ข่าวคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

Page 1

“...ทันข่าวทันเหตุการณ์ ข่าวสารคณะวิทย์ เผยแพร่ภารกิจสู่ชุมชน...” ฉบับที่ 1/54 ประจ�ำเดือนมกราคม – กุมภาพันธ์ 2554

www.sc.psu.ac.th

“นักวิชาการ เข้าพบ นายกรัฐมนตรี เรียกร้องผลักดัน

แผนยุทธศาสตร์จัดการแนวปะการังในประเทศ >> อ่านต่อหน้า 3” “การจัดท�ำ

ยุทธศาสตร์การจัดการพื้นที่ชายฝั่งทะเลอันดามัน เพื่อสนับสนุนการจัดการระบบนิเวศทางทะเลอ่าวเบงกอล” “ภาพกิจกรรมงานวันเด็กแห่งชาติ ที่คณะวิทยาศาสตร์ ม.อ.”

“ก�ำหนดงานพระราชทานเพลิงศพ

(กรณีพิเศษ) แก่ผู้อุทิศร่างกายเพื่อการศึกษา ปีการศึกษา 2553”

ติดต่อสอบถาม : หน่วยวิเทศสัมพันธ์และประชาสัมพันธ์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ : sci-pr@group.psu.ac.th โทรศัพท์ 0 7428 8008, 0 7428 8022 โทรสาร 0 7444 6657


ขอแสดงความยินดีกับคณาจารย์และนักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์ งานวันเชิดชูครูสงขลานครินทร์ ป ระจ�ำปี 2554 ด้วยมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้จัดงานวันเชิดชูครูสงขลานครินทร์ ในวัน ศุกร์ที่ 14 มกราคม 2554 ตั้งแต่เวลา 16.00 - 19.00 น. โดย รศ.ดร.บุญสม ศิริบ�ำรุงสุข อธิการบดี เป็นประธานพิธีเปิดงาน ณ ศูนย์ประชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี เพื่อยกย่องเชิดชูครูให้ตระหนักถึงความส�ำคัญและบทบาทของตนเอง ส�ำหรับคณาจารย์คณะวิทยาศาสตร์ที่ได้รับการเสนอชื่อเนื่องในงานวันเชิดชูครู สงขลานครินทร์ ประจ�ำปี 2554 ได้แก่ 1. อาจารย์ปัจจุบันที่ได้รับการเสนอชื่อโดยนักศึกษาในฐานะที่เป็นที่รัก ชื่นชม และศรัทธา คือ 1.1 ผศ.ดร.อ�ำนาจ เปาะทอง ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ 1.2 ผศ.วรรณา อินนาจิตร ภาควิชาเคมี 1.3 ดร.วรากร ลิ่มบุตร ภาควิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ 2. อาจารย์ปัจจุบันหรืออาจารย์ที่เกษียณอายุราชการ ที่ได้รับการเสนอชื่อโดย ศิษย์เก่าในฐานะที่เป็นที่รัก ชื่นชมและศรัทธา คือ รศ.นวลจิรา ภัทรรังรอง ภาควิชา จุลชีววิทยา 3. อาจารย์ทไี่ ด้รบั รางวัลในฐานะอาจารย์ตวั อย่าง ด้านการเรียนการสอนของคณะฯและมหาวิทยาลัย คือ รศ.ชนิตา พงษ์ลิมานนท์ ภาควิชาเคมี

นักกิจกรรมตัวอย่าง

ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประจ�ำปีการศึกษา 2553 ขอแสดงความยิ นดี กั บ นัก ศึ ก ษา คณะวิทยาศาสตร์ที่ได้รับการพิจารณา คั ด เลื อ กเป็ นนัก กิ จ กรรมตั ว อย่ า งของ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประจ�ำปี การศึ ก ษา 2553 นัก ศึ ก ษาได้ รั บ โล่ ห ์ เกียรติยศ พร้อมใบเกียรติบัตรในงานเวที คุณภาพกิจกรรมนักศึกษา ประจ�ำปีการ ศึกษา 2553 เมือ่ วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2554

www.sc.psu.ac.th 2

รายชื่อนักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์ที่ได้รับคัดเลือก เป็นนักกิจกรรมตัวอย่าง มีดังต่อไปนี้ 1. นักกิจกรรมตัวอย่างด้านวิชาการ 1.1 นางสาวพนิดา ฉายารจิตพงศ์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ 1.2 นายวัลลภ สังข์แก้ว ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ 1.3 นายนูรุดดีน มะนอ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ 1.4 นางสาวณัฐรุจา สุวรรณพรรค ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ 1.5 นายเกียรติศักดิ์ บรรเลงจิต ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ 1.6 นายเชษฐพงศ์ พุทธโร ภาควิชาเคมี 1.7 นายอธิป เงินหมื่น ภาควิชาชีววิทยา 2. นักกิจกรรมตัวอย่างด้านศิลปวัฒนธรรม 2.1 นางสาวฉัตรสุดา ชูคง ภาควิชาเคมี 2.2 นายนิวัติ เพ็งผอม ภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีวัสดุ 2.3 นายราชกุล วิริยพรหม ภาควิชาจุลชีววิทยา 3. นักกิจกรรมตัวอย่างด้านบริหาร 3.1 นายวทัญญู โสภณธรรมรักษ์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ 4. นักกิจกรรมตัวอย่างด้านกีฬา 4.1 นางสาวสุกัญญา จุลกมนตรี ภาควิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์


เรื่องจากปก

คณะวิทยาศาสตร์เดินหน้าโครงการ“การจัดทำ�ยุทธศาสตร์การจัดการพื้นที่

ชายฝั่งทะเลอันดามันเพื่อสนับสนุนการจัดการระบบนิเวศทางทะเล อ่าวเบงกอล” เพื่อวิเคราะห์สถานการณ์ด้านสิ่งแวดล้อมทางทะเล

อาจารย์ศักดิ์อนันต์ ปลาทอง โครงการ Bay of Bengal Large Marine Ecosystem (BOBLME) ได้ถูกจัดตั้งขึ้นเมื่อ เดือนเมษายน 2552 โดยมีประเทศที่เข้าร่วม เครือข่าย 8 ประเทศ ได้แก่ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ไทย เมียนมาร์ บังคลาเทศ อินเดีย ศรีลังกา และมั ล ดี ฟ ส์ โดยมี เ ป้ า หมายเพื่ อ ปรั บ ปรุ ง คุ ณ ภาพชี วิ ต ของชุ ม ชนชายฝั ่ ง ทะเลโดย กระบวนการจัดการระบบนิเวศร่วมกันทั้งด้าน ทรัพยากรธรรมชาติ และการใช้ประโยชน์ด้าน ทรัพยากรประมง ผลผลิตที่ส�ำคัญที่จะได้จาก โครงการนี้คือ แผนยุทธศาสตร์ร่วมกันของ ภูมิภาคที่จะจัดท�ำขึ้นมาเพื่อปกป้องคุณภาพ สิง่ แวดล้อมของระบบนิเวศและทรัพยากรสิง่ มี ชีวติ ของภูมภิ าคอย่างยัง่ ยืนบนพืน้ ฐานของการ สร้างความมั่นคงทางอาหารและคุณภาพชีวิต ของประชากรในชุมชนชายฝั่งทะเลในภูมิภาค นี้ จากการเก็ บ ข้ อ มู ล และการวิ เ คราะห์ สถานการณ์ ส ภาพแวดล้ อ มทางทะเลและ ชายฝั่งร่วมกันระหว่างประเทศในภูมิภาคอ่าว เบงกอล และจากการประชุมร่วมกันระหว่าง ผูแ้ ทนสมาชิกในภูมภิ าคในปี 2546 และ 2547 พบว่ า มี ป ั ญ หาร่ ว มกั น หลายประเด็ น ใน ประเทศต่างๆ ในภูมิภาคได้แก่ • ปัญหาการท�ำประมงเกินศักยภาพการ ผลิต • ความเสื่ อ มโทรมของป่ า ชายเลน แนวปะการัง และหญ้าทะเล • ปั ญ หามลภาวะจากแผ่ น ดิ น และ มลภาวะจากเรือ ในประเทศไทย หน่วยวิจัยปะการังและ สัตว์พื้นทะเล สถานวิจัยความเป็นเลิศความ หลากหลายทางชีวภาพแห่งคาบสมุทรไทย คณะวิ ท ยาศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลา

นครินทร์ ได้รับมอบหมายจากศูนย์วิจัยและ พัฒนาประมงทะเลฝั่งอันดามัน สถาบันวิจัย และพัฒนาเทคโนโลยีประมงทะเล กรมประมง ให้เป็นผูด้ ำ� เนินการเผยแพร่ขอ้ มูลการวิเคราะห์ ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมและการใช้ประโยชน์ ทรั พ ยากรทางทะเลข้ า มพรมแดน (Transboundary Diagnostic analysis: TDA) ของ ประเทศไทยใน “โครงการจัดการระบบนิเวศ ทางทะเล อ่าวเบงกอล (Bay of Bengal Large Marine Ecosystem Project: BOBLME) จึงได้ หารือกับหน่วยงานราชการ และได้จัดประชุม ระดับพื้นที่ใน 6 จังหวัดทะเลอันดามัน ในวันที่ 7-14 กุมภาพันธ์ 2554 เพื่อน�ำเสนอ ชี้แจงการ ด�ำเนินงานโครงการฯ และรวบรวมข้อมูลเพือ่ ใช้ ประกอบการจัดท�ำยุทธศาสตร์การจัดการพืน้ ที่ ชายฝัง่ ทะเลอันดามัน เพือ่ สนับสนุนการจัดการ ระบบนิเวศทางทะเล อ่าวเบงกอล ให้ผเู้ กีย่ วข้อง ในจังหวัดได้รบั ทราบ พร้อมร่วมรับฟังความคิด เห็น ประเด็นปัญหา และข้อเสนอแนะในการ ก� ำ หนดยุ ท ธศาสตร์ ก ารจั ด การพื้ น ที่ ช ายฝั ่ ง ทะเล จะเห็ น ได้ ว ่ า ผลการด� ำ เนิ น โครงการ วิเคราะห์ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมและการใช้ ประโยชน์ทรัพยากรทางทะเลข้ามพรมแดน (TDA) มี ก ารด� ำ เนิ น การมาเป็ น เวลานาน สถานการณ์ตา่ งๆ อาจจะมีการเปลีย่ นแปลงไป ดั ง นั้ น ก่ อ นที่ จ ะด� ำ เนิ น การในขั้ น ตอนการ วิเคราะห์แผนยุทธศาสตร์ จึงสมควรให้มีการ ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลให้มีความ เป็นปัจจุบันมากที่สุด ซึ่งแต่ละประเทศจะต้อง จัดท�ำแผนการปรับปรุงข้อมูลสถานการณ์ โดย มี ก� ำ หนดเวลาให้ แ ล้ ว เสร็ จ ภายในเดื อ น เมษายน 2554

และเมือ่ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2554 อาจารย์ ศักดิ์อนันต์ ปลาทอง อาจารย์ประจ�ำภาควิชา ชีววิทยา และหัวหน้าหน่วยวิจัยปะการังและ สัตว์พื้นทะเล คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์และกลุม่ นักวิชาการจากหลาย องค์ ก รอนุ รั ก ษ์ ท ะเลไทยได้ เ ข้ า พบนายก รัฐมนตรี เพื่อยื่นหนังสือให้รัฐบาลเร่งแก้ไข ปั ญ หาแนวปะการั ง ตายจ� ำ นวนมากจาก ปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว และมีข้อเสนอ คือ แผนฉุ กเฉิ นเพื่อ คุ้ม ครองและฟื้นฟูแนว ปะการังในเขตทะเลฝั่งอันดามันและอ่าวไทย ประกอบด้วย 1.ลดผลกระทบปะการัง เสียหายอันเกิด จากกิจกรรมท่องเที่ยวด�ำน�้ำ 2.ปราบปรามการท�ำประมงผิดกฎหมาย และท�ำลายทรัพยากรอย่างรุนแรง 3.ป้ อ งกั น น�้ ำ เสี ย จาก เรื อ และสถาน ประกอบการที่ปล่อยน�้ำเสียลงทะเล 4.ป้องกันตะกอนดินทีไ่ หลจากภูเขาลงมา ทับถมปะการังเสียหาย อาจารย์ศักดิ์อนันต์ ปลาทอง กล่าวว่า “ปัญหาปะการังฟอกขาวและเสียหายจะไม่ หนักเท่ากับปีที่แล้ว เนื่องจากปะการังที่ยังมี ชีวิตอยู่รอดนั้นสามารถทนต่อสภาพแวดล้อม ได้ ดี และอุ ณ หภู มิ น�้ ำ ทะเลก็ จ ะไม่ ร ้ อ นจั ด เหมื อ นปี ก ่ อ น ส่ ว นการแก้ ป ั ญ หาของกรม อุทยานแห่งชาติฯ นัน้ ถือว่าล่าช้ามาก และไม่มี เจ้าหน้าทีผ่ มู้ คี วามรูด้ า้ นวิทยาศาสตร์ทางทะเล จึงไม่ทราบว่าเกิดปัญหาปะการังฟอกขาว ขอ ให้ ฝ ึ ก อบรมหรื อ เปิ ด รั บ เจ้ า หน้ า ที่ ผู ้ มี ค วาม เชี่ยวชาญโดยตรงเข้ามาประจ�ำพื้นที่อย่างเร่ง ด่วน” (หนังสือพิมพ์ไทยโพสต์, 2 กุมภาพันธ์ 2554)

3 www.sc.psu.ac.th


อาจารย์คณะวิทยาศาสตร์ ม.อ.

พัฒนาชุดตรวจสอบไวรัสตัวแดงดวงขาว ในกุ้งแบบพกพาเพื่อเพิ่มความรวดเร็วการเฝ้าระวังความเสียหายของเกษตรกร

โรคจุดขาว หรือเรียกว่า โรคตัวแดง ดวงขาวในกุ้ง (ส�ำนักงานมาตรฐานสินค้า เกษตรและอาหารแห่งชาติ กระทรวงเกษตร และสหกรณ์ ) มีสาเหตุจากการติดเชือ้ ไวรัส (White spot syndrome virus, WSSV) โดย พบรอยโรค (lesion) เป็นจุดขาวหรือดวง ขาวใต้เปลือกส่วนหัวและโคนหาง บางครัง้ มีลักษณะตัวแดงร่วมด้วย และท�ำให้กุ้ง ตายได้เป็นโรคระบาดทีอ่ ยูใ่ นบัญชีโรคสัตว์ น�้ ำ ขององค์ ก ารโรคระบาดสั ต ว์ ร ะหว่ า ง ประเทศ และอยูใ่ นกฎกระทรวง พ.ศ. 2548 ภายใต้ พ ระราชบั ญ ญั ติ โ รคระบาดสั ต ว์ พ.ศ.2499 โรคนี้เกิดจากกุ้งติดเชื้อ WSSV ซึ่งมีสารพันธุกรรมเป็น DNA สายคู่ (dsDNA) ขนาด 305 kbp อยู่ในวงศ์ Nimaviridae สกุล Whispovirus ไวรัสมีรูปร่างเป็น แท่งจนถึงรูปไข่ ขนาด 80 - 120 x 250 - 380 นาโนเมตร มีผนังหุม้ (envelope) มีรายงาน การตรวจพบโรคนี้ในกุ้ง Penaeus monodon (กุ้งกุลาด�ำ), P. vannamei (กุ้งขาว), P japonicus, P. chinensis, P. indicus, P. merguiensis, P. setiferus และ P. stylirostris นอกจากนี้ยังพบได้ในปูหลายชนิด จากการทดลองพบว่าเชื้อ WSSV สามารถ ท�ำให้กุ้ง P. articus, P. duodarum และ P. setiferus ตายได้ การระบาดของโรคจุดขาว มีรายงานเป็นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2536 ใน ฟาร์มเพาะเลี้ยงกุ้ง P. japonicus แห่งหนึ่ง ที่ประเทศญี่ปุ่น หลังจากนั้นโรคได้แพร่ ระบาดไปยังประเทศต่างๆ ในทวีปเอเชีย ได้แก่ จีน เกาหลีใต้ อินเดีย ฟิลิปปินส์ เป็นต้น รวมทัง้ ประเทศในทวีปอเมริกา โดย เรี ย กชื่ อ ไวรั ส นี้ แ ตกต่ า งกั น ไป ส� ำ หรั บ ประเทศไทยมีรายงานการพบโรคจุดขาว

www.sc.psu.ac.th 4

ครั้งแรก เมื่อปี พ.ศ. 2537 ที่ จ. ตรัง และ เรียกไวรัสนีว้ า่ systemic ectodermal and mesodermal baculovirus (SEMBV) เมื่อกุ้งติดเชื้อ WSSV เชื้อจะท�ำลาย เนื้อเยื่อที่มีต้นก�ำเนิดจากเอ็กโทเดิร์มและ เมโซเดิร์ม เช่น เยื่อบุผิวชั้นใต้เปลือก (cuticular epithelium) เยื่อบุทางเดินอาหาร เหงือก หัวใจ เนื้อเยื่อประสาท กล้ามเนื้อ และอวัยวะสร้างเม็ดเลือด ท�ำให้นิวเคลียส ใหญ่ (hypertrophied nuclei) จนเต็มหรือ เกือบเต็มเซลล์ ที่เรียกว่า Cowdry type A inclusion กุ ้ ง สามารถติ ด โรคจุ ด ขาวได้ โดยตรงจากกุ้งแม่พันธ์ุโดยถ่ายทอดเชื้อ ผ่านทางไข่ นอกจากนีก้ งุ้ ยังสามารถติดเชือ้ WSSV ทีแ่ พร่มากับน�้ำในบ่อเลีย้ ง หรือกุง้ ที่ แข็ ง แรงกิ น กุ ้ ง ที่ ติ ด เชื้ อ (cannibalism) เข้าไป โรคนีต้ ดิ ต่อทางอ้อมได้โดยผ่านสัตว์ พวกกุ้ง กั้ง ปู (crustacean) มากกว่า 40 ชนิด แม้ว่าขณะนี้ยังไม่มีรายงานที่แสดง กลไกการแพร่เชือ้ ทีช่ ดั เจน แต่พบว่ากุง้ ปกติ สามารถติดเชื้อจากกุ้งป่วยที่อยู่ร่วมกันได้ ภายใน 36 - 48 ชั่วโมง และจากสื่อน�ำโรค เชิงกล (mechanical vector) ที่น�ำเชื้อได้ พบในกุ้งติดเชื้อ WSSV จะแตกต่างกันไป ขึน้ กับอายุกงุ้ และการจัดการฟาร์ม อย่างไร ก็ดคี วามรุนแรงของการระบาดจะขึน้ อยูก่ บั ปัจจัยทีก่ ระตุน้ ให้เกิดความเครียดอืน่ ๆ ด้วย เช่น คุณภาพน�ำ้ ไม่เหมาะสม กุง้ ป่วยจะว่าย ใกล้ ผิ ว น�้ ำ หรื อ เกาะที่ ข อบบ่ อ หากเปิ ด เปลือกส่วนหัวออกดูจะสังเกตเห็นจุดขาว ได้ง่าย หลังจากเริ่มแสดงอาการแล้วกุ้งจะ ตายอย่างรวดเร็วภายในไม่กี่วัน อย่างไร ก็ตาม จุดขาวที่เปลือกอาจเกิดจากสาเหตุ อื่นได้ เช่น น�้ำในบ่อมีความเป็นด่างสูง เชื้อ แ บ ค ที เ รี ย แ ล ะ ส ภ า พ แ ว ด ล ้ อ ม ที่ เปลี่ยนแปลงไปอาการป่วยมักพบในกุ้ง ระยะวัยรุ่นที่ติดเชื้อ ซึ่งมีได้ 3 แบบ คือ - แบบเฉียบพลัน กุ้งที่ติดเชื้อจะ ป่วยและตายอย่างรวดเร็วภายใน 1 - 5 วัน หลังจากเริ่มแสดงอาการ อัตราการตาย สะสมระหว่าง 80 - 100% มีรอยโรคจุดขาว

ดร.สุชีรา ลอยประเสริฐ

หรือดวงขาว ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 0.5 - 2 มิลลิเมตร ที่ในเปลือก กุ้งอาจมีสีชมพูถึง แดง ไม่กินอาหาร ว่ายน�้ำเชื่องช้า มักอยู่ ใกล้ผิวน�้ำหรือเกาะที่ขอบบ่อ - แบบกึ่งเฉียบพลัน กุ้งที่ติดเชื้อจะ ทยอยป่วยและตายไปเรื่อยๆ มีระยะเวลา ไม่แน่นอน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับคุณภาพน�้ำและ การจัดการฟาร์ม กุง้ อาจมีหรือไม่มรี อยโรค เป็นจุดขาว กินอาหารลดลง เคลื่อนไหว เชื่องช้า มีอัตราการตายสะสม 30 - 80% ตลอดระยะเวลาที่เลี้ยง - แบบเรื้อรัง กุ้งที่ติดเชื้ออาจมีหรือ ไม่มีรอยโรคเป็นจุดขาว และไม่ตาย ดร.สุ ชี ร า ลอยประเสริ ฐ อาจารย์ ประจ�ำหลักสูตรเทคโนโลยีชีวภาพโมเลกุล และชีวสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์ ได้ พั ฒ นาชุ ด ตรวจวั ด และติ ด ตามการแพร่ กระจายของไวรัสตัวแดงดวงขาวในกุง้ เพือ่ เฝ้าระวังอัตราการตายของกุ้ง ด้วยไวรัสดัง กล่าวจะส่งผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจ เป็นอย่างมากหากเกิดการติดเชือ้ ด้วยระยะ เวลาในการแพร่กระจายของไวรัสเกิดขึ้น เร็ ว หากกุ ้ ง มี ก ารติ ด ไวรั ส สามารถแพร่ กระจายไวรัสและท�ำให้กุ้งตายทั้งบ่อได้ ภายใน 3-5 วัน ปัจจุบัน ดร.สุชีรา และคณะท�ำงาน ก�ำลังพัฒนาชุดตรวจสอบไวรัสอย่างง่าย แบบพกพาเพือ่ มาตรวจจับไวรัสตัวแดงดวง ขาวในกุง้ โดยใช้วสั ดุชวี ภาพ คือ Antibody ที่พัฒนามาจากโปรตีนของไวรัสที่มีชื่อว่า VP 26 “โปรตีนของไวรัสตัวแดงดวงขาวใน กุ้ง ที่มีชื่อว่า VP 26 ซึ่ง Antibody ตัวนี้มี ความส�ำคัญมากเนื่องจากจะอยู่ในสาย พันธ์ุของไวรัส โดยจะสามารถวิเคราะห์ได้ จากการวิ เ คราะห์ เ ชิ ง ไฟฟ้ า เคมี (การ วิ เ คราะห์ ท างเคมี จ ากการวั ด ความ เปลี่ยนแปลงจากสัญญาณไฟฟ้า) และ ก�ำลังพัฒนาชุดทดสอบอย่างง่ายเพือ่ ให้ใน ชาวเกษตรกรสามารถตรวจสอบภาวะการ ติดเชื้อได้โดยตนเองในอนาคต”


ร ต ู ส ก ั ล ห ำ � น ะ น แ เรียนต่อ โท,เอก ที่คณะวิทยาศาสตร์ ม.อ. เปิดรับสมัครรอบ 2 ปีการศึกษา 2554 วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเคมี-ชีววิทยา ชื่อหลักสูตร : หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเคมี-ชีววิทยา, วท.บ. (เคมี-ชีววิทยา) Bachelor of Science Program in Chemistry-Biology, B.Sc. (ChemistryBiology) โครงสร้างหลักสูตร จ�ำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร

150 หน่วยกิต

ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต 1) กลุ่มวิชาภาษา 12 หน่วยกิต 2) กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ 10 หน่วยกิต 3) กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ 8 หน่วยกิต ข. หมวดวิชาเฉพาะ 1) กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน 2) กลุ่มวิชาบังคับ 3) กลุ่มวิชาเลือก ค. หมวดวิชาเลือกเสรี

114 หน่วยกิต 15 หน่วยกิต 62 หน่วยกิต 37 หน่วยกิต 6 หน่วยกิต

โอกาสการท�ำงาน นักศึกษาที่ส�ำเร็จการศึกษา จะได้รับวุฒิปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต (เคมี-ชีววิทยา) สามารถประกอบอาชีพตามสาขาทีเ่ รียนได้ทงั้ ในภาคเอกชน และภาคราชการ เช่น ครู อาจารย์ นักวิทยาศาสตร์ นักวิจยั ในหน่วยงานของ ราชการและโรงงานอุตสาหกรรมต่าง ๆ เป็นต้น นอกจากนี้ยังสามารถไป ศึกษาต่อในระดับปริญญาโท-เอกในสาขาวิชาเคมีและสาขาวิชาชีววิทยาต่อ ไปได้ โอกาสทางการศึกษา 1. เพื่อผลิตบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่มีความรู้ ด้านวิทยาศาสตร์ 2 สาขา ได้แก่ สาขาวิชาเคมี-ชีววิทยา เพือ่ ตอบสนองความต้องการบุคลากรในสาขา นี้ให้สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศ 2. เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคุณธรรม จริยธรรม เจตคติที่ดีต่อวิชาชีพ มีความรับ ผิดชอบต่อตนเอง สังคม สิ่งแวดล้อม มีความเป็นผู้น�ำในการจัดการและ ประกอบวิชาชีพ รวมทั้งสามารถสร้างสรรค์งานขึ้นเองได้ 3.เพือ่ ผลิตบัณฑิตทีม่ ที กั ษะทางวิทยาศาสตร์มคี วามสามารถในการวิเคราะ ห์ข้อมูลและแก้ไขปัญหาโดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ได้ 4. เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้พื้นฐานทางด้านวิทยาศาสตร์ ระดับปริญญา ตรี เพียงพอที่จะสามารถศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น

สถานที่ติดต่อ ส�ำนักงานภาควิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ตู้ ปณ.3 ปณ.ฝ.คอหงส์ 90112 โทรศัพท์ 0 7428 8561 โทรสาร 0 7444 6681 E-mail : yunyoun.n@psu.ac.th. https://sites.google.com/site/appscipsu/

คณะวิ ท ยาศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานครินทร์ เปิดสอนหลักสูตรและ สาขาวิชาที่หลากหลาย ทั้งทางกายภาพ และชีวภาพ โดยจัดการเรียนการสอนภาค ทฤษฎี ใ ห้ ผู ้ เ รี ย นมี ค วามรู ้ ใ นระดั บ ที่ ไ ด้ ม า ต ร ฐ า น ค ว บ คู ่ ไ ป กั บ ก า ร ส ร ้ า ง ประสบการณ์จริงจากภาคปฏิบัติทั้งใน ห้องปฏิบัติการ ภายในคณะวิทยาศาสตร์ มีอาคาร ห้องเรียน เครื่องมือ อุปกรณ์ใน การท�ำวิจัย และสื่อการเรียนการสอนที่ ทันสมัย มีสถานวิจยั ทีไ่ ด้รบั การสนับสนุน จากมหาวิทยาลัย ได้แก่ สถานวิจยั ความ เป็นเลิศความหลากหลายทางชีวภาพแห่ง คาบสมุ ท รไทย และสถานวิ จั ย จี โ นม และชีวสารสนเทศ นอกจากนีย้ งั มีสถานวิจยั วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เ มมเบรน สถานวิ จั ย ผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ สถานวิจัยวิเคราะห์ สารปริมาณน้อยและไบโอเซนเซอร์ หน่วย วิจัยพลาสติกชีวภาพ และหน่วยวิจัยวัสดุ และศูนย์เครือข่ายความเป็นเลิศด้านนาโน เทคโนโลยีภาคใต้ภายใต้โครงการจัดตั้ง อุทยานวิทยาศาสตร์ภาคใต้ มีคณาจารย์ และบุ ค ลากรที่ มี ค วามรู ้ ค วามสามารถ ตลอดจนประสบการณ์ในการถ่ายทอด ความรูแ้ ละการท�ำวิจยั ให้กบั นักศึกษา รวม ทั้ ง มี ผ ลงานทางวิ ช าการและมี ทุ น วิ จั ย มากมาย ได้ผลิตมหาบัณฑิตและดุษฎี บัณฑิต ออกไปแล้วเป็นที่ต้องการของ ตลาดแรงงานทั้งภาครัฐและเอกชน เช่น อาจารย์ นักวิจัย เจ้าหน้าภาครัฐและ เอกชน เป็นต้น ปัจจุบันมีการเปิดสอนหลักสูตรระดับ ปริญญาโท 18 สาขาวิชา และหลักสูตร ระดับปริญญาเอก 10 สาขาวิชา ใน จ�ำนวนนี้ เป็นหลักสูตรนานาชาติ 1 สาขา วิชา ในปีการศึกษา 2554 ได้เปิดรับสมัคร นักศึกษาเข้าศึกษาระดับปริญญาโทและ ปริญญาเอก

ปริญญาโท • กายวิภาคศาสตร์ • คณิตศาสตร์และสถิติ • เคมี • เคมีอินทรีย์ • เคมีศึกษา • จุลชีววิทยา • ชีวเคมี • ชีววิทยาโมเลกุลและชีวสารสนเทศ • พฤกษศาสตร์ • สัตววิทยา • นิเวศวิทยา (นานาชาติ) • เภสัชวิทยา • สรีรวิทยา • ฟิสิกส์ • ธรณีฟิสิกส์ • วิทยาการคอมพิวเตอร์ • วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีพอลิเมอร์ • นิติวิทยาศาสตร์

ปริญญาเอก • เคมี • เคมีอินทรีย์ • ชีวเคมี • ชีววิทยา • ชีววิทยาโมเลกุลและชีวสารสนเทศ • จุลชีววิทยา • ฟิสิกส์ • ธรณีฟิสิกส์ • สรีรวิทยา • วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีพอลิเมอร์

ก�ำหนดการคัดเลือก 3-31 มีนาคม 2554 รับสมัครทางอินเตอร์เน็ต http://www.grad.psu.ac.th/admission/ 4 พฤษภาคม 2554 ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบคัดเลือก นักศึกษาที่มีผลการการศึกษาระดับเกียรตินิยม สมัครสอบฟรี !! รายละเอียดเพิ่มเติมโทร. 0 7428 8094 E-mail: sci-grad@group.psu.ac.th

หรือทาง http://www.sc.psu.ac.th/units/graduate/grad/

5 www.sc.psu.ac.th


คุยกับคนเก่ง ขอแสดงความยินดีกับ นายจิรายุทธ์ ศรีสกุลกานต์ นักศึกษาปริญญาตรีชั้นปีที่ 4 ภาค วิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ และเป็นนักเรียนในทุนโครงการพัฒนาและส่งเสริมผู้มีความ สามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (โครงการ พสวท.)ที่ได้รับพระมหากรุณาธิคุณ จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ที่ทรงคัดเลือกให้เป็นตัวแทน 1 ใน 2 คนของประเทศไทย เข้าร่วมกิจกรรมวิจัย ณ ห้องปฏิบัติการวิจัยสถาบันเดซี เมืองแฮมบวร์ กสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี เป็นเวลา 8 สัปดาห์ ในระหว่างวันที่ 19 ก.ค. – 8 ก.ย. 2554 ส� ำ นั ก งานพั ฒ นาวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ร่วมกับสถาบันวิจัย แสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) จัดโครงการ นักศึกษาภาคฤดูร้อนเดซี ประจ�ำปี 2554 โดย ด�ำเนินการคัดเลือกนิสิต/นักศึกษาที่ก�ำลังศึกษา อยู่ชั้นปีที่ 4 หรือระดับปริญญาโท ปีที่ 1 – 2 ใน สาขาวิ ท ยาศาสตร์ ธ รรมชาติ ที่ มี ศั ก ยภาพและ คุณสมบัติเหมาะสมในขั้นต้น ประจ� ำปี 2554 จ�ำนวน 4 คน และได้นำ� ความขึ้นกราบบังคมทูล สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพื่อทรงคัดเลือกในขั้นตอนสุดท้าย จ�ำนวน 2 คน

ต่างประเทศ

www.sc.psu.ac.th 6

นายจิรายุทธ์ กล่าวว่า “รู้สึกยินดีเป็นอย่างยิ่งที่ได้รับพระมหากรุณาธิคุณ

จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ที่ได้ทรงคัดเลือกตนเองเป็นตัวแทน ประเทศไทยเข้าร่วมกิจกรรม ด้วยก่อนหน้านี้ขณะที่เรียนในชั้นปีที่ 3 ได้มี โอกาสไปฝึกงานที่สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอนและได้เข้าร่วมฝึกอบรมเป็น ระยะเวลาหนึง่ ท�ำให้ทราบและสนใจในกิจกรรมดังกล่าว จึงได้สมัครเข้าร่วม เมื่อมีคุณสมบัติครบถ้วน ” ซึ่งนายจิรายุทธ์จะต้องเข้ารับการฝึกอบรมที่ สถาบันวิจยั แสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) ในเดือน พฤษภาคม 2554 เป็นระยะเวลา 1 เดือน เพือ่ เตรียมความพร้อมในการเข้าร่วมกิจกรรมวิจยั ณ ห้องปฏิบัติการวิจัยสถาบันเดซี เมืองแฮมบวร์ก สหพันธ์สาธารณรัฐ เยอรมนี

เมื่อวันที่ 18 ม.ค. 2554 คณะวิทยาศาสตร์ได้ลงนาม ข้อตกลงความร่วมมือในการพัฒนาความร่วมมือด้าน วิชาการ การผลิตและพัฒนาบุคลากร และผลงาน ทางด้านวิทยาศาสตร์กับ Harrison Institute สหราชอาณาจักร โดยมี Dr. Paul Bates ผู้อ�ำนวยการ Harrison Institute และ รศ. ดร.จุฑามาส ศตสุข คณบดีคณะ วิทยาศาสตร์ เป็นผู้ลงนามทั้ง 2 ฝ่าย ณ ห้องประชุม พิพธิ ภัณฑสถานธรรมชาติวทิ ยา ๕๐ พรรษา สยามบรมราชกุมารี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

เมื่ อ วั น ที่ 20 ม.ค . 2554 คณาจารย์ แ ละ นั ก ศึ ก ษ า จ า ก Kunming Medical University สาธารณรัฐประชาชนจีน จ�ำนวน 16 คน เข้าศึกษาแลกเปลี่ยนความรู้ทางวิชาการ กั บ คณะวิ ท ยาศาสตร์ ที่ ภ าควิ ช า กายวิภาคศาสตร์ เภสัชวิทยา หน่วยวิจยั ผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ นอกจากนี้ นักศึกษา 2 คน มีความสนใจเข้าศึกษาดูงานเพิ่ม เติมด้าน พิษวิทยา ของภาควิชาเภสัชวิทยา, หลักสูตร นิติวิทยาศาสตร์, หลักสูตรชีววิทยาโมเลกุลและชีวสารสนเทศ เมื่อวันที่ 26 ม.ค. 2554 เมื่อวันที่ 25 ม.ค. 2554 คณะผู้บริหารจาก University of Novi Sad (UNS), สาธารณรัฐเซอร์เบีย จ�ำนวน 7 คน น�ำโดยรองอธิการบดี ฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ และคณบดีคณะวิทยาศาสตร์ มาเยือนและหารือ วางแผนกิจกรรมทางวิชาการด้านการแลกเปลี่ยนนักศึกษา บุคลากร และ การพัฒนาความร่วมมือระหว่างกัน ร่วมกับภาควิชาฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีวัสดุ และวิทยาการ คอมพิวเตอร์ พร้อมจัดการลงนามความร่วมมือทางวิชาการเพือ่ ขยาย กิจกรรมของคณะวิทยาศาสตร์ ของทั้งสองสถาบัน


งานวันเด็กแห่งชาติ ประจ�ำปี 2554 ที่คณะวิทยาศาสตร์ ม.อ

งานวันเปิดกระปุกออมสินเพื่อน้อง ครั้งที่ 7 คณะวิ ท ยาศาสตร์ ร ่ ว มกั บ สมาคมนั ก ศึ ก ษาเก่ า คณะวิ ท ยาศาสตร์ได้ จัดงานวันเปิดกระปุกออมสิน ครัง้ ที่ 7 เมือ่ วันที่ 23 ม.ค. 2554 ณ ห้อง L 1 ศูนย์ปาฐกถา ประดิษฐ เชยจิตร ลานตึกฟักทอง และลานจอดรถศูนย์คอมพิวเตอร์ โดยในงาน ได้รับเกียรติจากรศ.ดร.จุฑามาส ศตสุข คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ เป็นผู้รับมอบ กระปุกออมสิน ครั้งที่ 7 จากสมาชิกกระปุกออมสิน ศิษย์เก่า และผู้มีจิตอันเป็น กุศล ซึ่งในปีนี้มีสมาชิกเข้าร่วมงานประมาณ 70 คน และยอดบริจาครวมทั้งสิ้น 170,966.50 บาท เพื่อน�ำเข้ากองทุนคณะวิทยาศาสตร์และจัดสรรเป็นทุนการ ศึกษาให้กับนักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์ต่อไป นอกจากพิธีมอบกระปุกออมสิน แล้ว ยังมีการบรรยายพิเศษ โดยวิทยากร คุณแทนคุณ จิตต์อิสระ ในหัวข้อเรื่อง มหัศจรรย์แห่งการให้ ซึง่ ได้รบั ความสนใจจากนักศึกษาและผูร้ ว่ มงานกว่า 300 คน

7 www.sc.psu.ac.th


ก�ำหนดงานพระราชทานเพลิงศพ (กรณีพิเศษ) แก่ผู้อุทิศร่างกายเพื่อการศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๕๓ ภาควิชากายวิภาคศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ขอเชิญทุกท่านร่วมเป็นเกียรติใน “พิธีพระราชทานเพลิงศพ (เป็นกรณีพิเศษ) แก่ผู้อุทิศร่างกายเพื่อการศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๕๓” ในวันเสาร์ที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๕๔ เวลา ๙.๐๐ น. พิธีสวดพระพุทธมนต์ธรรมนิยามสูตร ณ ตึกปฏิบัติการ NML ชั้น ๒ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เวลา ๑๓.๐๐ - ๑๕.๓๐ น. พิธีพระราชทานเพลิงศพ ณ วัดโคกนาว อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

ผู้ประสงค์จะบริจาคร่างกายติดต่อขอรับแบบพินัยกรรมบริจาคร่างกาย ได้ที่ ภาควิชากายวิภาคศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา โทร. 0-7428-8151, 0-7428-8130

ตู้ ปณ.3 คอหงส์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 90112 โทรศัพท์ 0-7428-8022, 0-7428-8008

ช�ำระค่าฝากส่งเป็นรายเดือน ใบอนุญาตเลขที่ 9/2524 ปท.ฝ. คอหงส์

(นายไพบูลย์ เตียวจ�ำเริญ) หัวหน้าหน่วยสารบรรณ

Design by blueimage 0-7446-4401

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.