จดหมายข่าวคณะวิทยาศาสตร์ มอ. เดือนกันยายน - ตุลาคม

Page 1

“...ทันข่าวทันเหตุการณ์ ข่าวสารคณะวิทย์ เผยแพร่ภารกิจสู่ชุมชน...”

ฉบับที่ 5 ประจ�ำเดือนกันยายน – ตุลาคม 2554

www.sc.psu.ac.th

ทีมนักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ ม.อ.พัฒนา “พลังงานจิ๋วทางเลือกใหม่” เป็นรูปธรรม “ลูกไฟพญานาค อธิบายได้ด้วยวิทยาศาสตร์”

ขอแสดงความยินดีกับบัณฑิต

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปีการศึกษา 2553 ติดต่อสอบถาม : หน่วยวิเทศสัมพันธ์และประชาสัมพันธ์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ : sci-pr@group.psu.ac.th โทรศัพท์ 0 7428 8008, 0 7428 8022 โทรสาร 0 7444 6657 เพิม่ ช่องทางประชาสัมพันธ์ผา่ นทาง Fanpage Facebook คณะวิทยาศาสตร์ ม.อ.หาดใหญ่ โดยค้นหาคำ�ว่า “คณะวิทยาศาสตร์ ม.อ.หาดใหญ่” แล้วกด Like เพียงแค่นี้ทุกท่านก็สามารถรับข่าวสารของคณะวิทยาศาสตร์ผ่านทาง Facebook ได้แล้ว


รศ.ดร.นันทกาญจน์ มุรศิต

ทีมนักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ ม.อ.พัฒนา

“พลังงานจิ๋วทางเลือกใหม่” เป็นรูปธรรม

จากการทีส่ ถานการณ์ทวั่ โลกมีความต้องการใช้พลังงานมากขึน้ เรือ่ ยๆ และแหล่งพลังงานส่วนใหญ่มาจากน�ำ้ มันปิโตรเลียม แก๊สธรรมชาติและถ่านหิน ซึง่ ย่อมมีวนั ทีจ่ ะหมดไป จึงมีความจ�ำเป็นอย่างยิง่ ทีเ่ ราจะต้องเสาะหาพลังงาน หมุนเวียนรูปแบบใหม่ๆ มาใช้ให้ทนั กับความต้องการ อันเป็นทีม่ าของ พลังงาน จิ๋ว-พลังงานทดแทนรูปแบบหนึง่ ซึ่งค่อนข้างใหม่เมื่อเปรียบเทียบกับพลังงาน ทดแทนรูปแบบอื่นๆที่คุ้นเคยกันมานานไม่ว่าจะเป็นพลังงานลม พลังงาน แสงแดด พลังงานชีวมวล เป็นต้น กว่า 100 ปีที่นักวิทยาศาสตร์ค้นพบว่า ผลึกควอทซ์ เป็นวัสดุใน ธรรมชาติที่มีสมบัติไพอิโซอิเล็กทริก (Piezoelectric) และต่อมาก็ค้นพบเซรามิก และพอลิเมอร์สังเคราะห์บางชนิดที่เป็นไพอิโซอิเล็กทริกเช่นกัน สมบัติดังกล่าว คือความสามารถเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานกลหรือในทางกลับกัน เปลี่ยนพลังงานกลเป็นพลังงานไฟฟ้าได้ วัสดุไพอิโซอิเล็กทริกชนิดต่างๆถูกน�ำ มาใช้เป็นส่วนประกอบในอุปกรณ์หลากหลาย เช่น ล�ำโพงบางชนิด ไมโครโฟน ไร้สาย หัวจุดเตาแก๊สอัตโนมัติ ตัวส่งและรับคลื่นส�ำหรับวัดความลึกในทะเลที่ เรียกว่าโซนาร์ หรือหาต�ำแหน่งของฝูงปลาที่เรียกว่าไฮโดรโฟน ทางด้านเครื่อง มือแพทย์ใช้เป็นตัวตรวจคลื่นหัวใจ ตัวผลิตอัลตราซาวด์ตรวจดูทารกในครรภ์ ตัววัดความดันในลูกนัยน์ตา ฯลฯ อย่างไรก็ตามการใช้ประโยชน์ดงั กล่าวส่วนใหญ่เราจ�ำเป็นต้องป้อนแรง ดันไฟฟ้าให้อปุ กรณ์จงึ จะใช้งานได้ แนวคิดของการพัฒนาวัสดุไพอิโซอิเล็กทริก ให้ท�ำหน้าที่ป้อนพลังงานจิ๋วให้กับอุปกรณ์เสียเองโดยไม่ต้องพึ่งพาพลังงาน ไฟฟ้าจากแหล่งภายนอกจึงเริม่ ขึน้ อย่างจริงจังเมือ่ ประมาณสิบปีทผี่ า่ นมานีเ้ อง ตัวอย่างที่แสดงถึงแนวคิดดังกล่าวคือการรองแผ่นไพอิโซอิเล็กทริกไว้ใต้พรม หน้าประตูบ้าน เมื่อมีผู้มาเยือน(ที่ไม่ได้รับเชิญ!) ก้าวไปบนแผ่นนีจ้ ะท�ำให้เกิด “แรงกด” และผลิตกระแสไฟฟ้าป้อนวงจรอิเล็กทรอนิกส์ส่งเสียงเตือนเจ้าของ บ้าน นวัตกรรมนีต้ พี มิ พ์ในบทความ Review of some lesser-known applications of piezoelectric and pyroelectric polymers (Lang and Muensit, Applied Physics A, 2006) ซึ่งมี รศ.ดร.นันทกาญจน์ มุรศิต แห่งภาควิชาฟิสิกส์ คณะ วิทยาศาสตร์ เป็นผู้เขียนร่วม และท�ำให้มีแรงบันดาลใจค้นคว้าวิจัยทางด้าน การเก็บเกี่ยวพลังงาน (energy harvesting) มาเป็น พลังงานจิ๋ว ในเวลาต่อมา อย่างต่อเนื่องจนกระทั่งผลิตผลงานชื่อ Energy harvesting with piezoelectric

www.sc.psu.ac.th 2

and pyroelectric materials ในฐานะบรรณาธิการหนังสือและผู้เขียนบทที่ 1 (Energy harvesting materials) ร่วมกับผูท้ รงคุณวุฒชิ าวไทยและชาวต่างประเทศ ซึง่ ให้เกียรติเป็นผูเ้ ขียนบทที่ 2-9 ทัง้ นีห้ นังสือได้รบั การตีพมิ พ์เผยแพร่ในประเทศ ต่างๆ เมื่อต้นปี 2554 ที่ผ่านมาโดยส�ำนักพิมพ์ Trans Tech Publications Ltd., Switzerland, UK, USA (ISSN 1422-3597 Mat. Sci. Found. 72, 2011) เร็วๆนี้ รศ.ดร.นันทกาญจน์ มุรศิต และทีมงานในภาควิชาฟิสิกส์อัน ประกอบด้วย ดร.ชัชชัย พุทซ้อน นักศึกษาบัณฑิตศึกษาชือ่ นายภาณุ ไทยนิรมิต นายพิศาล สุขวิสูตร และนายกิตติรัตน์ ภู่พลับ ตลอดจนคุณจ�ำรัส ณ สุวรรณ และคุณเจริญ อัมโร ได้ช่วยกันพัฒนาพลังงานจิ๋ว ให้เป็นรูปธรรมเข้ าถึง ประชาชนทั่วไป นัน่ คือน�ำจักรยานออกก�ำลังกายชนิดปั่นกับที่มาติดตั้งเม็ด เซรามิกไพอิโซอิเล็กทริกที่บังโกลนรถ พลังงานกลที่เกิดขึ้นในขณะปั่นจักรยาน ด้วยความเร็วสบายๆจะท�ำให้เซรามิกสัน่ และเกิดแรงดันระดับ 3-8 โวลต์ตกคร่อม วงจรของอุปกรณ์พกพาขนาดเล็ก เช่น เครือ่ งคิดเลข หรือว่ากดรีโมทปิดเปิดเพือ่ ดูขา่ วโทรทัศน์โดยไม่ตอ้ งใส่แบตเตอรีข่ นาด 2A หรือ 3A หลักการเดียวกันนีข้ อง “จักรยานพลังงานจิ๋ว” สามารถน�ำไปใช้กับอุปกรณ์พกพาชนิดอื่นๆ ได้อีกเช่น ใช้ชาร์จแบตเตอรีโ่ ทรศัพท์มือถือ เครื่องเล่น MP3 เครื่องช่วยฟังของผู้พิการทาง หู โดยปราศจากข้อจ�ำกัดเรือ่ งพลังงานไฟฟ้าแม้อยูใ่ นทีท่ ไี่ ม่มไี ฟบ้าน หรืออยูใ่ น สถานการณ์น�้ำท่วม! จะเห็นได้ชัดด้วยว่า พลังงานจิ๋ว ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะดัง เช่นการเผาไหม้เชื้อเพลิงทั่วไป ดังนั้นการร่วมพลังกันใช้ พลังงานจิ๋ว เป็น พลังงานทดแทนอีกรูปแบบหนึง่ ในชุมชน ย่อมน�ำไปสู่ชมุ ชนสีเขียว (Green City) ที่เราต้องการนัน่ เอง และในไม่ชา้ นี้ รศ.ดร.นันทกาญจน์ มุรศิต จะมีงานเขียนเป็นภาษาไทย ในรูปแบบของหนังสือขนาดกะทัดรัดอ่าน ง่ า ยเหมาะส� ำ หรั บ นิ สิ ต นักศึกษา นักวิชาการ นักการพลังงานและ ประชาชนทั่วไปที่ใคร่รู้เท่า ทั น เทคโนโลยี ท างด้ า นการเก็ บ เกี่ ย ว พลังงานจิ๋ว โดยส่วน หนึ่ ง ของเนื้ อ หาน� ำ มาจากผลงาน วิ จั ย ต ล อ ด จ น ประสบการณ์ตรงทั้งของตนเองและ นั ก ศึ ก ษ า บั ณฑิ ต ศึกษารุ่นต่างๆ


ลูกไฟพญานาค

อธิบายได้ด้วยวิทยาศาสตร์ นายบุญสิทธิ์ วัฒนไทย ปรากฏการณ์ ทั้ ง การมองเห็ น พญานาคและบั้ ง ไฟ พญานาค หรือ บั้งไฟผี เป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติที่ยังไม่ สามารถหาค�ำอธิบายที่ชัดเจนได้ โดยมีลักษณะเป็นลูกไฟ สีชมพู ไม่มีกลิ่น ไม่มีควัน ไม่มีเสียง พุ่งขึ้นเหนือล�ำน�้ำโขง มี ตั้งแต่ระดับ 1-30 เมตร แล้วพุ่งขึ้นไปในอากาศสูงประมาณ 50-150 เมตร เป็นเวลาประมาณ 5-10 วินาที โดยจะเกิดปีละ 1 ครั้งเท่านั้น ในช่วงวันออกพรรษา หรือ ขึ้น 15 ค�่ำ เดือน 11 เป็นสิง่ ทีถ่ า้ จะกล่าวไปจะต้องยอมรับว่า สามารถเรียกร้อง ให้ผู้คนจ�ำนวนมาก ตื่นเต้นอยากจะไปชมให้เห็นกับตา โดย จะมีชาวบ้านและนักท่องเที่ยวหลั่งไหลไปชมปรากฏการณ์ ดังกล่าว ซึ่งสร้างรายได้ให้กับจังหวัดหนองคาย และจังหวัด น้องใหม่อย่างจังหวัดบึงกาฬได้เป็นอย่างดี นายบุญสิทธิ์ วัฒนไทย นักวิทยาศาสตร์ช�ำนาญการพิเศษ สังกัดหน่วยเครือ่ งมือกลาง คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ กล่าวถึงเหตุการณ์นี้ว่า “สิ่งที่ปรากฏขึ้นและเรียกว่า พญานาคนั้ น ได้ มี นั ก วิ ช าการจากจุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย ออกมาอธิบายว่าเป็นปรากฏการณ์คลืน่ ทีก่ ระแทกกันทีเ่ กิดเฉพาะ ในทะเลสาบ หรือบึงขนาดใหญ่ ไม่ใช่เกิดจากสัตว์ประเภทงูใหญ่ หรือสัตว์น�้ำบางชนิด นับว่าเป็นเหตุผลที่ท้าทายความเชื่อ รวมทั้ง สิ่งที่ชาวบ้านและนักท่องเที่ยวจ�ำนวนไม่น้อยที่เฝ้ารอคอยการ ปรากฏตัวและมองเห็นพญานาคหลายครั้ง” คุ ณ บุ ญ สิ ท ธิ์ ยั ง ให้ มุ ม มองในเชิ ง วิ ท ยาศาสตร์ เ กี่ ย วกั บ เหตุ ก ารณ์ เ กิ ด บั้ ง ไฟพญานาคหรื อ บั้ ง ไฟผี ว ่ า “ในนามของ นักวิชาการคนหนึ่ง สังกัดคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ อยากจะน�ำเสนอข้อมูลด้านวิทยาศาสตร์ซึ่งสามารถ

อธิ บ ายการเกิ ด ลู ก ไฟพญานาคดั ง กล่ า วนั้ น อาจเกิ ด จากก๊ า ซ ฟอสฟีน (PH3) ซึ่งสามารถลุกติดไฟได้เอง เนื่องจากคุณสมบัติที่ ละลายน�้ำได้น้อย และที่ส�ำคัญคือมีค่าอุณหภูมิการติดไฟได้เอง (Auto Ignition Temperature) ที่ 37.7 องศาเซลเซียส (100 องศา ฟาเรนไฮต์) โดยไม่ต้องมีส่วนผสมของอากาศ และไม่ต้องใช้ ประกายไฟที่ก่อให้เกิดการลุกไหม้เหมือนก๊าซมีเทน ซึ่งมีอุณหภูมิ การลุกไหม้ได้เองที่ 537 องศาเซลเซียส (1000 องศาฟาเรนไฮต์) นับว่าเป็นอุณหภูมทิ สี่ งู มาก และเหตุผลอืน่ ๆ ทีน่ ำ� มาใช้ประกอบใน การสนับสนุนความคิดนี้ คือ ลักษณะทางธรณีวิทยาของชั้นหินใน พื้นที่ภาคอีสาน ทั้งในผืนดินและในแม่น�้ำโขง ประกอบด้วยหิน ฟอสเฟต ซึ่งก่อนหน้านี้ไม่นานก็มีชาวบ้านที่รับจ้างบรรทุกหินใน จังหวัดหนองคาย พบฟอสฟอรัสก้อนใหญ่ที่เกิดการลุกไหม้ได้เอง เมื่อสัมผัสกับความชื้นในอากาศ การพบก้อนฟอสฟอรัสดังกล่าว น่าจะเกี่ยวข้องกับการเกิดก๊าซฟอสฟีน ถ้าหากก้อนฟอสฟอรัสท�ำ ปฏิกิริยากับก๊าซไฮโดรเจนหรือโปรแตสเซียมไฮดรอกไซด์ ซึ่งใน พื้นที่ภาคอีสานมีแหล่งแร่โปแตสและแร่ฟอสเฟตหรือฟอสฟอรัส บริสทุ ธิอ์ ยุแ่ ล้ว ก็สามารถก่อให้เกิดปรากฏการณ์ลกู ไฟดังกล่าวได้” ปรากฏการณ์บั้งไฟพญานาค อาจจะมีหลากความคิดและ หลายทีม่ า ทัง้ ความเชือ่ และการพยายามหาข้อสรุปของเหตุการณ์ ดังกล่าว แต่หากใครจะมองไปในทิศทางใดก็ถือว่าเป็นความเชื่อ ของแต่ละคน หรือจะให้มองในแง่ดี เป็นการส่งเสริมการท่องเที่ยว อีกทางหนึ่งเช่นกัน

3 www.sc.psu.ac.th


คณะวิทยาศาสตร์ ม.อ. เปิดรับสมัคร นักเรียนและนักศึกษาเข้ารับ ทุนระดับปริญญาตรี – โท - เอก ปี 2554 (เพิ่มเติม) และ ปี 2555 ในโครงการทุนเรียนดีฯ โครงการพัฒนากำ �ลังคนด้านวิทยาศาสตร์ (ทุน เรียนดีวิทยาศาสตร์แ ห่ง ประเทศไทย) มอบหมายให้ศูนย์ภูมิภาค โดยคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ เป็นศูนย์ภูมิภาคของภาคใต้ เปิดรับสมัครผู้สนใจเข้ารับทุนการศึกษา ได้แก่

1. ทุ น การศึ ก ษาหลั ก สู ต รวิ ท ยาศาสตร์ ร ะดั บ ปริ ญ ญาตรี - โท-เอก รุ่นที่ 3 ประจ�ำปีการศึกษา 2554 (เพิ่มเติม) โครงการพัฒนาก�ำลังคนด้านวิทยาศาสตร์ (ทุนเรียนดีวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย ระยะที่ 1 ปี 2544-2551) เพือ่ จัดสรรทุนการศึกษาในหลักสูตรวิทยาศาสตร์อย่างต่อเนือ่ งตัง้ แต่ระดับปริญญา ตรี-โท-เอก รุ่นที่ 3 ประจ�ำปีการศึกษา 2554 • ระยะเวลาการรับสมัคร วันที่ 1 พฤศจิกายน - 7 ธันวาคม พ.ศ. 2554 • จ�ำนวนทุนที่รับเพิ่มเติม 146 ทุนทั่วประเทศ

2. ทุนการศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตร์ระดับปริญญาโท-เอก และระดับปริญญา เอก รุ่นที่ 5 ประจ�ำปีการศึกษา 2555 โครงการพัฒนาก�ำลังคนด้านวิทยาศาสตร์ (ทุนเรียนดีวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย) ระยะที่ 2 ปี พ.ศ.2551 – 2562) โดยมีเป้าหมายสร้างก�ำลังคนระดับปริญญาเอกเพื่อปฏิบัติงานในสถาบัน อุดมศึกษาจ�ำนวนรวมทั้งสิ้น 1,600 คน ด้วยการให้ทุนศึกษาในหลักสูตรวิทยาศาสตร์อย่างต่อ เนื่องตั้งแต่ระดับปริญญาตรี-โท-เอก ระดับปริญญาโท-เอก และระดับปริญญาเอกในสาขาที่ โครงการก�ำหนดในปีการศึกษา 2555 • ระยะเวลาการสมัคร วันที่ 1 ตุลาคม 2554 – 29 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555 • จ�ำนวนทุนและระยะเวลาการให้ทนุ ทุนการศึกษาระดับปริญญาโท-เอก (ต่อเนือ่ ง) และปริญญา เอก รวมจ�ำนวน 250 ทุนทั่วประเทศ โดยมีระยะเวลารับทุนดังนี้ 1. ผู้ที่ก�ำลังศึกษาปริญญาโท ชั้นปีที่ 1 ในปีการศึกษา 2554 (จะได้รับทุนระดับปริญญาโท 1 ปี และทุนปริญญาเอก 3 ปี) 2. ผู้ที่จะเริ่มศึกษาปริญญาโทในปีการศึกษา 2555 (จะได้รับทุนระดับปริญญาโท 2 ปี และ ทุนปริญญาเอก 3 ปี) 3. ผู้ที่จะเริ่มศึกษาปริญญาเอกในปีการศึกษา 2555 (ส�ำหรับผู้มีวุฒิปริญญาโทจะได้รับทุน ระดับปริญญาเอก 3 ปี และส�ำหรับผู้มีวุฒิปริญญาตรีจะได้รับทุนระดับปริญญาเอก 5 ปี)

ดาวน์โหลดข้อมูลโครงการ และแบบฟอร์มการสมัครได้ที่ http://www.sc.psu.ac.th/quota

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ คุณจินดารัตน์ อินทมะโน หน่วยส่งเสริมและพัฒนาทางวิชาการ (ทุนเรียนดีฯ) คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ตู้ ปณ. 3 คอหงส์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 90112 โทรศัพท์ 0 7428 8057 โทรสาร 0 7444 6926

www.sc.psu.ac.th 4

ส ก ั ล ห ำ � น แนะ

หลักสูตรวิทยาศาส เทคโนโลยีสารสนเท

Bachelor of Scien and Communication T

ชื่อปริญญา : วิทยาศาสตรบัณฑิต Bachelor of Scien Technology) โครงสร้างหลักสูตร

จ�ำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 1) กลุ่มวิชาภาษา 2) กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์และมนุษย 3) กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศ ข. หมวดวิชาเฉพาะ 1) กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน 2) กลุ่มวิชาบังคับ 3) กลุ่มวิชาเลือก ค. หมวดวิชาเลือกเสรี

โอกาสการท�ำงาน

นักวิชาการเทคโนโลยีสารสนเทศแล พัฒนาระบบงานคอมพิวเตอร์ โปรแกรมเม ด้านเทคนิค นักออกแบบและพัฒนาระบบฐ และดูแลระบบคอมพิวเตอร์ นักพัฒนาเว็บไ นักวิชาการ ประกอบธุรกิจส่วนตัวและอื่นๆ

โอกาสทางการศึกษา

นักศึกษาที่ส�ำเร็จการศึกษาในหลัก และการสือ่ สาร สามารถศึกษาต่อในสาข คอมพิวเตอร์ และวิศวกรรมซอฟต์แวร์

สถานที่ติดต่อ ส�ำนักงาน สา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลา

โทรศัพท์ : 0 7428 8680,

E-mail : sci-it@group.psu.a


สูตร

รักวิทยาศาสตร์

เรียนต่อปริญญาโทและเอก

ที่คณะวิทยาศาสตร์ ม.อ. หาดใหญ่ เปิดรับสมัครนักศึกษา ประจ�ำปีการศึกษา 2555

สตรบัณฑิต สาขาวิชา ทศและการสื่อสาร

nce Program in Information Technology

ต, วท.บ. (เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร) nce, B.Sc. (Information and Communication

147 32 12 ยศาสตร์ 11 ศาสตร์ 9 109 15 67 27 6

หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต

ละการสือ่ สาร นักวิชาการคอมพิวเตอร์ นักวิเคราะห์ระบบ นัก มอร์ วิศวกรสารสนเทศ วิศวกรระบบคอมพิวเตอร์ วิศวกร ฐานข้อมูล ผูบ้ ริหารฐานข้อมูล ผูบ้ ริหารเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ไซต์ นักพัฒนาเกมคอมพิวเตอร์และภาพเคลือ่ นไหว อาจารย์ ๆ

กสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ขาเทคโนโลยีสารสนเทศ, วิทยาการคอมพิวเตอร์, วิศวกรรม

าขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร านครินทร์ ตู้ ปณ 3 คอหงส์ หาดใหญ่ สงขลา 90112

, 0 7428 8697 โทรสาร 0 7428 8697

ac.th เว็บไซต์ : http://ict.sci.psu.ac.th

ทางอินเตอร์เน็ต 15 ตุลาคม - 30 พฤศจิกายน 2554 รับสมัครด้วยตนเองเฉพาะในงานแนะน�ำหลักสูตรฯ ของคณะเท่านั้น ดูตารางก�ำหนดการได้ที่ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เปิดสอนหลักสูตรและสาขา วิชาที่หลากหลาย ทั้งทางกายภาพและชีวภาพ โดยจัดการเรียนการสอนภาคทฤษฎี ให้ผเู้ รียนมีความรูใ้ นระดับทีไ่ ด้มาตรฐานควบคูไ่ ปกับการสร้างประสบการณ์จริงจาก ภาคปฏิบัติทั้งในห้องปฏิบัติการ ภายในคณะวิทยาศาสตร์มอี าคาร ห้องเรียน เครือ่ งมือ อุปกรณ์ในการท�ำวิจยั และสือ่ การเรียนการสอนที่ทันสมัย มีสถานวิจัยที่ได้รับการสนับสนุนจากมหาวิทยาลัย ได้แก่ สถาน วิจยั ความเป็นเลิศความหลากหลายทางชีวภาพแห่งคาบสมุทรไทย และสถานวิจยั จีโนมและ ชีวสารสนเทศ นอกจากนี้ยังมีสถานวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเมมเบรน สถานวิจัย ผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ สถานวิจัยวิเคราะห์สารปริมาณน้อยและไบโอเซนเซอร์ หน่วยวิจัย พลาสติกชีวภาพ และหน่วยวิจัยวัสดุ และศูนย์เครือข่ายความเป็นเลิศด้านนาโนเทคโนโลยี ภาคใต้ภายใต้โครงการจัดตัง้ อุทยานวิทยาศาสตร์ภาคใต้ มีคณาจารย์และบุคลากรทีม่ คี วาม รูค้ วามสามารถตลอดจนประสบการณ์ในการถ่ายทอดความรูแ้ ละการท�ำวิจยั ให้กบั นักศึกษา รวมทั้งมีผลงานทางวิชาการและมีทุนวิจัยมากมาย ได้ผลิตมหาบัณฑิตและดุษฎีบัณฑิต อัน เป็นที่ต้องการของตลาดแรงงานทั้งภาครัฐและเอกชน เช่น อาจารย์ นักวิจัย เจ้าหน้าภาครัฐ และเอกชน เป็นต้น

ับปริญญาโท 19 สาขาวิชา ปัจจุบันมีการเปิดสอนหลักสูตรระด11 ขาวิชา ดังนี้ และหลักสูตรระดับปริญญาเอก สา

• ปริญญาโท 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19.

• ปริญญาเอก

กายวิภาคศาสตร์ คณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์และสถิติ เคมี เคมีอินทรีย์ เคมีศึกษา จุลชีววิทยา ชีวเคมี ชีววิทยาโมเลกุลและชีวสารสนเทศ พฤกษศาสตร์ สัตววิทยา นิเวศวิทยา (นานาชาติ) เภสัชวิทยา สรีรวิทยา ฟิสิกส์ ธรณีฟิสิกส์ วิทยาการคอมพิวเตอร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีพอลิเมอร์ นิติวิทยาศาสตร์

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11.

เคมี เคมีอินทรีย์ ชีวเคมี ชีววิทยา ชีววิทยาโมเลกุลและชีวสารสนเทศ จุลชีววิทยา ฟิสิกส์ ธรณีฟิสิกส์ สรีรวิทยา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีพอลิเมอร์ วิทยาการคอมพิวเตอร์ (นานาชาติ)

สอบถามข้อมูล งานบริการการศึกษา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 90112 เว็บไซต์ http://www.sc.psu.ac.th/units/graduate/grad/ หรือโทร 0 7428 8094 E-mail: sci-grad@group.psu.ac.th

5 www.sc.psu.ac.th


คุยกับคนเก่ง

บุ ค ลากรคณะวิ ท ยาศาสตร์ ค ว้ า รางวั ล จากเวที แลกเปลีย ่ นเรียนรู้ โครงการพัฒนางานปี 2554 ม.อ.

บุคลากรของคณะวิทยาศาสตร์ ได้ส่งผลงานเข้าร่วมโครงการ “เวทีแลก เปลี่ยนเรียนรู้” การน�ำโครงการพัฒนางานปี 2554 เพื่อน�ำเสนอผลงานในระดับ มหาวิทยาลัย ซึง่ จัดขึน้ ในวันที่ 31 สิงหาคม 2554 ณ ห้องประชุม 210 ส�ำนักงาน อธิ ก ารบดี จากผลงานตั ด สิ น ของคณะกรรมการ ที ม ของบุ ค ลากรคณะ วิทยาศาสตร์คว้ารางวัล ทั้งสิ้น 2 ผลงาน ดังนี้

ผลงานเรื่อง “สื่อ 1 ขยาย 8” ของนายชนวรรฒน์ ชูแสง และนางรัตนา หิรัญ พันธุ์ ได้รบั รางวัลชนะเลิศ ในการประกวดโครงการพัฒนางาน มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ ประจ�ำปี 2554 ประเภทพัฒนางานทั่วไป ที่มาของผลงานเกิดจาก ทีมได้สังเกตพบว่านักศึกษาที่เรียนวิชาปฏิบัติการ ชีววิทยา จะท�ำคะแนนการสอบท้ายคาบเรียน (Quiz) ได้ไม่ดี จากการวิเคราะห์พบ ว่าเนื้อหาวิชาของเรื่องที่เรียน มีมากใช้เวลาเรียนเพียง 1 คาบ ส่วนปัจจัยรองน่าจะ เป็นเรื่องโอกาสของช่องทางการรับข้อมูลของนักศึกษามี ท�ำให้ความคิดผู้ร่วม โครงการตกผลึกออกมาว่าควรจะเพิ่มช่องทางการรับรู้ข้อมูล เพื่อตอบสนอง ศักยภาพของผูเ้ รียนให้หลากหลายโดยไม่ขนึ้ กับเวลาหรือสถานทีเ่ รียนรู้ และอ�ำนวย ความสะดวกให้กบั อาจารย์ผสู้ อน จึงเป็นทีม่ าของ “สือ่ 1 ขยาย 8” กล่าวคือ เนือ้ หา 1 เรื่องที่เรียนในหนึง่ คาบนัน้ สามารถผลิตสื่อการเรียนรู้ได้ 8 ช่องทาง ผู้สนใจ รายละเอียดเพิ่มเติมสามารถติดต่อได้ที่ คุณชนวรรฒน์ ชูแสง ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ โทรศัพท์ 0 74 28 8519

ต่างประเทศ

เมื่อวันที่4-10 กันยายน 2554 คณะผู้บริหารคณะวิทยาศาสตร์ น�ำโดยคณบดี รศ.ดร.จุฑามาส ศตสุข และ รองคณบดีฝ่ายวิชาการ หัวหน้าภาควิชาเคมี หัวหน้าภาควิชาคณิตศาสตร์และสถิติ หัวหน้าภาควิชาฟิสิกส์ ผู้แทนหัวหน้า ภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีวัสดุ เจ้าหน้าที่วิเทศสัมพันธ์ เดินทางไป เยือน University of Novi Sad สาธารณรัฐเซอร์เบีย เพื่อขยายแนวทางความ ร่วมมือภายใต้ MoU และได้พบความสนใจตรงกันในการสนับสนุนการเปิด หลักสูตร Financial Mathematics และแลกเปลี่ยนบุคลากร ของภาควิ ช า คณิตศาสตร์ การพัฒนางานวิจัยร่วมกันด้านฟิสิกส์, เคมี และวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีวัสดุ นอกจากนัน้ ได้เข้า เยี่ยมชม Computer Spin – off Company เพื่อเจรจาการ ส่งนักศึกษาเข้าฝึกงาน ในการนีย้ งั ได้รบั ความสนใจจาก สื่อหนังสือพิมพ์ท้องถิ่นในการสัมภาษณ์

www.sc.psu.ac.th 6

ผลงานเรื่อง “เครื่อง กวนผสมปรั บ ระดั บ ได้ ” ของนายเศียร บัวแก้ว และ นายกรุงประกาย อัมโร ได้รบั รางวัลรองชนะเลิศ ในการ ประกวดโครงการพัฒนางาน ม ห า วิ ท ย า ลั ย ส ง ข ล า นคริ นทร์ ประจ� ำ ปี 2554 ประเภทนวัตกรรม ที่มาของผลงาน สืบ เนื่องจากการเรียนการสอนในภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีวัสดุ มีส่วน เกี่ยวข้องกับการใช้น�้ำยาง และจากทฤษฏี น�้ำยางเวลาผสมสารเคมีต้องกวนให้เข้า กันและต้องใช้เวลายาวนาน ความเร็วในการกวน, ขนาดใบพัดกวน ต้องมีความ เหมาะสมกับภาชนะที่ใส่ ส่วนของยางธรรมชาติโดยล�ำพังแล้วมีคุณสมบัติยังไม่ เหมาะกับการน�ำไปใช้งานโดยตรงจึงจ�ำเป็นต้องปรับปรุงคุณสมบัตใิ ห้เหมาะสม เช่น การท�ำให้โมเลกุลของยางเกิดการเชื่อมโยงระหว่างโมเลกุลเพื่อให้ผลิตภัณฑ์ยางมี คุณสมบัตยิ ดื หยุน่ การปรับปรุงคุณสมบัตดิ งั กล่าวท�ำได้โดยการเติมสารเคมีลงไปใน น�้ำยาง โดยต้องท�ำให้สารเคมีกระจายในน�้ำยางอย่างทั่วถึง ดังนัน้ จึงต้องใช้เครื่อง มือกวนเพื่อการผสม จึงเป็นที่มาของการคิดประดิษฐ์เครื่องกวนผสมดังกล่าว และ สามารถใช้ในงานวิจัยเชิงวัสดุของไหลโดยทั่วไปได้อีกด้วย ความแตกต่างของเครือ่ งมือทีผ่ ลิตขึน้ มา มีความต่างจากเครือ่ งมือในท้องตลาด ทั่วไป คือ มีมือหนุนปรับลดระดับสูงต�่ำของแกนใบพัด โดยไม่ต้องไปปรับการติดตั้ง ระดับใบพัดซึง่ ท�ำได้เฉพาะเมือ่ เครือ่ งหยุดท�ำงานเท่านัน้ แต่การมีระบบปรับลดระดับ สูงต�ำ่ ทีค่ ดิ ค้นขึน้ นีส้ ามารถปรับได้แม้นเครือ่ งกวนก�ำลังท�ำงานอยูโ่ ดยไม่ตอ้ งปิดเครือ่ ง แต่อย่างใด อีกทัง้ ราคาถูกกว่าเครือ่ งกวนผสมโดยทัว่ ไปทีจ่ ำ� หน่ายในท้องตลาดและ มีเกจแสดงค่าความเร็วรอบในการกวน แต่เพื่อความถูกต้องและแม่นย�ำ ต้องตรวจ วัดความเร็วรอบในการกวนด้วยเครื่องมือวัดความเร็วรอบการหมุน มีชื่อทางการค้า เรียกว่า Digital TACHO รุ่น Digicon dt-240p (ใช้ในห้องปฏิบัติการภาควิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีวสั ดุ) ผูส้ นใจรายละเอียดเพิม่ เติมสามารถติดต่อได้ที่ คุณ เศียร บัวแก้ว ภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีวัสดุ คณะวิทยาศาสตร์ โทรศัพท์ 0 74 28 8371

เมื่อวันอังคารที่ 30 สิงหาคม ที่ผ่านมา หน่วย วิเทศสัมพันธ์และประชาสัมพันธ์ ได้จัดโครงการ “พัฒนาภาษาอังกฤษบุคลากร- ผูกสัมพันธ์นกั ศึกษา ต่างชาติ”เพื่อสนับสนุนและพัฒนาความสามารถ บุคลากรสายสนับสนุน ในด้านการใช้ภาษาอังกฤษ เพื่อให้สามารถสื่อสารได้ในงานที่รับผิดชอบ จึง ก�ำหนดจัดกิจกรรมนอกสถานที่โดยให้มีนักศึกษา ต่างชาติของคณะวิทยาศาสตร์ มาเข้าร่วมกิจกรรม ด้ ว ยเพื่ อ ช่ ว ยในกิ จ กรรมสนทนา นอกจากนี้จ ะ เป็ นการท� ำ ความรู ้ จั ก และสร้ า งสั ม พั นธภาพที่ ดี ระหว่างกันในการติดต่องานกันต่อไป และเป็นส่วน หนึง่ ทีจ่ ะช่วยให้นกั ศึกษาต่างชาติเกิดความอบอุน่ ใจ และมีความสุขในการศึกษาในคณะวิทยาศาสตร์ เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2554 นักวิจัยจากประเทศ ฝรั่งเศส ภายใต้ โครงการวิจัยร่วมด้านอุดมศึกษา และการวิจัยระหว่างไทย-ฝรั่งเศส ประจ�ำปี 25542555 เดินทางมาเยือนคณะวิทยาศาสตร์ ระหว่างวัน ที่ 8-11 ตุลาคม 2554 เพื่อร่วมประเมินผลโครงการ รอบ 6 เดือนที่ผ่านมาและวางแผนร่วมกับนักวิจัย ของภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีวสั ดุ ในการ จะด�ำเนินการโครงการในปี 2555 ในการนี้ได้เข้าพบ คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ และรองคณบดีฝ่ายวิจัย และบัณฑิตศึกษา เพื่อหารือการขยายความร่วมมือ ไปยังภาควิชาอื่นภายในคณะวิทยาศาสตร์ด้วย


ขอแสดงความยินดีกับบัณฑิต มหาบัณฑิต และดุษฎีบัณฑิต คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปีการศึกษา 2553

“ท�ำดีเพื่อพ่อ” บริจาคโลหิตถวายเป็นพระราชกุศลแด่

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 กันยายน 2554 คณะวิทยาศาสตร์จัดกิจกรรม บริจาคโลหิตถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ณ อาคารวิ ท ยาศาสตร์ เ ทคโนโลยี (ลานกิ จ กรรม ชั้ น 1) คณะวิทยาศาสตร์ ซึ่งได้รับความสนใจจากบุคลากร นักศึกษาและ บุคคลทั่วไปมาร่วมกิจกรรมเป็นจ�ำนวนมาก

โครงการส่งเสริมโอลิมปิกฯ

ค่าย 1 ปีการศึกษา 2554

เมื่อวันอังคารที่ 4 ตุลาคม 2554 คณะวิ ท ยาศาสตร์ จั ด พิ ธี เปิ ด โครงการ ส่งเสริมโอลิมปิกฯ ค่าย 1 ปีการศึกษา 2554 ณ ห้องสัมมนา คณะวิทยาศาสตร์ ซึง่ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์สมสมร ชิตตระการ รองคณบดีฝ่ายวิทยาศาสตร์สุขภาพเป็น ประธานกล่ า วเปิ ด ค่ า ยฯ และมี ก าร บรรยายพิเศษเรื่อง “ประสบการณ์การ แข่ ง ขั น โอลิ ม ปิ ก วิ ช าการ กั บ การเป็ น นักวิทยาศาสตร์” โดยผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ธวั ช ชั ย อ่ อ นจั น ทร์ สั ง กั ด สถาบั น เทคโนโลยีนานาชาติสริ นิ ทร มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต

7 www.sc.psu.ac.th


ทีมนักวิจัยม.อ.

รับรางวัลชนะเลิศ Platinum Award ถ้วยรางวัลพระราชทานจากสมเด็จพระเทพฯ

ดร.ไพบูลย์ นวลนิล ดร.นาวี หนุนอนันต์ อ.ศักดิ์อนันต์ ปลาทอง

สั ง กั ด คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ และงานวิ จั ย เรื่ อ ง “การใช้ ป ระโยชน์ น�้ ำ ทิ้ ง และ เศษวัสดุอินทรีย์จากการแปรรูปอุตสาหกรรมเกษตรและประมงเพื่อการเลี้ยง สัตว์น�้ำ” โดยผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชลธีร์ ชีวะเศรษฐธรรม สังกัดคณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี วิทยาเขตปัตตานี ประเด็นที่ 3 World Protection ประกอบด้วย งานวิจัยเรื่อง “การป้องกันการ กัดเซาะชายฝั่ง” และ “โรงไฟฟ้าชุมชนในภาคใต้” โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พยอม รั ต นมณี สั ง กั ด คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ งานวิ จั ย เรื่ อ ง “Application of Spatially Smoothed Method to Estimate the Seismic Hazard of Thailand and the Surrounding Areas.” โดย ดร.ไพบูลย์ นวลนิล สังกัดภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิ ท ยาศาสตร์ และงานวิ จั ย เรื่ อ ง “การอนุ รั ก ษ์ แ ละฟื ้ น ฟู ร ะบบนิ เวศทาง ทะเลในคาบสมุทรไทย” โดย อาจารย์ศักดิ์อนันต์ ปลาทอง สังกัดภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ ส่วนของรูปแบบการน�ำเสนอ ใช้แนวคิดหลักผูกโยงเรื่องราวโดยใช้ “มด” เป็น ตัวน�ำเรื่อง เนื่องจาก “มด” เป็นสัตว์ที่มีทั้งความขยัน อดทน ความสามัคคีที่จะร่วม แรงร่วมใจการท�ำงานใหญ่ได้ ซึ่งก็เปรียบเหมือนกับนักวิจัยของมหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ที่ขยัน อดทน ร่วมกันสามัคคีท�ำงานวิจัยที่ดีออกมาเพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อ สังคมและประเทศชาติ และมีผลกระทบในการท�ำให้โลกน่าอยู่ ซึ่งได้มีการน�ำเสนอ ประเภท ลักษณะ และความส�ำคัญของมดต่อสภาวะแวดล้อมผ่าน งานวิจัยเรื่อง “ความหลากหลายของมดในคาบสมุทรไทย” โดย ดร.นาวี หนุนอนันต์ สังกัดภาค วิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ตู้ ปณ.3 คอหงส์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 90112 โทรศัพท์ 0-7428-8022, 0-7428-8008

ช�ำระค่าฝากส่งเป็นรายเดือน ใบอนุญาตเลขที่ 9/2524 ปท.ฝ. คอหงส์

(นายไพบูลย์ เตียวจ�ำเริญ) หัวหน้าหน่วยสารบรรณ

Design by blueimage 0-7446-4401

ขอแสดงความยินดีและชื่นชมกับคณาจารย์ คณะวิทยาศาสตร์ ที่เข้าร่วม จั ด นิท รรศการและน�ำเสนอผลงานกั บ ที ม นัก วิ จั ย ของมหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นครินทร์ ภายใต้หัวข้อ “งานวิจัยเพื่อโลกสีเขียว (Research for Green Base World)” ในงานการน�ำเสนอผลงานวิจัยแห่งชาติ 2554 (Thailand Research Expo 2011) เมื่อวันที่ 26-30 สิงหาคม 2554 ณ ศูนย์ประชุมบางกอกคอนเวน ชั่นเซ็นเตอร์ กรุงเทพมหานคร ซึ่งจัดขึ้นโดยส�ำนักงานคณะกรรมการวิจัย แห่งชาติ (วช.) โดยทีมนักวิจัยของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้รับรางวัล ชนะเลิ ศ Platinum Award ถ้ ว ยรางวั ล พระราชทานจากสมเด็ จ พระเทพ- รั ต นราชสุ ด า สยามบรมราชกุ ม ารี ซึ่ ง เป็ น รางวั ล สู ง สุ ด จากการตั ด สิ น บูธนิทรรศการในงานการน�ำเสนอผลงานวิจัยแห่งชาติ 2554 การน�ำเสนอผลงานในครั้งนี้ จัดขึ้นภายใต้หัวข้อ “งานวิจัยเพื่อโลกสีเขียว (Research for Green Base World)” โดยแบ่งการน�ำเสนอออกเป็น 3 ประเด็น คือ ประเด็นที่ 1 Reuse ประกอบด้วยงานวิจัยเรื่อง “Art of living” โดยอาจารย์ ฮัดสัน สิริสุวพงศ์ สังกัดโครงการจัดตั้งวิทยาลัยนานาชาติ และงานวิจัยเรื่อง “กางเกง ผ้าอ้อมซักได้” โดยคุณกฤติกา หนูเกลี้ยง สังกัดโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ ประเด็นที่ 2 Recycling ประกอบด้วย งานวิจัยเรื่อง “การใช้ประโยชน์จาก วัสดุเศษเหลือจากการแปรรูปอาหารทะเล” โดยศาสตราจารย์ ดร.สุทธวัฒน์ เบญจกุล สังกัดคณะอุตสาหกรรมเกษตร งานวิจัยเรื่อง “การผลิตก๊าซชีวภาพจาก น�้ำเสียให้สหกรณ์ยางแผ่นรมควัน” โดย รองศาสตราจารย์ ดร.สุเมธ ไชยประพัทธ์


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.