ทรงพระเจริญ ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า คณาจารย์ บุคลากรคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
สารบัญ
คณะผู้จัดทำ� ที่ปรึกษา I รศ.์ดร.วิไลวรรณ โชิตเกียรติ , ผศ.ดร.ภัทร อัยรักษ์ , รศ.ดร.อัญชนา ประเทพ บรรณาธิการ I ดร.ภูวดล ธนะเกียรติไกร รองบรรณาธิการ I ดร.กมลธรรม อำ�่สกุล กองบรรณาธิการ I คณะกรรมการการจัดทำ�วารสารคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เลขากองบรรณาธิการ l อิสรภาพ ชุมรักษา ประสานงานกองบรรณาธิการ I ศศิมา หมื่นนคร รูปเล่ม I ประชาสัมพันธ์ คณะวิทยาศาสตร์ จัดพิมพ์ I คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ตู้ปณ. 3 ตำ�บลคอหงส์ อำ�เภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90112 Tel 0 7428 8022 E-mail I sci-pr@group.psu.ac.th
อ่านวารสารฉบับออนไลน์ได้ที่ www.sc.psu.ac.th/ Facebook I PSUSci Twitter I PSUSci Instargram I PSUSci Google+I gplus.to/PSUSci ธันวาคม 2556 I วิทยาศาสตร์(สาร) I 2
บทบรรณาธิการ EDITOR’S TALK
ธันวาคม 2556 I วิทยาศาสตร์(สาร) I 3
สารจากผู้บริหาร ADMINISTRATOR TALK
ความพร้อมของนักศึกษา คณะวิทยาศาสตร์ สู่ AEC รองศาสตราจารย์ ดร.วิไลวรรณ โชิติเกียรติ คณบดีคณะวิทยาศาสตร์
ธันวาคม 2556 I วิทยาศาสตร์(สาร) I 4
รอบรั้ว วิดยา SCIENCE ALL
ลงนามความร่วมมือระหว่างคณะวิทยาศาสตร์ กับ Institute of Tropical Biology (VIETNAM)
2 I 10 I 2556 11 I 10 I 2556
เมื่อวันพุธที่ 2 ตุลาคมที่ผ่านมา คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ รองศาสตราจารย์ ดร.วิไลวรรณ โชติเกียรติ และ Dr.Hoang Nghia Son Director, Institute of Tropical Biology ได้ลงนามความร่วมมือระหว่างคณะวิทยาศาสตร์ กับ Institute of Tropical Biology (VIETNAM) โดยได้รับการติดต่อจากผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สาระ บำ�รุงศรี ภาควิชาชีววิทยา กับนักวิจัยของ Institute of Tropical Biology เพื่อแลกเปลี่ยนงานทางด้านการวิจัย เนื่องจากมีทรัพยากรความหลากหลายที่คล้ายคลึง กัน โดยในครั้งนี้
คณะวิทยาศาสตร์ ต้อนรับคณาจารย์และนักศึกษาจากคณะวิทยาศาสตร์ UNIVERSITI SAINS ISLAM MALAYSIA
เมื่อวันศุกร์ ที่ 11 ตุลาคม ที่ผ่านมา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ ได้มีโอกาสต้อนรับ คณะครูอาจารย์ นักศึกษา จาก คณะวิทยาศาสตร์ UNIVERSITI SAINS ISLAM MALAYSIA โดยมีท่านอาจารย์ Mr.Hishamuddin bin Abdul Wahab. และนักศึกษาระดับ ปริญญาตรี จำ�นวน 22 คน โดยมีผู้ ช่วยคณบดีฝ่ายวิเทศสัมพันธ์และประชาสัมพันธ์ ดร.ภูวดล ธนะเกียรติไกร เป็น ผู้ให้การต้อนรับ โดยกำ�หนดการ คณาจารย์เเละนักศึกษา ดูงานที่ภาควิชาฟิสิกส์ และภาควิชาเคมี
ธันวาคม 2556 I วิทยาศาสตร์(สาร) I 5
รอบรั้ว วิดยา SCIENCE ALL
การสัมภาษณ์รับนักศึกษาโครงการผลการเรียนดีเข้าศึกษา ในระดับปริญญาตรีประจำ�ปี 2557
เมื่อวันที่ 17 ตุลาคม 2556 ณ ห้องสัมมนาคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ คณะวิทยาศาสตร์ ได้ดำ�เนินโครงการรับนักศึกษาโครงการผลการ เรียนดีเข้าศึกษาในระดับปริญญาตรี ประจำ�ปี 2557 คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ โดยในปีนี้มีนักเรียนรายงานตัวเข้าโครงการทั้งสิ้น 240 คน
17 I 10 I 2556
ธันวาคม 2556 I วิทยาศาสตร์(สาร) I 6
รอบรั้ว วิดยา SCIENCE ALL
ธันวาคม 2556 I วิทยาศาสตร์(สาร) I 7
รอบรั้ว วิดยา SCIENCE ALL
ธันวาคม 2556 I วิทยาศาสตร์(สาร) I 8
เล่าเรื่องประกันคุณภาพ SCIENCE ALL
ว่าด้วย.....งานประกันคุณภาพ คณะวิ
ธันวาคม 2556 I วิทยาศาสตร์(สาร) I 9
คนเก่ง วิดยา SCIENCE ALL
ขอแสดงความยินดีกับ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อารีย์ ชูดำ� รางวัลเกียรติบัตรนำ�เสนอผลงานยอดเยี่ยมแบบโปสเตอร์ ขอแสดงความยินดีกับ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อารีย์ ชูดำ� อาจารย์จาก ภาควิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ทีไ่ ด้รบั รางวัลเกียรติบตั รนำ�เสนอผลงานยอดเยีย่ มแบบโปสเตอร์ การประชุมวิชาการ “นักวิจัยรุ่นใหม่ พบ เมธีวิจัยอาวุโส สกว.” ครั้งที่ 13 เมื่อวันที่ 18 ตุลาคม 2556 โดยมี ศ.ดร.จำ�รัส ลิ้มตระกูล เมธีวิจัยอาวุโส สกว. เป็นผู้มอบรางวัล
ขอแสดงความยินดี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดรุณี ผ่องสุวรรณ และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อุราพร วงศ์วัชรานนท์ และคณะ ที่ได้รับรางวัลอาจารย์ตัวอย่างและผลงานดีเด่นของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประจำ�ปี 2556
ธันวาคม 2556 I วิทยาศาสตร์(สาร) I 10
เรื่องจากปก COVER STORY
ผลวิจัยทางสมองชี้พืชกระท่อม ช่วยลดอาการลงเเดงจากสารเสพติดในหนูทดลอง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เอกสิทธิ์ กุมารสิทธิ์ อาจารย์ประจำ�ภาควิชาสรีรวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
กระท่อม(Kratom) มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Mitragyna speciosa Korth. อยู่ในวงศ์ Rubiaceae เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางสูง 10-15 เมตร ใบเป็นใบเดี่ยวสีเขียว เรียงตัวเป็นคู่ตรงพบมากใน ป่าธรรมชาติบริเวณภาคใต้ เช่น สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช ตรัง สตูลพัทลุง สงขลา ยะลา ปัตตานี นราธิวาส และตอนบนของ ประเทศมาเลเซีย กระท่อมเป็นพืชเสพติดให้โทษประเภท 5 ตามพ ระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 ธันวาคม 2556 I วิทยาศาสตร์(สาร) I 11
เรื่องจากปก COVER STORY
เริ่มต้นจากงานวิจัยเรื่องผลของสารสกัดน้ำ�จากใบกระท่อมต่อ อาการถอนเอทานอล (ลงแดง) ในหนูทดลองซึ่งได้ตีพิมพ์ผลงานไป แล้วในวารสาร Fitoterpia พบว่าสารสกัดน้ำ�จากในกระท่อมสามารถ ลดอาการถอนเอทานอลในหนูทดลองที่ถูกชักนำ�ให้ติดเอทานอลได้ หลังจากนั้นจึงได้มีการศึกษาเพิ่มเติม โดยศึกษาผลของสารสกัดอัลคา ลอยด์จากใบกระท่อมต่อการกระตุ้นการทำ�งานของสมองที่เกี่ยวข้อง กับการเสพติด โดยเฉพาะบริเวณนิวเคลียส แอคคัมเบนส์ (nucleus accumbens) และ สไตรเอตัม (striatum) ซึ่งเป็นบริเวณที่เซลล์ ประสาทสื่อสารกันด้วยสารโดปามีน (dopamine) การกระตุ้นสมอง บริเวณนี้มีผลทำ�ให้รู้สึกเป็นสุข เคลิบเคลิ้มและติดใจ และสุดท้ายนำ�ไป สู่การเสพติดได้ จากการศึกษาโดยวิธีการตรวจวัดโปรตีนที่พิสูจน์ว่ามีการกระตุ้ นการทำ�งานของเซลล์สมองบริเวณที่ต้องการศึกษา พบว่าสารสกัดอัล คาลอยด์จากใบกระท่อมที่ความเข้มข้น 40 และ 80 มก. ต่อน้ำ�หนัก ตัว 1 กก. ไม่มีผลกระตุ้นการทำ�งานของสมองทั้งสองบริเวณ ในขณะ ที่ผลการศึกษาฤทธิ์ของยาซูโดอีฟีดรีน (pseudoephedrine) ที่ใช้เป็น ส่วนผสมของยาแก้หวัด คัดจมูก ที่ผ่านมาของผู้วิจัยเองในปี 1998 พบ ว่ายาซูโดอีฟีดรีน มีฤทธิ์คล้ายกับสารเสพติด เช่นแอมเฟตามีน โดยมี ผลกระตุ้นสมองบริเวณนิวเคลียส แอคคัมเบนส์ และสไตรเอตัม อย่างไรก็ตาม เพื่อความแน่ใจ ขั้นตอนที่จะต้องศึกษาต่อไป คือการ ตรวจวัดผลของสารสกัดจากใบกระท่อมต่อการทำ�งานของสมองด้วย เทคนิคที่มีความไวต่อการเปลี่ยนแปลงและสามารถติดตามการทำ�งาน ของสมองได้ต่อเนื่องแบบ real-time ซึ่งเทคนิคดังกล่าวคือการวัด สัญญาณคลื่นไฟฟ้าสมอง (electroencephalo-graphy, EEG)
สำ�หรับการศึกษาผลระยะยาวของการได้รับสารสกัดจากใบกระท่อม เพื่อดูอาการถอนหรืออาการลงแดงโดยเปรียบเทียบผลกับสารเสพติด มาตรฐาน ได้แก่ มอร์ฟีน และเอทานอล ผลการศึกษาพบว่าการได้รับ มอร์ฟีนเพียง 3 วัน มีผลทำ�ให้หนูทดลองติด และเมื่อชักนำ�ให้เกิดอาการ ถอน ทำ�ให้เกิดอาการถอนอย่างรุนแรง เช่น การกระโดดซ้ำ� ๆ ซึ่งจะไม่ เกิดขึ้นในภาวะปกติ พร้อมทั้งมีการขับถ่ายเรี่ยราด เหมือนในกรณีของ คนที่มีอาการลงแดงจากการเสพติดมอร์ฟีน ส่วนการทดสอบการเสพ ติดเอทานอล โดยให้หนูทดลองกินอาหารเหลวที่มีเอทานอลผสมอยู่ 7 เปอร์เซ็นต์ด้วยตัวหนูเองเป็นเวลานาน 21 วัน ส่วนวันที่ 22 งดให้อาหาร เหลวที่มีเอทานอล พบว่าหนูทดลองเกิดอาการถอนเอทานอล เห็นได้จากการเคลื่อนไหวที่พลุ่งพล่านมากขึ้น ซึ่งสัมพันธ์กับการเพิ่ม ขึ้นของคลื่นไฟฟ้าสมองในช่วงความถี่แกมม่า (gamma wave) ในขณะ ที่หนูทดลองที่ได้รับสารสกัดอัลคาลอยด์จากใบกระท่อมเป็นเวลานาน 3 เดือน ในปริมาณ 20 มก. ต่อน้ำ�หนักตัว 1 กก. นั้นเมื่อหยุดให้สารสกัด พบว่าไม่ทำ�ให้เกิดอาการถอน หรือทุรนทุรายทางด้านร่างกายดังที่พบใน การศึกษาการถอนมอร์ฟีนและเอทานอลเลย สรุปคือไม่พบอาการถอน กระท่อมทางด้านร่างกาย อย่างไรก็ตามควรมีการทดสอบขั้นต่อไปด้วย การวัดคลื่นไฟฟ้าสมองซึ่งไวและมีความละเอียดสูงกว่าเพื่อศึกษาความ เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในสมอง ซึ่งจะทำ�ให้ได้คำ�ตอบที่ชัดเจน
ธันวาคม 2556 I วิทยาศาสตร์(สาร) I 12
เรื่องจากปก COVER STORY
ได้มีการทดลองนำ�พืชกระท่อมมาประยุกต์ใช้ลดอาการถอนจากการเสพติดมอร์ฟีนและเหล้า พบว่าสารสกัดอัลคาลอยด์จากใบกระท่อม ช่วยลดอาการถอนมอร์ฟีนโดยวัดจากพฤติกรรมการกระโดดและการขับถ่ายเหลว ส่วนอาการถอนเหล้าหรือเอทานอลนั้น จากการประเมินผล ด้านพฤติกรรม สังเกตได้จากระยะทางรวมทั้งหมดขณะที่หนูทดลองเคลื่อนไหว พบว่าหนูทดลองกลุ่มที่ถูกชักนำ�ให้มีอาการถอนเหล้ามีระดับการ เคลื่อนไหวเพิ่มขึ้นเป็นอย่างมากซึ่งแสดงถึงอาการลงแดงจากภาวะถอนเหล้านั่นเอง และเมื่อให้สารสกัดอัลคาลอยด์จากใบกระท่อมในขนาด 60 มก. ต่อน้ำ�หนักตัว 1 กก. แก่หนูทดลองก่อนการถอนเหล้า พบว่าอาการถอนเหล้าลดความรุนแรงลงได้ และยังมีการค้นพบที่น่าสนใจอย่างยิ่งคือ สา รสกัดอัลคาลอยด์จากใบกระท่อมบรรเทาอาการถอนเหล้าได้ผลดีพอ ๆ กับยามาตรฐานที่ใช้คือ ฟลูอ็อกซีติน (fluoxetine) ในขนาด 10 มก. ต่อน้ำ� หนักตัว 1 กก. นอกจากการประเมินทางด้านพฤติกรรมแล้ว ยังมีการยืนยันด้วยรูปแบบของคลื่นไฟฟ้าสมอง จากรูปซึ่งแสดงคลื่นไฟฟ้าสมองในช่วงความ ถี่แกมม่า จะเห็นได้ว่าหนูทดลองกลุ่มที่ไม่ถอนเหล้าเปรียบเทียบกับกลุ่มที่ถอนเหล้า มีความแตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัด คือคลื่นช่วงความถี่แกมม่ามี ค่าเพิ่มขึ้นในกลุ่มที่ถอนเหล้า แต่เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มที่ถอนเหล้าแต่ได้รับให้สารสกัดจากใบกระท่อม คลื่นช่วงความถี่แกมม่าลดลงอย่างเห็นได้ ชัด ผลจากการทดลองนี้ยืนยันได้ว่า สารสกัดจากใบกระท่อม สามารถลดอาการลงแดงได้ชัดเจนอย่างมีนัยสำ�คัญตามหลักฐานทาง วิทยาศาสตร์ การศึกษาด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นี้เป็นสิ่งที่ สามารถทำ�ซ้ำ�และได้ผลเหมือนเดิม ไม่ขึ้นอยู่กับตัวบุคคล หรือเวลา และสถานที่ สรุปแล้วพืชกระท่อมสามารถบรรเทาอาการถอนเหล้าได้ ผลใกล้เคียงกับยามาตราฐานฟลูอ็อกซีติน ไม่ว่าจะศึกษาจากพฤติกรรม หรือจากคลื่นไฟฟ้าสมอง และจากการศึกษาผลแบบเฉียบพลันของสารสกัดจากใบกระท่อม ต่อภาวะหลับ-ตื่น โดยเปรียบเทียบกับหนูทดลองกลุ่มควบคุมและกลุ่ม ที่ได้รับยามาตรฐานคือฟลูอ็อกซีติน 10 มก. ต่อน้ำ�หนักตัว 1 กก. พบ ว่าฟลูอ็อกซีตินทำ�ให้รูปแบบการนอนหลับเปลี่ยนแปลงไปจากปกติ คือ มีผลกดการนอนหลับช่วงที่มีการกลอกลูกตา (rapid eye movement sleep) ส่วนหนูทดลองที่ได้รับสารสกัดอัลคาลอยด์จากใบกระท่อมทั้ง ขนาด 10 และ 60 มก. นั้นไม่มีผลกดการนอนหลับช่วงที่มีการกลอกลูก ตา แสดงให้เห็นว่าพืชกระท่อมไม่มีผลข้างเคียงดังกล่าว การวิจัยที่กล่าวมาข้างต้นเป็นการศึกษาในหนูทดลองที่มีการควบคุมปัจจัยต่างๆ ด้วยหลักการทางวิทยาศาสตร์ เพื่อตัดปัจจัยบิดเบือนจาก การตัดสินหรือความคาดหวังของมนุษย์ แม้ว่าผลการทดลองที่ผ่านมาจะยังไม่สามารถชี้ชัดถึงฤทธิ์เสพติดของพืชกระท่อมได้ อย่างไรก็ตาม เมื่อดู จากพฤติกรรมการเคี้ยวใบกระท่อมอย่างต่อเนื่องในกลุ่มเกษตรกรก็น่าจะบ่งบอกถึงฤทธิ์เสพติดได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ที่เคี้ยวใบกระท่อมเป็นเวลา สิบ ๆ ปี นั้น ถ้าไม่ได้เคี้ยวเมื่อถึงเวลาจะรู้สึกว่าไม่กระปรี้กระเปร่าหรือพร้อมที่จะทำ�งาน มีอาการอยากเคี้ยว หาวบ่อยๆ และหาวจนน้ำ�หูน้ำ�ตาไหล คล้าย ๆ กับคนที่ติดการเคี้ยวหมาก เพียงแต่ผลที่มีต่อร่างกายนั้นไม่ชัดเจนเท่ากับการขาดเมทแอมเฟตามีน นอกจากนี้ยังสามารถตรวจวัดผลของกระท่อมต่อการทำ�งานของสมองได้หลายวิธี การวัดผลทางพฤติกรรมอาจจะทำ�ให้ได้เพียงข้อมูลเบื้อง ต้น ดังนั้นจึงจำ�เป็นต้องมีการนำ�วิธีการตรวจวัดการทำ�งานของสมองที่ไวและละเอียดกว่ามาใช้ และถ้าพบว่าการหยุดเสพกระท่อมแล้วนำ�ไปสู่ความ ผิดปกติของสมอง ก็จะสามารถชี้ชัดได้ว่ากระท่อมเป็นพืชที่มีฤทธิ์เสพติดหรือมีโทษ ปัจจุบันห้องปฏิบัติการทางระบบประสาทของเราได้พัฒนา วิธีการบันทึกคลื่นไฟฟ้าสมองทั้งในสัตว์ทดลองและในคนเพื่อรองรับงานวิจัยด้านสารเสพติด รวมทั้งสารใหม่ๆ ที่มีการนำ�มาเสพหรือใช้แบบผิด วัตถุประสงค์เพื่อให้ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ที่จำ�เป็นและทันต่อเหตุการณ์
ธันวาคม 2556 I วิทยาศาสตร์(สาร) I 13
เรื่องจากปก COVER STORY
“ส่วนแนวความคิดที่จะนำ�มาใช้เพื่อบำ�บัดการเสพติดก็ มีความเป็นไปได้ขึ้นอยู่กับการประยุกต์ใช้สรรพคุณและ หลีกเลี่ยงด้านที่เป็นโทษก็จะเกิดประโยชน์สูงสุด ที่สำ�คัญ ไม่ควรให้มีการทดลองใช้พืชกระท่อมตามลำ�พัง ควรอยู่ ภายใต้การดูแลของศูนย์บำ�บัดอย่างใกล้ชิด”
ธันวาคม 2556 I วิทยาศาสตร์(สาร) I 14
สุขกับการทำ�งาน SCIENCE ALL
ธันวาคม 2556 I วิทยาศาสตร์(สาร) I 15
สัมภาษณ์พิเศษ SPECIAL INTERVIEW
องค์ความรู้งานวิจัยจากเยอรมัน
ตอนเหนือสู่ตอนใต้ของประเทศไทย สัมภาษณ์ / เขียนข่าวโดย ศศิมา หมื่นนคร นักประชาสัมพันธ์
เป็นอีกครั้งหนึ่งที่คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มีโอกาสต้อนรับนักศึกษาชาวต่างชาติในระดับปริญญาตรีเข้าร่วมทำ�วิจัย แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ทางวิชาการระหว่างกัน ….. Ms. Henrike Schmidt นักศึกษาระดับปริญญาตรีจาก University of Kiel, Germany ทางตอนเหนือของประเทศเยอรมนี ได้รับทุน จาก DAAD, The German Academic Exchange Service ณ ภาควิชา ฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ซึ่งได้เข้าฝึกงานใน ระยะเวลา 6 สัปดาห์ เหตุผลที่ Rike เลือกมารับทุนที่ประเทศไทย และเลือกลงที่ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เพราะเธอมองว่าคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ มีสาขาที่รองรับเนื้อหา ทางด้านวิชาการ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง รวมถึงยังมี ดร.HELMUT JOSEF DURRAST อาจารย์ประจำ�ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ อาจารย์ ชาวเยอรมนีที่มีความเชี่ยวชาญในด้านที่ตนเองสนใจอยู่ที่นี่อีกด้วย นอก เหนือจากความรู้ทางด้านวิชาการแล้ว Rike ยังให้ความสนใจเกี่ยวกับศิลป วัฒนธรรมของไทย และยังหวังว่าจะได้แลกเปลี่ยน เรียนรู้ และสามารถนำ� ไปเผยแพร่ เล่าสู่กันฟังให้กับเพื่อนๆชาวเยอรมนีต่อไป
แต่สิ่งเหล่านี้ก็ไม่ได้ทำ�ให้ Rike มีทัศนคติหรือความรู้สึกที่ไม่ดี กับประเทศไทยแต่อย่างใด ในทางกลับกันกลับรู้สึกประทับใจ และรักที่จะได้ เรียนรู้ความแตกต่างที่มีของทั้งสองประเทศ ในช่วงเวลาที่มีเพียงแค่ 6 สัปดาห์เท่านั้น
ธันวาคม 2556 I วิทยาศาสตร์(สาร) I 16
แนะนำ�หลักสูตรปริญญาตรี SCIENCE ALL
ธันวาคม 2556 I วิทยาศาสตร์(สาร) I 17
สถานี ไอที IT TODAY
IPHONE 5S
ธันวาคม 2556 I วิทยาศาสตร์(สาร) I 18
รอบบ้านพิพิธภัณฑ์ IT TODAY
บุคลากรพิพิธภัณฑ์ฯ เข้าร่วมการประชุมใหญ่ ประจำ�ปีขององค์การพิพิธภัณฑ์นานาชาติ ทุกๆ 3 ปี องค์การพิพิธภัณฑ์นานาชาติ (International Council of Museum: ICOM) จะมี การจัดประชุมใหญ่เพื่อให้บุคลากรในวงการพิพิธภัณฑ์จากทั่วโลกได้พบปะเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้และ ประสบการณ์ รวมทั้งนำ�เสนอผลงานวิจัยด้านพิพิธภัณฑ์ สำ�หรับในปี 2013 นี้ มีการจัดประชุม ณ เมืองริโอ เดอ เจนีโร ประเทศบราซิล ซึ่งนับเป็น ครั้งที่ 23 แล้ว โดยการประชุมครั้งนี้มีผู้เข้าร่วมประชุมมากกว่า 2,000 คน และในปีนี้ทางคณะผู้จัดมี โครงการสนับสนุนทุนแก่นักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่จำ�นวน 100 คน ซึ่งหนึ่งในนั้นคือ นายยิ่งยศ ลาภวงศ์ นักวิทยาศาสตร์ประจำ�พิพิธภัณฑสถานธรรมชาติวิทยา ๕๐ พรรษา สยามบรมราชกุมารี โดยนายยิ่งยศ ได้เดินทางไปเข้าร่วมประชุมและฝึกอมรมเชิงปฏิบัติการระหว่างวันที่ 9 – 26 สิงหาคม ที่ผ่านมา และได้ เก็บเกี่ยวความรู้และประสบการณ์ต่างๆเพื่อนำ�มาพัฒนางานด้านพิพิธภัณฑ์ต่อไปในอนาคต
แต่สิ่งเหล่านี้ก็ไม่ได้ทำ�ให้ Rike มีทัศนคติหรือความรู้สึกที่ไม่ดี กับประเทศไทยแต่อย่างใด ในทางกลับกันกลับรู้สึกประทับใจ และรักที่จะได้ เรียนรู้ความแตกต่างที่มีของทั้งสองประเทศ ในช่วงเวลาที่มีเพียงแค่ 6 สัปดาห์เท่านั้น
ธันวาคม 2556 I วิทยาศาสตร์(สาร) I 19
คนเก่งในสื่อมวลชน IT TODAY
ชุดทดสอบสังกะสีภาคสนาม ผศ.ดร.วรากร ลิ่มบุตร รายการเกษตรก้าวไกล
เป็นชุดทดสอบสังกะสีภาคสนามในน้ำ� ยางพารา ดินและปุ๋ย ที่พัฒนาซึ่งโดยนักวิจัยไทย ราคาถูก ลดการเข้าจากต่างประเทศใช้งานง่าย ทั้งในและนอกสถานที่ใช้สารเคมีเป็นมิตรกับสิ่ง แวดล้อมไม่ต้องทำ� calibration curue
ธันวาคม 2556 I วิทยาศาสตร์(สาร) I 20
คนเก่งในสื่อมวลชน IT TODAY
2 อาจารย์นักวิจัย จากคณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และ
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ บูรณาการความรู้ร่วมกัน ศึกษาผลิตภัณฑ์สาร ออกฤทธิ์ทางชีวภาพ จากข้าวกล้องงอก ช่วยฟื้นฟูระบบประสาทและสมอง เตรียมศึกษาวิจัย เชิงลึกในมนุษย์ก่อนต่อยอดในเชิงพาณิชย์ ข้าวกล้องงอก เป็นอาหารที่ได้รับความนิยมบริโภค อย่างสูง และมีการผลิตเพื่อป้อนสู่ตลาดอาหาร เพื่อสุขภาพในปริมาณมากในช่วง 5 ปีที่ผ่าน มา เนื่องจากมีการกล่าวถึงสรรพคุณมากมายของข้าวกล้องงอก ต่อการบำ�บัดหรือช่วยฟื้นฟู สุขภาพของผู้บริโภค ทั้งการออกฤทธิ์ต่อต้านอนุมูลอิสระ การลดภาวะความเครียด คลายกังวล ซึ่งเป็นผลมาจากสารในกลุ่ม สารประกอบฟีนอลิก และสารกาบา (GABA: gamma-aminobutyric acid) เป็นต้น และจากจุดนี้จึงได้มีการศึกษาวิจัยลึกลงไป เพื่อศึกษาฤทธิ์ต่อสุขภาพอื่นๆ เพิ่มเติมของข้าวกล้องงอก ซึ่งพบว่าหากใช้กระบวนการและสภาวะในการเตรียมและสกัดที่ นอกจากนี้การทำ�งานวิจัยเชิงบูรณาการข้ามสาขาวิชาระหว่างสถาบัน ทำ�ให้เกิดความ เหมาะสม สามารถทำ�ให้ได้สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ ที่ส่งผลต่อการฟื้นฟูระบบประสาทและ ร่วมมือในการศึกษาเชิงลึกถึงผลของสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากข้าวกล้องงอกต่อสุขภาพ สมองในผู้สูงอายุได้ โดยได้พบว่าการกำ�หนดสภาวะและการ ควบคุมปัจจัยที่เหมาะสม รวมถึงการใช้สารกระตุ้น การทำ�งานของเอนไซม์บางชนิดในข้าว ทำ�ให้ข้าวกล้องมีการผลิต หรือสร้างสารออกฤทธิ์ คณะผู้วิจัยซึ่งทำ�งานวิจัยเชิงบูรณาการระหว่างสถาบัน นำ�โดย อ.ดร.เอกสิทธิ์ จงเจริญ สำ�คัญขึ้นในระหว่างกระบวนการงอก ซึ่งจากการศึกษาในสัตว์ทดลองพบว่าสารสกัดที่ได้จาก รักษ์ จากสาขา วิชาวิศวกรรมอาหาร คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ร่วมกับ ข้าวกล้องงอกนี้ ออกฤทธิ์ต่อการกระตุ้นให้การทำ�งานของสมองของสัตว์ทดลองที่ถูกทำ�ลาย ผศ.ดร.เอกสิทธิ์ กุมารสิทธิ์ ภาควิชาสรีรวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ไปฟื้นฟูขึ้น และยังพบว่าสามารถช่วยในการฟื้นฟูสภาวะการนอนหลับของสัตว์ทดลองที่ ได้ค้นพบว่า ในระหว่างกระบวนการงอกของข้าวนั้น หากทำ�การจำ�กัดสภาวะในการงอกของ มีอายุมากให้เข้าสู่สภาวะการหลับลึกได้อีกด้วย อีกทั้งยังส่งผลต่อคลื่นไฟฟ้าสมองของสัตว์ ข้าว เช่น การกำ�หนดความเป็นกรด-ด่าง ปริมาณออกซิเจนที่ให้ อุณหภูมิ ระยะเวลา รวมถึง ทดลอง ในช่วงที่บ่งชี้ถึงการเพิ่มขึ้นของความสามารถในการเรียนรู้ และจดจำ� ซึ่งโดยปกติแล้ว การให้สารสำ�คัญบางชนิดที่มีผลต่อกระบวนการงอกของข้าว มีผลทำ�ให้ข้าวกล้องงอก สร้าง เมื่อสัตว์หรือมนุษย์มีอายุมากขึ้น การเข้าสู่สภาวะหลับลึกเป็นไปได้ยากมากยิ่งขึ้น และ ส่งผล สารต่างๆ ออกมาแตกต่างกันไป และด้วยการศึกษาวิจัยอย่างต่อเนื่องเป็นเวลานานกว่า 5 ปี ต่อสุขภาพโดยองค์รวม เนื่องจากเมื่อนอนหลับได้ไม่เต็มที่ร่างกายจึงไม่ได้รับการพักผ่อนที่ โดยได้รับ การสนับสนุนทุนวิจัยจาก สำ�นักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ผ่านงบประมาณ เพียงพอ ทำ�ให้เกิด สภาวะเครียดของร่างกายหากเกิดสภาวะเช่นนี้ต่อเนื่องเป็นระยะเวลา แผ่นดิน จึงทำ�ให้ได้ข้อมูลมากมาย ที่สำ�คัญของสภาวะระหว่างกระบวนการงอกต่อการผลิตสาร นาน จะส่งผลให้ระบบการฟื้นฟูร่างกายโดย ธรรมชาติสูญเสียไป และส่งผลให้เกิดปัญหาสุข ออกฤทธิ์ทางชีวภาพของข้าวกล้องงอก เช่น หากทำ�ให้ เกิดสภาวะความเป็นกรดขึ้นเล็กน้อย ภาพอื่นๆตามมาในระยะยาว ระหว่างกระบวนการงอกของข้าวมีผลทำ�ให้ ข้าวเจริญหรืองอกและสร้าง สารออกฤทธิ์ต่อต้าน อนุมูลอิสระมากขึ้นกว่าที่สภาวะเป็นกลางหรือด่าง เป็นต้น ดังนั้นจากการค้นพบนี้จึงอาจเป็นแนวทางที่สำ�คัญในการนำ�สารสกัดออกฤทธิ์ทาง ชีวภาพจากข้าวกล้องงอกมาประยุกต์ใช้ในมนุษย์เพื่อใช้นในการบำ�บัดร่วมหรือฟื้นฟูผู้สูง อายุและผู้ที่มีปัญหาด้านการนอนหลับ ซึ่งไม่สามารถเข้าสู่สภาวะหลับลึกได้ อีกทั้งอาจช่วย ใน การบำ�บัดสำ�หรับผู้ที่มีปัญหาด้านสภาวะการเรียนรู้และจดจำ� นอกจากนี้จากการศึกษา ในเบื้องต้นพบว่า สารสกัดนี้ ไม่ก่อพิษและไม่ส่งผลเสียต่อสุขภาพของสัตว์ทดลองจึงไม่เป็น อุปสรรคในการนำ�ไปประยุกต์ใช้ในอนาคต แต่อย่างไรก็ตามการศึกษาวิจัยในเชิงลึกในมนุษย์ ก่อนนำ�ไปประยุกต์ใช้เป็นสิ่งที่คณะผู้วิจัยให้ความสำ�คัญและสนใจศึกษาต่อ ขณะนี้มีผู้ประกอบการให้ความสนใจและยินดีในการสนับสนุนการศึกษาในเชิงลึกและ ประสงค์ใน การขอนำ�ผลิตภัณฑ์สารสกัดออกฤทธิ์ทางชีวภาพช่วยฟื้นฟูระบบประสาทและ สมองของคณะผู้วิจัยไปต่อยอดเพื่อการผลิตในเชิงพาณิชย์ต่อไป สารออกฤทธิ์ต่อต้านอนุมูล อิสระมากขึ้นกว่าที่สภาวะเป็นกลางหรือด่าง เป็นต้น ธันวาคม 2556 I วิทยาศาสตร์(สาร) I 21
สนุกกับวิทยาศาสตร์ COVER STORY
ธันวาคม 2556 I วิทยาศาสตร์(สาร) I 22
วิดยาสู่สังคม COVER STORY
ค่ายวิทยาศาสตร์อาสาสู่ชนบท ณ วัดจาก อำ�เภอระโนด สงขลา
ธันวาคม 2556 I วิทยาศาสตร์(สาร) I 23
วิดยาสู่สังคม COVER STORY
ธันวาคม 2556 I วิทยาศาสตร์(สาร) I 24
วิดยาสู่สังคม COVER STORY
ความรู้ในห้องเรียน เป็นความรู้ที่เรา ต้องเรียนรู้ ในรูปแบบการเรียนการสอนที่เรา ต้องเรียน เเต่ความรู้จากการทำ�กิจกรรม ค่ายอาสา เราจะเรียนรู้ในสิ่งที่นอกเหนือจาก ในห้องเรียน โดยเฉพาะเรื่องการอยู่ร่วมกัน ในสังคม และการมองประโยชน์เพื่อนมนุษย์ เป็นกิจที่หนึ่ง น้องปีโป้ นักศึกษาชั้ยปีที่ 2 ที่ร่วมค่ายอาสา ธันวาคม 2556 I วิทยาศาสตร์(สาร) I 21