จดหมายข่าวคณะวิทยาศาสตร์ประจำเดือน พฤศจิกายน - ธันวาคม 2554

Page 1

“...ทันข่าวทันเหตุการณ์ ข่าวสารคณะวิทย์ เผยแพร่ภารกิจสู่ชุมชน...”

ฉบับที่ 6 ประจ�ำเดือนพฤศจิกายน – ธันวาคม 2554

www.sc.psu.ac.th

๕ ธันวา มหาราช ฑีฆายุโกโหตุ มหาราชา ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้าฯ คณาจารย์ บุคลากรและนักศึกษา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

น�้ำใจคณะวิทย์

ช่วยเหลือผู้ประสบภัยน�้ำท่วม มั่นใจได้กับห้องปฏิบัติการภาควิชาจุลชีววิทยา

คณะวิทยาศาสตร์ ด้วยมาตรฐาน ISO/IEC 17025

ภาพบรรยากาศ วันพ่อแห่งชาติ ปี 2554 ติดต่อสอบถาม : หน่วยวิเทศสัมพันธ์และประชาสัมพันธ์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ : sci-pr@group.psu.ac.th โทรศัพท์ 0 7428 8008, 0 7428 8022 โทรสาร 0 7444 6657 เพิม่ ช่องทางประชาสัมพันธ์ผา่ นทาง Fanpage Facebook คณะวิทยาศาสตร์ ม.อ.หาดใหญ่ โดยค้นหาคำ�ว่า “คณะวิทยาศาสตร์ ม.อ.หาดใหญ่” แล้วกด Like เพียงแค่นี้ทุกท่านก็สามารถรับข่าวสารของคณะวิทยาศาสตร์ผ่านทาง Facebook ได้แล้ว


คณบดีคณะวิทยาศาสตร์กล่าว แสดงความยินดีและอวยพรเนื่องในวันปีใหม่ ในศุภวาระดิถขี นึ้ ปีใหม่ พุทธศักราช 2555 ขออาราธนาสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิ์ ทัง้ หลายในสากลโลก และขออัญเชิญอานุภาพแห่งพุทธานุภาพ ธรรมานุภาพ และสังฆานุภาพ ตลอดจนเดชะพระบารมีของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ฯ พระบรมราชินีนาถ ได้โปรดดลบันดาล ประทานพรให้ทุกท่าน ประสบแต่ความสุขความเจริญ ปราศจากทุกข์โศก โรคภั ย และขอให้ ป ี นี้ เป็ น ปี แ ห่ ง การยึ ด มั่ น และเจริ ญ รอยตามเบื้ อ ง พระยุคลบาท ด�ำรงตนตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง รู้ประมาณตนเพื่อวิถี ความเป็นอยู่ที่ยั่งยืน ประสบแต่ความสุขที่แท้จริงตลอดปี 2555 รองศาสตราจารย์ ดร.จุฑามาส ศตสุข คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

น�้ำใจวิทยา

ช่วยเหลือผู้ประสบภัยน�้ำท่วม มหาอุทกภัยที่เกิดขึ้นในพื้นที่ภาคกลางและ กรุงเทพมหานคร ท�ำให้มีผู้ได้รับผลกระทบจ�ำนวน มากทั้งภาครัฐ เอกชน โรงงานอุตสาหกรรม และ ประชาชนทั่ ว ไป หลายหน่ ว ยงานทั่ ว ประเทศได้ พยายามให้ความช่วยเหลือทัง้ ในรูปแบบของเครือ่ ง อุปโภค บริโภค และถุงยังชีพ เพือ่ ให้ประชาชนทีเ่ ดือด ร้ อ นสามารถด� ำ รงอยู ่ ไ ด้ ในระหว่ า งผจญกั บ อุทกภัย จากเหตุ ก ารณ์ ดั ง กล่ า ว คณาจารย์ บุ ค ลากรและนั ก ศึ ก ษา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ต่างร่วมแรงร่วมใจให้ความช่วย เหลือแก่ผู้ประสบอุทกภัยในภาคกลาง หลากหลายกิจกรรม ดังนี้ * ร่วมผลิตและบรรจุนำ�้ ดืม่ ในชือ่ “น�ำ้ ดืม่ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์” ที่หน่วยเครื่องมือกลางคณะวิทยาศาสตร์ และเข้าร่วมเป็นอาสา สมัครบรรจุชุดอาหารยังชีพ (น�้ำ, อาหารแห้ง, ข้าวผัด, ช้อน) ณ อาคารแปรรูป อุตสาหกรรม 7 คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ * เปิดกล่องรับบริจาคเงินจากคณาจารย์และบุคลากรภายในคณะฯ ตลอด เดือนตุลาคม 2554 ได้เงินบริจาคทัง้ สิน้ 18,370 บาท โดยน�ำเงินที่ได้รวมกับการออก ร้านในงาน “เสียงดนตรีแห่งน�ำ้ ใจ ไทยช่วยไทยเยียวยาผูป้ ระสบภัยน�ำ้ ท่วม” เมือ่ วัน ที่ 29 ตุลาคม 2554 ณ Conference Hall ศูนย์ประชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัติ ครบ ๖๐ ปี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ซึ่งเป็นกิจกรรมที่จัดขึ้นเพื่อให้ทุกหน่วย งานในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ระดมทุนเพื่อสมทบทุนกองทุนประโยชน์เพื่อน มนุษย์เป็นกิจทีห่ นึง่ ซึง่ คณะวิทยาศาสตร์และสมาคมนักศึกษาเก่าคณะวิทยาศาสตร์ ได้สมทบเงินบริจาค เป็นเงิน 25,000 บาท * ส่งมอบเครื่องกรองน�้ำประปาระบบ 3 ท่อ จ�ำนวน 2 ชุด ให้แก่บุคลากร งานประสานงานกองกลาง ส�ำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ที่ ประสบความเดือนร้อนจากเหตุอุทกภัยในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร และอีก 1 ชุด เพือ่ มอบให้แก่มลู นิธอิ าสาเพือ่ นพึง่ (ภาฯ) ยามยาก สภากาชาดไทย เพือ่ ใช้ในกิจการ

www.sc.psu.ac.th 2

การช่ ว ยเหลื อ ผู ้ ป ระสบเหตุ อุ ท กภั ย ในครั้ ง นี้ โดยมี ร องศาสตราจารย์ ดร.จุฑามาส ศตสุข คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ เป็นประธานในการส่งมอบ และมี รองศาสตราจารย์ ดร.สุเมธ ไชยประพัทธ์ รองผู้อ�ำนวยการส�ำนักวิจัยและพัฒนา ฝ่ายยุทธศาสตร์การวิจัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นผู้รับแทน ซึ่งผลงาน เครื่องกรองน�้ำแบบพกพาดังกล่าวเป็นผลงานของทีมนักวิจัยจากสถานวิจัย วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเมมเบรน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ น�ำโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดรุณี ผ่องสุวรรณ อาจารย์ประจ�ำภาควิชาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีวัสดุ คณะวิทยาศาสตร์ ผู้สนใจเครื่องกรองน�้ำแบบพกพา สามารถติดต่อหรือขอข้อมูลเพิ่มเติม ได้ที่ภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีวัสดุ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ โทรศัพท์ 0 7428 8396 * เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 10 พฤศจิกายน 2554 คณาจารย์ บุคคลากร และ นั ก ศึ ก ษาคณะวิ ท ยาศาสตร์ ได้ เ ข้ า ร่ ว ม เดิ น ขบวนพาเหรดเพื่ อ สื บ สาน วัฒนธรรมไทย ในงาน “กระทงน�้ำใจ ช่วยเหลือผู้ประสบภัย” ซึ่งจัดโดย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดยการเดินขบวนพาเหรดของคณะวิทยาศาสตร์ ได้เปิดกล่องรับบริจาค สรุปยอดเงินที่ได้คือ 12,636 บาท พร้อมสิ่งของบริจาค จ�ำนวนมาก “น�้ำใจวิทยา เหนือสิ่งอื่นใด”


วิทย ว ี ช ล ุ จ า ช ิ ว ค า ิบัติการภ

งปฏ 025 มั่นใจได้กับห้อ ์ ด้วยมาตรฐาน ISO/IEC 17 ะวิทยาศาสตร

คณ

มาตรฐาน ISO/IEC 17025 เป็นมาตรฐานสากลที่เป็นการประเมิน ความสามารถทางวิชาการของห้องปฏิบตั กิ าร โดยจะครอบคลุมทุกด้านของ การบริหารจัดการห้องปฏิบตั กิ าร ตัง้ แต่การเตรียมตัวอย่างถึงความช�ำนาญ ในการวิเคราะห์ทดสอบ การเก็บบันทึกและการรายงานผล มาตรฐานนีเ้ น้น องค์ประกอบหลายด้าน ซึ่งได้แก่ระบบคุณภาพของห้องปฏิบัติการ การ ควบคุมเอกสาร บุคลากร การปฏิบตั กิ ารแก้ไขและป้องกัน สถานทีแ่ ละภาวะ แวดล้อม เครื่องมือ การประมาณค่าความไม่แน่นอน หลักฐานความสอบ กลับ และการได้การรับรองมาตรฐาน ISO/IEC 17025 ของภาควิชาจุล ชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จะช่วยให้ห้องปฏิบัติการมีความได้เปรียบใน การแข่งขัน สร้างความเชื่อถือ และพัฒนาประสิทธิภาพให้มากยิ่งขึ้น การ ได้ รั บ การรั บ รองมาตรฐานห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารเปรี ย บเสมื อ นการแจ้ ง ให้ สาธารณชนรั บ รู ้ ว ่ า ผลของการทดสอบของภาควิ ช าเป็ น ไปตามหลั ก วิชาการ ยิ่งไปกว่านั้น การได้การรับรองเป็นการเปิดประตูสู่ตลาดโลกด้วย เหตุที่ว่าไม่มีความจ�ำเป็นที่จะต้องตรวจสอบผลิตภัณฑ์ซ�้ำอีกในประเทศ ต่างๆ เพราะเป็นมาตรฐานระดับสากล จากพันธกิจของคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ที่ ว่า “ผลิตบัณฑิตวิทยาศาสตร์ให้มีความรู้คู่คุณธรรม ถ่ายทอดและบริการ วิชาการที่ถูกต้อง ทันสมัย วิจัยเน้นการพัฒนาภาคใต้ มุ่งสู่มาตรฐานระดับ สากล” ผนวกด้วยความมุ่งมั่นของภาควิชาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ ทีจ่ ะให้บริการวิเคราะห์/ทดสอบทีถ่ กู ต้องตามหลักวิชาการ ด้วยวิธกี ารทีเ่ ป็น มาตรฐาน เพื่อให้ได้ผลการวิเคราะห์/ทดสอบที่ถูกต้องเป็นที่น่าเชื่อถือ จึง ก่อให้เกิดความต้องการที่จะขอการรับรองมาตรฐาน ISO/IEC 17025 ขึ้น โดยภาควิชาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ ได้ริเริ่มให้งานบริการวิชาการ ครัง้ แรกในปี 2530 มีวตั ถุประสงค์ในการจัดตัง้ เพือ่ บริการวิเคราะห์/ทดสอบ ตัวอย่างให้กบั ภาคเอกชนและหน่วยงานของรัฐทัง้ ในและนอกมหาวิทยาลัย ในระยะเริ่มแรก มีการให้บริการในรูปแบบของการตรวจวิเคราะห์/ทดสอบ คุณภาพด้านจุลชีววิทยาของถุงมือยาง และได้มีการขยายงานด้านการ วิเคราะห์/ทดสอบเพิม่ ขึน้ เนือ่ งจากปริมาณความต้องการของลูกค้าเพิม่ มาก ขึน้ ภาควิชาจุลชีววิทยาจึงได้ขยายงานบริการวิเคราะห์/ทดสอบเพิม่ มากขึน้ ตามล�ำดับ จนในปัจจุบันภาควิชาจุลชีววิทยามีปริมาณลูกค้าซึ่งเป็นภาค ธุรกิจเอกชนและหน่วยงานภายนอกมหาวิทยาลัยมากกว่า 100 ราย รองศาสตราจารย์ ดร.ดวงพร คันธโชติ หัวหน้าภาควิชาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้กล่าวถึงที่มา ของเรื่ อ งนี้ ว ่ า “ภาควิ ช าจุ ล ชี ว วิ ท ยา คณะ วิทยาศาสตร์ ได้ให้บริการตรวจสอบตัวอย่าง ด้านจุลชีววิทยา ถือเป็นงานบริการวิชาการที่ ภาควิชาได้ทำ� มาอย่างต่อเนือ่ ง และมีลกู ค้าทัง้ รศ.ดร.ดวงพร คันธโชติ ที่เป็นภาครัฐและเอกชนจ�ำนวนมาก ทั้งที่เป็น โรงงานอุตสาหกรรม หน่วยงานของรัฐ อบต. อบจ. และ หน่วยงานธุรกิจ ขนาดกลางและย่อม (SME) และโรงพยาบาล ซึ่งได้รับเสียงสะท้อนจาก ลูกค้าที่มาใช้บริการว่าหน่วยงานอื่นที่ให้บริการเช่นเดียวกับภาควิชา

จุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ ในเขตพืน้ ทีห่ าดใหญ่นนั้ มีคา่ ใช้บริการทีค่ อ่ น ข้างสูง จึงท�ำให้เจ้าหน้าที่ภาควิชามีความมุ่งมั่นที่จะน�ำห้องปฏิบัติการของ ภาควิชาจุลชีววิทยาเข้าสู่ระบบมาตรฐาน ISO ให้ได้ เพราะเห็นว่าหากเรา ท�ำได้ก็จะเป็นการช่วยสังคมอีกทางหนึ่งด้วย ตัวอย่างหน่วยงานองค์กร ปกครองท้องถิ่น เช่น อบจ. และอบต. ที่จะท�ำน�้ำประปาหมู่บ้าน ก็จะต้อง ผ่านคุณภาพทางจุลชีววิทยา ตามที่กระทรวงสาธารณสุขก�ำหนด ซึ่งหน่วย งานดังกล่าวได้นำ� เอาตัวอย่างน�้ำประปามาตรวจที่ห้องปฏิบัติการของภาค วิชาของเรา และแม้ว่าภาควิชาของเราจะได้รับการรับรองมาตรฐาน ISO/ IEC 17025 แล้วแต่ยังคงราคาการใช้บริการตามเดิมอยู่” โดยห้องปฏิบัติการภาควิชาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จะให้บริการในขอบข่ายดังนี้ • บริการวิเคราะห์น�้ำทางจุลชีววิทยา • บริการวิเคราะห์สุขาภิบาลทางจุลชีววิทยา • บริการวิเคราะห์ถุงมือยางทางจุลชีววิทยา • บริการวิเคราะห์ทางจุลินทรีย์ในอุตสาหกรรมอาหาร • บริการวิเคราะห์ทางจุลชีววิทยาของชีวอินทรีย์ • โดยขอบข่ายทีข่ อการรับรอง ISO/IEC 17025 คือ การทดสอบ Total coliforms and fecal coliforms ของ น�้ำดื่ม/น�้ำทั่วไป ดร.กมลธรรม อ�ำ่ สกุล ผูจ้ ดั การคุณภาพ ห้องปฏิบัติการภาคจุลชีววิทยา ได้กล่าวเพิ่ม เติมในส่วนของความคาดหวังของการด�ำเนิน การของห้องปฏิบัติการภาควิชาจุลชีววิทยา หลังจากได้รับมาตรฐาน ISO/IEC 17025 ว่า “ทางภาควิชาได้รับการสนับสนุนจากคณะ ดร.กมลธรรม อ�่ำสกุล วิทยาศาสตร์เป็นอย่างดีและทางมหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ ได้ลงนามข้อตกลงความร่วม มือกับกรมวิทยาศาสตร์บริการ โดยได้รับความช่วยเหลือในการฝึกอบรม และมีเจ้าหน้าทีข่ องกรมวิทยาศาสตร์บริการให้คำ� ปรึกษาในการเตรียมความ พร้อมของห้องปฏิบัติการเพื่อขอการรับรอง และการได้รับการรับรอง ISO/ IEC 17025 ได้ช่วยในการด�ำเนินงานวิเคราะห์ทดสอบเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพมากขึ้น เป็นที่ยอมรับระดับสากล ภาควิชาจุลชีววิทยาคาดว่า ด้วยการด�ำเนินงานทีด่ ี จะท�ำให้เรามีลกู ค้าเข้ามาใช้บริการมากขึน้ เนือ่ งจาก มั่นใจในมาตรฐานการท�ำงานและจะตอบสนองความต้องการของลูกค้าที่ ต้องการให้ตัวอย่างที่ตรวจสอบได้รับการวิเคราะห์ทดสอบตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025 เพื่อใช้ในการส่งออก และภาควิชาได้วางแผนขยาย ขอบข่ายของการรับรองไปยังการทดสอบอืน่ ๆอีกต่อไป นอกจากนี้ ทางภาค วิชายังหวังเป็นอย่างยิ่งว่าคณาจารย์และเจ้าหน้าที่จะสามารถน�ำความรู้ และประสบการณ์ที่ได้รับไปถ่ายทอดให้นักศึกษาของภาควิชาได้อีกด้วย” ผูส้ นใจต้องการใช้บริการสามารถส่งตัวอย่างทีต่ อ้ งการทดสอบได้ที่ ห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา ภาควิชาจุลชีววิทยา ชั้น 6 อาคารวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ หรือสามารถ ติดต่อขอรายละเอียดและค�ำแนะน�ำได้ที่ 0 7428 8342

3 www.sc.psu.ac.th


คณะวิทยาศาสตร์ จัดกิจกรรม พัฒนาทักษะภาษาอังกฤษแก่นกั ศึกษา ภาษาอังกฤษ ถือว่าเป็นภาษาสากลซึง่ มีสว่ นส�ำคัญยิง่ ในปัจจุบนั ทั้งในระดับชาติและนานาชาติเพื่อใช้ในการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ ประสบการณ์ ด้านการเรียน การงาน รวมทั้งการติดต่อสื่อสารในชีวิต ประจ�ำวัน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เล็งเห็นความ ส�ำคัญของภาษาอังกฤษ จึงได้จัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะด้านภาษา อังกฤษของนักศึกษา เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายของมหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ที่มุ่งหวังให้ทุกคณะสร้างความแข็งแกร่งด้านภาษา อั ง กฤษ อี ก ทั้ ง ยั ง เป็ น การเตรี ย มความพร้ อ มให้ กั บ นั ก ศึ ก ษาคณะ วิทยาศาสตร์เพือ่ ก้าวเข้าสูป่ ระชาคมอาเซียนในอนาคตอันเร็วนี้ โดยหน่วย กิจการนักศึกษา ร่วมกับคณะกรรมการพัฒนานักศึกษา ชุมนุมภาษา ต่างประเทศ และสโมสรนักศึกษา คณะวิทยาศาสตร์ จัดโครงการส่งเสริม ภาษาอังกฤษ “English day” ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริม ให้นักศึกษาได้พัฒนาทักษะด้าน ภาษาอังกฤษ ฟัง พูด อ่าน เขียน อีกทั้งมีความกล้าแสดงออกใน การใช้ ภ าษาอั ง กฤษในชี วิ ต ประจ�ำวันและในที่ชุมชนอีกด้วย รองศาสตราจารย์ ลัดดา เอกสมทราเมษฐ์ รองคณบดีฝ่าย พัฒนานักศึกษา คณะวิทยาศาสตร์ ได้กล่าวถึงทีม่ าของโครงการนีว้ า่ “การสร้างกิจกรรมให้นักศึกษา เข้าร่วม ก็เป็นอีกหนึ่งแนวทางที่ จะท�ำให้นกั ศึกษาได้พฒ ั นาภาษา อังกฤษของตัวเอง ซึ่งก่อนหน้านี้ ทางคณะก็ได้พยายามส่งเสริม และพั ฒ นาภาษาอั ง กฤษของ รศ. ลัดดา เอกสมทราเมษฐ์ นักศึกษาผ่านทาง ชุมนุมภาษา ต่างประเทศ โดยทางคณะจะมีงบประมาณสนับสนุนกิจกรรมทีน่ กั ศึกษา จัดขึ้น ผนวกกับปัจจุบันคณะวิทยาศาสตร์ต้องการเตรียมความพร้อม นักศึกษาเข้าสูป่ ระชาคมอาเซียน และพยายามหาแนวทางเพือ่ สร้างความ เข้มแข็งด้านภาษาอังกฤษให้สอดคล้องกับนโยบายการสร้างความ แข็งแกร่งด้านภาษาอังกฤษให้แก่นกั ศึกษา ส่วนของการพัฒนานักศึกษา คณะวิทยาศาสตร์ จึงได้คิดจัดกิจกรรมในระดับคณะ เพื่อให้ทุกภาควิชา เข้ามามีส่วนร่วม โดยประสานกับคณะกรรมการพัฒนานักศึกษา ซึ่งเป็น ตัวแทนของคณาจารย์ในแต่ละภาควิชา ได้ประชุมร่วมกัน เพือ่ แจ้งปัญหา และวัตถุประสงค์ในการจัดกิจกรรม จึงเกิดโครงการ English Day ขึ้น”

www.sc.psu.ac.th 4

โครงการงานส่งเสริมกิจกรรมภาษาอังกฤษ English Day จะ จัดขึ้นในวันเสาร์ที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2555 เวลา 09.00 น. เป็นต้น ไป ณ ห้องสัมมนาคณะวิทยาศาสตร์ และลานตึกฟักทอง โดย ประกอบไปด้วยการประกวด/แข่งขัน 4 รายการ ได้แก่ การแข่งขัน สะกดค�ำ (Spelling Bee) การแข่งขันแสดงละครภาษาอังกฤษ การ ประกวดคาราโอเกะเพลงสากล และการแข่งขันเกม Scrabble ซึ่ง 2 รายการหลังจะมีการแข่งขันรอบคัดเลือกในระดับคณะ 1 ครั้ง เพื่ อ คั ด เลื อ กผู ้ ที่ จ ะเข้ า แข่ ง ขั น ในรอบตั ด สิ น ในวั น งานส่ ง เสริ ม กิจกรรมภาษาอังกฤษ English Day การจัดโครงการนี้ ทางคณะผู้จัดงานได้ใช้กลยุทธ์กระตุ้นให้ แต่ละภาคมีส่วนร่วมกับกิจกรรม โดยทุกภาควิชาจะมีการคัดเลือก นักศึกษาทีจ่ ะเข้าร่วมภายในแต่ละภาคฯ แล้วจะส่งมาแข่งขันต่อใน ระดับคณะต่อไป โดยรองศาสตราจารย์ ลัดดา ได้กล่าวเพิ่มเติมใน ส่วนของความคาดหวังจากการจัดกิจกรรมนี้ว่า “โครงการนี้จัดขึ้น เพื่อเป็นการพัฒนาทักษะทางด้านภาษาอังกฤษของนักศึกษา โดย ต้องการให้นักศึกษาฝึกกระบวนการคิด และการเขียนโครงการ เพราะในการท�ำกิจกรรมทุกอย่างจะมีนักศึกษาเข้ามามีส่วนร่วมใน ทุ ก ขั้ น ตอน โดยไม่ ไ ด้ ห วั ง ให้ ภ าควิ ช าจะส่ ง นั ก ศึ ก ษาที่ มี ค วาม สามารถอยูแ่ ล้วมาแข่งขัน แต่ตอ้ งการให้เกิดกิจกรรมในภาควิชาขึน้ ท�ำให้นักศึกษาได้มีโอกาสเข้าร่วมกิจกรรมมากขึ้น ซึ่งทางคณะจะ ให้นโยบายว่าต้องการเห็นภาพการแข่งขันคัดเลือกระดับภาควิชา ก่อนจะส่งมาแข่งขันในระดับคณะต่อไป อย่างเช่นการแข่งขัน คาราโอเกะ ซึง่ บางภาควิชาก็จะมีการจัดการแข่งขันภายในภาควิชา ตนเองก่อน แล้วส่งผู้ชนะในภาควิชาเข้าร่วมในระดับคณะต่อไป ซึง่ ถือเป็นจุดเริม่ ต้นทีด่ ี และคาดว่าจะจัดโครงการนีข้ นึ้ ในทุกๆ ปี แต่ อาจจะมีการปรับเปลี่ยนกิจกรรมการแข่งขันย่อยเพื่อให้ได้พัฒนา ทักษะทางด้านภาษาอังกฤษให้ครบทุกด้าน”


ร ต ู ส ก ั ล ห ำ � น ะ แน หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาคณิตศาสตร์, วท.บ. (คณิตศาสตร์)

Bachelor of Science Program in Mathematics, B.Sc. (Mathematics) ภาควิชาคณิตศาสตร์และสถิติจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรวิทยา ศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์ และสาขาวิชาสถิติ หลักสูตรวิทยา ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์และสถิติ และสอนรายวิชาทาง คณิตศาสตร์และสถิติให้หลักสูตรอื่น ๆ ในมหาวิทยาลัย โดยเน้นการศึกษา เกี่ยวกับคณิตศาสตร์บริสุทธิ์ คณิตศาสตร์ประยุกต์ และสถิติประยุกต์ เพื่อ ผลิตนักคณิตศาสตร์และนักสถิติ ซึ่งเป็นบุคลากรในสาขา ขาดแคลนซึ่งเป็น ที่ต้องการของตลาดในปัจจุบันและอนาคต บัณฑิตสามารถท�ำงานในอาชีพ ต่าง ๆ หรือศึกษาต่อในหลักสูตรทีส่ นใจได้อย่างหลากหลายด้วยความมัน่ ใจ เพราะได้รับการติดอาวุธทางปัญญาคือ การคิดวิเคราะห์ด้วยเหตุและผล อย่างเป็นระบบตามธรรมชาติชองสาขาคณิตศาสตร์และสถิตทิ ไี่ ด้บม่ เพาะมา แล้ว โดยฉบับนี้ ขอแนะน�ำหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาคณิตศาสตร์ ซึ่งประกอบด้วยหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 135 หน่วยกิต

:: โอกาสทางการศึกษา

บัณฑิตที่จบปริญญาตรีสาขาคณิตศาสตร์สามารถศึกษาต่อในระดับ ปริญญาโทและปริญญาเอกทางด้านคณิตศาสตร์บริสุทธิ์และคณิตศาสตร์ ประยุกต์ได้ทั้งในและต่างประเทศ ซึ่งในปัจจุบันประเทศไทยก�ำลังต้องการ ก�ำลังคนที่จบการศึกษาทางคณิตศาสตร์ในระดับสูงเป็นจ�ำนวนมาก ตัวอย่างหลักสูตรปริญญาโททีบ่ ณ ั ฑิตสาขาคณิตศาสตร์ สามารถสมัคร เข้าศึกษาต่อได้ 1.วท.ม. (คณิตศาสตร์และสถิต)ิ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ หาดใหญ่ 2.วท.ม. (คณิตศาสตร์ประยุกต์) มหาวิทยาลัยมหิดล 3.วท.ม. (คณิตศาสตร์ประยุกต์) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี 4.วท.ม. (คณิตศาสตร์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และมหาวิทยาลัย เชียงใหม่ 5.วท.ม. (คณิตศาสตร์ศึกษา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ฯลฯ

ปริญญาโท (หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต)

สาขาวิชาคณิตศาสตร์

หลั ก สู ต รสาขาวิ ช าคณิต ศาสตร์ มี ค วามมุ ่ ง มั่ น ในการผลิ ต มหาบัณฑิตทีม่ คี วามรู้ ความสามารถด้านคณิตศาสตร์ สามารถท�ำงาน ร่วมกับผูอ้ นื่ ในองค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพ มุง่ เน้นในการเป็นผูม้ คี วาม รู้ทางด้านคณิตศาสตร์เป็นอย่างดี มีคุณธรรม จริยธรรม ปฏิบัติงาน ได้จริง สามารถจัดการกับปัญหาได้อย่างมีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์ เสียสละ และเป็นแบบอย่างทีด่ ี ร่วมสร้างสรรค์งานทางด้านคณิตศาสตร์ ที่เป็นประโยชน์ในการพัฒนาประเทศ หลักสูตรนี้มีความพร้อมในด้าน บุคลากรทางสาขาคณิตศาสตร์หลากหลายของแขนงวิชา คือ ทางด้าน การวิเคราะห์ พีชคณิต ทฤษฎีจำ� นวน และการประยุกต์ นอกจากผูส้ นใจ ที่จบการศึกษาในระดับปริญญาตรีในสาขาคณิตศาสตร์โดยตรงแล้ว

นอกจากนี้ พื้นฐานในการคิดวิเคราะห์ที่ดีจากการเรียนคณิตศาสตร์ ยังเอื้ออ�ำนวยให้บัณฑิตสามารถศึกษาต่อในระดับปริญญาโทได้ในหลาก หลายสาขา เช่น วิศวกรรมศาสตร์ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ นิติศาสตร์ บริหารธุรกิจ ฯลฯ

:: งานของบัณฑิตที่จบสาขาคณิตศาสตร์

• • • • • • • • •

ครู อาจารย์ นักวิชาการหรือนักวิจัยทางคณิตศาสตร์ เจ้าหน้าที่สารสนเทศ ฝ่ายควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์ เจ้าหน้าที่ประกันภัย เจ้าหน้าที่วิเคราะห์ข้อมูล ฝ่ายวางแผนการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรม เจ้าหน้าที่ในสถาบันทางการเงิน เช่น ธนาคาร ตลาดหลักทรัพย์ งานด้าน Logistic

ติดต่อ ส�ำนักงานภาควิชาคณิตศาสตร์และสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ตู้ ปณ 3 คอหงส์ 90112 โทรศัพท์/โทรสาร 0 7455 8842 Website : www.math.psu.ac.th Email : souvakon.j@psu.ac.th ภาควิชาฯ มีความตัง้ ใจทีจ่ ะเปิดโอกาสให้ผสู้ นใจสามารถสมัครเข้าเรียนได้โดย ไม่จ�ำเป็นต้องจบการศึกษาในสาขาคณิตศาสตร์โดยตรง ขอเพียงมีพื้นฐาน ความรู้วิชาคณิตศาสตร์ระดับปริญญาตรีพอสมควร มีความสนใจและมุ่งมั่น ทีจ่ ะศึกษาในหลักสูตรนี้ ผูท้ จี่ บหลักสูตรนีส้ ามารถประกอบอาชีพ เช่น อาจารย์ สอนวิชาคณิตศาสตร์ นักวิชาการคณิตศาสตร์ นักวิจัยทางคณิตศาสตร์ เจ้ า หน้ า ที่ ส ารสนเทศ และเจ้ า หน้ า ที่ ในสถาบั นทางการเงิ น (ธนาคาร ตลาดหลักทรัพย์) หรือศึกษาต่อในระดับสูงขึ้นต่อไปได้

ติดต่อ รศ.ดร.รณสรรพ์ ชินรัมย์ ประธานหลักสูตรฯ ห้อง M 314 ตึกคณิตศาสตร์ ภาควิชาคณิตศาสตร์และสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ ตู้ ปณ 3 คอหงส์ หาดใหญ่ สงขลา 90112 โทรศัพท์ : 0 7428 8660 Website : http://www.sc.psu.ac.th/units/graduate/ Email : ronnason.c@psu.ac.th หรือ sci-grad@group.psu.ac.th 5 www.sc.psu.ac.th


คุยกับคนเก่ง นศ.คณะวิทย์ ม.อ. ได้รับคัดเลือกให้เข้าร่วม โครงการทูตเยาวชนวิทยาศาสตร์ไทยประจ�ำปี 2554 Young Thai Science Ambassador (YTSA 2011)

โดย อพวช.

นางสาวธณิฎา เกตุทองสง (น้องน�้ำ) นักศึกษาในโครงการทุนเรียนดีวิทยาศาสตร์ แห่งประเทศไทย ชัน้ ปีที่ 3 ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ม.อ.) ได้รับคัดเลือกให้เข้าร่วมโครงการทูตเยาวชนวิทยาศาสตร์ไทยประจ�ำปี 2554 หรือ Young Thai Science Ambassador (YTSA 2011) โครงการดังกล่าวจัดขึ้นโดยองค์การพิพิธภัณฑ์ วิทยาศาสตร์แห่งชาติ (อพวช.) ร่วมกับ บริติช เคาน์ซิล ประเทศไทย บริษัท ทรูวิชั่น จ�ำกัด (มหาชน) และสมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ มีวตั ถุประสงค์เพือ่ พัฒนาทักษะด้านการสือ่ สารวิทยาศาสตร์ให้กบั เยาวชน และสร้างเครือข่ายเยาวชนนักวิทยาศาสตร์ ที่จะน�ำไปสู่การสร้างจิตส�ำนึกและความตระหนักทางวิทยาศาสตร์ให้เกิดขึ้นในสังคมไทย น้องน�้ำได้เล่าถึงที่มาในการเข้าร่วมโครงการดังกล่าวว่า “เห็นว่าเป็นโครงการที่น่าสนใจ จึงได้ส่งใบสมัครพร้อมกับโครงการที่จะน�ำเสนอในหัวข้อเกี่ยวกับการสื่อสารด้านวิทยาศาสตร์ ซึง่ เป็นข้อก�ำหนดให้กบั ผูท้ จี่ ะเข้าร่วมโครงการทุกคน และกรรมการจะคัดเลือกผูผ้ า่ นการคัดเลือก ให้เข้าค่ายในระดับประเทศ ณ องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งขาติ กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 13-17 กรกฎาคม 2554 โดยในปีนี้มีผู้ผ่านการคัดเลือกจ�ำนวน 12 คน หลังจาก ได้เข้าค่ายและร่วมกันท�ำกิจกรรมแล้ว ทุกคนจะต้องคิดและน�ำเสนอโครงการด้านวิทยาศาสตร์ ของตนเองในประเด็นความเชื่อด้านวิทยาศาสตร์อีกด้วย” จากการทีจ่ ะต้องน�ำเสนอโครงการในประเด็นความเชือ่ ด้านวิทยาศาสตร์ ท�ำให้นอ้ งน�ำ้ ได้คดิ และเตรียมข้อมูลทีจ่ ะน�ำเสนอประเด็นความเชือ่ เกีย่ วกับพลังงานของเหรียญควอนตัม้ ทีแ่ พร่หลาย อยู่ในปัจจุบันว่า “ด้วยคนส่วนใหญ่จะเชื่อว่าเหรียญควอนตั้มจะมีพลังซ่อนอยู่ หากน�ำเหรียญ ดังกล่าวไปแช่ในน�้ำดื่ม ผู้ที่ดื่มน�้ำนั้นก็จะมีร่างกายแข็งแรง จึงใช้หลักวิทยาศาสตร์ มาอธิบาย และพิสจู น์วา่ ความเชือ่ ดังกล่าวไม่มขี อ้ เท็จจริงอยูเ่ ลย โดยมีกรรมการจาก อพวช. บริษทั ทรูวชิ นั่ จ�ำกัด (มหาชน) และสมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยฯ ให้คะแนนเนือ้ หาและการน�ำเสนอ และน�้ำก็ได้รับคัดเลือกตัวแทน 3 คนไปเข้าร่วมกิจกรรมทัศนศึกษาดูงานด้านวิทยาศาสตร์ เมื่อวันที่ 11-14 ตุลาคม 2554 ในงาน 2011 INTERNATIONAL CONFERENCE ON EARTHEN ARCHITECTURE IN ASIA ณ สาธารณรัฐเกาหลี เป็นเวลา 5 วัน โดยมีเงื่อนไข

ต่างประเทศ

www.sc.psu.ac.th 6

ว่ า จะต้ อ งน� ำ เสนอข้ อ มู ล ในหั ว ข้ อ วิ ท ยาศาสตร์ ข องประเทศเกาหลี เ มื่ อ กลั บ มายั ง ประเทศไทย ซึ่งจะเป็นการประมวลข้อมูลจากตัวแทนทั้ง 3 คน และจากการเข้าร่วม งานประชุมวิชาการที่สาธารณรัฐเกาหลี ท�ำให้ได้ทราบข้อมูล กระแสการตื่นตัวและ วางแผนอย่างจริงจังในการพัฒนาวิทยาศาสตร์ที่ล�้ำหน้ากว่าประเทศไทยเรามาก ดังนั้น การพัฒนาบุคลากรด้านวิทยาศาสตร์จึงมีความส�ำคัญยิ่ง เพื่อที่จะท�ำให้ประเทศของเรา พัฒนาไปได้เทียบเท่ากับนานาชาติ” ท้ายสุดน้องน�้ำได้กล่าวถึงประสบการณ์ที่ได้จากการเข้าร่วม โครงการนีว้ า่ “อยากจะให้นอ้ งๆ เพือ่ นๆ สมัครเข้าร่วมโครงการ ดังกล่าว เพราะจะได้รับประสบการณ์ดีๆ และเป็นการฝึก ตนเองในทุกๆ ด้านทั้งด้านกระบวนการคิด การน�ำเสนอ การอยูร่ ว่ มกันกับผูอ้ นื่ ในสังคม อีกทัง้ ยังได้เปิดโลกทัศน์ เดินทางไปต่างประเทศอีกด้วย”

เมื่อวันที่ 19 - 20 พฤศจิกายน 2554 คณะวิทยาศาสตร์ จัดโครงการ กิจกรรม English Camp ครั้งที่ 1 ให้แก่ นักศึกษาโครงการพัฒนาก�ำลังคนด้าน วิทยาศาสตร์ (ทุนเรียนดีวิทยาศาสตร์ แห่งประเทศไทย) คณะวิทยาศาสตร์ ณ โรงแรมพาวิลเลี่ยน สงขลา และ สถาบั น วิ จั ย การเพาะเลี้ ย งชายฝั ่ ง จ.สงขลา เพื่อพัฒนาศักยภาพทาง ด้านการท�ำงานเป็นกลุ่ม ความคิด สร้างสรรค์ และความกล้าแสดงออก และกล้ า ที่ จ ะสื่ อ สารภาษาอั ง กฤษ มากขึ้ น ซึ่ ง มี ก ารท� ำ กิ จ กรรมเพื่ อ ฝึ ก ทัก ษะฟั ง พู ด อ่า น เขีย นและ ศั พ ท์ ภ าษาอั ง กฤษแก่ นั ก ศึ ก ษา ร่ ว มกั บ นัก ศึ ก ษาชาวต่ า งชาติ ข อง คณะวิทยาศาสตร์อีกด้วย

เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2554 Dr. James True อาจารย์ประจ�ำภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ ได้น�ำ Dr. Edi Rudi นักชีววิทยาทางทะเล จาก Faculty of Science, Syiah Kuala University ประเทศอิ น โดนี เซี ย เข้ า พบ รศ.ดร.จุฑามาส ศตสุข คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ เพือ่ เจรจา แสวงหาความร่วมมือทางวิชาการร่วมกัน โดยประสงค์จะให้ มี ก ารลงนามความร่ ว มมื อ และมี แ ผนระยะสั้ น ในการ จัดประชุมปฏิบัติการร่วมกันในปีหน้า


บุคลากรคณะวิทยาศาสตร์ร่วมแสดงความจงรักภักดีและน้อมจิตอธิษฐาน

แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในวันพ่อแห่งชาติ 2554

A C T I V I T I E S คณะวิทยาศาสตร์เข้าร่วม โครงการปลูกป่า เฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษา มหาราชา

เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2554 สหกรณ์ออมทรัพย์มหาวิทยาลัยสงขลา นคริ น ทร์ จั ด โครงก ารปลู ก ป่ า เฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษา มหาราชา ให้ได้จ�ำนวน 100 ไร่ ในระยะเวลา 2 ปี ณ บริเวณป่าสงวนแห่งชาติเขาวังพา อ.คลองหอยโข่ ง จ.สงขลา ซึ่ ง มี คณาจารย์ บุคลากรและนักศึกษาคณะ วิทยาศาสตร์เข้าร่วมด้วย

7 www.sc.psu.ac.th


การประชุมวิชาการพฤกษศาสตร์ แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 6 6th Botanical Conference of Thailand ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ร่วมกับภาค วิ ช าชี ว วิ ท ยา คณะวิ ท ยาศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย รามคําแหง, ภาควิ ช า พฤกษศาสตร์ คณะวิ ท ยาศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ และสมาคม พฤกษศาสตร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชินูปถัมภ์ เป็นเจ้าภาพจัดการประชุม วิชาการพฤกษศาสตร์แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 6 ระหว่ างวันที่ 28-30 มีนาคม 2555 ณ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ อําเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา งานดั ง กล่ า วจั ด ขึ้ น เพื่ อ สนั บ สนุน ให้ มี ก ารน� ำ เสนอเผยแพร่ ผ ลงานวิ จั ย ด้ า น พฤกษศาสตร์และแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ และความคิดเห็นระหว่าง อาจารย์ นัก วิ จั ย นัก วิ ช าการ นิ สิ ต นัก ศึ ก ษา และผู ้ ที่ ส นใจ ท� ำ ให้ เ กิ ด ความ ร่ ว มมื อ ทางวิ ช าการ อั นจะน� ำ ไปสู ่ ก ารเพิ่ ม พู นความรู ้ แ ละเพิ่ ม ความเข้ ม แข็ ง ทางวิชาการสาขาพฤกษศาสตร์ของไทยให้เจริญก้าวหน้ายิ่งขึ้น ขอบเขตของผลงานวิ จั ย ที่ น� ำ เสนอ : อนุ ก รมวิ ธ าน สรี ร วิ ท ยา สั ณฐานวิ ท ยา กายวิ ภ าค พั นธุ ศ าสตร์ เทคโนโลยี ชี ว ภาพ ชี ว โมเลกุ ล พฤกษเคมี และพฤกษศาสตร์พื้นบ้าน ตลอดจนสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง เช่น พืชสวน พืชไร่นาวิทยา สาหร่าย เห็ดรา และไลเคน ผู้สนใจเข้าร่วมสามารถติดต่อขอรายละเอียดเพิ่มเติมที่ ดร.สหัช จั น ทนาอรพิ น ท์ ภาควิ ช าชี ว วิ ท ยา คณะวิ ท ยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โทรศัพท์ 0 7428 8509 โทรสาร 0 7455 8840 Website : http://www.biology.sci.psu.ac.th และ http://th-th.facebook.com/bct2012

เครื่ อ งกรองน�้ ำ แบบพกพาของคณะวิ ท ยาศาสตร์ ม.อ. ที่บริจาคเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยในภาคกลางเป็น เครื่องกรองน�้ำแบบกี่ท่อ?

โปรดส่งชื่อ-ที่อยู่ พร้อมค�ำตอบมาที่ หน่วยวิเทศสัมพันธ์และประชาสัมพันธ์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ตู้ ปณ. 3 คอหงส์ ต.หอหงส์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 90112 * หมดเขตรับค�ำตอบในวันที่ 10 ก.พ. 2554 * จับฉลากหาผู้โชคดีที่จะได้รับ “ปากกาที่ระลึก จ�ำนวน 20 รางวัล” * ประกาศรายชื่อผู้โชคดีในจดหมายข่าวคณะวิทยาศาสตร์ ในฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม – กุมภาพันธ์ 2555 ต่อไป (ยกเว้น...บุคคลภายในคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์)

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ตู้ ปณ.3 คอหงส์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 90112 โทรศัพท์ 0-7428-8022, 0-7428-8008

ช�ำระค่าฝากส่งเป็นรายเดือน ใบอนุญาตเลขที่ 9/2524 ปท.ฝ. คอหงส์

(นายไพบูลย์ เตียวจ�ำเริญ) หัวหน้าหน่วยสารบรรณ

Design by blueimage 0-7446-4401

ค�ำถาม :

เกมร่วมสนุก


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.