉพาะปุย๋ ไนโตเจนและโพแทสเซียม ทัง้ นี้ 20% ของปุ๋ยไนโตรเจนที่พืชต้องการควรใส่ในช่วงก่อนการปลูก นอกจากนี้ควรระมัดระวังการขาดธาตุอาหารรอง เช่น แคลเซียม หรือแมกนีเซียม อย่างไรก็ตามปริมาณปุย๋ ทีใ่ ห้พชื ควรขึน้ อยูก่ บั ผลค่าวิเคราะห์ดนิ โดยทัว่ ไปให้ปยุ๋ ดังนี้ ครั้งที่ 1 หลังย้ายปลูก 7-10 วัน ใส่ปุ๋ย 15-15-15 หรือ 15-0-0 (1:1) อัตรา 20-25 กรัม/ตารางเมตร ครั้งที่ 2 หลังย้ายปลูก 30-35 วัน ใส่ปุ๋ย 15-15-15 หรือ 15-0-0 (1:1) อัตรา 20-25 กรัม/ตารางเมตร ครั้งที่ 3 ระยะเข้าปลี 55-60 วัน หลังปลูก ใส่ปุ๋ย 13-13-21 อัตรา 80 กรัม/ตารางเมตร
10
คู่มือปลูกผัก
4.5 การป้องกันศัตรูพืช หลังย้ายปลูกควรสำ�รวจแปลงอย่างสมํ่าเสมอ กำ�จัดวัชพืชในแปลงปลูกและบริเวณ รอบๆ แปลงปลูก เพื่อป้องกันการเข้าทำ�ลายของโรคและแมลง และลดปัญหาแหล่งสะสมของศัตรูพืช และทาก ทัง้ นีช้ ว่ งก่อนระยะห่อปลีตอ้ งดูแลอย่างใกล้ชดิ สำ�หรับแมลงและโรคศัตรูกะหลา ่ํ และการป้องกันดูรายละเอียดในหน้าที่ ข้อควรระวัง 1. หลีกเลี่ยงการปลูกในพื้นที่ที่มีฝนตกชุก เนื่องจากกะหลํ่าปลีแดงมีอายุยาว อาจทำ�ให้ปลีเน่าได้ง่าย 2. ช่วงฤดูฝนและฤดูร้อนต้องดูแลอย่างใกล้ชิด เนื่องจากจะพบปัญหาแมลงและโรคระบาดมาก นอกจากการ ได้รับนํ้าหรือปุ๋ยไนโตรเจนมากเกินไปอาจพบอาการแตกของต้นหรือปลีง่าย
5. การเก็บเกี่ยว ควรเก็บกะหลา่ํ ปลีแดงในเวลาเช้าหรือเย็น ไม่ควรให้นา้ํ ก่อนเก็บเกีย่ วเพราะจะทำ�ให้กะหลํา่ ปลีเน่าง่ายหลังเก็บเกีย่ ว เลือกเก็บกะหลํา่ ปลีแดงทีม่ ปี ลีแน่นพอดี หากแก่เกินไป จะทำ�ให้ปลีแตกง่าย และควรมีใบนอกหุม้ 2-3 ใบ เพือ่ ป้องกัน ใบภายใน
RED CABBAGE
คู่มือปลูกผัก
11
12
คู่มือปลูกผัก
กะหล่ำ�ปลี Cabbage
1. ลักษณะทั่วไป
CABBAGE
กะหลํ่าปลี (Brassica oleracea var. capitata) เป็นพืชผักกลุ่มกะหลํ่า (Cole crop groups) ที่มี ความสำ�คัญมากที่สุดของโลก อยู่ในวงศ์ Brassicaceae (Cruciferae) เป็นพืชข้ามฤดู แต่นิยมปลูกฤดูเดียว ลักษณะลำ�ต้นที่เป็นแกนกลาง มีขนาดสั้น ใบเจริญจากลำ�ต้นเรียงตัวห่อซ้อนกันหลายชั้น ใบระยะแรกมี ขนาดใหญ่ไม่ห่อปลี ใบที่เกิดใหม่ด้านในเรียงตัวสลับซ้อนกันหลายชั้นเข้าปลีแน่น ลักษณะการเข้าปลีอาจ แตกต่างกัน เช่น กลม หรือกลมแบน ขึ้นอยู่กับสายพันธุ์ พืชตระกูลกะหลํ่า มีกลิ่นเฉพาะเกิดจากสาร ประกอบ glycosinolate เมื่อเปลี่ยนรูปให้รสขม และมีกลิ่น สายพันธุ์ที่ได้รับการปรับปรุงใหม่จะมีปริมาณ glycosinolate ตํ่ากว่าสายพันธุ์ดั่งเดิม หรือสายพันธุ์ป่า
2. สภาพแวดลอมที่เหมาะสม กะหลํ่าปลีเป็นพืชเขตหนาว เจริญได้ดีในสภาพอุณหภูมิตํ่า (ไม่ควรตํ่ากว่า 0 ºC) ความชื้นสูง อุณหภูมิ ที่สามารถเจริญเติบโตได้อยู่ระหว่าง 4-24 ºC แต่ช่วงที่เหมาะสม คือ 15-20 ºC หากอุณหภูมิสูงกว่า 25 ºC อัตราการเจริญและผลผลิตจะลดลง อย่างไรก็ตามระดับอุณหภูมิอาจมีผลกระทบแตกต่างกันบ้างเล็กน้อย ขึ้นอยู่กับพันธุ์ ปัจจุบันได้มีการพัฒนาสายพันธุ์ที่สามารถทนต่ออุณหภูมิสูง และสามารถปลูกในเขตร้อนชื้น ได้ตลอดปี ดังนั้นการเลือกสายพันธุ์ให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมในแต่ละฤดูกาลเป็นสิ่งจำ�เป็นอย่างยิ่ง อย่างไรก็ตามในประเทศไทยยังควรพิจารณาปลูกพันธุ์เบา เนื่องจากมีช่วงฤดูหนาวสั้น ดินที่เหมาะสม ต่อการปลูกกะหลา่ํ ปลี คือ ดินร่วนปนดินเหนียว หรือดินร่วนปนทราย ค่าความเป็นกรด-ด่างอยูใ่ นช่วง 6.0-6.5
คู่มือปลูกผัก
13
3. การใชประโยชนและคุณคาทางอาหาร กะหลํา่ ปลีเป็นพืชทีม่ เี ยือ่ ใยสูง อุดมไปด้วยวิตามินซีคอ่ นข้างสูง ช่วยป้องกันโรคเลือดออกตามไรฟัน มีสารซัลเฟอร์ (sulfur) ช่วยกระตุ้นการทำ�งานของลำ�ไส้ใหญ่ การกินกะหลํ่าปลีบ่อยๆ ช่วยลดโอกาสเป็นโรคมะเร็งในลำ�ไส้ มะเร็ง ในช่องท้อง ลดระดับคอเลสเตอรอล ข้อควรระวัง กะหลํ่าปลีมีสาร goitrogen เล็กน้อย ถ้าได้รับสารนี้มากจะไป ขัดขวางการทำ�งานของต่อมไทรอยด์ ทำ�ให้นำ�ไอโอดีนในเลือดไปใช้ได้น้อย ดังนั้นไม่ควรกินกะหลํ่าปลีสด วันละ 1-2 กิโลกรัม แต่การปรุงสุกจะทำ�ให้สาร goitrogenหายไป การบริโภค นิยมรับประทานสด กินแกล้มกับลาบ ส้มตำ� อาหารประเภทยำ� ใส่ในสลัด ผัดหรือทำ�แกงจืด หรือกะหลํ่าปลีดอง
4. การปลูก และดูแลรักษา 4.1 การเตรียมกล้า เพาะกล้าในถาดหลุมโดยใช้วัสดุเพาะ และพ่นปุ๋ยทางใบในช่วงก่อนย้ายปลูก 1 สัปดาห์ สำ�หรับอายุกล้าที่เหมาะสม คือ 25-30 วัน หรือมีใบจริง 2-3 ใบ การย้ายกล้าช้าหรือกล้าแก่เกินไปจะมีผลต่อการ เจริญเติบโตและทำ�ให้การเข้าปลีช้า ควรเลือกต้นกล้าที่แข็งแรง ปราศจากโรคและแมลง 4.2 การเตรียมดิน และย้ายปลูก ไถดินให้ลึกประมาณ 20-30 เซนติเมตร ตากแดดทิ้งไว้ 7-14 วัน เพื่อทำ�ลาย โรคแมลง และวัชพืช หากมีเศษวัชพืชควรเก็บออกจากแปลงเพือ่ ไม่ให้เป็นแหล่งสะสมของโรคและแมลง จากนัน้ ย่อยดิน ให้ละเอียด ใส่ปุ๋ยหมัก หรือปุ๋ยคอกหมัก อัตรา 3 - 4 ตัน/ไร่ ควรวัดค่าความเป็นกรด - ด่าง ของดินก่อนการปลูก การปรับค่าความเป็นกรด-ด่างของดินให้เหมาะสม จะทำ�ให้การดูดธาตุอาหารในดินไปใช้ได้ดียิ่งขึ้นการปลูกควร ขึ้นแปลงกว้าง 1.0 - 1.2 เมตร ช่วงฤดูฝนควรยกแปลงให้สูง 20-30 เซนติเมตร เพื่อลดปัญหานํ้าท่วมขัง และเพิ่ม การระบายนํ้า ระยะปลูกมีอิทธิพลต่อขนาดของปลี อย่างไรก็ตามกะหลํา่ปลีที่นิยมปลูกบนพื้นที่สูงส่วนใหญ่ มีขนาด ไม่ใหญ่มากหรือเป็นพันธุ์เบา ดังนั้นควรใช้ระยะปลูก 40x40 หรือ 40x50 เซนติเมตร 4.3 การให้นํ้า กะหลํ่าปลีมีความต้องการความชื้นในดินสูง ความชื้นที่พอเหมาะประมาณ 60-80% หากตํ่ากว่า 50% ผลผลิตจะลดลง 20-30% โดยช่วงที่กะหลํ่าปลีต้องการนํ้ามากที่สุด คือ ระยะหลังจากปลูกไปจนถึงระยะห่อ ปลี เมื่อห่อปลีแน่นแล้วความต้องการนํ้าจะลดลง ดังนั้นจึงควรลดปริมาณการให้นํ้าก่อนการเก็บเกี่ยว ข้อควรระวัง การปลูกในช่วงฤดูร้อน ควรให้นํ้าอย่างสมํ่าเสมอ หากขาดนํ้าจะทำ�ให้ชะงักการเจริญเติบโต การเข้าปลีไม่ แน่น หลวม ซึ่งมีผลต่อปริมาณและคุณภาพผลผลิต 4.4 การให้ปุ๋ย กะหลํ่าปลีมีความต้องการปุ๋ยไนโตรเจนและโปแตสเซียมสูง โดยปุ๋ยไนโตเจนช่วยเร่งการเจริญ เติบโต ทำ�ให้ผลผลิตต่อไร่สูง ปลีมีรสหวานกรอบ เส้นใยน้อย การขาดปุ๋ยไนโตรเจนทำ�ให้ผลผลิตต่อไร่ตํ่า แก่ช้า เส้นใย มาก รสเผ็ด และลดอายุการเก็บรักษา ทัง้ นี้ 20% ของปุย๋ ไนโตรเจนทีพ่ ชื ต้องการควรใส่ในช่วงก่อนการปลูก แต่ระยะ ทีก่ ะหลํา่ ปลีตอ้ งการปุย๋ ไนโตรเจนมาก คือ ช่วงเข้าปลี ส่วนปุย๋ โปแตสเซียมช่วยทำ�ให้ปลีแน่น นา้ํ หนักดี รสหวานกรอบ อย่างไรก็ตามปริมาณปุย๋ ทีก่ ะหลํา่ ปลีตอ้ งการจะแตกต่างกันไปขึน้ อยูก่ บั สภาพพืน้ ที่ ประวัตกิ ารใช้ดนิ คุณสมบัตขิ องดิน ดังนั้นต้องพิจารณาตามความเหมาะสมของแต่ละพื้นที่ และควรใช้ผลค่าวิเคราะห์ดินมาประกอบการพิจารณาใส่ปุ๋ย สำ�หรับการให้ปุ๋ยกะหลํ่าปลีบนพื้นที่สูงโดยทั่วไปมีดังนี้ ครั้งที่ 1 หลังย้ายปลูก 7-10 วัน ให้ปุ๋ยสูตร 21-0-0 และ 15-15-15 อัตรา 1:1 ปริมาณ 20-25 กรัม/ตารางเมตร ครั้งที่ 2 หลังย้ายปลูก 20-30 วัน ให้ปุ๋ยสูตร 15-15-15 ปริมาณ 30-35 กรัม/ตารางเมตร ครั้งที่ 3 หลังย้ายปลูก 60 วัน ให้ปุ๋ยสูตร 13-13-21 ปริมาณ 35 กรัม/ตารางเมตร
14
คู่มือปลูกผัก
4.5 การป้องกันศัตรูพืช หลังย้ายปลูกควรสำ�รวจแปลงอย่างสมํ่าเสมอ กำ�จัดวัชพืชในแปลงปลูกและบริเวณ รอบๆ แปลงปลูก เพื่อป้องกันการเข้าทำ�ลายของโรคและแมลง และลดปัญหาแหล่งสะสมของศัตรูพืช และทาก ทั้งนี้ ช่วงก่อนระยะห่อปลีต้องดูแลอย่างใกล้ชิด สำ�หรับแมลงและโรคศัตรูกะหลํ่า และการป้องกันดูรายละเอียดในหน้าที่ ข้อควรระวัง 1. หลีกเลี่ยงการปลูกในพื้นที่ที่มีฝนตกชุก เนื่องจากกะหลํ่าปลีมีอายุยาว อาจทำ�ให้ปลีเน่าได้ง่าย 2. ช่วงฤดูฝนและฤดูร้อนต้องดูแลอย่างใกล้ชิด เนื่องจากจะพบปัญหาแมลงและโรคระบาดมาก นอกจากการ ได้รับนํ้าหรือปุ๋ยไนโตรเจนมากเกินไปอาจพบอาการแตกของต้นหรือปลีง่าย
5. การเก็บเกี่ยว ควรเก็บกะหลํ่าปลีในเวลาเช้าหรือเย็น ไม่ควรให้นํ้าก่อนเก็บเกี่ยวเพราะจะทำ�ให้กะหลํ่าปลีเน่าง่ายหลังเก็บเกี่ยว เลือกเก็บกะหลา่ํ ปลีทม่ี ปี ลีแน่นพอดี หากแก่เกินไป จะทำ�ให้ปลีแตกง่าย และควรมีใบนอกหุม้ 2-3 ใบ เพือ่ ป้องกันใบ ภายใน
CABBAGE
คู่มือปลูกผัก
15
16
คู่มือปลูกผัก
กะหล่ำ�ปลีรูปหัวใจ Pointed cabbage
1. ลักษณะทั่วไป
POINTED
CABBAGE
กะหลํ่าปลีรูปหัวใจ (Brassica oleracea var. capitata) จัดเป็นกะหลํ่าปลีอีกสายพันธุ์หนึ่งซึ่งอยู่ใน วงศ์ Brassicaceae (Cruciferae) ลำ�ต้นหรือแกนกลางมีขนาดสั้น มีลักษณะรูปร่างแตกต่างจากกะหลํ่าปลี ทัว่ ไป คือ ใบเรียงตัวห่อซ้อนกันหลายๆ ชัน้ เกาะกันเป็นปลีแหลม หรือรูปหัวใจ และเข้าปลีไม่แน่น ใบนอก มีสีเขียว ส่วนใบด้านในมีสีเขียวอ่อนกว่าหรือขาว มีลักษณะกรอบ และรสชาติหวานกว่ากะหลํ่าปลีทั่วไป ให้ผลผลิตดีในช่วงฤดูหนาว
2. สภาพแวดลอมที่เหมาะสม กะหลํ่าปลีรูปหัวใจเป็นพืชเขตหนาวเจริญได้ดีในสภาพอุณหภูมิตํ่า ความชื้นสูง อุณหภูมิที่สามารถ เจริญเติบโตได้อยู่ระหว่าง 4-24 ºC แต่ช่วงที่เหมาะสม คือ 15-20 ºC หากปลูกในสภาพอุณหภูมิตํ่ากว่า 10 ºC หรือสูงกว่า 30 ºC พืชจะชะงักการเจริญเติบโต และแทงช่อดอก ปัจจุบันเริ่มมีการพัฒนาสายพันธุ์ ให้ทนต่ออุณหภูมิสูง สำ�หรับดินที่เหมาะสมต่อการปลูกควรโปร่ง ร่วนซุย การระบายนํ้า อากาศดี ดินที่ เหมาะสมต่อการปลูกกะหลํ่าปลี คือ ดินร่วนปนดินเหนียว หรือดินร่วนปนทราย ค่าความเป็นกรด-ด่าง อยู่ในช่วง 6.0-6.5
คู่มือปลูกผัก
17
3. การใชประโยชนและคุณคาทางอาหาร กะหลํ่าปลีรูปหัวใจเป็นพืชที่มีเยื่อใยสูง อุดมไปด้วยวิตามินซีค่อนข้างสูง ช่วยป้องกันโรคเลือดออกตามไรฟัน มีสารซัลเฟอร์ (sulfur) ช่วยกระตุน้ การทำ�งานของลำ�ไส้ใหญ่ การกินกะหลา่ํ ปลีบอ่ ยๆ จะช่วยลดโอกาสเป็นโรคมะเร็ง ในลำ�ไส้ มะเร็งในช่องท้อง ลดระดับคลอเลสเตอรอล ข้อพึงระวัง กะหลํ่าปลีมีสารชนิดหนึ่งที่เรียกว่า goitrogen เล็กน้อย ถ้าสารนีม้ มี ากจะไปขัดขวางการทำ�งานของต่อมไทรอยด์ ทำ�ให้น�ำ ไอโอดีนในเลือดไปใช้ได้นอ้ ย ดังนัน้ ไม่ควร กินกะหลํ่าปลีสดๆ วันละ 1-2 กิโลกรัม แต่ถ้าสุกแล้วสาร goitrogen จะหายไป ส่วนใหญ่นิยมรับประทานสด เพราะ มีรสชาติหวานกรอบกว่ากะหลา่ํ ปลีทว่ั ไป กินแกล้มกับลาบ ส้มตำ� อาหารประเภทยำ�ใส่ในสลัด ผัด หรือใส่ในแกงจืด
4. การปลูก และดูแลรักษา 4.1 การเตรียมกล้า ควรเพาะกล้าในถาดหลุมโดยใช้วัสดุเพาะ และพ่นปุ๋ยทางใบในช่วงก่อนย้ายปลูก 1 สัปดาห์ สำ�หรับอายุกล้าที่เหมาะสม คือ 25 - 30 วัน หรือมีใบจริง 2 - 3 ใบ การย้ายกล้าช้าหรือกล้าแก่เกินไปจะมีผลต่อ การเจริญเติบโตและทำ�ให้การเข้าปลีช้า ควรเลือกต้นกล้าที่แข็งแรง ปราศจากโรคและแมลง 4.2 การเตรียมดิน และย้ายปลูก ไถดินให้ลึกประมาณ 20 - 30 เซนติเมตร ตากแดดทิ้งไว้ 7 - 14 วัน เพื่อทำ�ลาย โรคแมลง และวัชพืช หากมีเศษวัชพืชควรเก็บออกจากแปลงเพื่อไม่ให้เป็นแหล่งสะสมของโรคและแมลง จากนั้น ย่อยดินให้ละเอียด ใส่ปยุ๋ หมัก หรือปุย๋ คอกหมัก อัตรา 3 - 4 ตัน/ไร่ ควรวัดค่าความเป็นกรด - ด่าง ของดินก่อนการปลูก การปรับค่าความเป็นกรด - ด่างของดินให้เหมาะสม จะทำ�ให้การดูดธาตุอาหารในดินไปใช้ได้ดียิ่งขึ้น การปลูกควร ขึ้นแปลงกว้าง 1.0 - 1.2 เมตร ช่วงฤดูฝนควรยกแปลงให้สูง 30 - 50 เซนติเมตร เพื่อลดปัญหานํ้าท่วมขัง และเพิ่ม การระบายนํา ้ ระยะปลูกมีอทิ ธิพลต่อขนาดของปลี อย่างไรก็ตามกะหลา่ํ หัวใจทีน่ ยิ มปลูกบนพืน้ ทีส่ งู ส่วนใหญ่ มีขนาด ไม่ใหญ่มากหรือเป็นพันธุ์เบา ดังนั้นควรใช้ระยะปลูก 40x40 หรือ 40x50 เซนติเมตร 4.3 การให้นํ้า กะหลํ่าปลีหัวใจมีความต้องการความชื้นในดินสูง ความชื้นที่พอเหมาะประมาณ 60-80% หาก ตํ่ากว่า 50% ผลผลิตจะลดลง 20-30% โดยช่วงที่กะหลํ่าปลีหัวใจต้องการนํ้ามากที่สุด คือ ระยะหลังจากปลูกไป จนถึงระยะห่อปลี เมื่อห่อปลีแน่นแล้วความต้องการนํ้าจะลดลง ดังนั้นจึงควรลดปริมาณการให้นํ้าก่อนการเก็บเกี่ยว ข้อควรระวัง 1) การปลูกในช่วงฤดูรอ้ น ควรให้นา้ํ อย่างสมา่ํ เสมอ หากขาดนา้ํ จะทำ�ให้ชะงักการเจริญเติบโต การเข้าปลีหลวม ซึ่งมีผลต่อปริมาณและคุณภาพผลผลิต 4.4 การให้ปุ๋ย กะหลํ่าปลีหัวใจมีความต้องการปุ๋ยไนโตรเจนและโปแตสเซียมสูง โดยปุ๋ยไนโตเจนช่วยเร่งการ เจริญเติบโต ทำ�ให้ผลผลิตต่อไร่สงู ปลีมรี สหวานกรอบ เส้นใยน้อย การขาดปุย๋ ไนโตรเจนทำ�ให้ผลผลิตต่อไร่ตา ่ํ แก่ชา้ เส้นใยมาก รสเผ็ด และลดอายุการเก็บรักษา โดยระยะที่มีความต้องการปุ๋ยไนโตรเจนมาก คือ ช่วงเข้าปลี ส่วนปุ๋ย โปแตสเซียมช่วยทำ�ให้ปลีแน่น นํ้าหนักดี รสหวานกรอบ ปริมาณปุ๋ยที่กะหลํ่าปลีหัวใจต้องการแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับสภาพพื้นที่ ประวัติการใช้ดิน คุณสมบัติของดิน ดังนั้นต้องพิจารณาตามความเหมาะสมของแต่ละพื้นที่ และควรใช้ข้อมูลผลค่าวิเคราะห์ดินมาประกอบการพิจารณา ให้ปุ๋ย
18
คู่มือปลูกผัก
สำ�หรับการใส่ปุ๋ยกะหลํ่าปลีบนพื้นที่สูง มีดังนี้ ครั้งที่ 1 หลังย้ายปลูก 7-10 วัน ใส่ปุ๋ย 15-15-15 หรือ 15-0-0 อัตรา 20-25 กรัม/ตารางเมตร ครั้งที่ 2 หลังย้ายปลูก 30-35 วัน ใส่ปุ๋ย 15-15-15 อัตรา 25-30 กรัม/ตารางเมตร ครั้งที่ 3 ระยะเข้าปลี หลังย้ายปลูก 45-50 วัน ใส่ปุ๋ย 13-13-21 อัตรา 25-30 กรัม/ตารางเมตร 4.5 การป้องกันศัตรูพืช หลังย้ายปลูกควรสำ�รวจแปลงอย่างสมํ่าเสมอ กำ�จัดวัชพืชในแปลงปลูกและบริเวณ รอบๆ แปลงปลูก เพื่อป้องกันการเข้าทำ�ลายของโรคและแมลง และลดปัญหาแหล่งสะสมของศัตรูพืช และทาก ทั้งนี้ช่วงก่อนระยะห่อปลีต้องดูแลอย่างใกล้ชิด สำ�หรับแมลงและโรคศัตรูกะหลํ่า และการป้องกันดูรายละเอียดใน หน้าที่ ข้อควรระวัง 1. หมั่นสำ�รวจโรคและแมลงอย่างสมํ่าเสมอ โดยเฉพาะในช่วงฤดูร้อน และฝน และควรเพิ่มความถี่ของการ สำ�รวจในระยะก่อนเข้าปลี เนื่องจากเป็นระยะที่มีแมลงศัตรูพืช 2. ช่วงฤดูฝนต้องดูแลอย่างใกล้ชิด และโรคพืชเข้าทำ�ลายมาก อีกทั้งอาจจะมีอาการแตกของต้นร่วมด้วย
5. การเก็บเกี่ยว ควรเก็บกะหลํ่าปลีหัวใจในเวลาเช้าหรือเย็น ไม่ควรให้นํ้าก่อนเก็บเกี่ยวเพราะจะทำ�ให้กะหลํ่าปลีเน่าง่ายหลัง เก็บเกี่ยว เลือกเก็บกะหลํ่าปลีที่มีปลีแน่นพอดี หากแก่เกินไป จะทำ�ให้ปลีแตกง่าย และควรมีใบนอกหุ้ม 2 - 3 ใบ เพื่อป้องกันใบภายใน
POINTED CABBAGE
คู่มือปลูกผัก
19
20
คู่มือปลูกผัก
บร็อคโคลี่ Broccoli
1. ลักษณะทั่วไป
BROCCOLI
บร็อคโคลี่ (Brassica oleracea var. italica) จัดเป็นผักตระกูลกะหลํ่าที่ปลูกเพื่อบริโภคส่วนของ ดอกอ่อน ก้านดอก และลำ�ต้น ส่วนของดอกสีเขียวหรือเรียกว่า head ประกอบด้วยดอกย่อยขนาดเล็ก สีเขียวเป็นจำ�นวนมาก ที่รวมกันเป็นกลุ่มใหญ่เกาะตัวแน่น แต่ไม่อัดแน่นเหมือนดอกกะหลํ่า ยังสามารถ แยกกันได้อย่างเด่นชัด บร็อคโคลี่มีถิ่นกำ�เนินอยู่ทางตอนใต้ของยุโรปแถบประเทศอิตาลี นำ�เข้ามาปลูกใน เมืองไทยโดยปลูกในพื้นที่ภาคเหนือของประเทศไทย เนื่องจากเป็นผักที่สามารถปลูกได้ดีในช่วงหน้าหนาว แต่การผลิตนอกฤดูทำ�ได้ยาก จึงทำ�ให้ราคาค่อนข้างแพง ปัจจุบันมีการพัฒนาสายพันธุ์ให้ทนร้อนมากขึ้น การเลือกสายพันธุ์ที่เหมาะสม ทำ�ให้สามารถผลิตในช่วงนอกฤดูบนพื้นที่สูงได้
2. สภาพแวดลอมที่เหมาะสม บร็อคโคลี่เป็นพืชเมืองหนาวที่ต้องการสภาพอากาศเย็นในการเจริญเติบโต อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อ การปลูกอยู่ในช่วง 18 - 27 องศาเซลเซียส แต่เจริญเติบโตให้ผลผลิตดีที่สุดที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส ชอบสภาพดินร่วน มีความชื้นที่เหมาะสม ค่าความเป็นกรด-ด่างอยู่ระหว่าง 6 - 6.5 ระหว่างการปลูกควร ได้รับแสงอย่างเต็มที่
คู่มือปลูกผัก
21
3. การใชประโยชนและคุณคาทางอาหาร บร็อคโคลี่เป็นพืชที่มีคุณค่าทางอาหารสูง อุดมไปด้วยเบตา - แคโรทีน (beta - carotene) เส้นใยอาหาร วิตามิน C ซึ่งมีในปริมาณสูงมาก และสารต่างๆ อีกหลายชนิด เช่น วิตามินบี แคลเซียม โฟลิก ฟอสฟอรัส เหล็ก บรอกโคลีประกอบไปด้วยสารเคมีทางธรรมชาติชอ่ื sulforaphane และ indoles ซึง่ มีคณ ุ สมบัตใิ นการต่อต้านมะเร็ง เบต้า-แคโรทีน เป็นแหล่งของวิตามินเอที่ช่วยดูแลรักษาผิวพรรณให้ดูเต่งตึง ชะลอความแก่ ลดความเสี่ยงต่อภาวะ มะเร็ง บำ�รุงสุขภาพดวงตา และป้องกันโรคต้อกระจก บร็อคโคลี่มีสาร glutathion ช่วยลดอาการเสี่ยงต่อการเกิด ไขข้ออักเสบ เบาหวาน โรคหัวใจ เพิม่ ภูมคิ มุ้ กันของร่างกาย ลดระดับคอเลสเตอรอล และยังช่วยลดความดันโลหิตสูง อีกด้วย บร็อคโคลีมีรสชาติหวาน กรอบ สามารถรับประทานได้ทั้งแบบสด และสามารถนำ�มาประกอบอาหารได้ หลายชนิด ในเมนูอาหารต่างๆ เช่น นํ้าสลัด พิซซ่า พาสต้า สเต็ก บร็อกโคลีผัดกุ้ง ซุป ฯลฯ
4. การปลูก และดูแลรักษา 4.1 การเตรียมกล้า เพาะกล้าในถาดหลุมโดยใช้วสั ดุเพาะ ย้ายปลูกต้นกล้าเมือ่ อายุ 25 วัน หรือมีใบจริงอย่างน้อย 2 - 3 ใบ ก่อนย้ายปลูก 1 สัปดาห์ ควรพ่นปุย๋ ทางใบเสริมเพือ่ เพิม่ ความแข็งแรงให้แก่ตน้ กล้า คัดเลือกต้นกล้าทีส่ มบูรณ์ ปราศจากโรคและแมลง 4.2 การเตรียมดิน และย้ายปลูก ไถดินให้ลึกประมาณ 20 - 30 เซนติเมตร ตากแดดทิ้งไว้ 7 - 14 วัน เพื่อ ทำ�ลายโรคแมลง และวัชพืช หากมีเศษวัชพืชควรเก็บออกจากแปลงเพื่อไม่ให้เป็นแหล่งสะสมของโรคและแมลง จากนั้นย่อยดินให้ละเอียด ควรวัดค่าความเป็นกรด - ด่าง ของดินก่อนการปลูก ปรับค่าความเป็นกรด - ด่างของดิน ให้เหมาะสม จะทำ�ให้การดูดธาตุอาหารในดินไปใช้ได้ดียิ่งขึ้น การปลูกควรขึ้นแปลงกว้าง 1 - 1.2 เมตร ใส่ปุ๋ยหมัก หรือปุ๋ยคอกหมัก อัตรา 2 - 3 ตัน/ไร่ หรือใช้รองก้นหลุม สำ�หรับฤดูฝนให้ยกแปลงสูง 20 - 30 เซนติเมตร เพื่อระบายนํ้า และรองก้นหลุมด้วยเชื้อราปฏิปักษ์ไตรโคเดอร์มา อัตรา 100 กรัม/ตารางเมตร ระยะปลูกขึ้นอยู่กับฤดูกาล ในฤดูหนาวใช้ระยะ 30x30 เซนติเมตร ส่วนฤดูฝนควรเพิ่ม ระยะปลูกเป็น 40x40 เซนติเมตร 4.3 การให้นํ้า ควรให้นํ้าอย่างสมํ่าเสมอ โดยใช้สปริงเกอร์ หรือให้โดยสายนํ้าหยด ข้อควรระวัง การให้นํ้าโดยใช้ สปริงเกอร์อาจทำ�ให้หน้าดอกเน่า หากมีนํ้าขัง และสภาพอากาศร้อน 4.4 การให้ปยุ๋ ครัง้ ที่ 1 หลังปลูก 10 วัน ใส่ปยุ๋ 15-15-15 และ 46-0-0 อัตรา 3:1 ปริมาณ 30 กรัม/ตารางเมตร ครัง้ ที่ 2 อายุ 25-30 วัน ใส่ปยุ๋ 15-15-15 และ 46-0-0 อัตรา 1:1 ปริมาณ 30 กรัม/ตารางเมตร ครั้งที่ 3 เมื่อเริ่มเข้าหัว มีอายุ 45-50 วัน ใส่ปุ๋ย 9-24-24 อัตรา 30 กรัม/ตารางเมตร 4.5 การป้องกันศัตรูพืช ควรกำ�จัดวัชพืชในแปลงปลูกและบริเวณรอบๆ แปลงปลูก เพื่อลดแหล่งสะสม และ ป้องกันการเข้าทำ�ลายของโรคและแมลง หากพบการเข้าทำ�ลายของศัตรูพืช ควรพ่นสารเคมีป้องกันกำ�จัด สำ�หรับ แมลงและโรคศัตรูบร็อคโคลี่ และการป้องกันดูรายละเอียดในหน้าที่
22
คู่มือปลูกผัก
ข้อควรระวัง 1. ควรหลีกเลี่ยงพื้นที่ฝนตกชุก และมีนํ้าขัง แสงแดดน้อย 2. ในช่วงฤดูฝนควรปลูกภายใต้โรงเรือน เพื่อลดปัญหาอาการหน้าดอกเน่า 3. ฤดูร้อนบร็อคโคลี่มักพบอาการไส้กลวง ซึ่งเกิดจากการขาดธาตุแคลเซียมและโบรอน ดังนั้นจึงควรใส่ธาตุ แคลเซี่ยมและโบรอนให้เพียงพอ
5. การเก็บเกี่ยว เก็บเกี่ยวเมื่ออายุ 60 - 80 วัน หลังย้ายปลูก แต่ทั้งนี้อาจขึ้นอยู่กับฤดูกาลและสายพันธุ์ เก็บเกี่ยวบร็อคโคลี่ที่
มีหน้าดอกแน่น ดอกย่อยสีเขียว และปิดสนิท หากเก็บเกี่ยวช้าดอกย่อยจะบาน ควรเก็บรักษาบร็อคโคลี่ในห้องเย็น ที่มีอุณหภูมิตํ่า เพื่อรักษาคุณภาพและยืดอายุของผัก และลดปัญหาอาการดอกเหลือง
POINTED CABBAGE
คู่มือปลูกผัก
23
24
คู่มือปลูกผัก
บร็อคโคโลนี่ Broccoloni
Baby Broccoli/Sprouting broccoloni
1. ลักษณะทั่วไป
BROCCOLONI
บร็อคโคโลนี่ (Brassica rapa) หรือ เบบี้บรอคโคโลนี จัดอยู่ในตระกูลเดียวกับบรอคโคลี่ ก้านดอกมี ขนาดเล็ก คล้ายต้นคะน้า กรอบ ปลายก้านมีดอกย่อยขนาดเล็กจำ�นวนมาก ดอกมีขนาดเล็กกว่าบรอคโคลี่ ดอกเกาะเป็นกลุม่ หลวม ก้านดอกจำ�นวนมากแตกแขนงออกจากบริเวณข้อของลำ�ต้น มีรสชาติหวานกรอบ ไม่เหม็นเขียว
2. สภาพแวดลอมที่เหมาะสม บร็อคโคโลนี่เป็นพืชเมืองหนาวที่ต้องการสภาพอากาศเย็นในการเจริญเติบโตเช่นเดียวกับกะหลํ่าดอก และบร็อคโคลี่ อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการปลูกอยู่ในช่วง 18-27 องศาเซลเซียส แต่เจริญเติบโตให้ผลผลิต ดีที่สุดที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส อุณหภูมิที่ตํ่ามากเกินไปมีผลทำ�ให้เจริญเติบโตช้า ก้านดอกสั้น ชอบ สภาพดินร่วน มีความชื้นที่เหมาะสม ค่าความเป็นกรด-ด่างอยู่ระหว่าง 6-6.5 ระหว่างการปลูกควรได้รับ แสงอย่างเต็มที่
3. การใชประโยชนและคุณคาทางอาหาร
บร็อคโคโลนี่ มีรสชาติหวาน กรอบ มีคณ ุ ค่าทางอาหารสูง สามารถนำ�มาประกอบอาหารได้หลายชนิด เช่นเดียวกับบร็อคโคลี่ และคะน้า อุดมไปด้วยเบตา-แคโรทีน (beta-carotene) เส้นใยอาหาร วิตามิน C ซึ่งมีในปริมาณสูงมาก และสารต่างๆ อีกหลายชนิด เช่น วิตามินบี แคลเซียม โฟลิก ฟอสฟอรัส เหล็ก
คู่มือปลูกผัก
25
4. การปลูก และดูแลรักษา 4.1 การเตรียมกล้า เพาะกล้าในถาดหลุมโดยใช้วสั ดุเพาะ ย้ายปลูกต้นกล้าเมือ่ อายุ 25 วัน หรือมีใบจริงอย่างน้อย 2 - 3 ใบ ก่อนย้ายปลูก 1 สัปดาห์ ควรพ่นปุย๋ ทางใบเสริมเพือ่ เพิม่ ความแข็งแรงให้แก่ตน้ กล้า คัดเลือกต้นกล้าทีส่ มบูรณ์ ปราศจากโรคและแมลง 4.2 การเตรียมดิน และย้ายปลูก ไถดินให้ลกึ ประมาณ 20-30 เซนติเมตร ตากแดดทิง้ ไว้ 7-14 วันเพือ่ ลดปริมาณ โรคแมลง และวัชพืช นำ�ดินไปวิเคราะห์และปรับค่าความเป็นกรด-ด่างของดินให้เหมาะสม จากนัน้ ย่อยดินให้ละเอียด ใส่ปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอก อัตรา 2-4 กิโลกรัม/ตารางเมตร ผสมคลุกเคล้ากับดินให้ทั่วแปลง ย้ายกล้าปลูกโดยใช้ระยะ 35x35 เซนติเมตร ก่อนปลูกรองพื้นด้วยปุ๋ยเคมี12-24-12 อัตรา 30 กรัม/ตารางเมตร หรือ 50 กิโลกรัม/ไร่ 4.3 การให้นํ้า เนื่องจากบร็อคโคลี่เป็นพืชที่มีระบบรากตื้น ชอบดินที่มีความชื้นสูง ดังนั้นจึงควรให้นํ้าอย่าง สมํ่าเสมอหากขาดนํ้าจะทำ�ให้พืชชะงักการเจริญเติบโต สามารถให้นํ้าโดยใช้ระบบสปริงเกอร์ หรือระบบนํ้าหยด การให้นา้ํ แบบสปริงเกอร์ ควรระมัดระวังในช่วงติดดอก หรือช่วงเก็บเกีย่ ว เนือ่ งจากมีโอกาสเกิดการเน่าของหน้าดอก หรือบริเวณรอยแผลที่เกิดจากการเก็บเกี่ยว หากมีนํ้าขังในบริเวณดังกล่าว ดังนั้นจึงควรหลีกเลี่ยงการให้นํ้าบริเวณ ดอกบร็อคโคโลนี่ 4.4 การให้ปุ๋ย บร็อคโคโลนี่เป็นพืชที่ต้องการธาตุอาหารมาก เนื่องจากเป็นพืชที่มีอายุการปลูกนาน ธาตุอาหาร มีความจำ�เป็นต่อการบำ�รุงต้น และการสร้างดอก โดยทั่วไปให้ปุ๋ยดังนี้ ครั้งที่ 1 หลังปลูก 10 วัน ใส่ปุ๋ย 46-0-0 อัตรา 10 กรัมต่อต้น ครั้งที่ 2 หลังปลูก 20 วัน ใส่ปุ๋ย 46-0-0 และ 15-15-15 อัตรา 1:1 ปริมาณ 10 กรัมต่อต้น ครั้งที่ 3 หลังปลูก 30 วัน ใส่ปุ๋ย 46-0-0 และ 15-15-15 อัตราส่วน 1:1 ปริมาณ 20 กรัมต่อต้น ครั้งที่ 4 หลังปลูก 40 วัน ใส่ปุ๋ย 46-0-0 และ 15-15-15 อัตรา 1: 2 ปริมาณ 20 กรัมต่อต้น เนื่องจากปริมาณผลผลิตขึ้นอยู่กับจำ�นวนดอกแขนง หลังปลูก 25 - 30 วัน (หรือพืชมีใบ 3 - 4 คู่) ให้สะกิด ยอดออก การตัดยอดจะช่วยให้ตาข้างแตกแขนงมากขึ้น
5. การเก็บเกี่ยว เก็บเกี่ยวเมื่อมีอายุ 45-60 วัน หรือเมื่อกิ่งแขนงที่แตกออกมามีดอกขนาด 1 เซนติเมตร ดอกย่อยสีเขียว และ ปิดสนิท หากเก็บเกี่ยวช้าดอกย่อยจะบาน ควรเก็บรักษาบร็อคโคลี่ในห้องเย็นที่มีอุณหภูมิตํ่า เพื่อรักษาคุณภาพ และยืดอายุของผัก และลดปัญหาอาการดอกเหลือง
BROCCOLONI
Baby Broccoli/Sprouting broccoloni 26
คู่มือปลูกผัก
ผักกาดขาวปลี
Chinese cabbage
1. ลักษณะทั่วไป
CHINESE
CABBAGE
ผักกาดขาวปลี (Brassica rapa L. supsp. pekinensis (Lour) Olsson.) จัดอยูใ่ นตระกูล Brassicaceae เป็นพืชผักที่สำ�คัญในแถบเอเชียตะวันออก เป็นพืชอายุสองปี แต่นิยมปลูกเป็นพืชล้มลุกปีเดียว มีถิ่นกำ�เนิด ทางตอนเหนือของประเทศจีน มีระบบรากแก้วแต่ตน้ื ลำ�ต้นสัน้ ไม่มกี ง่ิ แขนง ใบมีสขี าวถึงสีเขียวอ่อน ลักษณะ เป็นผืนเดียวตลอด กาบใบ หรือก้านใบกว้าง แบน มีสีขาว กรอบ มีนํ้ามาก ใบจะห่อคล้ายปลี อาจแน่น หรือหลวม ขึ้นกับสายพันธุ์ จะเริ่มห่อหัวเมื่อมีใบจริง 12–15 ใบ
2. สภาพแวดลอมที่เหมาะสม ผักกาดขาวปลีต้องการความเย็นในการเจริญเติบโตอุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตในช่วงแรก อยู่ระหว่าง 18 - 20 ºC ส่วนอุณหภูมิที่เหมาะต่อช่วงเข้าปลีอยู่ระหว่าง 10 - 16 ºC การปลูกในสภาพ อุณหภูมิสูงกว่า 25 ºC ส่งผลให้ห่อหัวช้า เข้าปลีหลวม คุณภาพตํ่า มีรสขม การเพาะกล้าหรือย้ายกล้า ปลูกบนพืน้ ทีส่ งู ช่วงฤดูหนาวทีม่ สี ภาพอากาศเย็น อุณหภูมติ า่ํ เป็นระยะเวลานานจะกระตุน้ ให้ผกั กาดขาวปลี ออกดอก ดังนั้นจึงควรเลือกใช้พันธุ์ที่เหมาะสม การปลูกผักกาดขาวปลีในพื้นที่กึ่งร้อนควรปลูกในฤดูหนาว ส่วนบนพื้นที่สูงควรปลูกในฤดูร้อนหรือฝน ดินที่เหมาะสมต่อการปลูกได้แก่ ดินร่วนปนทราย หรือ ดินร่วนเหนียว (Clay loam) มีความอุดม สมบูรณ์สูง ระบายนํ้า และอากาศดี pH ที่เหมาะสม 6.0-6.5 และควรได้รับแสงแดดอย่างเต็มที่ตลอดวัน แต่การได้รับแสงนานเกิน 16 ชั่วโมงต่อวัน ส่งเสริมการออกดอกของผักกาดขาวปลี
คู่มือปลูกผัก
27
3. การใชประโยชนและคุณคาทางอาหาร ผักกาดขาวปลีให้วิตามินซี และวิตามินเอในปริมาณสูง นอกจากนั้น ยังมีแคลเซียม ฟอสฟอรัส และกรดโฟลิค (folic acid) ทีม่ บี ทบาทควบคุมความเป็นปกติของทารกในครรภ์ และมีปริมาณเส้นใยสูง รสชาติกรอบหวาน สามารถ รับประทานสดเป็นผักแกล้ม ผักเคียงนํ้าพริก หรือนำ�มาประกอบอาหารได้หลายชนิด เช่น ใส่ซุป ผัด แกงจืด และ ยังสามารถแปรรูปเป็นผักตากแห้ง ผักกาดดอง ทำ�กิมจิ
4. การปลูก และดูแลรักษา 4.1 การเตรียมกล้า เพาะกล้าในถาดหลุมโดยใช้วัสดุเพาะ และพ่นปุ๋ยทางใบช่วงก่อนย้ายปลูก 1 สัปดาห์ อายุ กล้าทีเ่ หมาะสม คือ 20-25 วัน หรือมีใบจริง 2-3 ใบ ควรเลือกต้นกล้าทีแ่ ข็งแรง ปราศจากโรคและแมลง การย้ายกล้า ช้าหรือกล้าแก่เกินไปจะมีผลต่อการเจริญเติบโตและทำ�ให้การเข้าปลีช้า 4.2 การเตรียมดิน และย้ายปลูก ไถดินให้ลึกประมาณ 20-30 เซนติเมตร ตากแดดทิ้งไว้ 7-14 วัน เพื่อกำ�จัด โรคแมลงและวัชพืช หากมีเศษวัชพืชควรเก็บออกจากแปลงเพื่อไม่ให้เป็นแหล่งสะสมของโรคและแมลง ย่อยดินให้ ละเอียด ใส่ปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอก อัตรา 1-2 กก.ต่อตารางเมตร (1-2 ตันต่อไร่) หรือขี้ไก่แกลบ 0.8 กก./ตารางเมตร ควรวัดค่าความเป็นกรดด่างของดินก่อนปลูก หากดินมีค่า pH เป็นกรดให้ปรับด้วยการใส่ปูนโดโลไมท์ อัตราตามค่า วิเคราะห์ดิน การปลูกควรขึ้นแปลงกว้าง 1.0 เมตร และยกแปลงสูง 10-15 เซนติเมตร ในฤดูฝนควรยกระดับแปลงให้สูงกว่า ช่วงอื่นๆ โดยให้สูง 20-30 เซนติเมตร เพื่อป้องกันนํ้าท่วมขังแปลง และมีร่องระบายนํ้า สำ�หรับระยะปลูกขึ้นอยู่กับ พันธุ์และฤดูกาล ฤดูหนาวใช้ระยะ 30x40 เซนติเมตร ส่วนฤดูฝนควรปลูกให้ห่างขึ้น โดยใช้ระยะ 40x40 เซนติเมตร ข้อควรระวัง 1. ไม่ควรเหยียบแปลงปลูก เนื่องจากจะทำ�ให้ดินในแปลงปลูกแน่น การระบายอากาศไม่ดี 2. ช่วงฤดูหนาว ควรเพาะกล้าในที่สภาพอากาศอบอุ่น เพื่อป้องกันการแทงช่อดอก 4.3 การให้นํ้า สามารถให้นํ้าโดยใช้สปริงเกอร์ หรือระบบนํ้าหยด หลังย้ายปลูกควรรดนํ้าทันที ให้ชื้นมากพอ แต่ไม่แฉะ ความชื้นที่เหมาะสมอยู่ระหว่าง 70-80% ผักกาดขาวปลีจะได้รับการกระทบกระเทือนอย่างรวดเร็ว เมื่อ ดินขาดนํ้า ซึ่งหากเกิดในระยะการเจริญเติบโตในช่วงแรก จะทำ�ให้ไม่เข้าปลี ไม่ควรปล่อยให้ขาดนํ้าบ่อยครั้ง เพราะ จะทำ�ให้พืชไม่แข็งแรง ต้านทานโรคต่ำ� ข้อควรระวัง การปลูกในช่วงฤดูร้อน ควรเลือกพื้นที่ปลูกที่มีนํ้าอย่างพอเพียง หลีกเลี่ยงพื้นที่มีที่สภาพดินเป็นดินทราย หรือ ดินที่ไม่อุ้มนํ้า เพราะทำ�ให้มีความเสี่ยงต่อการขาดนํ้าของพืช 4.4 การให้ปยุ๋ ผักกาดขาวปลีตอ้ งการธาตุอาหารสูง แต่ละระยะการเจริญมีความต้องการธาตุอาหารแตกต่างกัน ในช่วงแรกของการเจริญเติบโตจนถึงระยะห่อปลีมคี วามต้องการโปแตสเซียมมากกว่าไนโตรเจนเล็กน้อย ระยะห่อปลี ถึงระยะเก็บเกี่ยวต้องการไนโตรเจนเพิ่มมากขึ้นแต่ต้องการโปแตสเซียมลดลงเล็กน้อย ส่วนฟอสฟอรัส แมกนีเซียม และธาตุแคลเซียมมีความต้องการน้อย แต่ขาดไม่ได้ ความต้องการธาตุทั้ง 3 ชนิด จะเพิ่มขึ้นตั้งแต่ระยะห่อปลีถึง ระยะเก็บเกี่ยว โดยผักกาดขาวปลีต้องการธาตุแคลเซียมมากกว่าฟอสฟอรัส และแมกนีเซียม
28
คู่มือปลูกผัก
สำ�หรับการให้ปุ๋ยของเกษตรกรในพื้นที่สูง มีดังนี้ ครั้งที่ 1 หลังจากย้ายปลูก 7 - 10 วัน ให้ปุ๋ยสูตร 15 - 0 - 0 โดยการเจาะหลุมลึก 10 เซนติเมตร ห่างจาก ปลายใบ 10 เซนติเมตร หยอดปุ๋ยลงในหลุม แล้วกลบด้วยดิน ครั้งที่ 2 หลังย้ายประมาณ 25 - 30 วัน ให้ปุ๋ย 13 - 13 - 21 และ 15 - 0 - 0 อัตรา 1:1 ระยะนี้ควรพ่นธาตุ อาหารเสริมทีม่ สี ว่ นประกอบของแคลเซียม (Ca) โบรอน (B) ทุกๆ 7 วัน เพือ่ บำ�รุงต้นให้แข็งแรงและป้องกันการไส้เน่า ข้อควรระวัง การปลูกในช่วงฤดูร้อน (มี.ค.-พ.ค.)และช่วงรอยต่อฤดูร้อนเข้าสู่ฤดูฝน (มิ.ย.-ก.ค.) มักพบปัญหาอาการไส้เน่า ดังนั้นควรเพิ่มธาตุอาหารแคลเซียม (Ca) และโบรอน(B) เพื่อป้องอาการปลายใบไหม้ (Tip burn) 4.5 การป้องกันกำ�จัดศัตรูพืช หลังย้ายปลูกควรสำ�รวจแปลงอย่างสมํ่าเสมอ กำ�จัดวัชพืชในแปลงปลูกและ บริเวณรอบๆ แปลงปลูก เพื่อป้องกันการเข้าทำ�ลายของโรคและแมลง และลดปัญหาแหล่งสะสมของศัตรูพืช และ ทาก ทั้งนี้ช่วงก่อนระยะห่อปลีต้องดูแลอย่างใกล้ชิด สำ�หรับแมลงและโรคศัตรูผักกาดขาวปลี และการป้องกันดู รายละเอียดในหน้าที่
5. การเก็บเกี่ยว ระยะเก็บเกี่ยวที่เหมาะสมพิจารณาจากความแน่นของการเข้าปลีร่วมกับและอายุพืช โดยทั่วไป 50 - 55 วัน หลังปลูก การเก็บใช้มดี ตัดโคนต้นของหัวทีเ่ ข้าปลีแน่น เหนือระดับดินเล็กน้อย เก็บผักกาดขาวปลีในช่วงเช้า หลังจาก ที่นํ้าที่เกาะบริเวณใบแห้ง หรือช่วงเย็น แดดไม่จัด พร้อมตัดแต่งใบนอกออกให้เหลือหุ้มหัว 2-3 ใบ ข้อควรระวัง ในฤดูรอ้ นต่อฤดูฝน (มิ.ย. - ก.ค.) เพือ่ ป้องกันโรค Tip burn สามารถเก็บเกีย่ วผลผลิตเร็วขึน้ ที่ อายุ 38 - 45 วัน หลังย้ายปลูก เพื่อลดปัญหาอาการไส้เน่า
BROCCOLONI
Baby Broccoli/Sprouting broccoloni
คู่มือปลูกผัก
29
30
คู่มือปลูกผัก
ผักกาดหางหงษ
Chinese cabbage-Michilli
1. ลักษณะทั่วไป ผักกาดหางหงส์ (Brassica campestris var. pekinensis) จัดอยู่ในตระกูลกะหลํ่า มีถิ่นกำ�เนิดใน ทวีปเอเชีย ปลูกมากในประเทศจีน เป็นพืชล้มลุก ลำ�ต้นสั้นมาก ใบเรียงตัวซ้อนกัน ห่อหัวเป็นปลียาวรี หรือรูปทรงกระบอก ใบสีเขียวอ่อน ขอบใบหยัก กาบใบและเส้นใบ มีสีขาว ใบและกาบใบกรอบ ชุ่มนํ้า เป็นที่นิยมของผู้บริโภค เหมาะสมสำ�หรับปลูกในฤดูหนาว ฤดูแล้งอาจพบปัญหาโรคและแมลงรบกวน
CHINESE
CABBAGE-MICHILLI
2. สภาพแวดลอมที่เหมาะสม ผักกาดหางหงษ์เป็นพืชผักเมืองหนาวต้องการความเย็นในการเจริญ อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการเจริญ เติบโตในช่วงแรกอยูร่ ะหว่าง 18 - 20ºC ในขณะทีอ่ ณ ุ หภูมทิ เ่ี หมาะต่อการเข้าปลีอยูร่ ะหว่าง 15 - 16ºC การ ปลูกในสภาพอุณหภูมิสูงกว่า 25ºC จะส่งผลให้ห่อหัวช้า คุณภาพตํ่า เข้าปลีหลวม มีรสขม ดินทีเ่ หมาะสมต่อการปลูกควรเป็นดินทีร่ ว่ นปนทราย ดินร่วนเหนียว (clay loam) มีความอุดมสมบูรณ์ สูง pH 6.0-6.5 การเตรียมดิน ควรขุดให้หน้าดินลึก การระบายนํ้าดี ควรให้นํ้าอย่างพอเพียง สมํ่าเสมอ และได้รับแสงแดดเต็มที่ตลอดทั้งวัน
3. การใชประโยชนและคุณคาทางอาหาร ผักกาดหางหงษ์มีสรรพคุณหลายชนิด เช่น ช่วยให้เม็ดเลือดแดงเข็งแรง มีกรดโฟลิค (folic acid) ซึ่ง มีบทบาทสำ�คัญในการแบ่งตัวของเซลล์ ช่วยในการพัฒนาเนื้อเยื่อ และสังเคราะห์ DNA เหมาะสำ�หรับ หญิงมีครรภ์ นอกจากนั้นยังมีแคลเซียมสูง ช่วยสร้างกระดูกและฟันให้แข็งแรง หากมารดาขาดกรดโฟลิค จะทำ�ให้การแบ่งเซลล์ของทารกผิดปกติ นิยมนำ�มาผัดกับเนื้อสัตว์ ใส่แกงจืด ทำ�นํ้าซุป ลวกจิ้มนํ้าพริก สามารถนำ�มาแปรรูปเป็นผักตากแห้ง ทำ�ผักกาดดอง และกิมจิ (ผักดองเกาหลี)
คู่มือปลูกผัก
31
4. การปลูกและดูแลรักษา 4.1 การเตรียมกล้า เพาะกล้าในถาดหลุมโดยใช้วัสดุเพาะ และพ่นปุ๋ยทางใบช่วงก่อนย้ายปลูก 1 สัปดาห์ อายุกล้าที่เหมาะสม คือ 20-25 วัน หรือมีใบจริง 2-3 ใบ ควรเลือกต้นกล้าที่แข็งแรง ปราศจากโรคและแมลง การ ย้ายกล้าช้าหรือกล้าแก่เกินไปจะมีผลต่อการเจริญเติบโตและทำ�ให้การเข้าปลีช้า 4.2 การเตรียมดิน และย้ายปลูก ไถดินให้ลึกประมาณ 20-30 เซนติเมตร ตากแดดทิ้งไว้ 7-14 วัน เพื่อกำ�จัด โรคแมลงและวัชพืช หากมีเศษวัชพืชควรเก็บออกจากแปลงเพื่อไม่ให้เป็นแหล่งสะสมของโรคและแมลง ย่อยดิน ให้ละเอียด ใส่ปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอก อัตรา 1-2 กก.ต่อตารางเมตร (1-2 ตันต่อไร่) หรือขี้ไก่แกลบ 1 กก./ตารางเมตร ควรวัดค่าความเป็นกรดด่างของดินก่อนปลูก หากดินมีค่า pH เป็นกรดให้ปรับด้วยการใส่ปูนโดโลไมท์ อัตราตามค่า วิเคราะห์ดิน การปลูกควรขึ้นแปลงกว้าง 1.0 เมตร และยกแปลงสูง 10-15 เซนติเมตร ในฤดูฝนควรยกระดับแปลงให้สูงกว่า ช่วงอื่นๆ โดยให้สูง 20-30 เซนติเมตร เพื่อป้องกันนํ้าท่วมขังแปลง และมีร่องระบายนํ้า สำ�หรับระยะปลูกขึ้นอยู่กับ ฤดูกาล ฤดูหนาวและร้อนใช้ระยะปลูก 30x40 และ 30x30 เซนติเมตร ตามลำ�ดับ ส่วนฤดูฝนควรปลูกให้ห่างขึ้น โดยใช้ระยะ 40x40 เซนติเมตร ข้อควรระวัง 1. ไม่ควรเหยียบแปลงปลูก เนื่องจากจะทำ�ให้ดินในแปลงปลูกแน่น การระบายอากาศไม่ดี 2. ช่วงฤดูหนาว ควรเพาะกล้าในที่สภาพอากาศอบอุ่น เพื่อป้องกันการแทงช่อดอก 4.3 การให้นํ้า สามารถให้นํ้าโดยใช้สปริงเกอร์ หรือระบบนํ้าหยด หลังย้ายปลูกควรรดนํ้าทันที ให้ชื้นมากพอ แต่ไม่แฉะ ความชื้นที่เหมาะสมอยู่ระหว่าง 70-80% ผักกาดหางหงษ์จะได้รับการกระทบกระเทือนอย่างรวดเร็ว เมื่อดินขาดนํ้า ซึ่งหากเกิดในระยะการเจริญเติบโตในช่วงแรก จะทำ�ให้ไม่เข้าปลี ไม่ควรปล่อยให้ขาดนํ้าบ่อยครั้ง เพราะจะทำ�ให้พืชไม่แข็งแรง ต้านทานโรคต่ำ� ข้อควรระวัง การปลูกในช่วงฤดูร้อน ควรเลือกพื้นที่ปลูกที่มีนํ้าอย่างพอเพียง หลีกเลี่ยงพื้นที่มีที่สภาพดินเป็นดินทราย หรือ ดินที่ไม่อุ้มนํ้า เพราะทำ�ให้มีความเสี่ยงต่อการขาดนํ้าของพืช 4.4 การให้ปยุ๋ หลังจากย้ายปลูก 7 - 10 วัน ให้ปยุ๋ 46 - 0 - 0 หรือ 15 - 0 - 0 โดยการเจาะหลุมลึก10 เซนติเมตร โดยห่างจากปลายใบ 10 เซนติเมตร หยอดลงในหลุมแล้วกลบด้วยดินเพื่อไม่ให้ปุ๋ยเกิดการระเหิด ใส่ครั้งที่ 2 หลังย้าย ปลูกประมาณ 25 - 30 วัน ใส่ปยุ๋ 13 - 13 - 21 และ 15 - 0 - 0 อัตรา 1:1 ควรมีการพ่นธาตุอาหารเสริมทีม่ สี ว่ นประกอบ ของแคลเซียม (Ca) โบรอน (B) ทุกๆ 7 วัน เพื่อบำ�รุงต้นให้แข็งแรง และป้องกันการไส้เน่า ข้อควรระวัง 1. การปฏิบัติควรระมัดระวังอย่าให้กระทบกระเทือนราก 2. ควรหมั่นตรวจแปลงเพื่อแก้ไขปัญหาโรคและแมลงได้ทันท่วงที 3. ให้ระวังปัญหาการขาดธาตุอาหารรอง (แคลเซียม (Ca) โบรอน (B) ทำ�ให้เกิดอาการไส้เน่าโดยเฉพาะในช่วง ฤดูร้อน (มี.ค. - พ.ค.) และระหว่างช่วงรอยต่อระหว่างฤดูร้อนเข้าฤดูฝน (มิ.ย. - ก.ค.) 4.5 การป้องกันศัตรูพืช
32
คู่มือปลูกผัก
5. การเก็บเกี่ยว เมื่ออายุพืชได้ 50 - 55 วันหลังปลูก ให้ใช้มือจับ ถ้าการเข้าหัวแน่นสามารถเก็บได้ โดยใช้มีดตัดโคนต้น พร้อม ตัดแต่งใบนอกออกให้เหลือหุ้มหัว 2 - 3 ใบ การเก็บเกี่ยวตอนเย็น ผึ่งผักให้แห้ง ไม่เปียกนํ้าก่อนบรรจุ ข้อควรระวัง 1. การตัดควรตัดชิดราก เพราะเมื่อตัดแต่งแล้วจะได้หัวที่ดีมีใบนอกหุ้ม 2. ไม่ควรให้ผักเปียกนํ้า เพราะจะทำ�ให้ผักเน่า และมีแพร่การระบาดของโรคพืชหลังการเก็บเกี่ยว 3. ในฤดูหนาว ควรสุ่มตัดตั้งแต่ วันที่ 45 - 50 วันหลังย้ายปลูก เนื่องจากผักกาดหางหงส์ มักมีการแทงช่อดอก ก่อนอายุเก็บเกี่ยว 4. การบรรจุไม่ควรแน่นเกินไป เพราะจะทำ�ให้ผักเน่า และหักชํ้าเสียหายได้
CHINESE CABBAGE-MICHILLI
คู่มือปลูกผัก
33
34
คู่มือปลูกผัก
เบบี้ฮองเต
Baby Pak Choi
1. ลักษณะทั่วไป เบบี้ฮ่องเต้ (Brassica campestris L. var. chinensis) มีแหล่งกำ�เนิดในประเทศจีน แต่ปัจจุบันได้ กลายมาเป็นพืชที่สำ�คัญอีกชนิดหนึ่งของประเทศไทย ลักษณะทั่วไป ก้านมีขนาดใหญ่ มีทั้งสีเขียวอ่อน และขาว บริเวณโคนก้านใบจะขยายกว้าง หนา ลักษณะใบมนไม่ห่อหัว มีทั้งสีเขียวอ่อนหรือเขียวเข้ม ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับสายพันธุ์ สำ�หรับพันธุ์ที่ใช้ส่งเสริมในพื้นที่โครงการหลวง ใบและก้านมีสีเขียวอ่อน ก้านใบบาง และแบน ต้นมีขนาดเล็ก กว่าผักกาดฮ่องเต้ที่ใช้ปลูกกันทั่วไป นํ้าหนักต่อต้นเฉลี่ย 80-100 กรัม
CHINESE
CABBAGE-MICHILLI
2. สภาพแวดลอมที่เหมาะสม อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตอยู่ระหว่าง 20 - 25ºC แต่สามารถทนต่อสภาพอุณหภูมิสูงได้ สามารถปลูกได้ตลอดทั้งปี แต่คุณภาพดีมากในช่วงฤดูหนาว เบบี้ฮ่องเต้สามารถเจริญเติบโตได้ในดินแทบ ทุกชนิด แต่ดีที่สุดในสภาพดินร่วนปนทรายที่มีความอุดมสมบูรณ์ มีอินทรียวัตถุ 2-3 เปอร์เซ็นต์ ค่าความ เป็นกรด - ด่าง อยู่ระหว่าง 6.0 - 6.8 เบบี้ฮ่องเต้เป็นพืชอายุสั้นและเจริญเติบโตเร็ว ไม่ทนต่อความแห้ง ต้องการความชื้นสูง ดังนั้นความชื้นในดินไม่ควรตํ่ากว่า 60 - 80 เปอร์เซ็นต์ และต้องการแสงแดดเต็มที่ ตลอดทั้งวัน เพื่อการสังเคราะห์อาหาร ในช่วงฤดูแล้งอากาศร้อน และนํ้าไม่เพียงพอ ควรคัดเลือกพื้นที่ที่มีนํ้าอุดมสมบูรณ์เพียงพอต่อการ เพาะปลูกพืช และในฤดูฝนมักโรคเน่าเละมักระบาด ดังนั้นควรคัดเลือกพื้นที่ที่ได้รับแสงแดดเต็มที่ และ ไม่มีนํ้าท่วมขัง
3. การใชประโยชนและคุณคาทางอาหาร เบบีฮ้ อ่ งเต้เป็นผักทีม่ วี ติ ามินสูง โดยเฉพาะอย่างยิง่ วิตามินเอ วิตามินซี นอกจากนีย้ งั อุดมไปด้วยธาตุแคลเซียม และฟอสฟอรัส ให้ปริมาณเยื่อใยสูง มีรสชาติหวาน และกรอบ นิยมนำ�มาผัดกับเนื้อสัตว์ หรือนํ้ามันหอย ลวกทานคู่กับนํ้าพริก
คู่มือปลูกผัก
35
4. การปลูกและดูแลรักษา 4.1 การเตรียมกล้า เพาะกล้าในถาดหลุมโดยใช้วัสดุเพาะ อายุกล้าที่เหมาะสม คือ 20 - 23 วัน หรือมีใบจริง 2 - 3 ใบ ควรเลือกต้นกล้าที่แข็งแรง ปราศจากโรคและแมลง 4.2 การเตรียมดิน และย้ายปลูก ไถดินลึกประมาณ 15 - 20 ซ.ม. หรือขุดดินตากแดดอย่างน้อย 7 - 14 วัน เพื่อกำ�จัดโรค แมลง และวัชพืชในดิน ตรวจสอบความเป็นกรด-ด่าง ของดินให้อยู่ในช่วงที่เหมาะสม คือ 6.0 - 6.8 เก็บเศษพืช เศษซากวัชพืชออกจากแปลงให้หมด เพื่อป้องกันการสะสมของเชื้อโรค พรวนดินให้ละเอียด ใส่ปุ๋ยคอก อัตรา 1 กิโลกรัม/ตารางเมตร ผสมคลุกเคล้าให้เข้ากันจากนั้นขึ้นแปลงกว้าง 1.0 - 1.3 เมตร แต่ละแปลงห่างกัน อย่างน้อย 0.3 - 0.5 เมตร ปรับหน้าแปลงให้เรียบ ระยะปลูกที่เหมาะสมในแต่ละฤดูคือ ฤดูฝน ใช้ระยะปลูก 15x15 เซนติเมตร ฤดูร้อน ใช้ระยะปลูก 15x10 เซนติเมตร ฤดูหนาว ใช้ระยะปลูก 15x10 เซนติเมตร 4.3 การให้นํ้า ควรให้นํ้าอย่างพอเพียงและสมั่าเสมอ การให้นํ้าน้อยหรือพืชขาดนํ้าจะทำ�ให้ต้นพืชแคระแกรน รสชาติไม่อร่อย ไม่กรอบ เส้นใยมาก สำ�หรับการปลูกในพื้นที่โครงการหลวงส่วนใหญ่ปลูกภายใต้โรงเรือน และให้นํ้า แบบระบบนํ้าหยดทุกๆ วัน ในช่วงเช้า โดยในช่วงฤดูหนาวและร้อน ให้นํ้าเป็นเวลาประมาณ 15 - 20 นาที/ครั้ง ส่วนในฤดูฝนลดระยะเวลาลงเหลือ 10 - 12 นาที เพื่อป้องกันมิให้ความชื้นสูงเกินไป 4.4 การให้ปยุ๋ ให้ปยุ๋ ไปพร้อมกับการให้นา้ํ ในระบบนํา้ หยด โดยใช้ปยุ๋ ละลายนํา ้ A และ B เริม่ ให้ปยุ๋ ตัง้ แต่หลัง ย้ายปลูก 5 วัน ให้ปุ๋ยทุกๆ วัน ในช่วงเช้า อาจเพิ่มปุ๋ยเสริมทางใบตามความเหมาะสม การปลูกทั่วไป การให้ปุ๋ยควรเน้นธาตุไนโตเจนเนื่องจากเป็นพืชที่บริโภคใบและก้าน แต่ควรกำ�หนดปริมาณ ที่เหมาะสม โดยใช้ปุ๋ยสูตร 12 - 8 - 8 อัตรา 50 - 100 กก.ต่อไร่ แบ่งใส่ 2 ครั้ง คือ ใส่เป็นปุ๋ยรองก้นหลุม และ ใส่หลังจากย้ายปลูก 7 - 10 วัน ข้อสำ�คัญของการให้ปุ๋ย หลังใส่ปุ๋ยควรพรวนดินกลบปุ๋ย รดนํ้าให้ชุ่มทันที ไม่ควร ปุ๋ยให้ปุ๋ยวางกองบนผิวดิน เพราะจะถูกชะล้างได้ง่าย 4.5 การป้องกันศัตรูพืช โรคที่สำ�คัญได้แก่ โรคเน่าเละที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย การป้องกันที่ดี คือ ควรเลือก พื้นที่ปลูกที่ไม่มีนํ้าขัง ให้นํ้าไม่แฉะจนเกินไป การตากดินเพื่อลดปริมาณเชื้อในดิน และเก็บเศษซากต้นพืชที่เป็นโรค ออกจากแปลงปลูก จะช่วยลดการระบาดของโรคได้ ส่วนแมลงที่สำ�คัญ ได้แก่ ด้วงหมัดผัก ซึ่งสามารถเข้าทำ�ลายได้ ตั้งแต่ระยะกล้า การลดปริมาณด้วงหมักผักสามารถทำ�ได้โดยการลดปริมาณตัวอ่อนที่อยู่ในดิน ส่วนตัวเต็มวัย สามารถลดปริมาณได้โดยหลายวิธีเช่น การใช้กับดักกาวเหนียวจับตัวเต็มวัย การใช้สารสกัดจากพืช เช่น หางไหล หรือสารเคมีพ่น สำ�หรับรายละเอียดสารชีวภัณฑ์ สารเคมีกำ�จัดศัตรูเบบี้ฮ่องเต้ดูรายละเอียดหน้าที่...
5. การเก็บเกี่ยว ควรเก็บเกี่ยวเมื่อพืชมีอายุ 22 - 24 วัน หลังย้ายปลูก หรือต้นมีขนาดเหมาะสม ใช้มีดตัดบริเวณโคนต้นอย่าง ระมัดระวัง ไว้ใบนอก 2 - 3 ใบ เพื่อป้องกันการชํ้าระหว่างขนส่ง หากผลผลิตเปียกควรผึ่งให้แห้งก่อนการบรรจุส่ง ไม่ควรล้างผลผลิต เพราะจะทำ�ให้เน่าเสียหายได้ ควรเช็ดทำ�ความสะอาดด้วยคลอรีน ความเข้มข้น 100 - 200 ppm เนื่องจากเป็นผักใบ อวบนํ้า มักจะเหี่ยวง่าย ดังนั้นการรักษาคุณภาพจึงควรเก็บไว้ในห้องเย็นอุณหภูมิ 5 - 7 องศา เซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ์ 95 เปอร์เซ็นต์ จะช่วยเก็บรักษาได้นานขึ้น
36
คู่มือปลูกผัก
คะนายอดโครงการหลวง Chinese Kale
1. ลักษณะทั่วไป
คะน้ายอดโครงการหลวง จัดเป็นคะน้าจีน (Brassica oleracea var. alborgaba) ซึ่งเป็นผักอีกชนิด หนึ่งในตระกูลกะหลํ่า ลักษณะลำ�ต้นและก้านใบ อวบ ใหญ่ มีข้อตามลำ�ต้น จำ�นวนใบน้อย ใบค่อนข้างใหญ่ และแหลม เรียบ สีเขียวอมเทา จำ�นวนใบต่อต้นน้อยกว่าคะน้าทั่วไป นํ้าหนักส่วนต้นและก้านมากกว่าใบ ตาบริเวณข้อมักแตกออกเป็นยอดใหม่ หลังจากเก็บยอดแรกที่มีช่อดอกตูม ยอดใหม่ที่แตกด้านข้างจะมี ขนาดเล็กกว่ายอดหลัก
CHINESE
KALE
2. สภาพแวดลอมที่เหมาะสม
อุณหภูมทิ เ่ี หมาะสมต่อการปลูกอยูร่ ะหว่าง 18 - 24 ºC การปลูกในสภาพอากาศหนาวเย็น หรือมีอณ ุ หภูมิ ตํ่ากว่า 15ºC จะทำ�ให้การเจริญเติบโตช้า ลำ�ต้นและใบอวบใหญ่กว่าปกติ ข้อสั้น การปลูกในสภาพอากาศ ร้อนสูงกว่า 30ºC คุณภาพผลผลิตตา ่ํ เยือ่ ใยสูง เหนียว จำ�เป็นต้องให้นา้ํ มากกว่าปกติ สำ�หรับพืน้ ทีท่ ม่ี คี วามสูง จากระดับนํ้าทะเลตั้งแต่ 300 - 800 เมตร สามารถปลูกได้คุณภาพดีในช่วงฤดูหนาว ดินที่เหมาะสมสำ�หรับ การปลูกควรร่วนซุย หรือดินร่วนปนทราย มีความอุดมสมบูรณ์สูง ระบายนํ้าดี ความชื้นสูง ค่าความเป็น กรด - ด่าง 6.0-6.5 เนื่องจากเป็นผักใบที่มีอายุสั้นเจริญเติบโตเร็ว และบริโภคในส่วนต้น ใบ และก้านใบ ดังนั้นเพื่อให้มี คุณภาพดี ควรได้รบั นา้ํ อย่างพอเพียง และสมํา่ เสมอ ความชืน้ ในดินทีเ่ หมาะสมไม่ควรตํา่ กว่า 80 เปอร์เซ็นต์
3. การใชประโยชนและคุณคาทางอาหาร คะน้าเป็นผักที่ให้สารอาหารสูง เนื่องจากเป็นผักสีเขียว จึงมีวิตามินเอ ซี สูงกว่าผักใบชนิดอื่นๆ ช่วย บำ�รุงสายตา ผิวพรรณ ป้องกันหลอดเลือดหัวใจตีบ และโรคกระดูกบาง ส่วนช่วยเสริม สร้างกระดูก และ ทำ�ให้ร่างกายดูดซึมแคลเซียมได้มากขึ้น มีฟอสฟอรัส และเบต้าแคโรทีนสูง ช่วยป้องกันโรคมะเร็ง
คู่มือปลูกผัก
37
คะน้าโครงการหลวงนิยมรับประทานเฉพาะส่วนของยอด ก้านและลำ�ต้นทีม่ ลี กั ษณะอวบ ซึง่ มีรสชาติหวาน กรอบ สามารถนำ�มาประกอบอาหารได้หลายชนิดเช่นเดียวกับคะน้าทั่วไป เช่น ผัดนํ้ามันหอย ใส่ในข้าวผัด ผัดซีอิ้ว ลำ�ต้น ก้านที่อวบ กรอบ หวาน สามารถรับประทานสดคู่กับกับอาหารประเภทยำ�ต่างๆ
4. การปลูกและดูแลรักษา 4.1 การเตรียมกล้า เพาะเมล็ดในถาดหลุมโดยใช้วัสดุเพาะกล้า นำ�ไปบ่มในห้องบ่ม 2 - 3 คืน จากนั้นย้ายถาด เพาะกล้าไปวางยังโรงเพาะกล้า เมื่อต้นกล้ามีอายุประมาณ 20 - 25 วัน หรือมีใบจริงอย่างน้อย 2 - 3 ใบ จึงทำ�การ ย้ายปลูก โดยเลือกต้นกล้าที่สมบูรณ์ แข็งแรง ปราศจากโรคและแมลง 4.2 การเตรียมดิน และย้ายปลูก ขุดดินลึก 10 - 15 เซนติเมตร ตากแดดทิ้งไว้ประมาณ 7 - 10 วัน เก็บเศษ วัชพืชออกจากแปลง ย่อยดินให้ละเอียด ใส่ปยุ๋ รองพืน้ ปุย๋ คอก (มูลไก่) หรือปุย๋ หมัก ในปริมาณ 3 กิโลกรัม/ตารางเมตร และหว่านปุ๋ยสูตร 15 - 15 - 15 ในปริมาณ 120 กรัม/ตารางเมตร ผสมคลุกเคล้าให้เข้ากัน ขึ้นแปลงปลูกกว้าง ประมาณ 1 - 1.2 เมตร หรือตามสภาพพื้นที่ ควรปรับหน้าดินให้เรียบ ปลูกเป็นแถวโดยใช้ระยะระหว่างต้นและ แถว 20x20 เซนติเมตร 4.3 การให้นา้ํ คะน้าเป็นพืชทีต่ อ้ งการความชืน้ ในดินมาก ดังนัน้ จึงควรให้นา้ํ ทุกวัน สามารถให้นา้ํ ด้วยวิธกี ารต่างๆ เช่น แบบสปริงเกอร์ หรือระบบนา้ํ หยด ควรให้นา้ํ อย่างสมํา่ เสมอ วันละ 2 ครัง้ (เช้าและเย็น) ทัง้ นีข้ น้ึ อยูก่ บั สภาพอากาศ 4.4 การให้ปุ๋ย เนื่องจากคะน้ายอดเป็นพืชที่กินลำ�ต้น ก้านใบที่อวบ จึงควรให้ปุ๋ยที่มีธาตุไนโตเจนสูง โดยทั่วไป การปลูกคะน้าบนพื้นที่สูง มีการให้ปุ๋ยดังนี้ ครั้งที่ 1 หลังย้ายปลูก อายุ 7 - 10 วัน ใส่ปุ๋ยสูตร 46 - 0 - 0 หรือ 21 - 0 - 0 ผสมปุ๋ยสูตร 15 - 15 - 15 อัตราส่วน 1:1 ปริมาณ 120 กรัม/ตารางเมตร ครัง้ ที่ 2 หลังย้ายปลูก 14 - 20 วัน ใส่ปยุ๋ สูตร 46 - 0 - 0 หรือ 21 - 0 - 0 ผสมปุย๋ สูตร 15 - 15 - 15 อัตราส่วน 1:1 ปริมาณ 120 กรัม/ตารางเมตร ข้อควรระวัง ก่อนการใส่ปุ๋ยควรกำ�จัดวัชพืชและพรวนดินก่อน แต่ต้องระมัดระวังมิให้กระทบกระเทือนรากของคะน้า ควร กำ�จัดวัชพืชตั้งแต่แรก เพื่อลดการแย่งนํ้า และธาตุอาหาร 4.5 การป้องกันศัตรูพชื โรคสำ�คัญทีม่ กั พบในคะน้าได้แก่ โรครานา้ํ ค้าง โรคเน่าคอดิน ซึง่ มักพบมากในระยะกล้า หากสภาพแวดล้อมมีความชื้นสูง ส่วนในระยะการเจริญเติบโตหลังย้ายปลูก มักพบการระบาดของแมลงศัตรูพืช เช่น หนอนใยผัก การป้องกันทำ�ได้หลายวิธีการตั้งแต่ การรักษาแปลงปลูกให้สะอาด การปลูกพืชหมุนเวียนเพื่อตัด วงจรศัตรูพืช การให้นํ้าที่เหมาะสม เพื่อลดการระบาดของโรค สำ�หรับรายละเอียดการใช้สารชีวภัณฑ์และสารเคมี ป้องกันกำ�จัดศัตรูพืชดูรายละเอียดในหน้าที่....
5. การเก็บเกี่ยว เก็บเกี่ยวเมื่ออายุ 40 - 45 วันหลังย้ายปลูก หรือลำ�ต้นมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5 - 3.0 เซนติเมตร ควรเก็บใน ช่วงช่วง เพื่อลดการคายนํ้าของพืช ใช้มีดที่คมๆ ตัดบริเวณโคนต้น ตัดแต่งก้านใบส่วนที่มีตำ�หนิ ต้นที่มีตำ�หนิการ เข้าทำ�ลายของโรคและแมลงออก
38
คู่มือปลูกผัก
คะนาฮองกง K ailaan
1. ลักษณะทั่วไป คะน้าฮ่องกง (Brassica oleracea var. alboglaba) มีต้นกำ�เนิดจากประเทศจีน ลำ�ต้นและใบมี สีเขียวเข้ม ใบมีลักษณะเรียว ไม่กลม ลำ�ต้นมีขนาดเล็ก และสั้นกว่าคะน้ายอดโครงการหลวง กรอบ ไม่เป็นเสี้ยน ดอกมีสีขาวหรือ สีเหลืองขึ้นอยู่กับสายพันธุ์
2. สภาพแวดลอมที่เหมาะสม
CHINESE
CABBAGE-MICHILLI
คะน้าฮ่องกงเป็นพืชที่ตอบสนองต่ออุณหภูมิ หากทำ�การเพาะกล้าในช่วงอุณหภูมิตํ่าและย้ายลงแปลง ทีอ่ ณ ุ หภูมสิ งู ขึน้ เล็กน้อย ต้นกล้าจะแทงช่อดอกในขณะยังเล็ก ดังนัน้ จึงควรหลีกเลีย่ งเพาะกล้าในช่วงอุณหภูมติ า่ํ สำ�หรับอุณหภูมทิ เ่ี หมาะสมต่อการปลูกและให้ผลผลิตทีม่ คี ณ ุ ภาพควรอยูใ่ นช่วง 15-28ºC และควรได้รบั แสง อย่างพอเพียง ดินทีเ่ หมาะสมต่อการปลูกควรเป็นดินร่วน มีความอุดมสมบูรณ์สงู การระบายนํา้ ดี มีความชืน้ สมา่ํ เสมอ แต่ไม่ควรแฉะเกินไป ก่อนปลูกควรใส่ปยุ๋ หมักหรือปุย๋ คอกเพือ่ ปรับโครงสร้างดิน และค่าความเป็นกรด-ด่าง ที่เหมาะสมอยู่ระหว่าง 5.5 - 6.5
3. การใชประโยชนและคุณคาทางอาหาร คะน้าเป็นผักที่ให้สารอาหารสูง เนื่องจากเป็นผักสีเขียว จึงมีวิตามินเอ ซี สูงกว่าผักใบชนิดอื่นๆ ช่วย บำ�รุงสายตา ผิวพรรณ ป้องกันหลอดเลือดหัวใจตีบ และโรคกระดูกบาง ส่วนช่วยเสริมสร้างกระดูก และ ทำ�ให้ร่างกายดูดซึมแคลเซียมได้มากขึ้น มีฟอสฟอรัส และเบต้าแคโรทีนสูง ช่วยป้องกันโรคมะเร็ง นิยมรับประทานเฉพาะส่วนของยอด ก้านและลำ�ต้นที่มีลักษณะอวบ ซึ่งมีรสชาติหวาน กรอบ สามารถ นำ�มาประกอบอาหารได้หลายชนิดเช่นเดียวกับคะน้าทั่วไป เช่น ผัดนํ้ามันหอย ใส่ในข้าวผัด ผัดซีอิ้ว ลำ�ต้น ก้านที่อวบ กรอบ หวาน สามารถรับประทานสดคู่กับกับอาหารประเภทยำ�ต่างๆ
คู่มือปลูกผัก
39
คะน้าฮ่องกงนิยมรับประทานเฉพาะส่วนของยอดอ่อนที่ติดดอกตูม รสชาติหวาน ไม่เป็นเสี้ยน กรอบเมื่อนำ�มาผัด หรือปรุงอาหารจะมีสีเขียวเข้ม นิยมนำ�มาลวก แล้วราดด้วยซอสนํ้ามันหอย
4. การปลูกและดูแลรักษา 4.1 การเตรียมกล้า ดำ�เนินการเช่นเดียวกับการเพาะกล้าคะน้ายอดโครงการหลวง โดยเพาะเมล็ดในถาดหลุม โดยใช้วัสดุเพาะกล้า นำ�ไปบ่มในห้องบ่ม 2 - 3 คืน จากนั้นย้ายถาดเพาะกล้าไปวางยังโรงเพาะกล้า เมื่อต้นกล้ามี อายุประมาณ 20 - 25 วัน หรือมีใบจริงอย่างน้อย 2 - 3 ใบ จึงทำ�การย้ายปลูก โดยเลือกต้นกล้าที่สมบูรณ์ แข็งแรง ปราศจากโรคและแมลง 4.2 การเตรียมดินและย้ายปลูก ไถหรือขุดดินลึก 10 - 15 เซนติเมตร ตากแดดทิ้งไว้ประมาณ 7 - 10 วัน เก็บเศษวัชพืชออกจากแปลง ย่อยดินให้ละเอียด ใส่ปุ๋ยรองพื้นปุ๋ยคอก (มูลไก่) หรือปุ๋ยหมัก ในปริมาณ 3 กิโลกรัม/ ตารางเมตร และหว่านปุย๋ สูตร 15 - 15 - 15 ในปริมาณ 120 กรัม/ตารางเมตร ผสมคลุกเคล้าให้เข้ากัน ขึน้ แปลงปลูก กว้างประมาณ 1 - 1.2 เมตร หรือตามสภาพพื้นที่ ควรปรับหน้าดินให้เรียบ ปลูกเป็นแถวโดยใช้ระยะระหว่างต้น และแถว 10 x 15 เซนติเมตร 4.3 การให้นํ้า คะน้าเป็นพืชที่ต้องการความชื้นในดินมาก ดังนั้นจึงควรให้นํ้าทุกวัน สามารถให้นํ้าด้วยวิธีการ ต่าง ๆ เช่น แบบสปริงเกอร์ หรือระบบนํ้าหยด ควรให้นํ้าอย่างสมํ่าเสมอ วันละ 2 ครั้ง (เช้าและเย็น) ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ สภาพอากาศ 4.4 การให้ปุ๋ย เนื่องจากคะน้ายอดเป็นพืชที่กินลำ�ต้น ก้านใบที่อวบ จึงควรให้ปุ๋ยที่มีธาตุไนโตเจนสูง โดยทั่วไป การปลูกคะน้าบนพื้นที่สูง มีการให้ปุ๋ยดังนี้ ครั้งที่ 1 หลังย้ายปลูก อายุ 7 - 10 วัน ใส่ปุ๋ยสูตร 46 - 0 - 0 หรือ 21 - 0 - 0 ผสมปุ๋ยสูตร 15 - 15 - 15 อัตราส่วน 1:2 ปริมาณ 120 กรัม/ตารางเมตร ครัง้ ที่ 2 หลังย้ายปลูก 14 - 20 วัน ใส่ปยุ๋ สูตร 46 - 0 - 0 หรือ 21 - 0 - 0 ผสมปุย๋ สูตร 15 - 15 - 15 อัตราส่วน 1:2 ปริมาณ 120 กรัม/ตารางเมตร ข้อควรระวัง ก่อนการใส่ปุ๋ยควรกำ�จัดวัชพืชและพรวนดินก่อน แต่ต้องระมัดระวังมิให้กระทบกระเทือนรากของคะน้า ควร กำ�จัดวัชพืชตั้งแต่แรก เพื่อลดการแย่งนํ้า และธาตุอาหาร 4.5 การป้องกันศัตรูพืช โรคสำ�คัญที่มักพบในคะน้าได้แก่ โรครานํ้าค้าง โรคเน่าคอดิน ซึ่งมักพบมากในระยะกล้า หากสภาพแวดล้อมมีความชื้นสูง ส่วนในระยะการเจริญเติบโตหลังย้ายปลูก มักพบการระบาดของแมลงศัตรูพืช เช่น หนอนใยผัก การป้องกันทำ�ได้หลายวิธีการตั้งแต่ การรักษาแปลงปลูกให้สะอาด การปลูกพืชหมุนเวียนเพื่อตัด วงจรศัตรูพืช การให้นํ้าที่เหมาะสม เพื่อลดการระบาดของโรค สำ�หรับรายละเอียดการใช้สารชีวภัณฑ์และสารเคมี ป้องกันกำ�จัดศัตรูพืชดูรายละเอียดในหน้าที่....
5. การเก็บเกี่ยว
เก็บเกี่ยวเมื่ออายุ 30 - 35 วันหลังย้ายปลูก หรือลำ�ต้นมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.0-2.5 ซ.ม. ใช้มีดตัดตรงโคนต้น ตัดแต่งก้านใบส่วนที่มีตำ�หนิออก หากอากาศเย็นหรืออากาศร้อนเกินไปจะส่งผลให้ออกดอกเร็ว
40
คู่มือปลูกผัก
ผักตระกูลผักกาดหอม (Family Compositae)
FAMILY Comp o s i t ae คู่มือปลูกผัก
41
42
คู่มือปลูกผัก
ผักกาดหอมหอ
Head Lettuce, Iceberg, Crisp head Lettuce
1. ลักษณะทั่วไป
Head Lettuce
Iceberg, Crisp head Lettuce
ผักกาดหอมห่อ (Lactuce sativa var. capitata) อยูใ่ นวงศ์ Asteraceae (Compositae) มีถน่ิ กำ�เนิด ในยุโรปและเอเชีย เป็นพืชที่ปลูกมานานกว่า 2,500 ปี และได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย ลักษณะใบ แตกออกมาจากลำ�ต้นโดยรอบ สีใบมีตั้งแต่เขียวอ่อน เขียวปนเหลือง จนถึงสีเขียวแก่ ห่อหัวอัดแน่นคล้าย กะหล่ำ�ปลี ขอบใบมีลักษณะเป็นหยัก ขนาดและรูปร่างของใบผักกาดหอมแตกต่างกันตามพันธุ์ ลำ�ต้นตั้ง ตรง สูงชะลูดขึ้นสามารถมองเห็นได้ชัดเจน ถ้าปลูกในที่มีความอุดมสมบูรณ์มากๆ ลำ�ต้นมีขนาดเส้นผ่า ศูนย์กลางถึง 2 นิ้ว ลำ�ต้นมีลักษณะเป็นข้อสั้น ซึ่งแต่ละข้อจะเป็นที่เกิดของใบ
2. สภาพแวดลอมที่เหมาะสม ผักกาดหอมห่อสามารถเจริญเติบโตได้ในดินเกือบทุกชนิดตั้งแต่ดินร่วนทรายจนถึงดินร่วนเหนียวแต่ ปลูกได้ดีในดินร่วนทราย ที่มีการระบายนํ้า และการระบายอากาศดี ค่าความเป็นกรด - ด่าง ที่เหมาะสม อยู่ในช่วง 6.0 - 6.8 ผักกาดหอมห่อเป็นพืชที่เจริญเติบโตได้ดีในสภาพอากาศเย็น ถ้าอุณหภูมิสูงเกินไปจะ ส่งผลให้มีรสขม เกิดการแทงช่อดอกเร็ว ส่วนสภาพอุณหภูมิต่ำ�การเจริญเติบโตของผักกาดหอมจะช้าลงกว่า ในช่วงทีอ่ ณ ุ หภูมสิ งู อุณหภูมทิ เ่ี หมาะสมในการห่อหัวอยูร่ ะหว่าง 15 - 20 องศาเซลเซียส นอกจากนีแ้ สงยังมี บทบาทต่อการเจริญเติบโตเป็นอย่างมาก พื้นที่ปลูกผักกาดหอมห่อควรได้รับแสงเต็มที่ตลอดวัน ถ้าผักกาด หอมห่อได้รับช่วงแสงต่อวันยาว และมีความเข้มของแสงตํ่า ทำ�ให้พื้นที่ใบเพิ่มขึ้น แต่ถ้าได้รับช่วงแสงต่อ วันยาว และอุณหภูมิสูงจะส่งผลให้มีการยืดของลำ�ต้น
คู่มือปลูกผัก
43
3. การใชประโยชนและคุณคาทางอาหาร ผักกาดหอมห่อประกอบด้วย นํา ้ 95 % คาร์โบไฮเดรต 1-2 % โปรตีน 1-2 % ไขมัน 0.25 % มีปริมาณวิตามินซี แคโรทีน และโฟเลตสูง ช่วยป้องกันโรคโลหิตจาง และบรรเทาอาการท้องผูก เหมาะสำ�หรับผูท้ ป่ี ว่ ยเป็นโรคเบาหวาน สามารถบริโภคสด โดยเฉพาะในสลัด หรือกินกับยำ� นำ�มาตกแต่งในจานอาหาร
4. การปลูกและดูแลรักษา 4.1 การเตรียมกล้า แช่เมล็ดในนํา้ อุน่ อุณหภูมิ 50 - 55ºC นาน 15 นาที แล้วนำ�เมล็ดไปบ่มโดยห่อด้วยผ้าขนหนู ชุบนํ้าหมาด 1 คืน จากนั้นนำ�เมล็ดไปเพาะในถาดหลุม อายุกล้าที่เหมาะสมต่อการย้ายปลูกคือ 25 วัน หรือมีใบ จริง 2 - 3 ใบ 4.2 การเตรียมดิน ไถดินลึก 15 - 20 เซนติเมตร ตากแดด 7 - 10 วัน เก็บเศษวัชพืชออกจากแปลง จากนัน้ ย่อยดิน ให้ละเอียด และโรยปูนขาวหรือโดโลไมท์ เพือ่ ปรับความเป็นกรด-ด่างของดินให้อยูร่ ะหว่าง 6 - 6.5 (อัตราทีใ่ ช้ปนู ขาว หรือโดโลไมท์ขึ้นอยู่กับค่าวิเคราะห์ pH ของดิน) ขึ้นแปลงกว้าง 1.20 เมตร ระยะห่างระหว่างแปลง 50 เซนติเมตร ย้ายปลูกระยะปลูกแปลงละ 3 แถว ระยะปลูก 30 x 40 เซนติเมตร หรือ 40 x 40 เซนติเมตร ใส่ปุ๋ยหมักหรือ ปุ๋ยคอกหมัก รองก้นหลุมอัตรา 2 - 4 ตัน/ไร่ 4.3 การให้นํ้า ผักกาดหอมห่อเป็นพืชที่ต้องการให้นํ้าอย่างสมํ่าเสมอและเพียงพอต่อการเจริญเติบโต ในแปลง สามารถให้นํ้าโดยวิธีปล่อยตามร่อง แต่ต้องระมัดระวังเรื่องความชื้น ถ้าสูงเกินไปจะทำ�ให้เกิดโรคโคนเน่าได้ 4.4 การให้ปุ๋ย ผักกาดหอมห่อต้องการปริมาณธาตุอาหารที่เหมาะสม การให้ปุ๋ยไนโตรเจนมากเกินไปจะทำ�ให้ เกิดการไหม้ของรากและใบเป็นสีเหลืองการให้ปุ๋ยโดยทั่วไปมีดังนี้ ครัง้ ที่ 1 หลังปลูก 7 วันใส่ปยุ๋ 46 - 0 - 0 หรือผสม 15 - 15 - 15 อัตรา 50 กิโลกรัม/ไร่ อัตรา 1:1 พร้อมกำ�จัด วัชพืช โดยวิธีขุดร่องลึก 2 - 3 เซนติเมตร ห่างจากต้น 10 เซนติเมตร โรยปุ๋ย 1/2 ช้อนโต๊ะ ครั้งที่ 2 หลังปลูก 20 - 25 วัน ใส่ปุ๋ย 13 - 13 - 21 พร้อมกำ�จัดวัชพืช โดยวิธีขุดร่องลึก 2 - 3 เซนติเมตร ห่างจากต้น 10 เซนติเมตร โรยปุ๋ย 1/2 ช้อนโต๊ะ 4.5 การป้องกันศัตรูพชื แมลงศัตรูทส่ี �ำ คัญของผักกาดหอมห่อ ได้แก่ จิง้ หรีดกัดกินต้นกล้าหลังย้ายปลูก เพลีย้ อ่อน เพลี้ยไฟ หนอนกะทู้ และหนอนชอนใบ ส่วนโรคที่มักพบ ได้แก่ โรคโคนเน่า และโรคราแป้ง การจัดการแปลงที่ดี ได้แก่ การตัดแต่งใบที่เป็นโรคทิ้ง กำ�จัดวัชพืช และรักษาความสะอาดในแปลงอย่างสม่ำ�เสมอ จะช่วยลดการระบาด ของศัตรูพืชให้น้อยลง ถือว่าเป็นการป้องกันและควบคุมศัตรูพืชในเบื้องต้น สำ�หรับการใช้สารชีวภัณฑ์และสารเคมี เพื่อกำ�จัดศัตรูพืชของซุกินีดูรายละเอียดในหน้าที่....
5. การเก็บเกี่ยว
ผักกาดหอมห่อ สามารถเก็บเกี่ยวเมื่ออายุประมาณ 38 - 45 วัน หลังย้ายปลูก โดยใช้มีดตัดโคนต้นให้เหลือใบ นอก 3 ใบเพื่อป้องกันความเสียหายในการขนส่ง ควรเก็บเกี่ยวตอนเช้า หลีกเลี่ยงการเก็บเกี่ยวในช่วงที่มีความชื้นสูง
HEAD LETTUCE
ICEBERG, CRISP HEAD LETTUCE 44
คู่มือปลูกผัก
คอสสลัด
Cos Lettuce, Romain Lettuce
1. ลักษณะทั่วไป ผักกาดหวาน หรือ คอสสลัด (Lactuce sativa var. longifolla) เป็นผักที่อยู่ใน วงศ์ Asteraceae (Compositae) มีถิ่นกำ�เนิดในยุโรป ลำ�ต้นเป็นกอ ลักษณะใบยาวรี ซ้อนกันเป็นช่อ ใบบางกรอบ การปลูก ดูแลรักษาคล้ายผักกาดหอมห่อ แต่จะมีลักษณะแตกต่างกันออกไปตามสายพันธุ์ นอกจากนี้ยังมีชนิดใบกลม ห่อหัวแน่น รสชาติหวานกรอบ เรียกว่า เบบี้คอส (baby cos)
COS LETTUCE
ROMAIN LETTUCE
2. สภาพแวดลอมที่เหมาะสม ผักกาดหวานเป็นพืชทีต่ อ้ งการสภาพอากาศเย็น อุณหภูมทิ เ่ี หมาะสมอยูร่ ะหว่าง 10 - 24 ºC ในสภาพ อุณหภูมิสูง การเจริญเติบโตทางใบจะลดลง และพืชสร้างสารคล้ายนํ้านม หรือยางมาก เส้นใยสูง เหนียว และมีรสขม ดินที่เหมาะสมต่อการปลูกควรร่วนซุย มีความอุดมสมบูรณ์ และมีอินทรีย์วัตถูสูง หน้าดินลึก และอุ้มนํ้า ได้ดีปานกลาง สภาพความเป็นกรด-ด่างของดินอยู่ระหว่าง 6 - 6.5 พื้นที่ปลูกควรโล่ง และได้รับแสงแดด อย่างเต็มที่ ไม่ทนต่อฝน เนื่องจากผักกาดหวานเมื่อความชื้นสูงและแสงแดดไม่เพียงพอ ลำ�ต้นผักกาดหวาน จะบิดงอ ไม่ได้คุณภาพ ดังนั้นในช่วงฤดูฝนควรปลูกใต้โรงเรือน
3. การใชประโยชนและคุณคาทางอาหาร ผักกาดหวานประกอบด้วย นํ้า 95 % คาร์โบไฮเดรต 1-2 % โปรตีน 1-2 % ไขมัน 0.25 % มีปริมาณ วิตามินซี แคโรทีน และโฟเลตสูง ช่วยป้องกันโรคโลหิตจาง และบรรเทาอาการท้องผูก เหมาะสำ�หรับผู้ที่ป่วย เป็นโรคเบาหวาน สามารถบริโภคสด โดยเฉพาะในสลัด หรือกินกับยำ� นำ�มาตกแต่งในจานอาหาร
คู่มือปลูกผัก
45
4. การปลูกและดูแลรักษา 4.1 การเตรียมกล้า แช่เมล็ดในนา้ํ อุน่ อุณหภูมิ 50 - 55ºC นาน 15 นาที แล้วนำ�เมล็ดไปบ่มโดยห่อด้วยผ้าขนหนู ชุบนํ้าหมาด 1 คืน จากนั้นนำ�เมล็ดไปเพาะในถาดหลุม อายุกล้าที่เหมาะสมต่อการย้ายปลูกคือ 25 วัน หรือมีใบจริง 2 - 3 ใบ 4.2 การเตรียมดิน ไถดินลึก 15 - 20 เซนติเมตร ตากแดด 7 - 10 วัน เก็บเศษวัชพืชออกจากแปลง จากนั้น ย่อยดินให้ละเอียด และโรยปูนขาวหรือโดโลไมท์ เพื่อปรับความเป็นกรด-ด่างของดินให้อยู่ระหว่าง 6 - 6.5 (อัตรา ที่ใช้ปูนขาวหรือโดโลไมท์ขึ้นอยู่กับค่าวิเคราะห์ pH ของดิน) ขึ้นแปลงกว้าง 1.20 เมตร ระยะห่างระหว่างแปลง 50 เซนติเมตร ย้ายปลูกระยะปลูกแปลงละ 3 แถว ระยะปลูก 30 x 40 เซนติเมตร หรือ 40 x 40 เซนติเมตร ใส่ปุ๋ยหมักหรือ ปุ๋ยคอกหมัก รองก้นหลุมอัตรา 2 - 4 ตันต่อไร่ 4.3 การให้นํ้า ผักกาดหวานเป็นพืชที่ต้องการให้นํ้าอย่างสมํ่าเสมอและเพียงพอต่อการเจริญเติบโต ในแปลง สามารถให้นํ้าโดยวิธีปล่อยตามร่อง แต่ต้องระมัดระวังเรื่องความชื้น ถ้าสูงเกินไปจะทำ�ให้เกิดโรคโคนเน่าได้ 4.4 การให้ปุ๋ย ผักกาดหวานต้องการปริมาณธาตุอาหารที่เหมาะสม การให้ปุ๋ยไนโตรเจนมากเกินไปจะทำ�ให้ เกิดการไหม้ของรากและใบเป็นสีเหลืองการให้ปุ๋ยโดยทั่วไปมีดังนี้ ครั้งที่ 1 หลังปลูก 7 วันใส่ปุ๋ย 46 - 0 - 0 หรือผสม 15 - 15 - 15 อัตรา 50 กิโลกรัม/ไร่ อัตรา 1:1 พร้อมกำ�จัด วัชพืช โดยวิธีขุดร่องลึก 2-3 เซนติเมตร ห่างจากต้น 10 เซนติเมตร โรยปุ๋ย 1/2 ช้อนโต๊ะ ครั้งที่ 2 หลังปลูก 20-25 วัน ใส่ปุ๋ย 13-13-21 พร้อมกำ�จัดวัชพืช โดยวิธีขุดร่องลึก 2-3 เซนติเมตร ห่างจากต้น 10 เซนติเมตร โรยปุ๋ย 1/2 ช้อนโต๊ะ 4.5 การป้องกันศัตรูพืช แมลงศัตรูที่สำ�คัญของผักกาดหวาน ได้แก่ จิ้งหรีดกัดกินต้นกล้าหลังย้ายปลูก เพลี้ยอ่อน เพลี้ยไฟ หนอนกะทู้ และหนอนชอนใบ ส่วนโรคที่มักพบ ได้แก่ โรคโคนเน่า และโรคราแป้ง การจัดการแปลงที่ดี ได้แก่ การตัดแต่งใบที่เป็นโรคทิ้ง กำ�จัดวัชพืช และรักษาความสะอาดในแปลงอย่างสมํ่าเสมอ จะช่วยลดการระบาด ของศัตรูพืชให้น้อยลง ถือว่าเป็นการป้องกันและควบคุมศัตรูพืชในเบื้องต้น สำ�หรับการใช้สารชีวภัณฑ์และสารเคมี เพื่อกำ�จัดศัตรูพืชของซุกินีดูรายละเอียดในหน้าที่....
5. การเก็บเกี่ยว
ผักกาดหวาน สามารถเก็บเกี่ยวเมื่ออายุประมาณ 30 – 35 วัน หลังย้ายปลูก โดยใช้มีดตัดโคนต้นให้เหลือใบ นอก 3 ใบเพือ่ ป้องกันความเสียหายในการขนส่ง ควรเก็บเกีย่ วตอนเช้า หลีกเลีย่ งการเก็บเกีย่ วในช่วงทีม่ คี วามชืน้ สูง
COS LETTUCE ROMAIN LETTUCE
46
คู่มือปลูกผัก
ผักตระกูลแตง
(Family Cucurbitaceae)
FAMILY Comp o s i t ae คู่มือปลูกผัก
47
48
คู่มือปลูกผัก
ซุกินี
Zucchini
1. ลักษณะทั่วไป
ZUCCHINI
ซุกินี (Cucurbita pepo L. var.cylindica Pans.) มีถิ่นกำ�เนิดอยู่แถบเม็กซิโก เป็นพืชฤดูเดียว เจริญ เป็นพุ่ม หรือกิ่งเลื้อย ลำ�ต้นเป็นข้อสั้น ใบมีลักษณะเป็นเหลี่ยม ผิวหยาบ และมีขนอ่อนบนใบ ดอกตัวเมีย และตัวผู้ แยกกันอยู่ แต่อยู่บนต้นเดียวกัน ผสมเกสรโดยแมลง เช่น ผึ้ง ผลมีลักษณะทรงยาวรี มีสันนูน ตามยาว ผิวเรียบเป็นมัน สีเขียวแก่ สลับลายขาวเป็นจุด เนื้อแน่น กรอบ ฉํ่านํ้า มีเมล็ดจำ�นวนมาก ขนาดผล โดยประมาณมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 3-4 เซนติเมตร ยาว 15-20 เซนติเมตร นิยมบริโภคกันมากในแถบประเทศ เมดิเตอร์เรเนียน ในฝรั่งเศส อังกฤษ อิตาลี
2. สภาพแวดลอมที่เหมาะสม ซุกนิ ี ต้องการสภาพอากาศอบอุน่ ในการเจริญเติบโต ปลูกได้ดสี ภาพพืน้ ทีท่ ม่ี คี วามสูงตัง้ แต่ 600 เมตร ขึ้นไป สามารถปลูกได้ตลอดทั้งปี อุณหภูมิที่เหมาะสมอยู่ระหว่าง 18 - 30 ºC ถ้าอุณหภูมิสูง หรือตํ่ากว่านี้ ซุกนิ จี ะชะงักการเจริญเติบโต ดินทีเ่ หมาะสำ�หรับปลูกซุกนิ ี ควรเป็นดินร่วนซุย มีความอุดมสมบูรณ์ มีอนิ ทรีย์ วัตถุไม่น้อยกว่า 1.5 เปอร์เซ็นต์ หน้าดินลึก ระบายนํ้าได้ดี ความเป็นกรด-ด่างของดินมีค่า 6.0 - 6.5 และ ควรได้รับนํ้าอย่างสมํ่าเสมอ และแสงแดดอย่างเต็มที่
3. การใชประโยชนและคุณคาทางอาหาร ใช้ประกอบอาหารได้เช่นเดียวกับบวบหรือแตง เช่น ผัด แกงจืด แกงเลียง หรือต้มจิ้มนํ้าพริก สามารถ รับประทานสด หรือดอง ซุกนิ อี ดุ มไปด้วยสารอาหารต่างๆ ทีม่ ปี ระโยชน์ ได้แก่ โพแทสเซียม เหล็ก แคลเซียม แมกนีเซียม ฟอสเฟต กำ�มะถัน และสังกะสี นอกจากนี้จากการวิจัยยังพบว่า ซุกินีมีสารเบตาแคโรทีน กรดโฟลิค วิตามินซี วิตามินอี และสารต้านอนุมูลอิสระ ป้องกันการเกิดมะเร็ง และเป็นผักที่มีแคลอรี่ตํ่า เหมาะสำ�หรับผู้ที่ต้องการควบคุมนํ้าหนัก
คู่มือปลูกผัก
49
4. การปลูก และดูแลรักษา 4.1 การเตรียมกล้า แช่เมล็ดในนํา้ อุน่ อุณหภูมิ 50 - 55ºC นาน 15 นาที แล้วนำ�เมล็ดไปบ่มโดยห่อด้วยผ้าขนหนู ชุบนํ้าหมาด 1 คืน จากนั้นนำ�เมล็ดไปเพาะในถาดหลุมขนาดใหญ่ อายุกล้าที่เหมาะสมต่อการย้ายปลูกคือ 6 - 8 วัน หรือมีใบจริง 2 - 3 ใบ 4.2 การเตรียมดิน และย้ายปลูก ไถดินลึก 15 - 20 เซนติเมตร ตากแดด 7 - 10 วัน เก็บเศษวัชพืชออกจากแปลง จากนั้นย่อยดินให้ละเอียด ขึ้นแปลงกว้าง 1 เมตร ยกแปลงสูง 15 - 20 เซนติเมตร ระยะห่างระหว่างแปลง 1 เมตร ควรคลุมแปลงด้วยพลาสติกเพื่อลดปัญหาวัชพืช และรักษาความชื้นแปลงปลูก ย้ายปลูกแบบแถวเดีย่ วโดยเจาะรูพลาสติก 1 แถวต่อแปลง ระยะระหว่างต้น 0.7 - 1 เมตร (ระยะปลูกขึน้ อยูก่ บั สายพันธุ์ และฤดูกาล) ขุดหลุมปลูกรองก้นหลุมด้วยปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอก อัตรา 1 - 2ตัน/ไร่ และปุ๋ย 15 - 15 - 15 อัตรา 50 กิโลกรัม/ไร่ 4.3 การให้นํ้า ซุกินีเป็นพืชที่ต้องการนํ้าอย่างสมํ่าเสมอ โดยเฉพาะช่วงออกดอกและการพัฒนาของผล หาก ขาดนํ้าพืชจะชะงักการเจริญเติบโต และผลผลิตมีคุณภาพตํ่า แต่ไม่ควรให้นํ้าเกินไปจนเกิดนํ้าขัง การให้นํ้าในช่วง ฤดูรอ้ นควรให้ประมาณ 2 - 3 ครัง้ ต่อสัปดาห์ ในขณะทีฤ่ ดูหนาวอาจให้เพียง 1 ครัง้ ต่อสัปดาห์ อย่างไรก็ตามความถี่ ของการให้นํ้าขึ้นอยู่กับสภาพความชื้นดิน และความต้องการนํ้าของพืช โดยดูจากการเหี่ยวของใบ การคลุมแปลง ด้วยพลาสติกหรือวัสดุธรรมชาติสามารถช่วยรักษาความชื้นในดินได้ดียิ่งขึ้น 4.4 การให้ปยุ๋ ซุกนิ ตี อ้ งการปริมาณธาตุอาหารทีเ่ หมาะสม การให้ปยุ๋ ไนโตรเจนมากเกินไปจะทำ�ให้เจริญเติบโต ทางลำ�ต้นและใบมาก และทำ�ให้การติดผลลดลง การให้ปุ๋ยโดยทั่วไปมีดังนี้ ครั้งที่ 1 หลังย้ายปลูก 7-10 วัน ใส่ปุ๋ย 15-15-15 อัตรา 100 กิโลกรัม/ไร่ และ 15-0-0 อัตรา 50 กิโลกรัม/ไร่ และ 46-0-0 อัตรา 32 กิโลกรัม/ไร่ ครั้งที่ 2 หลังย้ายปลูก 30-35 วันใส่ปุ๋ย 15-0-0 อัตรา 32 กิโลกรัม/ไร่ 13-13-21 อัตรา 65 กิโลกรัม/ไร่ ครั้งที่ 3 หลังย้ายปลูก 45-50 วัน ใส่ปุ๋ย 13-13-21 อัตรา 96 กิโลกรัม/ไร่ 4.5 การตัดแต่งต้นและห่อผล หลังย้ายปลูก 15 วัน ให้ตัดแต่งกิ่ง หลังจากนั้นประมาณ 25 วันหลังย้ายปลูก ตัดแต่งใบแก่ 2-3 ใบแรกทิง้ และเมือ่ อายุประมาณ 45 วันหลังย้ายปลูก หรือเริม่ ติดผลอ่อนควรเริม่ ห่อผล เพือ่ ป้องกัน การวางไข่ของแมลงวันทอง 4.6 การป้องกันศัตรูพชื แมลงศัตรูทส่ี �ำ คัญของซุกนิ ี ได้แก่ เพลีย้ อ่อน ไร แมลงหวีข่ าว เพลีย้ ไฟ ส่วนโรคทีม่ กั พบ ได้แก่ โรคเหี่ยวจากเชื้อแบคทีเรีย โรครานํ้าค้าง โรคราแป้ง และโรคที่เกิดจากเชื้อไวรัส การจัดการแปลงที่ดี ได้แก่ การตัดแต่งใบที่เป็นโรคทิ้ง กำ�จัดวัชพืช และรักษาความสะอาดในแปลงอย่างสมํ่าเสมอ จะช่วยลดการระบาดของ ศัตรูพืชให้น้อยลง ถือว่าเป็นการป้องกันและควบคุมศัตรูพืชในเบื้องต้น สำ�หรับการใช้สารชีวภัณฑ์และสารเคมีเพื่อ กำ�จัดศัตรูพืชของซุกินีดูรายละเอียดในหน้าที่...
5. การเก็บเกี่ยว
โดยทั่วไปสามารถเก็บผลซุกินีหลังจากดอกบาน 5 - 7 วัน หรือผลมีความยาว 6 - 8 นิ้ว เส้นผ่าศูนย์กลาง 1.5 - 2 นิว้ หากเก็บเกีย่ วช้าในระยะไม่เหมาะสม ผิวและเมล็ดมีลกั ษณะแข็ง ผลเหนียว การเก็บผลซุกนิ อี ย่างสมา่ํ เสมอ ไม่ทง้ิ ให้ผลแก่ จะทำ�ให้ผลชุดใหม่เจริญได้เร็วขึน้ ควรใช้มดี ทีค่ ม และสะอาดตัดบริเวณขัว้ ผล เพือ่ มิให้กระทบกระเทือน ต้นซุกินี
ZUCCHINI
50
คู่มือปลูกผัก
ฟักทอง
Pumpkin
PUMPKIN
ฟักทองญี่ปุ่น (Japanese Pumpkin)
ฟักทองสีขาว (White Pumpkin)
ฟักทองสีส้ม (Orange Pumpkin)
ฟักทองจิ๋ว(Mini Japanese pumpkin)
1. ลักษณะทั่วไป ฟักทอง (Curcubita moschata) มีถน่ิ กำ�เนิดแถบอเมริกากลาง ภาคเหนือของเม็กซิโกและภาคตะวันตก ของอเมริกาเหนือ ปลูกกันแพร่หลายในเขตร้อนและเขตแห้งแล้ง เป็นพืชล้มลุก ลำ�ต้นเป็นเถาเลื้อยตาม พื้นดิน ยาว 20-30 ฟุต ลักษณะลำ�ต้นแข็ง เป็นเหลี่ยม มีร่องยาว ใบเป็นรูปห้าเหลี่ยม ขนาดใหญ่ ขอบใบ หยักลึก มีขนปกคลุม เนื้อใบหยาบ ก้านใบและดอกมีขนาดเล็ก ผลมีสีเขียว รูปทรงกลมค่อนข้างแบน เนื้อ แน่นแข็ง ฟักทองอ่อนเนื้อสีเหลือง เมื่อแก่เนื้อจะเปลี่ยนเป็นสีเหลืองเข้ม รสหวานมัน เมล็ดแบนรี สีขาว นวล อายุเก็บเกี่ยวหลังจากย้ายปลูกประมาณ 120 วัน
คู่มือปลูกผัก
51
2. สภาพแวดลอมที่เหมาะสม ฟักทองเจริญได้ดใี นสภาพอากาศอบอุน่ มีความชืน้ พอเพียง สามารถปลูกได้ในพืน้ ทีท่ ม่ี คี วามสูงตัง้ แต่ 0 ถึง 2,000 เมตร จากระดับนํ้าทะเล โดยทั่วไปอุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการเพาะกล้าอยู่ระหว่าง 21.1-35.0 ºC ในขณะที่อุณหภูมิ ที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตอยู่ระหว่าง 18-24ºC สำ�หรับดินที่เหมาะสมต่อการปลูก ควรเป็นดินร่วนซุย มีความ อุดมสมบูรณ์ หน้าดินลึกและระบายนํ้าได้ดี
3. การใชประโยชนและคุณคาทางอาหาร ส่วนที่สามารถรับประทานได้ เช่น ผล ยอดอ่อน ดอก และเนื้อที่อยู่ในเมล็ด เนื้อฟักทองที่ดีต้องแน่นและเหนียว สามารถนำ�ผลมาประกอบอาหารได้หลายชนิด เช่น แกงเลียง ผัด แกงเผ็ด ต้มจิ้มนํ้าพริก หรือต้มนํ้าตาลคลุกงาผสม เกลือป่นเล็กน้อย รับประทานคล้ายขนมหวาน ทำ�ฟักทองแกงบวด สังขยาฟักทอง ฟักทองเชื่อม ดอกฟักทองและ ยอดฟักทองนำ�มาแกงส้มหรือลวกจิ้มนํ้าพริก เมล็ดฟักทองนำ�มาอบแห้งกินเนื้อข้างใน ฟักทองมีคุณค่าทางอาหารสูง เช่น ฟอสฟอรัส แคลเซียม และมีสารเบต้าแคโรทีน ในปริมาณมาก ช่วยป้องกัน โรคมะเร็ง นอกจากนี้เมล็ดฟักทองมีสรรพคุณช่วยป้องกันโรคหลายชนิด เช่น ต่อมลูกหมากโต โรคนิ่ว โรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง
4. การปลูก และดูแลรักษา 4.1 การเตรียมกล้า แช่เมล็ดฟักทองในนํ้าอุ่นอุณหภูมิ 50 - 55 ºC นาน 15 นาที จากนั้นบ่มเมล็ดโดยห่อด้วย ผ้าขนหนูทช่ี น้ื 1 คืน หรือเมล็ดเริม่ มีรากงอก แล้วจึงนำ�ไปเพาะในถาดหลุม ย้ายกล้าปลูกเมือ่ ใบเลีย้ งงอก (อายุ 6 - 8 วัน) โดยไม่ต้องรอใบจริง อายุกล้าไม่ควรเกิน 10 วัน หากกล้าแก่เกินไปจะทำ�ให้ชะงักการเจริญเติบโต 4.2 การเตรียมดิน และย้ายปลูก ไถดินให้ลึกประมาณ 20 - 30 เซนติเมตร ตากแดด 7 - 14 วัน เพื่อทำ�ลาย เชื้อโรค ไข่และตัวอ่อนแมลงในดิน หากมีเศษวัชพืชควรเก็บออกจากแปลงเพื่อไม่ให้เป็นแหล่งสะสมของโรค จากนั้น ย่อยดินให้ละเอียด ปัญหาสำ�คัญหนึ่งของการปลูกฟักทอง คือ อาการเนื้อเป็นไต ซึ่งเกิดจากการขาดธาตุแคลเซียม และโบรอน ดังนั้นก่อนการปลูกจึงควรวัดค่าความเป็นกรดด่างของดิน แล้วปรับให้เหมาะสม และควรวิเคราะห์หา ธาตุอาหารในดิน เพื่อนำ�มาใช้ในการจัดการธาตุอาหาร การปลูกควรขึ้นแปลงสูง 25 - 30 เซนติเมตร ระยะห่างระหว่างแปลง 2.5 - 3 เมตร คลุมแปลงด้วยพลาสติก บรอนซ์ - ดำ� เจาะรูพลาสติกสำ�หรับปลูกให้มขี นาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 7 เซนติเมตร ระยะห่างระหว่างหลุม 80 - 100 เซนติเมตร ควรเจาะให้ต�ำ แหน่งหลุมของทัง้ 2 แปลง มีลกั ษณะสลับฟันปลา (ดังรูป ) เพือ่ ให้งา่ ยต่อการจัดเถาระหว่าง ปลูก ก่อนย้ายปลูก 3 วัน ให้นา้ํ ในแปลงจนดินชุม่ ขุดหลุมลึก 25 เซนติเมตร รองก้นหลุมด้วยปุย๋ หมัก อัตรา 500 กรัม ต่อหลุม ผสมเชื้อราไตรโครเดอร์มา คลุกเคล้าให้เข้ากัน ย้ายปลูกต้นกล้าฟักทองที่แข็งแรง ปราศจากโรคและแมลง โดยปลูกหลุมละ 1 ต้น หลังย้ายควรรดนํ้าให้ชุ่ม ควรปลูกในเวลาเย็น
PUMPKIN 52
คู่มือปลูกผัก
4.3 การให้นํ้า ฟักทองเป็นพืชที่มีระบบรากตื้น จึงมีความต้องการนํ้าสูงในสภาพอากาศที่แห้งหรือมีลมพัด ทั้งนี้ การรักษาความชื้นในดินอย่างสมํ่าเสมอช่วยป้องกันการแตกของผลได้ ข้อควรระวัง หน้าฝนไม่ควรเลือกพื้นที่ปลูกที่มีนํ้าท่วมขัง เพราะจะทำ�ให้ต้นฟักทองมีโอกาสเน่าสูง และรากดูดธาตุอาหาร ไปใช้ได้น้อย 4.4 การให้ปุ๋ย ฟักทองเป็นพืชที่ต้องการธาตุอาหารในปริมาณมาก เนื่องจากต้องใช้ในการสร้างลำ�ต้น ใบ และ ผลที่มีขนาดใหญ่ ความต้องการปุ๋ยในแต่ระยะแตกต่างกันไป ในช่วงแรกต้องการไนโตเจนมาก ภายหลังติดดอกควร ลดปริมาณปุ๋ยไนโตรเจนลง แต่ให้ปุ๋ยฟอสฟอรัส และโปแทสเซียมเพิ่มขึ้น การให้ปุ๋ยไนโตรเจนในปริมาณมากเกินไป จะทำ�ให้เจริญทางลำ�ต้นและใบแทน ติดผลน้อย อย่างไรก็ตามการให้ปุ๋ยควรพิจารณาผลวิเคราะห์ดิน และให้ตาม ความต้องการของพืช สำ�หรับการให้ปุ๋ยฟักทองโดยทั่วไปมีดังนี้ ครัง้ ที่ 1 หลังย้ายปลูก 7-10 วัน ใส่ปยุ๋ 46-0-0 และ 15-0-0 อัตรา 30-50 กรัม/ต้น และ 20 กรัม/ต้น ตามลำ�ดับ ครั้งที่ 2 หลังย้ายปลูก วัน ใส่ปุ๋ย 15-15-15 อัตรา 40 กรัม/ต้น ครั้งที่ 3 หลังย้ายปลูก 40 วัน ใส่ปุ๋ย 13-13-21 หรือ 8-24-24 อัตรา 80 กรัม/ต้น หลังการใส่ปุ๋ยทั้งครั้งควรรดนํ้าให้ชุ่ม สามารถพ่นปุ๋ยเสริมทางใบในระยะ.... ข้อควรระวัง 1) ในพื้นที่ที่มีสภาพเป็นดินทราย ดินมีความอุดมสมบูรณ์ตํ่า หรือช่วงฤดูร้อน ความชื้นในดินไม่เพียงพอ ให้นํ้า ไม่สมํ่าเสมอ ต้องระวังการขาดธาตุแคลเซียม และโบรอน ซึ่งเป็นสาเหตุของอาการเนื้อลาย เป็นไต 4.5 การทำ�ค้าง การปลูกฟักทองแบบขึ้นค้าง มีข้อดีหลายประการ เช่น ทำ�ให้การจัดการแปลงสะดวกและง่าย ลดการระบาดของโรคที่เกิดจากเชื้อรา ลดปัญหาหนูกัดกินผล ทำ�ให้ผิวผลสวย ค้างควรยกสูงจากพื้นดินประมาณ 0.5 - 1 เมตร อย่างไรก็ตามการทำ�ค้างอาจส่งผลให้ต้นทุนการผลิตสูงกว่าการปลูกแบบปล่อยเลื้อย 4.6 การผสมเกสร ฟักทองเป็นพืชที่มีดอกเพศผู้และเพศเมียแยกดอก แต่อยู่บนต้นเดียวกัน ดอกทั้งสองเพศ มีอายุสั้น ดอกบานในช่วงเช้า ดอกเพศเมียมีลักษณะบวมบริเวณฐานรองดอก ส่วนดอกเพศผู้มีอับละอองเกสร การ ผสมเกสรและการติดผลในธรรมชาติมีผึ้งเป็นตัวช่วยผสม อย่างไรก็ตามหากสภาพอากาศมีอุณหภูมิสูงจะมีผลต่อ การสร้างผล อุณหภูมิที่สูงกว่า 30 ºC ควรช่วยผสมเกสรโดยใช้มือ จะช่วยให้การสร้างผลดียิ่งขึ้น วิธีการคือ เด็ดดอก เพศผู้ที่บานแล้ว พร้อมทั้งเด็ดกลีบดอกออกเหลือแต่ยอดเกสร จากนั้นนำ�ส่วนของเกสรเพศผู้ไปแตะเบาๆ บริเวณ ยอดเกสรเพศเมีย ควรทำ�ในช่วงที่มีอากาศชื้น
คู่มือปลูกผัก
53
4.7 การตัดแต่งเถา ตัดแต่งกิง่ แขนงออกให้เหลือเฉพาะลำ�ต้นหลักเพียง 1 เถา เมือ่ ต้นเจริญเติบโตจนถึงข้อที่ 25 ให้ตัดยอดทิ้งเพื่อบังคับให้อาหารไปเลี้ยงผล ข้อควรระวัง 1) การปลูกแบบปล่อยเลือ้ ย บริเวณข้อของลำ�ต้นมักจะเกิดรากขนาดเล็กเจริญแทงลึกลงไปในดิน 1-2 นิว้ ดังนัน้ ในการจัดการแปลง จึงควรระมัดระวังมิให้กระทบกระเทือนรากดังกล่าว 4.8 การตัดแต่งผล เพื่อให้ได้ผลที่สมบูรณ์และขนาดตามที่ตลาดต้องการ ให้เหลือผลไว้ 1-2 ลูกต่อต้นการคัด เลือกผลควรสังเกตตั้งแต่ขนาดผลยังเล็ก ว่ามีรอยแผล แมลงเจาะวางไข่หรือไม่ จากนั้นใช้กระดาษหรือถุงพลาสติก เจาะรู ห่อผลเพื่อป้องกันการวางไข่ของแมลง การปลูกแบบเลื้อย ควรจัดต้นหรือเถาให้เจริญไปทางเดียวกัน เพื่อง่ายต่อการจัดการ ควรป้องกันมิให้ผลสัมผัส ดินโดยใช้อุปกรณ์ต่างๆ รองผล เช่น ไม้ไผ่ผ่าซีก ซึ่งจะช่วยป้องกันการเจาะผลของแมลง และสีผิวไม่สมํ่าเสมอ หรือ หมั่นกลับผลบ่อย ๆ 4.9 การป้องกันศัตรูพชื โรคทีส่ �ำ คัญของฟักทอง คือ โรคไวรัส เกิดจากแมลงเป็นพาหะเช่น เพลีย้ ไฟ แมลงหวีข่ าว ฯลฯ การปลูกฟักทองในฤดูแล้ง ควรระวังเพลี้ยไฟเข้าทำ�ลายตั้งแต่ระยะต้นกล้า ดังนั้นจึงควรจัดการแปลงปลูก โดยเน้นการลดการระบาดของแมลงเป็นหลัก และทำ�ให้ต้นพืชมีความแข็งแรง สำ�หรับในช่วงฤดูฝน มักพบปัญหา โรคเหี่ยว ซึ่งเกิดจากเชื้อรา และแบคทีเรีย สามารถลดปัญหาโดยการเลือกพื้นที่ปลูกที่ไม่มีนํ้าขัง หรือระบายนํ้าได้ดี สำ�หรับแมลงและโรคศัตรูของฟักทอง และการป้องกันกำ�จัดดูรายละเอียดในหน้าที่....
5. การเก็บเกี่ยว โดยทั่วไปสามารถเก็บเกี่ยวผลฟักทอง หลังย้ายปลูก 90 - 120 วัน หรือผิวผลมีสีเข้มเป็นมัน ขั้วผลขนาดเล็กลง เป็นสีนํ้าตาล และเริ่มแห้ง ใช้มีดหรือกรรไกรตัดขั้ว ควรล้างทำ�ความสะอาดผล และทาปูนแดงที่ขั้วแล้วนำ�ไปผึ่งใน ทีร่ ม่ ผลฟักทองทีอ่ ยูใ่ นระยะแก่พร้อมเก็บเกีย่ วจะมีปริมาณแป้งสูง ภายหลังเก็บเกีย่ วควรนำ�ฟักทองมาบ่มทีอ่ ณ ุ หภูมิ 25 ºC ประมาณ 2 สัปดาห์ จะช่วยให้เนื้อฟักทองหวานขึ้น (เกิดการเปลี่ยนแป้งเป็นนํ้าตาล) โดยทั่วไปคุณภาพเนื้อและความหวานของฟักทองขึ้นอยู่กับปริมาณธาตุอาหาร ความสมบูรณ์ของต้นและใบ ฟักทองที่เจริญเติบโตไม่สมบูรณ์ มีโรคเข้าทำ�ลาย หรือลำ�ต้นแห้งหรือเน่าตายก่อนถึงอายุที่เหมาะสม จะส่งผลต่อ คุณภาพผล โดยเฉพาะความแน่นของเนื้อ และรสชาติ
PUMPKIN 54
คู่มือปลูกผัก
มะระหยก
Jade Bitter Gourd / Balsam Pear
1. ลักษณะทั่วไป
JADE BITTER GOURD
BALSAM PEAR
มะระ (Cucubita pepo) เป็นพืชทีอ่ ยูใ่ นตระกูล Cucurbitaceae มีถน่ิ กำ�เนิดอยูใ่ นเขตร้อนของเอเชีย และแอฟริกา นิยมกันทั่วไปในแถบเอเชีย เป็นพืชที่ปลูกง่าย มะระเป็นพืชเถาเลื้อยมีมือเกาะช่วยยึดพยุง ลำ�ต้นพันให้ขึ้นค้าง ใบเป็นใบเดี่ยวรูปฝ่ามือ ดอกสีเหลืองมีกลีบดอก 5 กลีบ มะระมีดอกไม่สมบูรณ์เพศ ดอกตัวผู้และตัวเมียแยกกันอยู่บันต้นเดียวกัน ต้องอาศัยแมลงช่วยผสมพันธุ์ มะระมีหลายสี เช่น เขียว ขาว เป็นต้น สำ�หรับมะระขาว ต้องการสภาพอากาศเย็นกว่ามะระเขียว ผลมีสีขาว ขนาดใหญ่ เนื้อหนา ผลยาว ผิวเป็นสันตะปุ่มตะปํ่า มีรสขม
2. สภาพแวดลอมที่เหมาะสม อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการปลูกอยู่ระหว่าง 18 - 25ºC ผลผลิตจะมีคุณภาพดีที่สุด อย่างไรก็ตามการ ปลูกมะระบนพื้นที่สูงสามารถปลูกได้ตลอดทั้งปี แต่ควรระวังสภาพอากาศในช่วงฤดูหนาว อุณหภูมิตํ่าทำ�ให้ การเจริญเติบโตช้า พื้นที่ปลูกควรได้รับแสงแดดอย่างเต็มที่ตลอดทั้งวัน มะระสามารถเจริญได้ในดินแทบทุกชนิด แต่ดินที่ปลูกได้ผลดีที่สุดคือ ดินร่วนปนทราย ซึ่งมีการระบาย นํ้าดี โดย pH ของดินที่เหมาะสม คือ 6.0 - 6.7 (สภาพเป็นกรดเล็กน้อยถึงปานกลาง) การปลูกในฤดูฝน ควรมีการระบายนํ้าที่ดี อย่าให้นํ้าขังแปลง จะทำ�ให้ต้นเน่าตาย
3. การใชประโยชนและคุณคาทางอาหาร นิยมนำ�มาต้มหรือตุ๋นเป็นอาหาร เช่น แกงจืดมะระยัดไส้ ต้มกับผักกาดดองกระดูกหมู มะระตุ๋น ไก่มะนาวดอง แกงเผ็ด ผัดกับไข่ หรือเป็นเครื่องเคียงในขนมจีน และกุ้งแช่นํ้าปลา เป็นต้น
คู่มือปลูกผัก
55
ในทางโภชนาการมะระเป็นผักที่มีคุณค่าทางอาหารสูง ทั้งด้านเกลือแร่และวิตามินโดยเฉพาะวิตามินเอในยอด มะระ ผลมีโฟเลตและวิตามินซีสงู นอกจากนีย้ งั มีแคลเซียม ฟอสฟอรัส ไนอาซินและบีตาแคโรทีน ส่วนสรรพคุณทางยา มะระเป็นผักที่มีรสขม ซึ่งความขมของมะระเกิดจากสารอัลคาลอยด์ ชื่อ โมโมดิซิน (Momodicine) กระจายอยู่ ทัว่ ทุกส่วนของมะระ และมีความเชือ่ ว่าความขมของมะระเป็นสมุนไพรรักษาโรคและบำ�รุงโลหิต ยาขมช่วยเจริญอาหาร บำ�รุงนํ้าดี แก้โรคปวดตามข้อ ขับพยาธิในท้อง นํ้าคั้นจากผลมะระเป็นยาระบาย ผลมะระนำ�มาหั่นตากแห้งชงกับ นํ้าร้อนใช้ดื่มแทนนํ้าชา แก้โรคเบาหวาน เป็นยารักษาโรคติดเชื้อต่างๆ ข้อควรระวังคือ ผลสุกไม่ควรรับประทาน เพราะอาจทำ�ให้ท้องร่วงและอาเจียน
4. การปลูก และดูแลรักษา 4.1 การเตรียมกล้า นำ�เมล็ดแช่นํ้าอุ่น 50-55ºC นาน 30 นาที (อาจตัดปลายเปลือกหุ้มเมล็ดพันธุ์เล็กน้อย เพื่อให้นํ้าและความชื้นเข้าได้ง่ายขึ้น) นำ�เมล็ดมาคลุกด้วยสารป้องกันกำ�จัดโรคพืชและแมลง เพื่อป้องกันโรคโคนเน่า และแมลงทำ�ลาย หลังจากนั้นนำ�เมล็ดไปบ่มประมาณ 2-3 คืน แล้วนำ�ไปเพาะในถาดที่บรรจุวัสดุเพาะที่มีการ ระบายนํ้าได้ดี รดนํ้าเช้า-เย็นทุกวันหรือขึ้นอยู่กับความชื้นในวัสดุเพาะ แต่ต้องไม่ให้แฉะมากเกินไป ย้ายปลูกเมื่อ ต้นกล้ามีอายุ 12-15 วัน (ขึ้นอยู่กับฤดูกาล) 4.2 การเตรียมดิน และย้ายปลูก ไถดินตากแดดทิ้งไว้ประมาณ 7-14 วัน เก็บวัชพืชออกจากแปลง ตรวจสอบ ค่าความเป็นกรด - ด่างของดิน กรณีดนิ มี pH ตํา ่ ควรปรับด้วยปูนขาวหรือโดโลไมท์กอ่ นการเตรียมดิน 3 - 4 สัปดาห์ การเตรียมดินควรใส่ปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอก เพื่อปรับปรุงคุณภาพและเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดิน การย้ายปลูก ขุดหลุมขนาด 50 x 50 x 20 ซม. ระยะระหว่างต้น 1-1.5 เมตร ระยะระหว่างแถว 3 - 4 เมตร รองก้นหลุมด้วยปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก เชื้อไตรโคเดอร์ม่า และปุ๋ย 15-15-15 หรือ 12-24-12 อัตรา 10-15 กรัม/หลุม ผสมคลุกเคล้าในหลุม อาจโรยสารเคมีสารกำ�จัดแมลงชนิดดูดซึมเข้าทางรากรองก้นหลุมเพิ่มเติมเพื่อป้องกันการ ทำ�ลายของแมลงปากดูด 4.3 การให้นํ้า มะระเป็นพืชไม่ทนแล้ง ควรให้นํ้าสมํ่าเสมอ แต่ไม่เปียกหรือแฉะเกินไป ส่วนในฤดูฝนควรทำ� ร่องระบายนํ้า เพื่อไม่ให้นํ้าขังในแปลง 4.4 การให้ปุ๋ย ควรให้ใส่ปุ๋ยรอบโคนต้น อย่าชิดต้นมากเกินไป ครั้งที่ 1 หลังปลูก 7 วัน ใส่ปุ๋ย 46-0-0 จำ�นวน 15 กรัม/ต้น ครั้งที่ 2 หลังปลูก 20 วันใส่ปุ๋ย 15-15-15 และ 46-0-0 อัตรา 1:1 จำ�นวน 20 กรัม/ต้น ครั้งที่ 3 หลังปลูก 30 วัน ใส่ปุ๋ย 13-13-21 จำ�นวน 30 กรัม/ต้น 4.5 การขึ้นค้างและตัดแต่งกิ่ง ควรจัดทำ�ค้างให้แล้วเสร็จก่อนการปลูกทุกครั้ง ยึดเถากับไม้เพื่อให้ขึ้นค้าง ควรเริ่มตัดแต่งกิ่งแขนงเมื่ออายุได้ 15 วันหลังปลูก เรื่อยไปจนถึงประมาณข้อที่ 20 เมื่อปลูกได้ประมาณ 35 วันจะ เริ่มติดผลแรก ควรทำ�การห่อผลเมื่อติดผลได้ 2-3 วัน เพื่อป้องกันแมลงวันแตงเจาะผล (สังเกตดอกใต้ผลจะหลุด ออกเมื่อผสมสมบูรณ์) ควรทำ�กับดักแมลงวันทองหรือกาวดักแมลงวันทองผสมกับสารล่อแมลง (methyl eugenol) ทาบนแผ่นสีเหลือง
56
คู่มือปลูกผัก
4.6 การผสมเกสร มะระมีดอกเพศผู้และเพศเมียแยกคนละดอก แต่อยู่บนต้นเดียวกัน ดอกเริ่มพัฒนาในช่วง 45 - 55 วันหลังปลูก การผสมเกสรอาศัยแมลงโดยเฉพาะผึ้ง ดอกมะระมีอายุสั้นบานและเหี่ยวภายใน 1 วัน ฉะนั้น จึงควรช่วยผสมเกสรโดยใช้มือ และเลี้ยงผึ้งในบริเวณเพาะปลูก ช่วยเพิ่มการติดผลดียิ่งขึ้น การปลูกมะระในช่วง ฤดูกาลที่กลางวันนานว่ากลางคืนมีผลทำ�ให้ดอกเพศผู้บานก่อนดอกเพศเมียส่งผลให้ผลผลิตน้อย จากการศึกษาใน ไต้หวันพบว่าการฉีดพ่นฮอร์โมนพืช เช่น จิบเบอเรลลิน ในช่วงที่ต้นมีใบจริงประมาณ 6 - 8 ใบ ช่วยเพิ่มจำ�นวนดอก เพศเมียมากขึ้น และการตัดแต่งกิ่งแขนงที่แก่บริเวณใกล้โคนต้นออกจะช่วยเพิ่มจำ�นวนดอกต่อต้นมากขึ้น 4.8 การป้องกันศัตรูพืช โรคที่มักพบในมะระ ได้แก่ ใบด่างเกิดจากเชื้อไวรัส โรคราแป้ง โรคเหี่ยว ที่เกิดจาก เชื้อแบคทีเรียและเชื้อรา โรคที่เกิดจากเชื้อรามักพบมากในช่วงฤดูฝน การป้องกันโรคเหี่ยวสามารถใช้พันธุ์ต้านทาน โรค หรือการใช้ต้นตอที่ต้านทานโรค ดังเช่นประเทศไต้หวันใช้บวบซึ่งต้านทานต่อโรคเหี่ยว และทนต่อสภาพนํ้าขัง ได้ดี เป็นต้นตอ ทำ�ให้มีผลผลิตมะระเพิ่มขึ้น ส่วนแมลงศัตรูที่สำ�คัญคือ แมลงวันผลไม้ การใช้สารเคมีฉีดพ่นไม่ สามารถทำ�ลายตัวหนอนที่อยู่ในผลได้ เพียงช่วยควบคุมจำ�นวนประชากรให้ลดลง การห่อผลมะระด้วยกระดาษ เป็นทางเลือกหนึ่งที่ช่วยลดการเข้าทำ�ลายผลได้ สำ�หรับการใช้สารเคมีในการป้องกันและกำ�จัดศัตรูพืชของมะระดู รายละเอียดในหน้าที่...
5. การเก็บเกี่ยว หลังปลูก 2 เดือน สามารถเริ่มเก็บผลผลิตชุดแรกจนกระทั่งถึงอายุ 4 เดือน เก็บผลผลิต 2 - 3 ครั้งต่อสัปดาห์
ขณะที่ผลมีสีเขียวเข้ม สด ไม่แก่เกินไป เก็บเกี่ยวอย่างสมํ่าเสมอ หากเก็บผลช้าหรือแก่ทำ�ให้มีรสชาติขมมากขึ้น นอกจากนี้ยังทำ�ให้ผลใหม่เจริญช้า
JADE BITTER GOURD BALSAM PEAR
คู่มือปลูกผัก
57
58
คู่มือปลูกผัก
ผักตระกูลมะเขือ
(Family Solanaceae)
FAMILY S ola nac e ae คู่มือปลูกผัก
59
60
คู่มือปลูกผัก
พริกหวาน
Sweet pepper 1. ชื่อวิทยาศาสตร Capsicum annuum var. annuum L. Grossum
2. ลักษณะทั่วไป
SWEET
PEPPER
พริกหวานจัดอยู่ในตระกูล Solanaceae เช่นเดียวกับมะเขือ มะเขือเทศ ยาสูบ และมันฝรั่ง เป็นพืช ข้ามปี แต่นิยมปลูกฤดูเดียว ในระยะแรกพืชจะเจริญเป็นลำ�ต้นเดียว หลังจากติดดอกแรกตรงยอดของ ลำ�ต้นเดียว จะแตกกิ่งแขนงในแนวตั้งอีกสองกิ่ง เมื่อกิ่งแขนงมีดอกเจริญที่ปลายกิ่งจะเกิดกิ่งแขนงเจริญ เป็นสองกิ่ง ทำ�ให้จำ�นวนกิ่งเพิ่มขึ้น ผลผลิตจะขึ้นอยู่กับจำ�นวนกิ่งและจำ�นวนผลต่อต้น โดยทั่วไปต้นจะสูง 0.5 - 1.5 เมตร ใบเป็นใบเดี่ยว เจริญสลับกัน ลักษณะดอกเดี่ยวสมบูรณ์เพศ สามารถเจริญได้ทั้งในสภาพ ช่วงแสงสั้นหรือช่วงแสงยาว เป็นพืชผสมตัวเอง แต่อาจมีโอกาสผสมข้ามโดยธรรมชาติสูง
3. สภาพแวดลอมที่เหมาะสม สภาพทีม่ คี วามชืน้ ในอากาศต่�ำ จะทำ�ให้อตั ราการติดผลลดลง อุณหภูมทิ เ่ี หมาะสมสำ�หรับการผสมเกสร อยู่ระหว่าง 20 - 25 ºC มีความชื้นสัมพัทธ์สูง ในสภาพอุณหภูมิต่ำ�กว่า 18 ºC หรือสูงกว่า 32 ºC จะจำ�กัด การผสมเกสร อัตราการติดผลตํ่า พริกหวานสามารถเจริญเติบโตได้ดีในดินร่วนปนทราย ระบายนํ้าได้ดี และมีค่าความเป็นกรด - ด่างอยู่ระหว่าง 6.0 - 6.8
4. การใชประโยชนและคุณคาทางอาหาร พริกหวานมีรูปทรงเป็นสี่เหลี่ยมถึงหกเหลี่ยม เนื้อหนา มีหลายสีทั้งเขียว แดง เหลือง ส้ม และสี ช็อคโกแลค มีรสชาติหวาน ไม่เผ็ด สามารถรับประทานสดในสลัด หรือนำ�มาผัดกับชนิดต่างๆ ให้สีสันน่า รับประทาน มีคุณค่าทางวิตามิน A, B1, B2 และ C มีสารแคบไซซิน ช่วยยับยั้งอนุมูลอิสระ ลดความเสี่ยง ของโรคหลอดเลือด โรคต้อกระจก
คู่มือปลูกผัก
61
5. การปฏิบัติดูแลรักษาระยะตางๆ ของการเจริญเติบโต การปลูกพริกหวานในวัสดุปลูก Sub Strate สภาพแวดล้อมการปลูก สภาพทีม่ คี วามชืน้ ในอากาศตา ่ํ จะทำ�ให้อตั ราการติดผลลดลง อุณหภูมทิ เ่ี หมาะสมสำ�หรับการผสมเกสรอยูร่ ะหว่าง 20 - 25 ºC มีความชื้นสัมพัทธ์สูง ในสภาพอุณหภูมิตํ่ากว่า 18 ºC หรือสูงกว่า 32 ºC จะจำ�กัดการผสมเกสร อัตรา การติดผลตํ่า ควรปลูกในโรงเรือนพลาสติก การเลือกสายพันธุ์ ควรคัดเลือกสายพันธุ์ก่อนเพื่อผลิตเป็นการค้า เหมาะกับสภาพแวดล้อมในการปลูก อายุการเก็บเกี่ยวนาน และ ตลาดมีความต้องการ การปลูกและการดูแลรักษา 1. วัสดุอุปกรณ์ในการปลูก 1.1 กาบมะพร้าวสับ 1.2 ขุยมะพร้าว 1.3 ถุงขาวนมขนาด 7.5 x 13 นิ้ว 1.4 ถุงปลูกขนาด 3 x 6 นิ้ว 1.5 เชือกฝ้ายเบอร์ 15 - 18 1.6 ลวดเบอร์ 12 1.7 แม่ปุ๋ยและกรดไนตริก 2. อุปกรณ์ในการจ่ายปุ๋ย 2.1 ถังผสมปุ๋ยขนาด 1000 ลิตร (ขนาดถังขึ้นอยู่กับขนาดพืชที่ปลูก) 2.2 ถังพลาสติกขนาด 100 ลิตร 2 ใบ 2.3 ปั้มหอยโข่ง กรณีมีไฟฟ้า 2.4 ชุดนํ้าหยด(ตามจำ�นวนถุงที่ปลูก) 2.5 อุปกรณ์ท่อและข้อต่อต่างๆ 2.6 เครื่องวัด EC และ pH
SWEET PEPPER 62
คู่มือปลูกผัก
3. การเพาะกล้า 3.1 นำ�เมล็ดมาแช่นํ้าอุ่น อุณหภูมิ 50 - 55 องศาเซลเซียส 3.2 เตรียมวัสดุเพาะ (Media) ใส่ถาดหลุมรดนํ้าให้ชุ่ม 3.3 หยอดเมล็ดลงในถาดหลุม หลุมละ 1 เมล็ด 3.4 นำ�ไปบ่มในที่ทึบแสง
4. การเตรียมกล้า ย้ายต้นกล้าที่งอกได้ 15 วัน ลงปลูกในถุงขนาด 3 x 6 นิ้ว ที่บรรจุ ปลูก 2 ต้น จากนั้นรดนํ้าและปุ๋ยให้ชุ่ม ทุกวัน เลี้ยงไว้ อีก 10 วัน จึงนำ�ไปปลูกลงในถุงขาวนมขนาด 7.5 x 13 นิ้วต่อไป
5. การเตรียมวัสดุปลูกและการย้ายปลูก บรรจุกาบมะพร้าวสับลงในถุงขาวนมขนาด 7.5 x 13 นิ้ว นำ�ไปเรียงเป็นแถวในโรงเรือน ระยะห่างระหว่างถุง 50 เซนติเมตร ระหว่างแถว 1.2 เมตร ปล่อยนํ้าตามสายนํ้าหยด แช่กาบมะพร้าวทิ้งไว้ในถุง 2 วัน จากนั้นเจาะก้น ถุงให้สูงเหนือพื้นขึ้นมา 2 - 3 นิ้ว นำ�ต้นกล้าที่เตรียมไว้มาปลูก โดยดึงถุงออกแล้วปลูกลงไปในกาบมะพร้าวสับที่ เตรียมไว้ นำ�หัวนํ้าหยดมาเสียบตรงกลางระหว่างสองต้น
คู่มือปลูกผัก
63
การเตรียมปุ๋ย การเตรียมสารละลายธาตุอาหารแบบเข้มข้น ผู้เตรียมจะต้องจัดหาและเตรียมแม่ปุ๋ยเคมีพร้อมทั้งวัสดุอุปกรณ์ เพื่อใช้ผสมในการผสม โดยแบ่งปุ๋ยที่จะผสมออกเป็น 2 ถัง คือ ถัง A และถัง B แต่ละถังจะประกอบด้วย ถัง A ประกอบด้วย แคลเซียมไนเตรท 15-0-0 โพแตสเซียมไนเตรท 13-0-46 เหล็กคีเล็ต
64
คู่มือปลูกผัก
ถัง B ประกอบด้วย โมโนโพแทสเซียมฟอสเฟต 0-52-34 โพแทสเซียมไนเตรท 13-0-46 แมกนีเซียมซัลเฟต แมงกานีสซัลเฟต โบรอน ซิงค์ซัลเฟต คอปเปอร์ซัลเฟต แอมโมเนียมโมลิบเดต
7. การให้ปุ๋ยและการปรับค่า EC และ pH ที่เหมาะสม ตามระยะการเจริญเติบโตของพริกหวาน
คู่มือปลูกผัก
65
เวลาและปริมาณการให้ปุ๋ยนํ้าพริกหวาน ที่สภาพอากาศเย็น
เวลาและปริมาณการให้ปุ๋ยนํ้าพริกหวานมะเขือเทศ ที่สภาพอากาศร้อน
66
คู่มือปลูกผัก
8. การตัดแต่งกิ่ง พริกหวานเป็นพืชที่ต้องการทั้งผลผลิตและคุณภาพ การตัดแต่งยอดและกิ่งแขนงเป็นงานประจำ�ที่ต้องทำ�ทุกๆ สัปดาห์ เพื่อให้ลำ�ต้นโปร่ง เพิ่มอัตราหมุนเวียนของอากาศ ลดการระบาดของโรค เกิดความสมดุลของลำ�ต้นเพื่อให้ ผลผลิตมีคุณภาพ ตลอดจนยืดเวลาการเก็บเกี่ยว แต่งเพื่อให้ลำ�ต้นเลื้อยขึ้นด้านบน 1 ต้น ไว้ 2 กิ่ง และใช้เชือกฝ้าย พันพยุงลำ�ต้น ตัดแต่งผลที่มีรูปทรงบิดเบี้ยวออกให้หมด
การเก็บเกี่ยว พริกหวานสีเขียวเก็บผลผลิตหลังย้ายปลูก 2 - 2.5 เดือน พริกหวานสีแดงและสีเหลือง เริ่มเก็บเกี่ยวหลังย้าย ปลูก 2.5 - 3 เดือน การเก็บเกี่ยวพริกหวาน ขึ้นอยู่กับสายพันธุ์และฤดูปลูก พริกหวานสีเขียวเก็บเกี่ยวเมื่อผลเจริญ เต็มที่ ผลแข็ง ผิวเรียบเป็นมัน พริกหวานสี เก็บเกี่ยวเมื่อผลเปลี่ยนสี 80 % ขึ้น
คู่มือปลูกผัก
67
ต้นทุนการผลิตพริกหวานในระบบ Sub strate ขนาดโรงเรือนพื้นที่ 1 ไร่ จำ�นวน 2,500 ถุง 5,000 ต้น อายุ 8 เดือน ลำ�ดับ 1 2 3 4 5 6 7 8
รายการ กาบมะพร้าว,ขุยมะพร้าว ถุงปลูกขนาด7.5X13” ต้นกล้า ปุ๋ย AB สารเคมี ค่าแรง ค่าเสื่อมโรงเรือน ค่าเสื่อมระบบนํ้า
หน่วย ถุง ถุง ต้น ชุด ชุด เดือน เดือน เดือน
จำ�นวน 2,500 2,500 5,000 24 8 8 8 8
ราคา 5 1 6 1,500 1,250 6,000 4,000 694
จำ�นวนเงิน 12,500 2,500 30,000 36,000 10,000 48,000 32,000 5,552
หมายเหตุ
1 ถุง ปลูก 2 ต้น
รวมต้นทุน ต้นทุน/เดือน ต้นทุน/ตารางเมตร
1ชุด/เดือน
176,552 บาท 22,069 บาท 110.3 บาท
SWEET PEPPER
68
คู่มือปลูกผัก
มะเขือเทศโครงการหลวง Table tomato
1. ชื่อวิทยาศาสตร Lycopersicon esculentum
2. ลักษณะทั่วไป
TEBLE
TOMATO
มะเขือเทศดอยคำ�หรือมะเขือรับประทานสดลูกโต มีถิ่นกำ�เนิดอยู่แถบชายฝั่งทะเลตะวันตกของทวีป อเมริกาใต้แถบประเทศเปรู ซิลี และอีเควเตอร์ เป็นพืชในตระกูลเดียวกับพริก ยาสูบ มันฝรั่ง มีลำ�ต้นและ ระบบกิ่งก้านที่แตกแขนง สลับกันเป็นจำ�นวนมาก ลำ�ต้นอ่อนมีขนปกคลุม ลำ�ต้นแก่มีลักษณะเป็นเหลี่ยม ในระยะแรกของการเจริญเติบโต ลำ�ต้นตัง้ ตรงในระยะหนึง่ ต่อมาเมือ่ ลำ�ต้นสูง 1 - 2 ฟุต จะทอดไปในแนวราบ ใบเป็นใบประกอบ เจริญสลับกัน มีขนอ่อนขึน้ บนใบและมีตอ่ มสารระเหยทีข่ น เมือ่ ถูกรบกวนจะปลดปล่อย สารที่มีกลิ่นออกมา สายพันธุ์ส่วนใหญ่ขอบใบเป็นหยัก ระบบรากมะเขือเทศเป็นระบบรากแก้วเจริญเติบโต ได้เร็ว ดอกมะเขือเทศเป็นดอกสมบูรณ์เพศ ดอกมะเขือเทศจะอยู่สลับกันในช่อ ช่อดอกสามารถแตกกิ่ง ได้มากกว่าสองกิ่ง และการเจริญเติบโตของกิ่งจะดำ�เนินต่อไปจนกระทั่งดอกช่อแรกบาน การเพิ่มจำ�นวน ช่อดอกจะทำ�ได้โดยการใช้อุณหภูมิต่ำ� มะเขือเทศส่วนใหญ่ผสมตัวเอง ผลเป็นแบบ berry จะมีรูปร่าง ลักษณะ เช่น กลม กลมแป้น กลมยาว หรือเป็นเหลี่ยม ผิวของมะเขือเทศจะไม่มีสีผิว ส่วนผลสีชมพู หรือ เหลืองเกิดจากเนื้อผล
3. สภาพแวดลอมที่เหมาะสม
การปลูกมะเขือเทศในอุณหภูมทิ แ่ี ตกต่างกัน จะให้ผลผลิตและคุณภาพทีแ่ ตกต่างกัน โดยผลผลิตจะลดลง เมือ่ มีอณ ุ หภูมสิ งู ขึน้ อุณหภูมมิ อี ทิ ธิพลต่อการติดและการพัฒนาของผล อุณหภูมติ �ำ่ กว่า 12.8 ºC และสูงกว่า 32.2 ºC ละอองเกสรจะเป็นหมันไม่สามารถงอกท่อละอองเกสรลงไปผสมไข่ในรังได้ อุณหภูมิที่เหมาะสม ต่อการเจริญเติบโตอยู่ระหว่าง 15 - 25 ºC ช่วงแสงที่เหมาะสมสำ�หรับการเจริญ และผลผลิตมะเขือเทศ อยู่ระหว่าง 8 - 16 ชั่วโมงต่อวัน ในช่วงแสงไม่เกิน 12 ชั่วโมงต่อวัน ช่อดอกจะเจริญเติบโตและติดผลเร็ว คุณภาพแสงสีนํ้าเงินจะช่วยให้มะเขือเทศมีข้อสั้นกว่าสีแดง มะเขือเทศสามารถเจริญได้ดีในดินที่ร่วนซุย มีหน้าดินลึก ระบายน้ำ�ได้ดี มีอินทรียวัตถุสูง pH 6.0 - 6.5
คู่มือปลูกผัก
69
4. การใชประโยชนและคุณคาทางอาหาร
เป็นมะเขือเทศรับประทานสด มีรสเปรี้ยวอมหวานเล็กน้อย เนื้อเนียนฉํ่า รสชาติกลมกล่อม เป็นแหล่งของ คาโรนีนอยด์ และโปแทสเซียม อุดมด้วยวิตามินซีและวิตามินอี
5. การปฏิบัติดูแลรักษาระยะต่างๆ ของการเจริญเติบโต การเตรียมกล้า เมล็ด 10 กรัม มีประมาณ 3,000 - 3,500 เมล็ด เพาะในโรงเรือนที่มีมุ้งตาข่ายป้องกันแมลงปากดูด พาหะ ของเชื้อไวรัส วัสดุเพาะควรมีการระบายนํ้าได้ดี ไม่ควรหยอดเมล็ดลึกเกินไป เพราะจะทำ�ให้เมล็ดไม่งอกและเน่า ก่อนเมล็ดงอกควรให้นํ้า 2 เวลาคือ เช้าและเย็น หลังจากเมล็ดงอกควรให้นํ้า 1 - 2 วันต่อครั้ง ขึ้นอยู่กับความชื้น และย้ายลงปลูกเมื่อมีใบจริง 8 - 10 ใบ หรืออายุ 20 - 25 วัน
ข้อควรระวัง
1. พื้นที่ที่พบปัญหาโรคเหี่ยวระบาด ควรใช้กล้าที่เสียบยอด เพื่อลดความเสี่ยงของโรคที่มาทางดิน
การเตรียมดิน ไถดินตากแดดทิ้งไว้ประมาณ 1 สัปดาห์ เก็บวัชพืชออกให้หมด ตรวจสอบ pH ก่อนเตรียมดิน ใส่ปูนขาวและ คลุกดินก่อนปลูก ในกรณีที่มี ค่า pH ต่ำ� 3 - 4 อาทิตย์ก่อนปลูก ใส่ปุ๋ยหมัก หรือปุ๋ยคอก เช่น มูลไก่ อัตรา 1 - 2 กิโลกรัม/ตร.ม. เพื่อปรับปรุงคุณภาพของดิน เพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดิน ใส่ปุ๋ยเคมี 12-24-12 อัตรา 75 - 100 กิโลกรัม/ไร่ ปรับสภาพดินให้เป็นกรดโดยใส่ก�ำ มะถันผง 14 - 20 กิโลกรัม/ไร่ ในพืน้ ทีท่ พ่ี บปัญหาเรือ่ งโรคเหีย่ ว ทิง้ ไว้ ประมาณ 1 สัปดาห์แล้วใช้ปูนขาวปรับสภาพดินให้เป็นกลางก่อนการปลูก การปลูก ทำ�แปลงกว้าง 1 เมตร เว้นทางเดิน 70 ซม. ระยะห่างระหว่างหลุม 40 - 50 ซม. รองพื้นด้วยปุ๋ยสูตร 15-15-15 อัตรา 50 กรัม/ตร.ม. ใส่ปุ๋ยเคมี 15-0-0 จำ�นวน 10 กิโลกรัม/ไร่
การให้นํ้าให้ปุ๋ย ควรให้ปุ๋ยพร้อมนํ้าระบบ Fertigation ในอัตราดังนี้ ระยะที่ 1 ปุ๋ย 46 - 0 - 0 1 ส่วนนํ้าหนัก ปุ๋ย 20 - 20 - 20 1.2 ส่วนนํ้าหนัก หรือ สูตรใกล้เคียง อัตราใช้ 0.25 - 1 กรัม/ตร.ม./วัน
ระยะที่ 2 ปุ๋ย 46 - 0 - 0 1 ส่วนนํ้าหนัก ปุ๋ย 20 - 20 - 20 1.2 ส่วนนํ้าหนัก หรือ ปุย๋ 20-10-30 หรือ ปุ๋ยสูตรใกล้เคียง อัตรา 1 - 3 กรัม/ตร.ม./วัน
ระยะที่ 3 ปุ๋ย 0 - 0 - 51 1 ส่วนนํ้าหนัก ปุ๋ย 20 - 10 - 30 5 ส่วนนํ้าหนัก หรือ ปุย๋ 20-10-30 หรือ ปุ๋ยสูตรใกล้เคียง อัตรา 3 กรัม/ตร.ม./วัน หรือมากกว่า
70
คู่มือปลูกผัก
การให้ปุ๋ยให้นํ้าในการปลูกในระบบSub Strate
คู่มือปลูกผัก
71
การทำ�ค้าง เมื่อมะเขือเทศเจริญเติบโต ควรติดตั้งค้างเพื่อพยุงลำ�ต้นและผล ค้างมีลักษณะเป็นเสาแถวสูง 3 เมตร ขนานกับ ความยาวแปลง และอยู่ชิดด้านในของต้นมะเขือเทศ ระยะห่างของเสาแต่ละคู่ขึ้นอยู่กับความแข็งแรงของเสา จากนั้น ขึงเชือกหรือตาข่าย กรณีปลูกในโรงเรือน ใช้เชือกฝ้ายหรือเชือกฟางพยุงลำ�ต้น ในกรณีที่แสงไม่เพียงพอ จะทำ�ให้ ข้อยาว สูง ใบมีขนาดเล็ก การติดผลตํ่า ควรบังคับให้ต้นมะเขือเทศเจริญขนานกับพื้นประมาณ 1 ฟุต และดึงยอดขึ้น เพื่อชะลอการเคลื่อนย้ายอาหารทำ�ให้ข้อสั้น ใบมีขนาดใหญ่ หรือหย่อนเชือกลง เพื่อให้สามารถเก็บเกี่ยวได้สะดวก และเก็บเกี่ยว เป็นเวลานาน การตัดแต่งกิ่งและการปลิดผล การตัดแต่งมะเขือเทศให้เป็นต้นเดี่ยวโดยการปลิดหน่อข้างออก จะให้ผลผลิตและคุณภาพสูงที่สุด หน่อข้าง อาจจะช่วยให้จ�ำ นวนผลต่อต้นเพิม่ ขึน้ แต่จะให้ผลขนาดเล็ก คุณภาพตํา ่ เถาเดีย่ วจะให้ผลทีม่ ขี นาดสมํา่ เสมอ ผลผลิต และคุณภาพสูง ควรทำ�การปลิดเมือ่ หน่อมีขนาดเล็ก เพือ่ ป้องกันต้นฉีกขาด หรือมีแผลขนาดใหญ่ ซึง่ โรคจะเข้าทำ�ลาย ได้งา่ ย ควรเหลือหน่อยอด 2 - 3 หน่อ เพือ่ ทดแทนกรณีทย่ี อดถูกทำ�ลาย การใช้เชือกประคองลำ�ต้น ในสภาพอุณหภูมสิ งู ควรบังคับให้ตน้ เจริญในแนวราบขนานกับพืน้ ประมาณ 1 ฟุต ซึง่ จะช่วยชะลอการเจริญเติบโต ลดความยาวของช่วงข้อ เมื่อต้นเจริญสูงปลดเชือกให้ลำ�ต้นเลื้อยอยู่บนพื้น ควรทำ�อย่างช้าๆ การปลดเชือกลงเร็วจะทำ�ให้ลำ�ต้นแตก การ ปลดเชือกจะช่วยลดความสูงของต้น สะดวกต่อการเก็บเกี่ยวและการดูแลรักษา การปลูกมะเขือเทศผลโตเพื่อให้ได้ คุณภาพสูงจะเด็ดยอด เมื่อมีช่อดอก 5 - 6 ช่อ การปลิดผลที่มีขนาดเล็กในช่อจะช่วยให้ได้ผลที่สมํ่าเสมอ การเก็บเกี่ยว เริ่มเก็บเกี่ยวหลังย้ายปลูก 75 - 80 วัน ขึ้นอยู่กับสภาพอากาศ อุณหภูมิสูงจะสุกเร็ว อุณหภูมิตํ่าจะสุกช้า
TEBLE TOMATO
72
คู่มือปลูกผัก
มะเขือเทศเชอรี่แดง Cherry Tomato 1. ชื่อวิทยาศาสตร Lycopersicon esculentum
2. ลักษณะทั่วไป
CHERRY
TOMATO
มะเขือเทศเชอรี่หวานเป็นมะเขือเทศสำ�หรับรับประทานสด ผลมีขนาดเล็กพอดีคำ� มีถิ่นกำ�เนิดอยู่ แถบชายฝัง่ ทะเลตะวันตกของทวีปอเมริกาใต้แถบประเทศเปรู ซิลี และอีเควเตอร์ เป็นพืชในตระกูลเดียวกับ พริก ยาสูบ มันฝรั่ง มีลำ�ต้นและระบบกิ่งก้านที่แตกแขนง สลับกันเป็นจำ�นวนมาก ลำ�ต้นอ่อนมีขนปกคลุม ลำ�ต้นแก่มีลักษณะเป็นเหลี่ยม ในระยะแรกของการเจริญเติบโต ลำ�ต้นตั้งตรงในระยะหนึ่ง ต่อมาเมื่อลำ�ต้น สูง 1 - 2 ฟุต จะทอดไปในแนวราบ ใบเป็นใบประกอบ เจริญสลับกัน มีขนอ่อนขึน้ บนใบและมีตอ่ มสารระเหย ทีข่ น เมือ่ ถูกรบกวนจะปลดปล่อยสารทีม่ กี ลิน่ ออกมา สายพันธุส์ ว่ นใหญ่ขอบใบเป็นหยัก ระบบรากมะเขือเทศ เป็นระบบรากแก้ว เจริญเติบโตได้เร็ว ดอกมะเขือเทศเป็นดอกสมบูรณ์เพศ ดอกมะเขือเทศจะอยู่สลับกัน ในช่อ ช่อดอกสามารถแตกกิ่งได้มากกว่าสองกิ่ง และการเจริญเติบโตของกิ่งจะดำ�เนินต่อไปจนกระทั่งดอก ช่อแรกบาน การเพิ่มจำ�นวนช่อดอกจะทำ�ได้โดยการใช้อุณหภูมิตํ่า มะเขือเทศส่วนใหญ่ผสมตัวเอง ผลเป็น แบบ berry จะมีรปู ร่างลักษณะ เช่น กลม กลมแป้น กลมยาว หรือเป็นเหลีย่ ม ผิวของมะเขือเทศจะไม่มสี ผี วิ ส่วนผลสีชมพู หรือเหลืองเกิดจากเนื้อผล
3. สภาพแวดลอมที่เหมาะสม
การปลูกมะเขือเทศเชอรี่ในอุณหภูมิที่แตกต่างกัน จะให้ผลผลิตและคุณภาพที่แตกต่างกัน โดยผลผลิต จะลดลงเมื่อมีอุณหภูมิสูงขึ้น อุณหภูมิมีอิทธิพลต่อการติดและการพัฒนาของผล อุณหภูมิตํ่ากว่า 12.8 ºC และสูงกว่า 32.2 ºC ละอองเกสรจะเป็นหมัน ไม่สามารถงอกท่อละอองเกสรลงไปผสมไข่ในรังได้ อุณหภูมิ ที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตอยู่ระหว่าง 15 - 25 ºC ช่วงแสงที่เหมาะสมสำ�หรับการเจริญ และผลผลิต มะเขือเทศอยู่ระหว่าง 8 - 16 ชั่วโมงต่อวัน ในช่วงแสงไม่เกิน 12 ชั่วโมงต่อวัน ช่อดอกจะเจริญเติบโตและ ติดผลเร็ว คุณภาพแสงสีนํ้าเงินจะช่วยให้มะเขือเทศมีข้อสั้นกว่าสีแดง มะเขือเทศสามารถเจริญได้ดีในดินที่ ร่วนซุย มีหน้าดินลึก ระบายนํ้าได้ดี มีอินทรียวัตถุสูง pH 6.0 - 6.8 ข้อควรระวัง 1. พื้นที่ปลูกไม่ควรปลูกซํ้ากับพืชชนิดอื่นในตระกูลเดียวกัน เพราะเป็นแหล่งสะสมโรคแมลง
คู่มือปลูกผัก
73
4. การใชประโยชนและคุณคาทางอาหาร
เป็นมะเขือเทศรับประทานสด มีรสเปรี้ยวอมหวานเล็กน้อย เนื้อเนียนฉ่ำ� รสชาติกลมกล่อม เป็นแหล่งของคา โรนีนอยด์ และโปแทสเซียม อุดมด้วยวิตามินซีและวิตามินอี
5. การปฏิบัติดูแลรักษาระยะต่างๆ ของการเจริญเติบโต การเตรียมกล้า เมล็ด 10 กรัม มีประมาณ 3,000 - 3,500 เมล็ด เพาะในถาดหลุมใช้วสั ดุเพาะกล้าหรือมีเดีย อายุกล้า 20 - 25 วัน จึงย้ายปลูก ควรเพาะในโรงเรือนที่มีมุ้งตาข่าย ป้องกันแมลงปากดูด พาหะของเชื้อไวรัส การเตรียมดินปลูก ไถดินตากแดดทิ้งไว้ประมาณ 1 สัปดาห์ เก็บวัชพืชออกให้หมด ตรวจสอบ pH ก่อนเตรียมดิน ใส่ปูนขาวและ คลุกดินก่อนปลูก ในกรณีทม่ี คี า ่ pH ตํา ่ 3 - 4 อาทิตย์กอ่ นปลูกใส่ปยุ๋ หมัก หรือปุย๋ คอก เช่น มูลไก่ อัตรา 1-2 กิโลกรัม/ ตร.ม. เพือ่ ปรับปรุงคุณภาพของดิน เพิม่ ความอุดมสมบูรณ์ของดิน ใส่ปยุ๋ เคมี 12-24-12 อัตรา 75 - 100 กิโลกรัม/ไร่ ปรับสภาพดินให้เป็นกรดโดยใส่กำ�มะถันผง 14 - 20 กิโลกรัม/ไร่ ในพื้นที่ที่พบปัญหาเรื่องโรคเหี่ยว ทิ้งไว้ประมาณ 1 สัปดาห์แล้วใช้ปูนขาวปรับสภาพดินให้เป็นกลางก่อนการปลูกมะเขือเทศ การปลูก ทำ�แปลงกว้าง 1 เมตร เว้นทางเดิน 70 ซม. ระยะห่างระหว่างหลุม 40 - 50 ซม. เวลาปลูกรองพื้นด้วยปุ๋ยสูตร 15-15-15 อัตรา50 กรัม/ตร.ม. ใส่ปุ๋ยมี 15-0-0 จํานวน 10 กิโลกรัม/ไร่
การให้นํ้าให้ปุ๋ย
ควรให้ปุ๋ยพร้อมนํ้าระบบ Fertigation ในอัตราดังนี้ ระยะที่ 1 ปุ๋ย 46 - 0 - 0 1 ส่วนนํ้าหนัก ปุ๋ย 20 - 20 - 20 1.2 ส่วนนํ้าหนัก หรือ สูตรใกล้เคียง อัตราใช้ 0.25 - 1 กรัม/ตร.ม./วัน ระยะที่ 2 ปุ๋ย 46 - 0 - 0 1 ส่วนนํ้าหนัก ปุ๋ย 20 - 20 - 20 1.2 ส่วนนํ้าหนัก หรือ ปุ๋ย 20 - 10 - 30 หรือ ปุ๋ยสูตรใกล้เคียง อัตรา 1 - 3 กรัม/ต.ร.ม./วัน ระยะที่ 3 ปุ๋ย 0 - 0 - 51 1 ส่วนนํ้าหนัก ปุ๋ย 20 - 10 - 30 5 ส่วนนํ้าหนัก หรือ ปุ๋ย 20 - 10 - 30 หรือ ปุ๋ยสูตรใกล้เคียง อัตรา 3 กรัม/ตร.ม./วัน หรือมากกว่า
74
คู่มือปลูกผัก
การทำ�ค้าง เมื่อมะเขือเทศเจริญเติบโต ควรติดตั้งค้างเพื่อพยุงลำ�ต้นและผล ค้างมีลักษณะเป็นเสาแถวสูง 3 เมตร ขนาน กับความยาวแปลงและอยู่ชิดด้านในของต้นมะเขือเทศ ระยะห่างของเสาแต่ละคู่ขึ้นอยู่กับความแข็งแรงของเสา จากนั้นขึงเชือกหรือตาข่าย กรณีปลูกในโรงเรือนใช้เชือกฝ้ายหรือเชือกฟางพยุงลำ�ต้น ในกรณีที่แสงไม่เพียงพอจะ ทำ�ให้ข้อยาว สูง ใบมีขนาดเล็ก การติดผลตํ่า ควรบังคับให้ต้นมะเขือเทศเจริญขนานกับพื้นประมาณ 1 ฟุต และดึง ยอดขึ้นเพื่อชะลอการเคลื่ยนย้ายอาหารทำ�ให้ข้อสั้น ใบมีขนาดใหญ่ หรือหย่อนเชือกลงเพื่อให้สามารถเก็บเกี่ยวได้ สะดวก และเก็บเกี่ยว เป็นเวลานาน การตัดแต่งกิ่งและการปลิดผล การตัดแต่งมะเขือเทศให้เป็นต้นเดี่ยว โดยการปลิดหน่อข้างออก จะให้ผลผลิตและคุณภาพสูงที่สุด หน่อข้าง อาจจะช่วยให้จ�ำ นวนผลต่อต้นเพิม่ ขึน้ แต่จะให้ผลขนาดเล็ก คุณภาพตา ่ํ เถาเดีย่ วจะให้ผลทีม่ ขี นาดสมา่ํ เสมอ ผลผลิต และคุณภาพสูง ควรทําการปลิดเมื่อหน่อมีขนาดเล็กเพื่อป้องกันต้นฉีกขาด หรือมีแผลขนาดใหญ่ ซึ่งโรคจะเข้าทำ�ลาย ได้งา่ ย ควรเหลือหน่อยอด 2-3 หน่อ เพือ่ ทดแทนกรณีทย่ี อดถูกทำ�ลาย การใช้เชือกประคองลำ�ต้น ในสภาพอุณหภูมสิ งู ควรบังคับให้ต้นเจริญในแนวราบขนานกับพื้น ประมาณ 1 ฟุต ซึ่งจะช่วยชะลอการเจริญเติบโต ลดความยาวของ ช่วงข้อ เมื่อต้นเจริญสูงปลดเชือกให้ลำ�ต้นเลื้อยอยู่บนพื้น ควรทำ�อย่างช้าๆ การปลดเชือกลงเร็วจะทําให้ลำ�ต้นแตก การปลดเชือกจะช่วยลดความสูงของต้น สะดวกต่อการเก็บเกี่ยวและดูแลรักษา การปลูกมะเขือเทศผลโตเพื่อให้ได้ คุณภาพสูงจะเด็ดยอด เมื่อมีช่อดอก 5 - 6 ช่อ การปลิดผลที่มีขนาดเล็กในช่อ จะช่วยให้ได้ผลที่สมํ่าเสมอ
การเก็บเกี่ยว เริ่มเก็บเกี่ยวหลังย้ายปลูก 75 - 80 วัน ขึ้นอยู่กับสภาพอากาศ อุณหภูมิสูงจะสุกเร็ว อุณหภูมิตํ่าจะสุกช้า
CHERRY TOMATO
คู่มือปลูกผัก
75
76
คู่มือปลูกผัก
มะเขือมวงกานเขียว
Egg plant-Round type 1. ชื่อวิทยาศาสตร Solanum melongena
2. ลักษณะทั่วไป
EGG PLANT
ROUND TYPE
มะเขือม่วงมีถิ่นกำ�เนิดในประเทศอินเดีย อยู่ในตระกูลเดียวกับพริก มะเขือเทศ มันฝรั่ง และยาสูบ ในเขตร้อน มะเขือม่วงจะเป็นพืชข้ามปี แต่ในเขตหนาวนิยมปลูกเป็นพืชฤดูเดียว โดยทั่วไปมีขนาดทรงพุ่ม สูง 50 - 250 เซนติเมตร มีการเจริญแบบไม่จำ�กัด ทรงพุ่มเกิดราก มีการเจริญของกิ่งแขนง ระบบรากเป็น รากแก้ว ใบเดียว ขนาดใหญ่เจริญสลับกัน ด้านล่างของใบมีขนหนาสีเทา ดอกเป็นดอกสมบูรณ์เพศ ดอก สามารถเจริญได้ในทุกช่วงแสง ขนาดผลขึ้นอยู่กับสายพันธุ์ ลักษณะผลมีหลายแบบ เช่น กลม รูปไข่ หรือ กลมยาว เมล็ดมีขนาดเล็กสีนํ้าตาล
3. สภาพแวดลอมที่เหมาะสม อุณหภูมิที่เหมาะสมสำ�หรับการเจริญอยู่ระหว่าง 22 - 30 ºC ถ้าอุณหภูมิตํ่ากว่า 17 ºC หรือสูงกว่า 35 ºC พืชชะงักการเจริญ ละอองเกสรส่วนใหญ่จะเป็นหมัน พื้นที่ที่เหมาะสมอยู่ในระดับ 500 - 800 เมตร มะเขือม่วงต้องการดินร่วนซุย ดินอุดมสมบูรณ์ ระบายนา้ํ ได้ดี เมือ่ มีนา้ํ ขังรากจะเน่าตายได้งา่ ย pH 6.0 - 6.8 ไม่ควรปลูกมะเขือซํ้ากับพื้นที่ที่เคยปลูกมะเขือเทศ พริก หรือยาสูบ
4. การใชประโยชนและคุณคาทางอาหาร ใช้ผัดกับเต้าเจี้ยวใบโหระพาและพริกชี้ฟ้า ชุบแป้ง/ไข่ทอด เผา/ลวกจิ้มนํ้าพริก ยำ�มะเขือ 5 รส ตำ�มะเขือเผาใส่กระเทียมไข่ เกลือแบบพื้นเมืองเหนือเป็นเครื่องประกอบในแกงเผ็ดและแกงเขียวหวาน มะเขือม่วงมีสารแอนโทไซยานิน ช่วยชะลอการเสื่อมของเซลล์ ลดอัตราเสี่ยงของการเกิดโรคหัวใจและ เส้นเลือดอุดตันในสมอง ยับยั้งเชื้ออีโคไลในช่องทางเดินอาหาร
คู่มือปลูกผัก
77
5. การปฏิบัติดูแลรักษาระยะต่างๆ ของการเจริญเติบโต การเตรียมกล้า เพาะกล้าอย่างประณีตในถาดเพาะ วัสดุเพาะควรมีการระบายนํ้าได้ดี ให้นํ้าเช้า - เย็น หรือขึ้นอยู่กับความชื้น อายุกล้าไม่ควรเกิน 25 วัน และย้ายปลูกเมื่ออายุกล้า 30 วัน พื้นที่ที่พบปัญหาโรคเหี่ยวระบาด ควรใช้กล้าเสียบยอด เพื่อลดความเสี่ยงของโรคที่มาทางดิน การเตรียมดิน ควรเลือกแปลงปลูกที่ไม่ซํ้าพื้นที่กับตระกูลมะเขือในฤดูก่อนหน้า ขุดดินตากแดดทิ้งไว้อย่างน้อย 1 สัปดาห์ เก็บวัชพืชออกให้หมด ตรวจสอบ pH ก่อนเตรียมดิน การปลูกและการดูแลรักษา ควรขึน้ แปลงปลูกและใช้การปลูกแบบคลังอาหาร โดยขุดหลุมลึก 50 - 60 ซม. กว้าง 50 ซม. ใส่ปยุ๋ หมัก, ปุย๋ คอก, ปุ๋ย 15-15-15 อัตรา 50 กิโลกรัม/ไร่ และเชื้อไตรโคเดอร์ม่าโดยผสมคลุกเคล้ากับดิน อาจโรยสารเคมีสารกำ�จัด แมลงชนิดดูดซึมเข้าทางราก รองก้นหลุมเพิ่มเติมเพื่อป้องกันการทำ�ลายของแมลงปากดูด ระยะปลูกประมาณ 80 x 80 ซม. ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสภาพพื้นที่และวิธีการปลูก หากปลูกแถวคู่ควรปลูกแบบสลับฟันปลา อาจคลุมแปลง ด้วยพลาสติกเพื่อป้องกันวัชพืชและรักษาความชื้นในดิน ควรตัดกิ่งแขนงก่อน 2 กิ่งแรก และเด็ดดอกแรกทิ้ง ควรมี การทำ�ค้างและกำ�จัดผลที่ไม่สมบูรณ์ออก
การให้นํ้า ให้นํ้าสมํ่าเสมอไม่เปียกหรือแฉะเกินไป
การให้ปุ๋ย ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 ครั้งที่ 4
การเก็บเกี่ยว เก็บเกี่ยวตามมาตรฐานงานคัดบรรจุ ควรตัดให้มีขั้วติดผลด้วย มะเขือม่วงก้านเขียวอายุเก็บเกี่ยว 50 - 60 วัน หลังย้ายปลูก
ใส่ปุ๋ย 46 - 0 - 0 อัตรา 25 กิโลกรัม/ไร่ หลังปลูก 7 - 10 วัน ใส่ปุ๋ย 15 - 15 - 15 อัตรา 25 กิโลกรัม/ไร่ หลังปลูก 20 - 30 วัน ใส่ปุ๋ย 13 - 13 - 21 อัตรา 25 กิโลกรัม/ไร่ ใส่ปุ๋ย 13 - 13 - 21 และ 12-24-12 อัตราส่วน 1:1 อัตรา 25 กิโลกรัม/ไร่
EGG PLANT ROUND TYPE
78
คู่มือปลูกผัก
มะเขือมวงกานดำ�
Egg plant - Long type 1. ชื่อวิทยาศาสตร Solanum melongena
2. ลักษณะทั่วไป มะเขือม่วงมีถิ่นกำ�เนิดในประเทศอินเดีย อยู่ในตระกูลเดียวกับพริก มะเขือเทศ มันฝรั่ง และยาสูบ ในเขตร้อน มะเขือม่วงจะเป็นพืชข้ามปี แต่ในเขตหนาวนิยมปลูกเป็นพืชฤดูเดียว โดยทั่วไปมีขนาดทรงพุ่ม สูง 50 - 250 เซนติเมตร มีการเจริญแบบไม่จำ�กัด ทรงพุ่มเกิดราก มีการเจริญของกิ่งแขนง ระบบรากเป็น รากแก้ว ใบเดียว ขนาดใหญ่เจริญสลับกัน ด้านล่างของใบมีขนหนาสีเทา ดอกเป็นดอกสมบูรณ์เพศดอก สามารถเจริญได้ในทุกช่วงแสง ขนาดผลขึ้นอยู่กับสายพันธุ์ ลักษณะผลเรียวยาว เมล็ดมีขนาดเล็กสีนํ้าตาล
EGG PLANT
LONG TYPE
3. สภาพแวดลอมที่เหมาะสม อุณหภูมิที่เหมาะสมสำ�หรับการเจริญอยู่ระหว่าง 22 - 30 ºC ถ้าอุณหภูมิตํ่ากว่า 17 ºC หรือสูงกว่า 35 ºC พืชชะงักการเจริญ ละอองเกสรส่วนใหญ่จะเป็นหมัน ทำ�เลพืนทีท่ เ่ี หมาะอยู่ ในระดับ 500 - 800 เมตร มะเขือม่วงต้องการดินร่วนซุย ดินอุดมสมบูรณ์ ระบายนนํ้าได้ดี เมื่อมีนํ้าขังรากจะเน่าตายได้ง่าย pH 6.0 - 6.8 ไม่ควรปลูกมะเขือซํ้ากับพื้นที่ที่เคยปลูกมะเขือเทศ พริก หรือยาสูบ
4. การใชประโยชนและคุณคาทางอาหาร ใช้ผัดกับเต้าเจี้ยวใบโหระพาและพริกชี้ฟ้า ชุบแป้ง/ไข่ทอด เผา/ลวกจิ้มนํ้าพริก ยำ�มะเขือ 5 รส ตำ� มะเขือเผาใส่กระเทียมไข่ เกลือแบบพื้นเมืองเหนือเป็นเครื่องประกอบในแกงเผ็ดและแกงเขียวหวาน
คู่มือปลูกผัก
79
5. การปฏิบัติดูแลรักษาระยะต่างๆ ของการเจริญเติบโต การเตรียมกล้า เพาะกล้าอย่างประณีตในถาดเพาะ วัสดุเพาะควรมีการระบายนํ้าได้ดี ให้นนํ้า เช้า - เย็น หรือขึ้นอยู่กับความชื้น อายุกล้าไม่ควรเกิน 25 วัน และย้ายปลูกเมื่ออายุกล้า 30 วัน พื้นที่ที่พบปัญหาโรคเหี่ยวระบาดควรใช้กล้าเสียบยอด เพื่อลดความเสี่ยงของโรคที่มาทางดิน การเตรียมดิน ควรเลือกแปลงปลูกที่ไม่ซํ้าพื้นที่กับตระกูลมะเขือในฤดูก่อนหน้า ขุดดินตากแดดทิ้งไว้อย่างน้อย 1 สัปดาห์ เก็บวัชพืชออกให้หมด ตรวจสอบ pH ก่อนเตรียมดิน การปลูกและการดูแลรักษา ขึ้นแปลงปลูกและใช้การปลูกแบบคลังอาหารระบบคลังอาหาร โดยขุดหลุมลึก 50 - 60 ซม. กว้าง 50 ซม. ใส่ปุ๋ยหมัก, ปุ๋ยคอก, ปุ๋ย 15-15-15 อัตรา 50 กิโลกรัม/ไร่ และเชื้อไตรโคเดอร์ม่า โดยผสมคลุกเคล้ากับดิน อาจ โรยสารเคมีสารกำ�จัดแมลงชนิดดูดซึมเข้าทางราก รองก้นหลุมเพิ่มเติมเพื่อป้องกันการทำ�ลายของแมลงปากดูด ระยะปลูกประมาณ 80 x 80 ซม. ทัง้ นีข้ น้ึ อยูก่ บั สภาพพืน้ ทีแ่ ละวิธกี ารปลูก หากปลูกแถวคูค่ วรปลูกแบบสลับฟันปลา อาจคลุมแปลงด้วยพลาสติกเพื่อป้องกันวัชพืชและรักษาความชื้นในดิน ควรตัดกิ่งแขนงก่อน 2 กิ่งแรก และเด็ด ดอกแรกทิ้ง ควรมีการทำ�ค้างและกำ�จัดผลที่ไม่สมบูรณ์ออก
การให้นํ้า ให้นํ้าสมํ่าเสมอไม่เปียกหรือแฉะเกินไป
การให้ปุ๋ย ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 ครั้งที่ 4
การเก็บเกี่ยว เก็บเกี่ยวตามมาตรฐานงานคัดบรรจุ ควรตัดให้มีขั้วติดผลด้วย มะเขือม่วงก้านดำ�อายุเก็บเกี่ยว 40 - 50 วัน หลังย้ายปลูก
ใส่ปุ๋ย 46-0-0 อัตรา 25 กิโลกรัม/ไร่ หลังปลูก 7 - 10 วัน ใส่ปุ๋ย 15-15-15 อัตรา 25 กิโลกรัม/ไร่ หลังปลูก 20 - 30 วัน ใส่ปุ๋ย 13-13-21 อัตรา 25 กิโลกรัม/ไร่ ใส่ปุ๋ย 13-13-21 และ 12-24-12 อัตราส่วน 1:1 อัตรา 25 กิโลกรัม/ไร่
EGG PLANT LONG TYPE
80
คู่มือปลูกผัก
ผักตระกูลแครอท
(Family Umbelliferae)
FAMILY Um be lli fe r ae คู่มือปลูกผัก
81
5. การปฏิบัติดูแลรักษาระยะต่างๆ ของการเจริญเติบโต การเตรียมกล้า เพาะกล้าอย่างประณีตในถาดเพาะ วัสดุเพาะควรมีการระบายนํ้าได้ดี ให้นํ้าเช้า - เย็น หรือขึ้นอยู่กับความชื้น อายุกล้าไม่ควรเกิน 25 วัน และย้ายปลูกเมื่ออายุกล้า 30 วัน พื้นที่ที่พบปัญหาโรคเหี่ยวระบาด ควรใช้กล้าเสียบยอด เพื่อลดความเสี่ยงของโรคที่มาทางดิน การเตรียมดิน ควรเลือกแปลงปลูกที่ไม่ซํ้าพื้นที่กับตระกูลมะเขือในฤดูก่อนหน้า ขุดดินตากแดดทิ้งไว้อย่างน้อย 1 สัปดาห์ เก็บวัชพืชออกให้หมด ตรวจสอบ pH ก่อนเตรียมดิน การปลูกและการดูแลรักษา ควรขึน้ แปลงปลูกและใช้การปลูกแบบคลังอาหาร โดยขุดหลุมลึก 50 - 60 ซม. กว้าง 50 ซม. ใส่ปยุ๋ หมัก, ปุย๋ คอก, ปุ๋ย 15-15-15 อัตรา 50 กิโลกรัม/ไร่ และเชื้อไตรโคเดอร์ม่าโดยผสมคลุกเคล้ากับดิน อาจโรยสารเคมีสารกำ�จัด แมลงชนิดดูดซึมเข้าทางราก รองก้นหลุมเพิ่มเติมเพื่อป้องกันการทำ�ลายของแมลงปากดูด ระยะปลูกประมาณ 80 x 80 ซม. ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสภาพพื้นที่และวิธีการปลูก หากปลูกแถวคู่ควรปลูกแบบสลับฟันปลา อาจคลุมแปลง ด้วยพลาสติกเพื่อป้องกันวัชพืชและรักษาความชื้นในดิน ควรตัดกิ่งแขนงก่อน 2 กิ่งแรก และเด็ดดอกแรกทิ้ง ควรมี การทำ�ค้างและกำ�จัดผลที่ไม่สมบูรณ์ออก
การให้นํ้า ให้นํ้าสมํ่าเสมอไม่เปียกหรือแฉะเกินไป
การให้ปุ๋ย ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 ครั้งที่ 4
การเก็บเกี่ยว เก็บเกี่ยวตามมาตรฐานงานคัดบรรจุ ควรตัดให้มีขั้วติดผลด้วย มะเขือม่วงก้านเขียวอายุเก็บเกี่ยว 50 - 60 วัน หลังย้ายปลูก
ใส่ปุ๋ย 46 - 0 - 0 อัตรา 25 กิโลกรัม/ไร่ หลังปลูก 7 - 10 วัน ใส่ปุ๋ย 15 - 15 - 15 อัตรา 25 กิโลกรัม/ไร่ หลังปลูก 20 - 30 วัน ใส่ปุ๋ย 13 - 13 - 21 อัตรา 25 กิโลกรัม/ไร่ ใส่ปุ๋ย 13 - 13 - 21 และ 12-24-12 อัตราส่วน 1:1 อัตรา 25 กิโลกรัม/ไร่
EGG PLANT ROUND TYPE
82
คู่มือปลูกผัก
เบบี้แครอท
Baby Carrot
1. ลักษณะทั่วไป เบบี้แครอท (Daucas carota) จัดอยู่ในวงศ์ Apiaceae (Umbelliferae) มีถิ่นกำ�เนิดแถบเอเชียกลาง จนถึงตะวันออก แครอทเป็นพืชสองฤดู ซึ่งจะเจริญทางใบ ลำ�ต้น และราก ในฤดูแรก และมีการเจริญทางดอก เมล็ด ในฤดูที่สอง แครรอทพัฒนามาจากรากแก้วที่มีการสะสมอาหารและเจริญเติบโตเป็นหัว มีลักษณะ รูปทรงยาวรี โคนใหญ่ ปลายเรียวแหลม รากมีที่แตกต่างกันไป เช่น สีส้ม สีม่วง สีเหลือง แต่สีที่นิยมรับ บริโภคคือสีสม้ ปลูกในพืน้ ทีข่ นาดเล็กได้ ให้ผลตอบแทนสูง ใช้เวลาในการปลูกสัน้ ต้องการการเอาใจใส่อย่างดี
2. สภาพแวดลอมที่เหมาะสม
BABY
CARROT
เบบี้แครอทเป็นพืชเขตหนาว เจริญได้ดีในอุณหภูมิตํ่า อุณหภูมิที่เหมาะสมสำ�หรับการเจริญเติบโต อยู่ระหว่าง 25 - 28ºC การปลูกในสภาพอุณหภูมิสูงกว่า 28ºC จะทำ�ให้การเจริญทางใบลดลง รากสั้นและ เหนียว ส่วนที่อุณหภูมิตํ่ากว่า 10ºC จะทำ�ให้รากเรียวยาวและสีซีด สำ�หรับอุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการ เจริญของหัวอยู่ระหว่าง 18 - 21ºC หากมีความแตกต่างของอุณหภูมิระหว่างผิวดินและระดับดินที่ลึกลงไป 10 - 15 เซนติเมตร มาก จะทำ�ให้รูปทรงของหัวไม่สมํ่าเสมอ เบบี้แครอทเป็นพืชที่ต้องการแสงมาก โดย เฉลี่ยประมาณ 9 - 14 ชั่วโมง/วัน สำ�หรับดินที่เหมาะสมต่อการปลูกควรเป็นดินร่วนปนทราย หน้าดินลึก มีอินทรียวัตถุสูง ระบายนํ้าได้ดี ความเป็นกรด - ด่างของดิน 6.5 - 7.5 การปลูกในดินเหนียว หรือโครงสร้างดินแข็งจะทำ�ให้ราก มีรูปทรง ผิดปกติ ควรหลีกเลี่ยงดินเค็มเพราะจะทำ�ให้ผิวรากมีลักษณะหยาบ หากแปลงปลูกมีความชื้นสูง หัวจะมี แผลสีดำ�เน่า
3. การใชประโยชนและคุณคาทางอาหาร เบบีแ้ ครอทเป็นพืชทีอ่ ดุ มไปด้วยสารเบต้าแคโรทีน (Beta carotene) โดยเฉพาะบริเวณส่วนของเปลือก แก่ซึ่งสามารถเปลี่ยนเป็นวิตามินเอสูง (11,000 IU) ช่วยบำ�รุงสายตา และเป็นยาช่วยขับปัสสาวะ นอกจากนี้ ยังมีวิตามินบี 1 บี 2 และวิตามินบี วิตามินเอ ช่วยทำ�ให้ร่างกายมีภูมิต่อต้านโรคหวัด ป้องกันโรคมะเร็ง ป้องกันอาการผิดปกติในกระดูก โรคผิวหนังและรักษาสายตา คู่มือปลูกผัก
83
นิยมรับประทานสด ในสลัด ใช้เป็นผักเคียงในจานสเต็ก หรือนำ�มาประกอบอาหารชนิดอื่นๆ เช่น ผัด ต้มซุป ใส่ แกงจืด ช่วยเพิ่มสีสันในจานอาหาร
4. การปลูกและดูแลรักษา 4.1 การเตรียมเมล็ดพันธุ์ แครอทเป็นพืชที่ขยายพันธุ์โดยใช้เมล็ด 4.2 การเตรียมดินและย้ายปลูก ลักษณะดินที่เหมาะสมควรร่วนซุย ดังนั้นจึงควรย่อยดินให้ละเอียด ภายหลัง จากไถพรวน และตากดินทิ้งไว้ 7 - 14 วัน เพื่อทำ�ลายโรคและแมลงที่สะสมอยู่ในดิน ควรนำ�ดินไปวิเคราะห์เพื่อหาเชื้อ สาเหตุโรคและปริมาณธาตุอาหารในดิน สำ�หรับนำ�มาใช้เป็นข้อมูลในการเพื่อปรับสภาพดินให้เหมาะสมกับการปลูกพืช การเตรียมแปลงปลูกควรขึ้นแปลงให้มีความลึกไม่น้อยกว่า 30 เซนติเมตร ความกว้างแปลง 1 เมตร พรวนดิน ให้ร่วนซุย และใส่ปุ๋ยสูตร 15 - 15 - 15 อัตรา 20 - 50 กรัม/ตารางเมตร ก่อน การหยอดเมล็ดควรปรับหน้าแปลง ให้เรียบสมํ่าเสมอ ขีดร่อง ลึก 1 เซนติเมตร หยอดเมล็ดให้มีระยะห่างประมาณ 1 เซนติเมตร กลบเมล็ดและรดนํ้า ข้อควรระวัง ไม่ควรหยอดเมล็ดติดกันมากหรือถี่เกินไป เนื่องจากต้องถอนแยกมากภายหลัง ซึ่งอาจกระทบเทือน รากได้ สามารถถอนแยกหลังจากเมล็ดงอก มีใบจริง 2- 5 ใบ ถอนแยกต้นอ่อนให้มีระยะระหว่างต้น 3 เซนติเมตร 4.3 การให้นํ้า รดนํ้าทันทีหลังหยอดเมล็ด และควรให้นํ้าอย่างสมํ่าเสมอทุกวันไม่ควรให้ดินแห้งในช่วงระยะ ต้นอ่อนหลังจากเมล็ดงอก ลดความถี่ของการให้นํ้าลงเหลือ 2 - 3 วัน/ครั้ง สามารถให้นํ้าโดยใช้ระบบสปริงเกอร์ หากความชื้นมากเกินไปจะทำ�ให้หัวสั้นและเส้นผ่าศูนย์กลางของหัวใหญ่
4.4 การให้ปุ๋ย การให้ปุ๋ยเบบี้แครอท มีดังนี้ ครั้งที่ 1 หลังปลูกอายุ 15 - 20 ใส่ปุ๋ย 15 - 15 - 15 อัตรา 50 กรัม/ตารางเมตร ครั้งที่ 2 หลังปลูกอายุ 40 วัน ใส่ปุ๋ย 13 - 13 - 21 อัตรา 50 กรัม/ตารางเมตร ก่อนการให้ปุ๋ยควรกำ�จัดวัชพืช ซึ่งสามารถใช้วิธีการถอน หรือจอบ
4.5 การป้องกันศัตรูพืช 1) โรคที่มักพบใน เบเบี้แครอท คือ โรคใบไหม้ จากเชื้อ Alternaria อาการเกิดที่ใบแก่ มีลักษณะจุดสีนํ้าตาลเข้ม หรือดำ� ขอบสีเหลืองบนใบ ก้านใบ และราก หากความชื้นสูงจะทำ�ให้เชื้อระบาดอย่างรวดเร็ว เนื่องจากเชื้อโรค สามารถอาศัยอยู่ในดินและเศษซากพืช ดังนั้นควรมีการเตรียมดินที่ดีและการทำ�ความสะอาดแปลงอย่างสมํ่าเสมอ 2) ไส้เดือนฝอย สามารถป้องกันโดยการตากดินก่อนปลูกพืช การปลูกพืชหมุนเวียน และกำ�จัดวัชพืชที่เป็น แหล่งอาศัยของไส้เดือนฝอย (Horticulture Australia, 2005)
5. การเก็บเกี่ยว สามารถเก็บเกี่ยวเบบี้แครอทได้ เมื่อมีอายุ 90 วัน ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของหัวมีขนาด 20 มิลลิเมตร หรือ
ตามความต้องการของตลาด ควรเก็บเกี่ยวในช่วงเช้าหรือสภาพอากาศเย็นจะช่วยยืดอายุการเก็บรักษาคุณภาพของ ผลผลิต เก็บเกี่ยวอย่างระมัดระวัง เพื่อมิให้ชํ้า และแตกหัก คัดแยกหัวที่เป็นโรค แผล แตกหักหรือมีแกนสีเขียวออก ตัดแต่งให้เหลือก้านใบยาวประมาณ 2.5 เซนติเมตร หลังจากเก็บเกี่ยวล้างทำ�ความสะอาด และจัดเรียงขนาด การ ล้างหรือแช่นํ้าเย็นช่วยยืดอายุการเก็บรักษา การเก็บรักษาเบบี้แครอทที่อุณหภูมิต่ำ�กว่า 0ºC ในระยะเวลานานจะ ทำ�ให้เกิดอาการสะท้านหนาว
84
คู่มือปลูกผัก
เซเลอรี่ Celery
1. ลักษณะทั่วไป เซเลอรี่ (Apium graveolens var. secalium) จัดเป็นพืชในวงศ์ Apiaceae และอยู่ตระกูลเดียวกับ พาร์สเล่ย์ (Umbelliferae) มีถิ่นกำ�เนิดในแถบเมดิเตอร์เรเนียน บริเวณทางตอนใต้ของทวีปยุโรปและ ทางตอนเหนือของทวีปแอฟริกา เซเลอรี่เป็นพืชล้มลุกสองฤดู แต่นิยมปลูกเป็นพืชฤดูเดียว เจริญได้ดีใน สภาพอากาศเย็น ลำ�ต้นมีขนาดสั้นอยู่ระหว่างรากและก้านใบ ก้านใบอวบหนาเป็นสันชัดเจน โคนก้านใบ กว้างมีสารอาหารประเภทแป้งสูง ส่วนใบประกอบด้วยสาร Apiin ที่ทำ�ให้เกิดกลิ่นและรสชาติในใบเซเลอรี่ รากของเซเลอรีเ่ ป็นระบบรากฝอยแผ่กระจายอยูบ่ ริเวณผิวดิน ดังนัน้ การจัดการแปลงปลูกจึงควรระมัดระวัง มิให้กระทบกระเทือนรากดังกล่าว
EGG PLANT
LONG TYPE
2. สภาพแวดลอมที่เหมาะสม
เซเลอรี่เป็นพืชที่ชอบสภาพอากาศเย็น อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการปลูกอยู่ระหว่าง 15.5 - 18 ºC แต่ ไม่ควรเกิน 24.0 ºC เมล็ดงอกได้ดีในอุณหภูมิ 21 ºC หากได้รับอุณหภูมิตํ่า 5 - 10 ºC นานกว่า 10 วัน จะทำ�ให้เกิดการแทงช่อดอก ดินเหนียวไม่เหมาะสมกับการปลูกเซเลอรี่ ดินที่เหมาะสมกับการปลูกเซเลอรี่ คือ ดินร่วนปนเหนียวที่มีการระบายได้ดี ความเป็นกรด - ด่างของดิน 6.5-7.0 เนื่องจากเซเลอรี่มีระบบ รากสั้นเพียง 15 เซนติเมตร ดังนั้นจึงควรให้นํ้าให้ทั่วถึง ในช่วงฤดูฝนควรปลูกภายใต้โรงเรือน และเตรียม ดินให้มีการระบายนํ้าดี เพื่อช่วยลดอาการเน่า การปลูกในโรงเรือนทำ�ให้คุณภาพผลผลิตดีกว่า การปลูก นอกโรงเรือน นอกจากนี้ไม่ควรปลูกเซเลอรี่ซํ้าที่เดิมติดต่อกัน เนื่องจากจะทำ�ให้มีการสะสมของโรคทางดิน ดังนั้นจึงควรปลูกพืชหมุนเวียนสลับ
3. การใชประโยชนและคุณคาทางอาหาร
เซเลอรีจ่ ดั เป็นพืชสมุนไพรมีกลิน่ หอม มีวติ ามินเอ โพแทสเซียม โซเดียม ให้แคลอรีใ่ นปริมาณตํา ่ สรรพคุณ ช่วยลดความดันโลหิต ลดคอเลสเตอรอลในเลือด มีสารต้านอนุมลู อิสระ ได้แก่ ลูทนี และเบต้าแคโรทีนสามารถ ป้องกันโรคมะเร็ง มีการนำ�ไปสกัดนํา้ มันหอมระเหย แก้โรคเครียดโรคข้อเข่าเสือ่ ม และโรคข้ออักเสบ (เก๊าท์) ผูป้ ว่ ยโรคไต สามารถรับประทานได้ เพราะมีโซเดียมตํา ่ นิยมนำ�ไปทำ�ซุป ผัดกับปลา หรือรับประทานสดในสลัด
คู่มือปลูกผัก
85
4. การปลูกและดูแลรักษา 4.1 การเตรียมกล้า แช่เมล็ดในนํ้าอุ่นเพื่อกระตุ้นความงอกและฆ่าเชื้อที่ติดมากับเมล็ดพันธุ์เนื่องจากเมล็ดมี ขนาดเล็กมาก ดังนั้นจึงควรเพาะเมล็ดในตระกล้าที่บรรจุวัสดุเพาะ (media) ก่อน เมื่อต้นกล้าอายุ 30 วัน จึงย้าย ปลูกในถาดหลุมอีก 15 วัน เมื่อต้นกล้าอายุ 45 วัน จึงย้ายลงแปลงปลูก 4.2 การเตรียมดิน และย้ายปลูก ควรวิเคราะห์ธาตุอาหารในดินและปรับปรุงดินตามผลการทดสอบสภาพดิน เตรียมดินโดยไถพรวนดิน และตากดินทิ้งไว้อย่างน้อย 14 วัน จากนั้นย่อยดินให้ละเอียด ใส่ปุ๋ยหมักหรือขี้ไก่ อัตรา 2 - 4 กิโลกรัม/ตารางเมตร ผสมคลุกกับดินให้ทั่วแปลง ยกแปลงให้สูง 30 เซนติเมตร ใส่ปุ๋ยสูตร 15 - 15 - 15 อัตรา 15 - 20 กรัม/ตารางเมตร รองพื้นก่อนการปลูก การปลูกใช้ระยะแตกต่างกันขึ้นอยู่กับฤดูกาล ฤดูหนาวปลูกระยะ 40x30 เซนติเมตร ส่วนฤดูฝน ใช้ระยะ 25x25 เซนติเมตร 4.3 การให้นํ้า สามารถให้ได้ทั้งแบบสปริงเกอร์หรือ ให้นํ้าพร้อมกับปุ๋ย (fertigation) ควรให้นํ้าอย่างสมํ่าเสมอ ในช่วงเดือนสุดท้ายก่อนการเก็บเกีย่ ว เพราะระยะนีเ้ ป็นมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว และมีความต้องการใช้นา้ํ มาก 4.4 การให้ปยุ๋ อัตราการใส่ปยุ๋ ควรอยูบ่ นพืน้ ฐานของผลการทดสอบดิน โดยทัว่ ไปปลูกบนพืน้ ทีส่ งู มีการใส่ปยุ๋ ดังนี้ ครั้งที่ 1 หลังย้ายปลูก 7 วันหลัง ใส่ปุ๋ย 46 - 0 - 0 อัตรา กก.ต่อตารางเมตร ครั้งที่ 2- 3 หลังย้ายปลูก 15 และ30 วัน ใส่ปุ๋ย 46 - 0 - 0 และ 15 - 15 - 15 ครั้งที่ 4 หลังย้ายปลูก 45 วัน ใส่ปุ๋ย 15 - 0 - 0 และ 15 - 15 - 15 ครั้งที่ 5 หลังย้ายปลูก 60 และ75 วัน ใส่ปุ๋ย 1 5- 0 - 0 และ 13 - 13 - 21 โดยใช้อัตราส่วน 1 ตารางเมตร ต่อ 50 กรัม ควรพ่นปุ๋ย 15 - 0 - 0 หรือ แคลเซียมโบรอนทุกสัปดาห์ อัตรา 1 กิโลกรัมต่อนํ้า 200 ลิตร 4.5 การป้องกันศัตรูพืช การปลูกเซเลอรี่ในโรงเรือนและติดตั้งระบบนํ้าหยด สามารถลดการเกิดโรคที่เป็นสาเหตุทำ�ให้ผลผลิตลดลงได้ หลายชนิด เช่น 1. โรคใบไหม้ จากเชื้อรา Cercospora เกิดจากเศษซากพืชที่เป็นโรคในบริเวณแปลงแพร่กระจาย โดย ฝน ลม และผู้ปฏิบัติงาน โดยเริ่มแรกจะพบจุดสีเหลืองทั้งสองด้านของใบกระจายอย่างรวดเร็ว 2. โรคใบไหม้ จากเชื้อรา Septoria โดยอาการเริ่มแรกเป็นจุดสีเหลืองและสีนํ้าตาลจนกลายเป็นจุดสีดำ� ส่วนมากจะพบบริเวณก้านใบ
วิธีป้องกันและกำ�จัด 1. ใช้เมล็ดพันธุ์ปลอดโรค และแช่เมล็ดพันธุ์ในนํ้าอุ่นก่อนการปลูก เพื่อทำ�ลายเชื้อ septoria 2. ปลูกพืชหมุนเวียน เนื่องจากเชื้ออาศัยอยู่ในดินเป็นเวลานาน จึงควรปลูกพืชตระกูลอื่นสลับ 3. ควรกำ�จัดวัชพืชก่อนการปลูก และหมั่นทำ�ความสะอาดแปลงปลูกอยู่เสมอ
5. การเก็บเกี่ยว เก็บเกี่ยวเมื่ออายุ 2.5 - 3.5 เดือน หลังย้ายปลูก ความสูงประมาณ 45 เซนติเมตร ขึ้นไป ใช้มีดที่คมตัดบริเวณ
โคนต้น ตัดแต่งก้านใบ ตัดให้เหนือจากข้อบนก้านใบเล็กน้อย โดยให้มคี วามยาวของก้านประมาณ 30 - 35 เซนติเมตร และคัดเลือกส่วนที่มีตำ�หนิหรือก้านใบที่ไม่ตั้งตรงทิ้งไป หากเก็บเกี่ยวเซเลอรี่แก่เกินไปก้านใบจะมีลักษณะฟ่ามไม่ เหมาะกับการรับประทาน เซเลอรี่เป็นพืชที่สูญเสียง่ายในอุณภูมิที่ร้อนชื้น 86
คู่มือปลูกผัก
ผักตระกูลถั่ว
(Family Leguminosae)
FAMILY L e g u mi no s ae คู่มือปลูกผัก
87
88
คู่มือปลูกผัก
ถั่วแขก / ถั่วเข็ม
French Bean / Needle Bean
1. ลักษณะทั่วไป ถั่วแขกและถั่วเข็ม (Phaseolus vulgaris L.) เป็นพืชฤดูเดียว ลำ�ต้นแข็ง แตกกิ่งก้านน้อย มีการ เจริญเติบโตเป็นพุ่มหรือกิ่งเลื้อย ใบเป็นแบบสลับ มีใบย่อย 3 ใบ ดอกเป็นดอกสมบูรณ์ สามารถเจริญได้ ทุกช่วงแสง เป็นพืชผสมตัวเอง มีลักษณะเหมือนถั่วฝักยาว แต่มีขนาดสั้นกว่า โดยถั่วแขกที่เก็บเกี่ยวเมื่อ ฝักยังอ่อนและมีขนาดเล็ก เรียกว่า ถั่วเข็ม
2. สภาพแวดลอมที่เหมาะสม
FRENCH BEAN
NEEDLE BEAN
อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตอยู่ระหว่าง 20 - 25 ºC ในช่วงที่มีฝนตกชุก อุณหภูมิตํ่า ความชืน้ สัมพัทธ์สงู ไม่เหมาะสมต่อการปลูก ในขณะทีอ่ ณ ุ หภูมสิ งู สภาพอากาศแห้งแล้งหรือช่วงทีม่ ฝี นตกชุก ในช่วงที่ดอกบาน มีผลทำ�ให้ดอกร่วง ทำ�ให้อัตราการติดฝักต่ำ� หากเจอสภาพฝนตกชุก อาจส่งผลให้เกิด อาการฝักม่วง สภาพดินที่เหมาะสมต่อการปลูกควรเป็นดินร่วนหรือดินร่วนปนดินทราย ถ่ายเทอากาศและระบายนํ้า ได้ดี เนื่องจากเป็นพืชที่ตอบสนองนํ้า, ความเป็นกรดและด่างมาก ซึ่งค่า pH ที่เหมาะสมอยู่ระหว่าง 6.0 - 6.5 ควรปลูกในพื้นที่ที่ได้รับแสงอย่างเต็มที่
3. การใชประโยชนและคุณคาทางอาหาร นิยมนำ�มาลวกเป็นเครื่องเคียงในสเต๊ก หรือผัดโดยใช้ไฟแรง ให้รสชาติหวานและกรอบ จากข้อมูลทาง โภชนาการ ถัว่ แขก 100 กรัม มีปริมาณแคลเซียม 50 มิลลิกรัม ฟอสฟอรัส 28 มิลลิกรัม เหล็ก 1.7 มิลลิกรัม วิตามินบี 0.08 มิลลิกรัม riboflavin 0.06 มิลลิกรัม วิตามิน 24 มิลลิกรัม และวิตามินซี ซึ่งมีความสำ�คัญ ต่อการสร้างเม็ดเลือด อีกทั้งวิตามินซียังช่วยให้ร่างกายดูดซึมธาตุเหล็กได้ดีขึ้น
คู่มือปลูกผัก
89
4. การปลูกและดูแลรักษา 4.1 การเตรียมดิน ไถดินตากแดดไม่ตา่ํ กว่า 14 วันหรือขุดพลิกดินตากแดดอย่างน้อย 7 - 14 วัน เก็บเศษวัชพืช ให้สะอาด เตรียมแปลงปลูก โดยการรองพื้นด้วยปุ๋ยหมักและปุ๋ยคอก อัตรา 1 กิโลกรัมต่อตารางเมตร และใส่ปุ๋ย 15 - 15 - 15 อัตรา 10 - 20 กรัมต่อตารางเมตร 4.2 การปลูกและดูแลรักษา หยอดเมล็ด 2 - 3 เมล็ดต่อหลุม ลึก 2 - 3 เซนติเมตร และกลบดินรดนํ้า โดยมี รายละเอียด ดังนี้ 1. ถั่วแขก ระยะปลูกระหว่างต้นและแถว 30 x 80 เซนติเมตร (ปลูก 1 แถวต่อ 1 แปลง ความกว้างแปลงปลูก 30 เซนติเมตร) การทำ�ค้าง ปักค้างเป็นแนวตรง 1 เล่มต่อ 1 หลุม ค้างสูงประมาณ 2 เมตร โดยมีไม้พาดควรทำ�ค้าง หลังปลูกประมาณ 7-10 วัน 2. ถั่วเข็ม ระยะปลูกระหว่างต้นและแถว 30x30 เซนติเมตร (ปลูก 2 แถวต่อ 1 แปลง ความกว้างแปลงปลูก 50 เซนติเมตร) การทำ�ค้าง ความยาวค้างประมาณ 2 เมตร ปัก 1 เล่มต่อ 1 หลุม เอียงไขว้เข้าหากันระหว่างแถว เป็นรูปกากบาท นำ�ไม้พาดบนแนวไขว้ยาวตลอดทั้งแปลง แล้วมัดให้แน่นเพื่อยึดไม่ให้ค้างล้ม ควรทำ�ค้างหลังปลูก ประมาณ 7-10 วัน 4.3 การให้นํ้า ควรให้นํ้าอย่างสมํ่าเสมอช่วง 30 วันแรก หลังจากนั้นทุก 2 - 3 วัน ขึ้นกับระดับความชื้นในดิน และสภาพแวดล้อมของแปลงปลูก
4.4 การให้ปุ๋ย ครั้งที่ 1 เมื่อต้นอายุ 15-20 วัน ใส่ปุ๋ยสูตร 46-0-0 อัตรา 15 กรัม/ต้น ครั้งที่ 2 เมื่อต้นอายุ 25-30 วัน ใส่ปุ๋ยสูตร 15-15-15 อัตรา 25 กรัม/ต้น ครั้งที่ 3 เมื่อต้นอายุ 45-50 วัน หรือช่วงเก็บเกี่ยว ใส่ปุ๋ยสูตร 13-13-21 อัตรา 25 กรัม/ต้น
4.5. การป้องกันศัตรูพชื หลังย้ายปลูกควรสำ�รวจแปลงอย่างสม่�ำ เสมอ กำ�จัดวัชพืชในแปลงปลูกและบริเวณรอบๆ แปลงปลูก เพื่อป้องกันการเข้าทำ�ลายของโรคและแมลง สำ�หรับโรคที่มักระบาดในถั่วแขก เช่น โรคราสนิม (Rust) ที่เกิดจากเชื้อ Uromyces appendiculatus โรคราสนิมสามารถเกิดขึ้นได้ทุกส่วนของต้นถั่วที่อยู่เหนือดิน พบมาก ที่ใบ โดยอาการเริ่มจากจุดสีเขียวซีดหรือเหลืองลักษณะกลมเล็ก หรือกลุ่มของสปอร์สีนํ้าตาลแดงเกิดขึ้นเป็นจุดๆ และโรคเหี่ยว (Wilt) สาเหตุมาจาก เชื้อ Fusarium oxysporum เชื้อเข้าสู่ต้นพืชทางราก เมื่อสปอร์สัมผัสรากพืช หรืออาจเข้าสู่พืชทางบาดแผล จากนั้นจึงเพิ่มจำ�นวนในเนื้อเยื่อท่อลำ�เลียง พบอาการเริ่มใบเหลืองจากใบล่างขึ้นสู่ ด้านบน ใบและกิ่งเริ่มเหี่ยว ใบร่วง ผลเน่าและร่วง สำ�หรับการกำ�จัดศัตรูพืชของถั่วแขกดูรายละเอียดในหน้าที่...
5. การเก็บเกี่ยว เริม่ เก็บเกีย่ วเมือ่ อายุได้ประมาณ 45-50 วัน ควรมีการทยอยเก็บ เมือ่ ฝักได้ขนาดตามต้องการประมาณ 10 เซนติเมตร
โดยถั่วแขกเก็บเกี่ยวเมื่ออายุ 10 วันหลังดอกบาน เก็บเกี่ยว 2 วัน/ครั้ง สำ�หรับถั่วเข็ม เก็บเกี่ยวเมื่ออายุ 5 วัน หลังดอกบาน เก็บเกี่ยวทุกวันๆ ละ 2 ครั้ง (เช้า-เย็น)
90
คู่มือปลูกผัก
ถั่วลันเตาหวาน
Sugar Snap Pea
1. ลักษณะทั่วไป ถั่วลันเตาหวาน (Pisum sativum) เป็นพืชฤดูเดียว มีใบแบบสลับ ปลายใบเปลี่ยนเป็นมือเกาะ การ เจริญเติบโตแบบพุม่ หรือขึน้ ค้าง บางสายพันธุอ์ าจมีเฉพาะใบ บางสายพันธุอ์ าจมีเฉพาะมือเกาะ ใบมีสเี ขียวอ่อน ถึงสีเขียวเข้ม ลำ�ต้นเล็กเป็นเหลี่ยม รากเป็นระบบรากแก้ว ดอกเป็นแบบดอกสมบูรณ์เพศ ผสมตัวเองเป็น ถั่วลันเตาที่ได้รับการปรับปรุงพันธุ์สำ�หรับรับประทานฝักสด มีเนื้อฝักหนา รสหวานกรอบ ฝักมีสีเขียวอ่อน มีเมล็ดเล็กๆ เรียงอยู่ภายใน
2. สภาพแวดลอมที่เหมาะสม
SUGAR
SNAP PEA
ดินที่เหมาะสม สำ�หรับการะปลูกถั่วลันเตา ควรมีลักษณะร่วนซุย ระบายนํ้าได้ดี มีความอุดมสมบูรณ์สูง หน้าดินลึก และควรมี pH อยู่ระหว่าง 5.5 - 6.5 C อุณหภูมิที่เหมาะสมสำ�หรับการเจริญเติบโตอยู่ระหว่าง 13 - 18ºC หากอุณหภูมิตํ่ากว่า 4ºC หรือสูงกว่า 29ºC จะทำ�ให้การเจริญเติบโตชะงัก และในกรณีที่ อุณหภูมิสูงกว่า 30ºC ดอกและฝักจะร่วง เป็นพืชที่ชอบอากาศเย็นจึงปลูกได้ดีในช่วงฤดูหนาว แต่ไม่ควร ปลูกในสภาพอากาศเย็นที่มีนํ้าค้างแข็ง โดยเฉพาะในระยะที่ดอกบานและเริ่มติดฝัก ควรได้รับแสงตลอด ทั้งวัน
3. การใชประโยชนและคุณคาทางอาหาร ฝักสดเมื่อนำ�มาผัดจะมีรสหวานและกรอบอร่อย เนื้อแน่น สามารถนำ�มาลวกรับประทานกับ สเต๊ก ใส่ในสลัด หรือผัดไฟแรงอย่างรวดเร็ว จะทำ�ให้คณ ุ ค่าวิตามินยังคงอยู่ หากฝักแก่สามารถนำ�เมล็ดมาประกอบ อาหารได้หลายชนิด เช่น ลวกและโรยบนสลัด ผัดผักรวม ใส่ไข่ยัดไส้ ข้าวผัด เป็นต้น เป็นพืชที่มีการใย อาหารหรือไฟเบอร์สูง ช่วยให้ระบบย่อยอาหารเป็นไปตามปกติ มีแคลเซียมและฟอสฟอรัสในปริมาณสูง เหมาะอย่างยิ่งต่อการบำ�รุงกระดูกและฟัน ต่อการสร้างเม็ดเลือด อีกทั้งวิตามินซียังช่วยให้ร่างกายดูดซึม ธาตุเหล็กได้ดีขึ้น
คู่มือปลูกผัก
91
4. การปลูกและดูแลรักษา 4.1 การเตรียมดินและการปลูก ก่อนปลูกถั่วควรกำ�จัดวัชพืชและขยะออกจากพื้นที่เพาะปลูก จากนั้นขุดแปลง ตากดินไว้ 2 สัปดาห์ ใส่ปูนขาวตามคำ�แนะนำ�จากการวิเคราะห์ดิน ทิ้งไว้ 10 วัน การปลูกควรเว้นระยะห่างระหว่าง เมล็ด 1-1½ นิ้ว และลึก 1 นิ้ว ห่างจากกันในแถว 18-24 นิ้ว และระหว่างคู่ของแถว 8 ถึง 10 นิ้ว (ภาพที่ 1) และ ควรคลุกเคล้าเมล็ดด้วยไตรโครเดอร์มาหรือสารกำ�จัดเชื้อรา
ภาพที่ 1 แสดงแปลงการปลูกถั่วหวาน 4.2 การใส่ปุ๋ย ใส่ปุ๋ยคอกอัตรา 1 กิโลกรัม/ต.ร.ม. รองพื้นก่อนปลูก และโรยตามร่องแถวปลูก พรวนดินและ หยอดเมล็ด 1 เมล็ด/หลุม ระยะห่างระหว่างต้นและแถว 10x20 ซม. (ปลูกแถวคู่) กลบดินแล้ว รดนํ้า การทำ�ค้าง ควรทำ�หลังปลูกได้ 10 วัน โดยปักไม้ค้างสูง 2 เมตร ระยะห่าง 2 เมตร ขึงตาข่ายตามยาวของแนวไม้ค้าง 4.3 การให้นํ้า ให้นํ้าทุก 2 - 3 วัน หรือตามความเหมาะสมและอย่าปล่อยให้ดินแห้ง โดยเฉพาะช่วงออกดอก หากขาดนํ้าจะไม่ติดฝัก 4.4 การให้ปุ๋ย ครั้งที่ 1 เมื่ออายุ 15 - 20 วัน ให้ปุ๋ย 46 - 0 - 0 อัตรา 30 กรัม/ต.ร.ม. ครั้งที่ 2 เมื่ออายุ 25 - 30 วัน ให้ปุ๋ย 13 - 13 - 21 อัตรา 30 กรัม/ต.ร.ม. กลบดินบางๆ แล้วรดนํ้าตามควรกำ�จัดวัชพืชพร้อมการให้ปุ๋ย ครั้งที่ 3 เมื่อต้นอายุ 45 - 50 วัน หรือช่วงเก็บเกี่ยว ใส่ปุ๋ยสูตร 13 - 13 - 21 อัตรา 25 กรัม/ต้น 4.5 โรคและแมลงศัตรูที่สำ�คัญในระยะต่างๆของการเจริญเติบโต ระยะปลูก เมื่ออายุ 0 - 10 วัน โรคเหี่ยวและหนอนชอนใบ ระยะเริม่ ติดดอก เมือ่ อายุ 25 - 35 วัน โรคเหีย่ ว, โรคใบจุด, โรคราแป้ง, โรคเน่าเปียก, หนอนชอนใบและเพลีย้ ไฟ ระยะฝักเจริญเติบโต เมือ่ อายุ 35 - 45 วัน โรคเหีย่ ว, โรคใบจุด, โรคราแป้ง, โรคเน่าเปียก, หนอนชอนใบและเพลีย้ ไฟ ระยะเก็บเกี่ยว เมื่ออายุ 45 - 70 วัน โรคเหี่ยว, โรคใบจุด, โรคราแป้ง, โรคเน่าเปียก, หนอนชอนใบและเพลี้ยไฟ
5. การเก็บเกี่ยว เริม่ เก็บเกีย่ วผลผลิตเมือ่ อายุได้ประมาณ 50 - 60 วัน การเก็บฝักสดควรเก็บทุกๆ 2 - 3 วัน โดยเลือกเก็บฝักทีย่ งั อ่อนและมีเมล็ดขึ้นเล็กน้อยยาวประมาณ 2½ ถึง 3 นิ้ว อายุเก็บเกี่ยวประมาณ 15 - 25 วัน
92
คู่มือปลูกผัก
เอกสารอางอิง ฐานข้อมูลพืชผัก บทความเกษตร. 2551. ถั่วหวาน (Sugar Snap Pea). [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.vegetweb.com -sugar-snap-pea/ (15 กรกฎาคม 2557). E. O. Monda, S. Munene and A. Ndegua. 2003. French beans production constraints in Kenya. African Crop Science Conference Proceedings. 6: 683-687. J. Masabni. ไม่ปรากฏปี. Easy Gardening sugar snap pea. Assistant Professor and Extension Horticulturist, The Texas A&M Agrilife Extension 1-3. T. N. Shivananda and B. R. V. Iyengar. ไม่ปรากฏปี. PHOSPHORUS MANAGEMENT IN FRENCH BEAN (PHASEOLUS VULGARIS L.). Indian Institute of Horticultural Research. 79-109. R. R. Dinstel. 2010. SUGAR SNAP PEAS. Extension Faculty Health, Home and Family Development. สืบค้นเมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม 2557 จากเว็บไซด์: www.uaf.edu
SUGAR
SNAP PEA
คู่มือปลูกผัก
93
94
คู่มือปลูกผัก
ผักตระกูล
(Chenopodiaceae)
Chenopodiaceae คู่มือปลูกผัก
95
4. การปลูกและดูแลรักษา 4.1 การเตรียมดิน ไถดินตากแดดไม่ตา่ํ กว่า 14 วันหรือขุดพลิกดินตากแดดอย่างน้อย 7 - 14 วัน เก็บเศษวัชพืช ให้สะอาด เตรียมแปลงปลูก โดยการรองพื้นด้วยปุ๋ยหมักและปุ๋ยคอก อัตรา 1 กิโลกรัมต่อตารางเมตร และใส่ปุ๋ย 15 - 15 - 15 อัตรา 10 - 20 กรัมต่อตารางเมตร 4.2 การปลูกและดูแลรักษา หยอดเมล็ด 2 - 3 เมล็ดต่อหลุม ลึก 2 - 3 เซนติเมตร และกลบดินรดนํ้า โดยมี รายละเอียด ดังนี้ 1. ถั่วแขก ระยะปลูกระหว่างต้นและแถว 30 x 80 เซนติเมตร (ปลูก 1 แถวต่อ 1 แปลง ความกว้างแปลงปลูก 30 เซนติเมตร) การทำ�ค้าง ปักค้างเป็นแนวตรง 1 เล่มต่อ 1 หลุม ค้างสูงประมาณ 2 เมตร โดยมีไม้พาดควรทำ�ค้าง หลังปลูกประมาณ 7-10 วัน 2. ถั่วเข็ม ระยะปลูกระหว่างต้นและแถว 30x30 เซนติเมตร (ปลูก 2 แถวต่อ 1 แปลง ความกว้างแปลงปลูก 50 เซนติเมตร) การทำ�ค้าง ความยาวค้างประมาณ 2 เมตร ปัก 1 เล่มต่อ 1 หลุม เอียงไขว้เข้าหากันระหว่างแถว เป็นรูปกากบาท นำ�ไม้พาดบนแนวไขว้ยาวตลอดทั้งแปลง แล้วมัดให้แน่นเพื่อยึดไม่ให้ค้างล้ม ควรทำ�ค้างหลังปลูก ประมาณ 7-10 วัน 4.3 การให้นํ้า ควรให้นํ้าอย่างสมํ่าเสมอช่วง 30 วันแรก หลังจากนั้นทุก 2 - 3 วัน ขึ้นกับระดับความชื้นในดิน และสภาพแวดล้อมของแปลงปลูก
4.4 การให้ปุ๋ย ครั้งที่ 1 เมื่อต้นอายุ 15-20 วัน ใส่ปุ๋ยสูตร 46-0-0 อัตรา 15 กรัม/ต้น ครั้งที่ 2 เมื่อต้นอายุ 25-30 วัน ใส่ปุ๋ยสูตร 15-15-15 อัตรา 25 กรัม/ต้น ครั้งที่ 3 เมื่อต้นอายุ 45-50 วัน หรือช่วงเก็บเกี่ยว ใส่ปุ๋ยสูตร 13-13-21 อัตรา 25 กรัม/ต้น
4.5. การป้องกันศัตรูพชื หลังย้ายปลูกควรสำ�รวจแปลงอย่างสม่�ำ เสมอ กำ�จัดวัชพืชในแปลงปลูกและบริเวณรอบๆ แปลงปลูก เพื่อป้องกันการเข้าทำ�ลายของโรคและแมลง สำ�หรับโรคที่มักระบาดในถั่วแขก เช่น โรคราสนิม (Rust) ที่เกิดจากเชื้อ Uromyces appendiculatus โรคราสนิมสามารถเกิดขึ้นได้ทุกส่วนของต้นถั่วที่อยู่เหนือดิน พบมาก ที่ใบ โดยอาการเริ่มจากจุดสีเขียวซีดหรือเหลืองลักษณะกลมเล็ก หรือกลุ่มของสปอร์สีนํ้าตาลแดงเกิดขึ้นเป็นจุดๆ และโรคเหี่ยว (Wilt) สาเหตุมาจาก เชื้อ Fusarium oxysporum เชื้อเข้าสู่ต้นพืชทางราก เมื่อสปอร์สัมผัสรากพืช หรืออาจเข้าสู่พืชทางบาดแผล จากนั้นจึงเพิ่มจำ�นวนในเนื้อเยื่อท่อลำ�เลียง พบอาการเริ่มใบเหลืองจากใบล่างขึ้นสู่ ด้านบน ใบและกิ่งเริ่มเหี่ยว ใบร่วง ผลเน่าและร่วง สำ�หรับการกำ�จัดศัตรูพืชของถั่วแขกดูรายละเอียดในหน้าที่...
5. การเก็บเกี่ยว เริม่ เก็บเกีย่ วเมือ่ อายุได้ประมาณ 45-50 วัน ควรมีการทยอยเก็บ เมือ่ ฝักได้ขนาดตามต้องการประมาณ 10 เซนติเมตร
โดยถั่วแขกเก็บเกี่ยวเมื่ออายุ 10 วันหลังดอกบาน เก็บเกี่ยว 2 วัน/ครั้ง สำ�หรับถั่วเข็ม เก็บเกี่ยวเมื่ออายุ 5 วัน หลังดอกบาน เก็บเกี่ยวทุกวันๆ ละ 2 ครั้ง (เช้า-เย็น)
96
คู่มือปลูกผัก
ปวยเหล็ง
Spinach
1. ลักษณะทั่วไป ปวยเหล็ง (Spinacia oleracea L.) อยูใ่ นวงศ์ CHENOPODIACEAE หรือ GOOSE FOOT มีถน่ิ กำ�เนิด อยูใ่ นทวีปเอเชีย แถบตะวันตกเฉียงใต้ของอินเดีย หรือแถบประเทศอิหร่าน และอัฟกานิ-สถาน เป็นพืชล้มลุก ลำ�ต้นสั้นเป็นกอ อวบนํ้า ใบเจริญเป็นพุ่มจากลำ�ต้นที่อวบสั้น กาบใบซ้อนกัน ใบใหญ่สีเขียวเข้มหนาเป็นมัน ผิวใบเป็นคลื่น ใบหยิกหรือเรียบ ก้านใบเล็ก กรอบ สีเขียวอ่อน ความยาวประมาณ25-45 เซนติเมตร
2. สภาพแวดลอมที่เหมาะสม
SPINACH
ปวยเหล็งสามารถปลูกได้ดีในสภาพที่มีอุณหภูมิต่ำ�และช่วงแสงสั้น อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการเจริญ อยู่ระหว่าง 18 - 20ºC แต่ไม่เกิน 24ºC หากอุณหภูมิตํ่ากว่า 10ºC พืชจะชะงักการเจริญเติบโต ใบหนา เป็นคลื่น และมีขนาดเล็ก ในสภาพอุณหภูมิสูง ช่วงแสงยาว หรือในสภาพที่มีอุณหภูมิสูงตํ่าสลับกัน จะแทง ช่อดอกเร็ว หากช่วงแสงสั้น การแทงช่อดอกจะช้ากว่าปกติ อายุการเก็บเกี่ยวขึ้นอยู่กับอัตราการเจริญ สายพันธุ์ที่เก็บเกี่ยวเร็วจะมีอัตราการเจริญสูง ดังนั้นในการปลูกควรคัดเลือกสายพันธุ์ที่มีอัตราการเจริญ เติบโตสูง และแทงช่อดอกช้า เพื่อให้ได้ผลผลิตและคุณภาพสูง เนื่องจากเป็นพืชที่มีระบบรากตื้น และต้องการธาตุอาหารสูง ดินปลูกควรร่วนซุย และมีความอุดม สมบูรณ์สูง สำ�หรับความเป็นกรด - ด่างของดินที่เหมาะสมควรอยู่ระหว่าง 6.2 - 6.9 และได้รับนํ้าอย่าง สมํ่าเสมอและพอเพียง
3. การใชประโยชนและคุณคาทางอาหาร ปวยเหล็งประกอบไปด้วยคุณค่าทางอาหารหลายชนิด เช่น คาร์โบไฮเดรต โปรตีน แคลเซียม ฟอสฟอรัส เหล็ก และมีสารเบต้าแคโรทีน และวิตามินซี เป็นจำ�นวนมาก ช่วยบำ�รุงสายตา ผิวพรรณ และทำ�ให้กระดูก แข็งแรง รวมทั้งยังช่วยป้องกันโรคมะเร็ง สามารถรับประทานได้ทั้งใบและต้น นำ�ประกอบอาหารได้หลายชนิด เช่น ผัดนํ้ามันหอย ต้มจืด ลวกใส่ในก๋วยเตี๋ยว สุกี้ ทำ�แกงจืด ต้นอ่อนรับประทานสดในสลัด หรืออาหาร จำ�พวกซุป
คู่มือปลูกผัก
97
4. การปลูกและดูแลรักษา 4.1 การเตรียมแปลงปลูก ขุดพลิกดินตากแดดทิ้งไว้อย่างน้อย 14 วัน ยกแปลงกว้าง 1.20 เมตร การเตรียม แปลงยกแปลงสูง 30 - 40 เซนติเมตร ใส่ปยุ๋ คอกหรือปุย๋ หมักอัตรา 2 - 4 กิโลกรัม/ไร่ คลุกเคล้าให้เข้ากันปรับหน้าดิน ให้เรียบในฤดูฝนควรใส่เชื้อราปฏิปักษ์ไตรโคเดอร์มาระหว่างการเตรียมแปลงในอัตรา 100 กรัม/ตารางเมตร เพื่อให้ การจัดการปุ๋ยมีประสิทธิภาพ ควรนำ�ดินไปวิเคราะห์สภาพความเป็นกรด-ด่าง และธาตุอาหาร โดยทำ�การปรับสภาพ โครงสร้างดินตามผลวิเคราะห์ 4.2 การปลูก ขีดร่องลึกประมาณ 1 เซนติเมตร ให้มีระยะห่างระหว่างแถว 15 เซนติเมตร โดยหยอดเมล็ดพันธุ์ ให้มีระยะห่างระหว่างต้น 10 เซนติเมตรในฤดูหนาวและฤดูฝน ห่าง 15 เซนติเมตร และกลบดินให้เรียบแล้วจึงรดนํ้า ในกรณีที่ต้นพืชมีระยะชิดกันมากเกินไป ควรทำ�การถอนแยก ตามระยะห่างข้างต้น 4.3 การให้นํ้า ควรใช้มินิสปริงเกอร์ เพราะถ้าใช้สปริงเกอร์ปกติจะทำ�ให้ผลผลิตเปื้อนดินมากขึ้น 4.4 การให้ปุ๋ย เมื่อต้นกล้าอายุได้ 15 วัน สูตร 15 - 0 - 0 และ 8-24-24 อัตรา 1:1 ปริมาณ 40 กิโลกรัม/ไร่ (โรยระหว่างแถวและพรวนดินกลบ) ควรมีการพ่นธาตุอาหารเสริม
5. การเก็บเกี่ยว
ควรเก็บเกี่ยวเมื่ออายุประมาณ 35 - 45 วัน
SPINACH
98
คู่มือปลูกผัก
ผักตระกูล
(Amaryllidacea)
Amaryllidacea คู่มือปลูกผัก
99
100
คู่มือปลูกผัก
กระเทียมตน Leek
1. ลักษณะทั่วไป
LEEK
กระเทียมต้น (Allium ampeloprasum L. porrum) ประกอบด้วยราก (root) 2 ระบบ คือ fibrous root และ root hair ลำ�ต้น (Stem) มีลักษณะเป็นแผ่นอยู่ระหว่างลำ�ต้นเทียมและราก ใบจริง (leaf) มีลักษณะเป็นตัว V แบบยาวคล้ายใบกระเทียม แต่มีขนาดใหญ่และหนากว่า มีความยาวประมาณ 5 - 10 ซ.ม. เจริญด้านตรงกันข้ามสลับกัน ลำ�ต้นเทียม (pseudostem) หรือโคนก้านใบ (shaft) มีสขี าว เป็นส่วนที่ ขยายตัวและสะสมอาหารสำ�รอง เส้นผ่านศูนย์กลาง 6-12 ซ.ม. สูง 15-70 ซ.ม. เป็นส่วนที่นำ�ไปประกอบ อาหารและมีนํ้าร้อยละ 40 ของต้น ขนาดและความยาวของลำ�ต้นเทียมขึ้นอยู่กับสายพันธุ์ ความสูงของ ต้นประมาณ 40 - 75 ซ.ม.
2. สภาพแวดลอมที่เหมาะสม พื้นที่ปลูกกระเทียมต้นควรสูงกว่าระดับนํ้าทะเลตั้งแต่ 800 เมตรขึ้นไป สามารถปลูกได้ตลอดปี เป็นพืช ที่มีระบบรากตื้น ดินที่ใช้ปลูกต้องร่วนซุย มีหน้าดินลึก ระบายนํ้าได้ดี และมีอินทรียวัตถุสูง ก่อนปลูกควร เติมปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอก pH ที่เหมาะสมอยู่ระหว่าง 6.0 - 6.8 เจริญเติบโตไม่ดีในดินที่มีสภาพเป็นกรด อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการปลูก 12-21ºC อากาศเย็นจะทำ�ให้มีการเจริญเติบโตได้ดี
3. การใชประโยชนและคุณคาทางอาหาร ใช้ส่วนของลำ�ต้นเทียมปรุงเป็นอาหารได้หลายอย่าง เช่น ทำ�ซุป สตู ผัดนํ้ามันหอย ผัดกับอาหารทะเล หรือตุน๋ ใช้ปรุงรสและแต่งกลิน่ อาหาร ในประเทศแถบอากาศหนาวใช้เป็นเครือ่ งเทศ เป็นยาฆ่าเชือ้ ในลำ�ไส้ ขับเสมหะ ขับปัสสาวะ บำ�บัดโรคไขข้ออักเสบ และโรคตับ
คู่มือปลูกผัก
101
4. การปลูกและดูแลรักษา
4.1 การเตรียมกล้า
1. การเตรียมแปลงเพาะกล้า ขึน้ แปลงกว้าง 1 เมตร ใส่ปยุ๋ รองพืน้ ดังนี้ ปุย๋ 12-24-12 ปริมาณ 30 กรัม/ตารางเมตร ปูนขาว ปริมาณ 30 กรัม/ตารางเมตร ปุ๋ยคอก ปริมาณ 1 กิโลกรัม/ตารางเมตร คลุกให้ทั่วแปลง แล้วรดนํ้าให้ชุ่ม สำ�หรับในฤดูฝนควรเพาะกล้าภายใต้หลังคาพลาสติก 2. ขีดร่องขวางแปลงลึก 1 เซนติเมตร ระยะห่าง 10 เซนติเมตร นำ�เมล็ดหยอดในแปลงเพาะกล้า กลบดินบางๆ แล้วคลุมด้วยฟางหรือแกลบ รดนํ้าวันละ 1 ครั้ง ควรใส่ปุ๋ยสูตร 15-15-15 หรือ 46-0-0 เมื่ออายุได้ 25 และ 50 วัน เมื่อมีอายุได้ 60-75 วัน จึงย้ายปลูก 3. กล้าสำ�หรับย้ายปลูก ตัดปลายให้สูงกว่ายอดประมาณ 2 เซนติเมตร ตัดรากเหลือ 1 เซนติเมตร แช่รากในนํ้า ผสมไดเทนเอ็ม 45 นาน 10 นาที ก่อนย้ายปลูก 4.2 การเตรียมแปลงและย้ายปลูก กระเทียมต้นเป็นพืชรากตื้น การเตรียมดินควรไถหรือขุดให้ลึกประมาณ 15 - 20 เซนติเมตร แล้วตากทิง้ ไว้ประมาณ 1 สัปดาห์ เพือ่ กำ�จัดโรค แมลง และวัชพืช ใส่ปนู ขาวปรับ pH ตามผลการ วิเคราะห์ดนิ ทิง้ ไว้ประมาณ 10 วัน ใส่ปยุ๋ คอกหรือปุย๋ หมัก และรองพืน้ ด้วยปุย๋ สูตร 15-15-15 อัตรา 20 กรัม/ตารางเมตร คลุกเคล้าให้เข้ากัน หลังจากเตรียมแปลงปลูกเรียบร้อยแล้ว ก่อนปลูกควรรดนํ้าให้แปลงมีความชุ่มชื้นแล้วทำ�การปลูก โดยขุดร่อง เป็นแถวตามยาว ลึกประมาณ 30 - 40 เซนติเมตร ห่างกัน 80 เซนติเมตร เลือกต้นกล้าที่มีขนาดเท่ากันปลูกก่อน มีระยะห่างระหว่างต้น 5 - 8 เซนติเมตร จากนั้นกลบดินรดนํ้าให้ทั่วแปลง ในฤดูฝนควรกลบ 3 ครั้ง เพราะดินที่กลบ จะโดนฝนชะล้าง
4.3 การให้นํ้า ให้นํ้าแบบสปริงเกอร์และควรมีนํ้าเพียงพอตลอดฤดูการปลูก
4.4 การให้ปุ๋ย หลังย้ายปลูก 25 - 30 วัน ใส่ปุ๋ยสูตร 21 - 0 - 0 และ15 - 15 - 15 อัตราส่วน 1:1 ในปริมาณ 20 กรัม/ตารางเมตร ลงในร่องปลูก แล้วกลบดินพูนโคน เมื่ออายุได้ 55 - 60 วัน ใส่ปุ๋ยสูตร 15 - 15 - 15 หรือ 16 - 20 - 0 อัตรา 20 กรัม/ตารางเมตร แล้วกลบดินให้พูนโคนต้นจนถึงระดับใบล่าง
5. การเก็บเกี่ยว ถอนต้นเมื่ออายุประมาณ 90 วันหลังย้ายปลูก หรือเมื่อโคนต้นมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 2.5 เซนติเมตร ขึ้นไป และความยาวส่วนขาวของลำ�ต้นเทียมไม่ตํ่ากว่า 15 - 20 เซนติเมตร
LEEK 102
คู่มือปลูกผัก
ตนหอมญี่ปุ่น
Bunching Onion
1. ลักษณะทั่วไป ต้นหอมญีป่ นุ่ (Allium fistulosum L.) ประกอบด้วย ราก ซึง่ เป็นระบบ fibrous root และ root hair ลำ�ต้นจริงจะมีลักษณะเป็นแผ่นอยู่ระหว่างรากและใบ ใบมีลักษณะเป็นหลอดยาว คล้ายใบหอมขนาดใหญ่ มีจำ�นวน 6 - 7 ใบต่อต้น โดยใบนอกจำ�นวน 4 ใบ จะเป็นใบแก่ ใบอ่อนจะอยู่ด้านในจำ�นวน 2 - 3 ใบ ลำ�ต้นเทียม คือ ส่วนของกาบใบ (scape) ทำ�หน้าที่สะสมอาหาร เป็นส่วนที่นำ�มาบริโภคซึ่งจะขยายตัว ตามยาว โดยทั่วไป ลำ�ต้นเทียมสูง 25 - 75 เซนติเมตร เส้นผ่าศูนย์กลาง 3 - 7 เซนติเมตร
2. สภาพแวดลอมที่เหมาะสม
Bunching Oni on
ดินทีเ่ หมาะสมกับต่อการเจริญเติบโตของต้นหอมญีป่ นุ่ ควรเป็นดินร่วนซุยหรือร่วนปนทราย หน้าดินลึก ระบายนํ้าได้ดีและมีอินทรียวัตถุสูง pH ที่เหมาะสม คือ 5.6 - 6.8 ในดินที่มี pH ตํ่า ควรใส่ปูนขาวปรับ สภาพดิน โดยปกติต้นหอมญี่ปุ่นจะไม่ลงหัว แต่ในกรณีที่มีช่วงแสงยาวกว่า 12 ชม./วัน และมีอุณหภูมิสูง กว่า 20ºC หัวจะเจริญแต่จะมีขนาดเล็กไม่เกิน 10 ซม. และเมื่อผ่านอุณหภูมิตํ่ากว่า 13ºC และช่วงแสง สั้น พืชจะแทงช่อดอก ส่วนในเขตร้อน ดอกจะไม่เจริญ สภาพแปลงปลูกควรได้รับแสงอย่างเต็มที่
3. การใชประโยชนและคุณคาทางอาหาร ส่วนทีน่ �ำ มาบริโภค คือ ลำ�ต้นเทียมทีม่ ลี กั ษณะกลมยาวสีขาว นำ�ไปทำ�แกงจืด ผัดกับตับหรือเนือ้ ต่างๆ ตุ๋นแบบจับฉ่ายหรือทำ�สลัด นำ�ไปสับผสมในซอสต่างๆ โรยหน้าซุปหลายชนิด ตกแต่งจานปลาดิบหรือ อาหารจานปลาแบบต่างๆ นอกจากนั้นแล้วนิยมหั่นเป็นท่อนแล้วนำ�มาย่างกับยากิโทริ หรือใส่ในสุกียากี้ และเนื้อชาบูชิ เพื่อให้หอมอร่อย ซึ่งภายในประกอบด้วย วิตามิน A และ C มีฟอสฟอรัส แคลเซียม สาร ต้านอนุมูลอิสระที่ช่วยป้องกันโรคมะเร็งและโรคหัวใจได้ดี และยังช่วยลดโคเลสเตอรอลได้อีกด้วย ป้องกัน หลอดเลือดหัวใจตีบและความดันโลหิต มีโพแทสเซียมช่วยในการขับปัสสาวะ ขับกรดยูริค ถือเป็นอาหาร ที่ช่วยบำ�รุงสุขภาพได้อย่างดีเยี่ยม
คู่มือปลูกผัก
103
4. การปลูกและดูแลรักษา
4.1 การเตรียมกล้า
1. การเตรียมแปลงเพาะกล้า ขึน้ แปลงกว้าง 1 เมตร ใส่ปยุ๋ รองพืน้ ดังนี้ ปุย๋ 12- 24 - 12 ปริมาณ 30 กรัม/ตารางเมตร ปูนขาว ปริมาณ 30 กรัม/ตารางเมตร ปุ๋ยคอก ปริมาณ 1 กก./ตารางเมตร คลุกให้ทั่วแปลง แล้วรดนํ้าให้ชุ่ม สำ�หรับในฤดูฝนควรอยู่ภายใต้หลังคาพลาสติก 2. ขีดร่องขวางแปลงลึก 1 เซนติเมตร ระยะห่าง 10 เซนติเมตร นำ�เมล็ดหยอดในแปลงเพาะกล้า กลบดินบางๆ แล้วคลุมด้วยฟางหรือแกลบ ควรรดนํ้าวันละ 1 ครั้ง เมื่อมีอายุได้ 60 - 75 วัน จึงย้ายปลูก ควรใส่ปุ๋ยเคมี เช่น 15 - 15 - 15 หรือยูเรีย เมื่ออายุได้ 25 และ 50 วัน 3. กล้าสำ�หรับย้ายปลูกตัดปลายให้สูงกว่ายอดประมาณ 2 เซนติเมตร ตัดรากเหลือ 1 เซนติเมตร แช่รากในนํ้า ผสม ไดเทนเอ็ม 45 นาน 10 นาที ก่อนย้ายปลูก 4.2 การเตรียมดิน และย้ายปลูก ขุดพลิกดินตากแดดอย่างน้อย 14 วัน เพื่อฆ่าเชื้อในดิน กำ�จัดวัชพืช หาก สภาพดินเป็นกรด ควรใส่ปูนขาวอัตรา 100 - 200 กิโลกรัม/ไร่ หลังจากเตรียมแปลงปลูกเรียบร้อยแล้ว ก่อนปลูก ควรรดนํ้าให้แปลงมีความชุ่มชื้นแล้วทำ�การปลูก โดยขุดร่องเป็นแถวตามยาว ลึกประมาณ 30 - 50 เซนติเมตร ห่าง กัน 80 เซนติเมตร เลือกต้นกล้าที่มีขนาดเท่ากันปลูกก่อน มีระยะห่างระหว่างต้น 5 - 8 เซนติเมตร จากนั้นกลบดิน รดนํ้าให้ทั่วแปลง
4.3 การให้นํ้า ให้นํ้าแบบสปริงเกอร์และควรมีนํ้าเพียงพอตลอดฤดูการปลูก
4.4 การให้ปุ๋ย หลังย้ายปลูก 25 - 30 วัน ใส่ปุ๋ยสูตร 21 - 0 - 0 อัตรา 20 กรัม/ตารางเมตร ลงในร่องปลูก แล้วกลบดินพูนโคนต้น เมื่ออายุได้ 50 - 55 วัน ใส่ปุ๋ยสูตร 15 - 15 - 15 หรือ 16 - 20 - 0 อัตรา 20 กรัม/ตาราง เมตร แล้วกลบดินพูนโคนต้นถึงระดับใบล่าง
5. การเก็บเกี่ยว เก็บเกี่ยวเมื่ออายุได้ 90 วันขึ้นไป หรือลำ�ต้นเทียมมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 2.5 ซ.ม. ขึ้นไป และความยาว ส่วนขาวของลำ�ต้นเทียมไม่ตํ่ากว่า 15 - 20 ซ.ม.
Bunching Onion 104
คู่มือปลูกผัก
ผักตระกูลหญา
(Family Graminae)
Amaryllidacea คู่มือปลูกผัก
105
4. การปลูกและดูแลรักษา
4.1 การเตรียมกล้า
1. การเตรียมแปลงเพาะกล้า ขึน้ แปลงกว้าง 1 เมตร ใส่ปยุ๋ รองพืน้ ดังนี้ ปุย๋ 12-24-12 ปริมาณ 30 กรัม/ตารางเมตร ปูนขาว ปริมาณ 30 กรัม/ตารางเมตร ปุ๋ยคอก ปริมาณ 1 กิโลกรัม/ตารางเมตร คลุกให้ทั่วแปลง แล้วรดนํ้าให้ชุ่ม สำ�หรับในฤดูฝนควรเพาะกล้าภายใต้หลังคาพลาสติก 2. ขีดร่องขวางแปลงลึก 1 เซนติเมตร ระยะห่าง 10 เซนติเมตร นำ�เมล็ดหยอดในแปลงเพาะกล้า กลบดินบางๆ แล้วคลุมด้วยฟางหรือแกลบ รดนํ้าวันละ 1 ครั้ง ควรใส่ปุ๋ยสูตร 15-15-15 หรือ 46-0-0 เมื่ออายุได้ 25 และ 50 วัน เมื่อมีอายุได้ 60-75 วัน จึงย้ายปลูก 3. กล้าสำ�หรับย้ายปลูก ตัดปลายให้สูงกว่ายอดประมาณ 2 เซนติเมตร ตัดรากเหลือ 1 เซนติเมตร แช่รากในนํ้า ผสมไดเทนเอ็ม 45 นาน 10 นาที ก่อนย้ายปลูก 4.2 การเตรียมแปลงและย้ายปลูก กระเทียมต้นเป็นพืชรากตื้น การเตรียมดินควรไถหรือขุดให้ลึกประมาณ 15 - 20 เซนติเมตร แล้วตากทิง้ ไว้ประมาณ 1 สัปดาห์ เพือ่ กำ�จัดโรค แมลง และวัชพืช ใส่ปนู ขาวปรับ pH ตามผลการ วิเคราะห์ดนิ ทิง้ ไว้ประมาณ 10 วัน ใส่ปยุ๋ คอกหรือปุย๋ หมัก และรองพืน้ ด้วยปุย๋ สูตร 15-15-15 อัตรา 20 กรัม/ตารางเมตร คลุกเคล้าให้เข้ากัน หลังจากเตรียมแปลงปลูกเรียบร้อยแล้ว ก่อนปลูกควรรดนํ้าให้แปลงมีความชุ่มชื้นแล้วทำ�การปลูก โดยขุดร่อง เป็นแถวตามยาว ลึกประมาณ 30 - 40 เซนติเมตร ห่างกัน 80 เซนติเมตร เลือกต้นกล้าที่มีขนาดเท่ากันปลูกก่อน มีระยะห่างระหว่างต้น 5 - 8 เซนติเมตร จากนั้นกลบดินรดนํ้าให้ทั่วแปลง ในฤดูฝนควรกลบ 3 ครั้ง เพราะดินที่กลบ จะโดนฝนชะล้าง
4.3 การให้นํ้า ให้นํ้าแบบสปริงเกอร์และควรมีนํ้าเพียงพอตลอดฤดูการปลูก
4.4 การให้ปุ๋ย หลังย้ายปลูก 25 - 30 วัน ใส่ปุ๋ยสูตร 21 - 0 - 0 และ15 - 15 - 15 อัตราส่วน 1:1 ในปริมาณ 20 กรัม/ตารางเมตร ลงในร่องปลูก แล้วกลบดินพูนโคน เมื่ออายุได้ 55 - 60 วัน ใส่ปุ๋ยสูตร 15 - 15 - 15 หรือ 16 - 20 - 0 อัตรา 20 กรัม/ตารางเมตร แล้วกลบดินให้พูนโคนต้นจนถึงระดับใบล่าง
5. การเก็บเกี่ยว ถอนต้นเมื่ออายุประมาณ 90 วันหลังย้ายปลูก หรือเมื่อโคนต้นมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 2.5 เซนติเมตร ขึ้นไป และความยาวส่วนขาวของลำ�ต้นเทียมไม่ตํ่ากว่า 15 - 20 เซนติเมตร
LEEK 106
คู่มือปลูกผัก
ขาวโพดหวาน 2 สี Bicolor Sweet Corn
1. ลักษณะทั่วไป
BICOLOR SWEET CO RN
ข้าวโพดหวานสองสี (Zea mays L. var. saccharata ) จัดอยู่ในตระกูล Poaaceae (Graminae) เป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว ปลูกฤดูเดียว ลักษณะลำ�ต้นเป็นปล้องสีเขียว มีจำ�นวน 8 - 20 ปล้อง ขนาดเส้นผ่า ศูนย์กลาง 3 - 4 เซนติเมตร สูงประมาณ 150-220 เซนติเมตร ใบมีสเี ขียวเรียวคล้ายใบหญ้า ซึง่ ประกอบด้วย ตัวใบ ก้านใบ และหูใบ สำ�หรับสีขนบนใบและขนาดของใบจะแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับสายพันธุ์ โดยทั่วไปดอกตัวผู้จะบานก่อนดอกตัวเมียและพร้อมผสมภายใน 1-3 วัน และทยอยบานทีละคู่ ใช้เวลา 2 - 4 วัน ดอกตัวเมียมีลักษณะเป็นฝักจากแขนงสั้นๆ บนข้อที่มีใบใหญ่สุด แขนงดังกล่าวประกอบด้วยใบ 8 - 13 ใบ เจริญเป็นกาบหุม้ ส่วนของดอกตัวเมียและหุม้ ฝัก (husk) ก้านเกสรตัวเมียมีลกั ษณะคล้ายเส้นไหม เจริญออกมาด้านส่วนปลายฝัก ประกอบด้วยเมือกเหนียวเพื่อดักจับละอองเกสรตัวผู้ เมล็ดจะมีทั้งสีขาว และสีเหลืองปนกันในฝักเดียว
2. สภาพแวดลอมที่เหมาะสม ข้าวโพดหวานสองสีเป็นพืชทีต่ อ้ งการอากาศอบอุน่ อุณหภูมทิ เ่ี หมาะสมต่อการงอกและการเจริญเติบโต อยู่ระหว่าง 21 - 30 ºC แต่ไม่ควรสูงเกิน 35 ºC อย่างไรก็ตามอุณหภูมิที่ให้ผลผลิตที่มีคุณภาพอยู่ในช่วง 16 - 24 ºC การปลูกในสภาพอุณหภูมิสูงจะส่งผลให้อัตราการเปลี่ยนนํ้าตาลเป็นแป้ง (polysaccharides) ของเมล็ดสูง ในสภาพที่มีความชื้นสูงหรือตํ่าเกินไป จะมีผลต่อการเจริญเติบโต เช่น หากมีความชื้นสัมพัทธ์ตํ่าและ อุณหภูมิสูงจะทำ�ให้เกสรไม่สมบูรณ์ อัตราการผสมเกสรตํ่า หากสภาพแปลงปลูกมีความชื้นสูงเมล็ดจะเน่า ข้าวโพดหวานเป็นพืชวันสั้น ในสภาพที่ช่วงวันยาว (มากกว่า 13 ชั่วโมง/วัน) จะจำ�กัดการเจริญของดอก ในบางสายพันธุ์ สำ�หรับดินที่เหมาะสมต่อการปลูกควรมีค่าความเป็นกรด - ด่างอยู่ในช่วง 6 - 6.5
คู่มือปลูกผัก
107
3. การใชประโยชนและคุณคาทางอาหาร ข้าวโพดหวาน 2 สี จัดเป็นพืชที่ให้พลังงานสูงและมีปริมาณโปรตีนรองจากถั่วลันเตา ถั่วแขก และกระเทียม นอกจากนี้ยังประกอบไปด้วยธาตุอาหารที่สูง เช่น ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม และไทอามีน จุดเด่นของข้าวโพดหวาน 2 สี คือ มีรสชาติหวาน หอม สามารถนำ�มาประกอบอาหารได้หลายชนิด เช่น นึ่งหรือย่างทั้งฝัก นึ่งแล้วหั่นเฉพาะ เมล็ดผสมกับมะพร้าวขูดนํ้าตาลทรายเล็กน้อย ข้าวโพดอบเนย ข้าวโพดคลุกรับประทานเป็นอาหารว่าง ทำ�นํ้านม ข้าวโพด ฝานดิบผสมกับเนื้อหมูสับ ไข่ แป้งสาลีแล้วทอดเป็นทอดมันข้าวโพด นำ�มาผัดผสมในอาหารประเภทผัด ต่างๆ รวมทั้งของว่างและของหวาน เช่น ข้าวผัด ข้าวโพดชุบแป้งทอด และรวมมิตร เป็นต้น
4. การปลูกและดูแลรักษา 4.1 การเตรียมกล้า เพาะเมล็ดในถาดหลุม ขนาด 104 หลุม เมื่อกล้ามีอายุ 7 - 10 วัน มีใบจริง 1 - 2 ใบ จึง ย้ายกล้าปลูกลงแปลง ควรเลือกต้นกล้าที่สมบูรณ์ แข็งแรง ปราศจากโรคและแมลง
ข้อควรระวัง 1) ควรคลุกเมล็ดด้วยเอพรอน 35 เพือ่ ป้องกันโรครานํา้ ค้าง และฉีดพ่นเซฟวิน 85 ป้องกันมดและแมลงทำ�ลายเมล็ด 2) ควรเตรียมแปลงปลูกให้แล้วเสร็จก่อนเพาะกล้า เนื่องจากระยะเวลาที่ใช้ผลิตต้นกล้าสั้น
4.2 การเตรียมดิน และย้ายปลูก ไถพลิกดินตากแดดอย่างน้อย 7 วัน เพื่อกำ�จัดเชื้อโรคพืชและแมลงในดิน ควรตรวจหาค่าความเป็นกรด-ด่างของดินได้จะช่วยในการจัดการดินและปุ๋ยได้ดียิ่งขึ้น กรณีสภาพดินเป็นกรด (pH ตํ่ากว่า 6) ควรปรับสภาพดินโดยการเติมปูนขาวหรือโดโลไมท์ ในอัตรา 100 กิโลกรัม/ไร่ จากนั้นใส่ปุ๋ยหมัก หรือ ปุ๋ยคอก อัตรา 2-5 กิโลกรัม/ตารางเมตร ผสมคลุกเคล้าให้เข้า การปลูกเตรียมแปลงกว้าง 1.2 เมตร ย้ายกล้าจากถาดหลุมลงแปลงปลูก โดยมีระยะห่างระหว่างต้นและแถว 30x70 เซนติเมตร (6 ต้น/ ตารางเมตร) รองก้นหลุมด้วยปุย๋ สูตร 16-20-0 อัตรา 25-50 กิโลกรัม/ไร่ (สภาพดินเหนียว) หากสภาพดินเป็นดินทราย ใช้ปุ๋ยสูตร 15-15-15 แทนปุ๋ยสูตร 16-20-0 4.3 การให้นํ้า ควรปล่อยนํ้าเข้าแปลงอย่างน้อยสัปดาห์ละ 2 ครั้ง เพื่อให้ดินมีความชุ่มชื้นเพียงพอหากพืชขาด นํ้าจะทำ�ให้การผสมเกสรไม่ดี ฝักมีคุณภาพตํ่า และการติดเมล็ดไม่สมํ่าเสมอ 4.4 การให้ปุ๋ย ครัง้ ที่ 1 หลังย้ายปลูก 7-10 วัน โดยใส่ปยุ๋ สูตร 21-0-0 หรือ 15-15-15 อัตรา 50 กิโลกรัม/ไร่ โดยหยอดทีโ่ คนต้น ครัง้ ที่ 2 หลังย้ายปลูก 20-25 วัน โดยใส่ปยุ๋ สูตร 15-15-15 และ 46-0-0 อัตราส่วน 1:1 ในอัตรา 25-50 กิโลกรัม/ไร่ พร้อมทั้งกำ�จัดวัชพืชและทำ�การคลุมโคน เมื่อข้าวโพดมีอายุได้ 30 - 40 วัน ต้นจะมีการแตกแขนงหน่อข้างลำ�ต้น ให้เด็ดออกให้เหลือฝักบนเพียง 1 ฝัก และควรตรวจแปลงอย่างสมํ่าเสมอ เพราะอาจมีการเข้าทำ�ลายของโรครานํ้าค้าง ราสนิม และการเข้าทำ�ลายของ หนอนเจาะลำ�ต้น และฝัก ครั้งที่ 3 เมื่อข้าวโพดอายุได้ 45 - 50 วัน โดยใส่ปุ๋ยสูตร 13-13-21 หรือ 15-15-15 อัตรา 15-20 กิโลกรัม/ไร่ และให้นํ้าอย่างต่อเนื่อง เพราะหากขาดนํ้า ต้นข้าวโพดจะหยุดการสร้างฝักเมล็ด ส่วนปลายฝักจะฝ่อทันที
108
คู่มือปลูกผัก
4.5 การป้องกันศัตรูพืช โรคที่สำ�คัญของการปลูกข้าวโพด มีหลายชนิด ได้แก่ โรครานํ้าค้าง โรคราสนิม โรคใบไหม้แผลใหญ่ และเล็ก โรค ใบจุดสีนํ้าตาล โรคกาบและใบไหม้ ซึ่งส่วนใหญ่เกิดจากเชื้อรา ส่วนแมลงที่สำ�คัญได้แก่
5. การเก็บเกี่ยว เก็บเกี่ยวข้าวโพดหวานเมื่อมีอายุ 16 - 20 วันหลังออกไหม โดยเก็บเกี่ยวเมื่อเมล็ดอยู่ในระยะนํ้านม สังเกตจาก ของเหลวภายในเมล็ดมีลักษณะคล้ายนํ้านม เมล็ดอ่อนนุ่มและมีขนาดใหญ่ ข้อควรระวัง การเก็บเกีย่ วก่อนกำ�หนดจะทำ�ให้ขา้ วโพดหวานอ่อนเกินไปและมีนา้ํ หนักฝักน้อย ในขณะทีก่ ารเก็บอายุมากเกินไป ถึงแม้จะได้นา้ํ หนักฝักมากขึน้ แต่นา้ํ ตาลภายในเมล็ดจะเปลีย่ นเป็นแป้งมากขึน้ ส่งผลให้ความอ่อนนุม่ และความหวาน ของเมล็ดลดลง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับพันธุ์ของข้าวโพดหวาน รวมถึงสภาพอากาศและฤดูกาลเป็นสำ�คัญ
BICOLOR SWEET CORN
คู่มือปลูกผัก
109
110
คู่มือปลูกผัก
การป้องกัน กำ�จัดโรคและแมลง
คู่มือปลูกผัก
111
112
คู่มือปลูกผัก
กะหล่ําปลีแดง / กะหล่ําปลี / กะหล่ําปลีรูปหัวใจ
คู่มือปลูกผัก
113
กะหล่ําปลีแดง / กะหล่ําปลี / กะหล่ําปลีรูปหัวใจ
114
คู่มือปลูกผัก
บล็อคโคลี / บร็อกโคโลนี่
คู่มือปลูกผัก
115
บล็อคโคลี / บร็อกโคโลนี่
116
คู่มือปลูกผัก
ผักกาดขาวปลี/ผักกาดหางหงส์
คู่มือปลูกผัก
117
เบบี้ฮองเต
118
คู่มือปลูกผัก
คะนายอดโครงการหลวง / คะนาฮองกง
คู่มือปลูกผัก
119
คะนายอดโครงการหลวง / คะนาฮองกง
120
คู่มือปลูกผัก
ผักกาดหอมหอ / ผักกาดหอมใบแดง
คู่มือปลูกผัก
121
คอสสลัด/เบบี้คอสสลัด
122
คู่มือปลูกผัก
พืชกลุมสลัด/บัตเตอรเฮดสลัด/โอคลีฟเขียว/โอคลีฟแดง/ฟิลเลยไอซเบิรก/เรดโครอล
คู่มือปลูกผัก
123
ซุกินี
124
คู่มือปลูกผัก
แตงกวาญี่ปุ่น
คู่มือปลูกผัก
125
แตงกวาญี่ปุ่น
126
คู่มือปลูกผัก
พืชกลุม ฟักทอง/ฟักทองญีป่ นุ่ /ฟักทองจิว๋ (ฟักทองญีป่ นุ่ มิน)ิ /ฟักทองสีขาว/ฟักทองสีสม
คู่มือปลูกผัก
127
มะระหยก / ยอดซาโยเต
128
คู่มือปลูกผัก
พริกหวานเขียว/พริกหวานเหลือง/พริกหวานแดง
คู่มือปลูกผัก
129
พริกหวานเขียว/พริกหวานเหลือง/พริกหวานแดง
130
คู่มือปลูกผัก
มะเขือเทศโครงการหลวง
คู่มือปลูกผัก
131
มะเขือเทศโครงการหลวง
132
คู่มือปลูกผัก
มะเขือเทศโครงการหลวง
คู่มือปลูกผัก
133
มะเขือเทศเชอรีแ่ ดง
134
คู่มือปลูกผัก
มะเขือเทศเชอรีแ่ ดง
คู่มือปลูกผัก
135
มะเขือมวงกานเขียว / มะเขือมวงกานดํา
136
คู่มือปลูกผัก
มะเขือมวงกานเขียว / มะเขือมวงกานดํา
คู่มือปลูกผัก
137
เบบี้แครอท
138
คู่มือปลูกผัก
มะเขือมวงกานเขียว / มะเขือมวงกานดํา
คู่มือปลูกผัก
139
เซเลอรี
140
คู่มือปลูกผัก
ถั่วแขก / ถั่วเข็ม
คู่มือปลูกผัก
141
ถั่วแขก / ถั่วเข็ม
142
คู่มือปลูกผัก
ถั่วลันเตาหวาน
คู่มือปลูกผัก
143
ปวยเหล็ง
144
คู่มือปลูกผัก
กระเทียมตน
คู่มือปลูกผัก
145
กระเทียมตน
146
คู่มือปลูกผัก
ตนหอมญี่ปุ่น
คู่มือปลูกผัก
147
ขาวโพดหวานสองสี
148
คู่มือปลูกผัก
คณะผูจัดทำ� ที่ปรึกษา 1. ดร.นุชนารถ จงเลขา 2. ดร.อัญชัญ ชมภูพวง
ผู้อำ�นวยการศูนย์อารักขาพืช มูลนิธิโครงการหลวง ผู้ประสานงานพัฒนาและส่งเสริมผัก
ผู้จัดทำ� 1. นายอนันต์ ธรรมวงค์ 2. นายศีลวัต พัฒโนดม 3. นางสาวศิริลักษณ์ ศิริกุล 4. นายนาวิน สุขเลิศ 5. นางประไพพรรณ ขันแก้ว 6. นางสาววิลาวรรณ ขอมา 7. นางสาวนาถยา คิดคำ�ส่วน 8. นางสาวสุพรรณี ขอดเฝือ
นักวิชาการผัก นักวิชาการผัก นักวิชาการผัก นักวิชาการผัก นักวิชาการผัก นักวิชาการผัก นักวิชาการผัก นักวิชาการสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง
คู่มือปลูกผัก
149
เอกสารอางอิง ไฉน ยอดเพชร. 2542. พืชผักในตระกูลครูซิเฟอร์. สำ�นักพิมพ์รั้วเขียว. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพ. ฐานข้อมูลพืชผัก บทความเกษตร. 2557. “ซุกินี (Zucchini)” แหล่งที่มา: http://www.vegetweb.com/ -zucchini/. (20 กรกฎาคม 2557) นิพนธ์ ไชยมงคล. ไม่ระบุปี. “ซาโยเต้” แหล่งที่มา: http://www.agric-prod.mju.ac.th/vegetable/File_link/ chayote.pdf (11 กรกฎาคม 2557) ประชุม จุฑาวรรธนะ. 2557. งานวิจัยด้านพืช. “โรคที่สำ�คัญของข้าวโพดและการป้องกันกำ�จัด” แหล่งที่มา: http://www.rdi.ku.ac.th/kufair50/plant/56_plant/56_plant.html (15 กรกฎาคม 2557) มูลนิธิโครงการหลวง. 2546. คู่มือปลูกพืชผักบนที่สูง. 257 หน้า. มูลนิธิโครงการหลวง. 2555. คู่มือการจัดชั้นคุณภาพผักมูลนิธิโครงการหลวง. 194 หน้า. มหาวิทยาลัยแม่โจ้. 2557. ระบบข้อมูลพืชผัก. แหล่งที่มา: http://www.agric-prod.mju.ac.th/vegetable/ (15 กรกฎาคม 2557) นุชนารถ จงเลขา. ไม่ระบุปี. เอกสารการป้องกันกำ�จัดโรคและแมลงของพืชผักสำ�หรับเจ้าหน้าที่ส่งเสริมผัก. ศูนย์อารักขาพืช มูลนิธิโครงการหลวง. 47 หน้า. เยาวลักษณ์ ชัยพลเดช. 2557. “โรคที่สำ�คัญของข้าวโพด” แหล่งที่มา: http://www.tjc.th.com/index.php?option=com_content&view=article&id=78 (22 กรกฎาคม 2557) ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงทุ่งเริง. ไม่ระบุปี. “ฟักแม้ว ปลูกครั้งเดียวเก็บกินและขายได้ 3 ปีที่โครงการหลวงทุ่งเริง”. แหล่งที่มา: http:http://www.rd1677.com/branch.php?id=37796 (11 กรกฎาคม 2557) ศิริลักษณ์ ศิริกุล. 2549. ผลกระทบของสภาพแวดล้อมที่มีต่อการเจริญเติบโตและคุณภาพในข้าวโพดหวานลูกผสม. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เกษตรศาสตร์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Keith, S. M. and H. Meister. (2003). Iceberg Lettuce. University of California and the United States Department of Agriculture cooperating. Rubatzky, V.E. and M. Yamaguchi. (1997). World Vegetables: Principles, Production and Nutritive Values. International Thomson publishing, New York. Zvalo, V. and R. Respondek. (2008). Lettuce Vegetable Crops Production Guide for the Atlantic Provinces. Atlantic Provinces Agricultural Services Coordinating Committee. Etaferahu, T., J. Aguiar and and D. Walton. (1996). Loose Leaf Lettuce. University of California Cooperative Extension. Lance Hill. (2010). Free Guide for Growing Mirlitons. A Guide to Growing Mirlitons (Sechium edule) in Louisiana. แหล่งที่มา: http://www.mirlitons.org/growing-guide.html (11 กรกฎาคม 2557) Daniel Thompson. (2014). Zucchini Cultivation. แหล่งที่มา: http://homeguides.sfgate.com/zucchini cultivation-22532.html (10 กรกฎาคม 2557)
150
คู่มือปลูกผัก
Maricopa County Master Gardener Volunteer Information. (2003). Zucchini แหล่งที่มา: http:// ag.arizona.edu/maricopa/ garden/html/ pubs/0403/zucchini.html (10 กรกฎาคม 2557) Backyard-Vegetable-Gardening. (2014). Information About Fertilizing and Watering Pumpkins แหล่งที่มา: http://www.backyard-vegetable- gardening.com/watering-pumpkins.html (10 กรกฎาคม 2557) Gardening Australia magazine. (2007). Growing Pumpkins แหล่งที่มา: http://www.abc.net.au/ gardening/stories/s1975765.htm (10 กรกฎาคม 2557) Wikipedia, the free encyclopedia. (2014). Kabocha (Japanese Pumpkin). แหล่งที่มา: http://en.wikipedia.org/wiki/Kabocha (10 กรกฎาคม 2557) Wikipedia, the free encyclopedia. (2014). Broccoli. แหล่งที่มา: http://en.wikipedia.org/wiki/Broccoli (30 กรกฎาคม 2557) Palada, M.C. and L.C. Chang. (2003). Suggested Cultural Practices for Bitter Gourd. AVRDG pub: (PP.03-547). Webindia123. (2000). Gardening, Vegetable. Bitter Gourd. แหล่งที่มา: http://www.webindia123. com/garden/vegie/bittergourd.htm (10 กรกฎาคม 2557) Shika Agblor and Doug Waterer. (2001). Carrots - Post-Harvest Handling and Storage. แหล่งที่มา: http://www.agr.gc.ca/eng/about-us/offices-and-locations/canada-saskatchewan irrigation-diversification-centre/canada-saskatchewan-irrigation-diversification-centre publications/carrots-post-harvest-handling-and-storage/?id=1190145437949 (10 กรกฎาคม 2557)
คู่มือปลูกผัก
151
152
คู่มือปลูกผัก