วิทยาสารฉบับที่ 1

Page 1

วิทยาสาร ฉบับที่ 1 ปที่ 1 ประจําเดือน ตุลาคม 2553 จุลสารความรูรายเดือนฉบับอิเล็กทรอนิกสเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตหาดใหญ จ.สงขลา 90112

สาระในเลม ¾

Learning Organization… น.1

(ขอคิดจากคณบดีเพื่อขับเคลื่อนคณะวิทยาศาสตรไปสูองคกรแหงการเรียนรู) ¾

แนะนําบุคลากร… น.2

(ประจําเดือน ก.ย.-ต.ค.53)

¾

ประกวดคําคม… น.4

(Smart Science by Smart People) ¾

เลาสูกน ั ฟง … น.5

(คุยเรื่อง KM กับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย โดย รองคณบดีฝายพัฒนาบุคลากรและการจัดการความรู) ¾

มุมระบายความคิด… น.6

(สัมภาษณ ผศ.ดร.อัญชนา ประเทพ กับเสนทางและ แนวคิดการทํางานในคณะวิทยาศาสตร โดย ศิริประภา เรณุมาศ) ¾ ประมวลภาพกิจกรรม… น.8 (งานยินดีศรีวิทยา, งานเกษียณอายุราชการ’ 53, กิจกรรม 5ส และจิตอาสา,การใชงานระบบ E-Doc, Tea talk)

Smart Science by Smart People


วิทยาสาร ฉบับที่ 1 ปที่ 1 ประจําเดือน ตุลาคม 2553

หนา

1

Learning Organization (ขอคิดจากคณบดีเพื่อขับเคลื่อนคณะวิทยาศาสตร ไปสูองคกรแหงการเรียนรู)

สวัสดีคะ บุคลากรคณะวิทยาศาสตรทุกๆ ทาน ดิฉันรูสึกยินดีที่ไดมีโอกาสและชองทางในการสื่อสาร กับทุกๆ ทาน ผานทาง “วิทยาสาร”คณะวิทยาศาสตร ซึ่งเปนจุลสารความรูรายเดือนฉบับอิเล็กทรอนิกส เพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษยฉบับปฐมฤกษฉบับนี้ ในวันนี้ ดิฉันไดนําขอคิดเกี่ยวกับ“Learning Organization: LO”หรือที่เรียกกันโดยทั่วไป วา “องคกรแหงการเรียนรู”มาฝากคะ ซึ่งสําหรับคณะวิทยาศาสตรของเรานั้นเปนที่ทราบกันดีวาไดให ความสําคัญกับการพัฒนาองคกรเพื่อการเรียนรูมาโดยตลอด การเรียนรูภายในคณะวิทยาศาสตร ไดสะสม ประสบการณและความรู ดําเนินไปตามพันธกิจหลักผานกระบวนการดานการเรียนการสอน การวิจัย การ บริการวิชาการแกสังคมและการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม มีการสะสมและถายทอดแลกเปลี่ยนเรียนรูจาก ระดับบุคคล ระดับหนวยงานหรือกรรมการเครือขายตางๆ ในรูปแบบกิจกรรม ทั้งที่เปนทางการและไมเปน ทางการ หนึ่งในนั้นก็คือการสนับสนุนใหมีการจัดตั้งชุมชนแนวปฏิบัติ (Communities of Practice : CoP) ซึ่ง ถือไดวาเปนเครื่องมือสํา คัญที่จะทําใหองคกรของเราเกิดสังคมแหงการเรียนรูอ ยางตอเนื่อง และ พัฒนาไปสูการเปนองคกรแหงการเรียนรูที่แทจริง โดยเมื่อป 2552 คณะฯ ไดรับการตอบรับจากบุคลากร เปนอยางดี มีบุคลากรที่สนใจรวมตัวกันจัดตั้งกลุม CoP รวม 15 CoP และในเบื้องตนจะยังคงเปนการ รวมกลุมของบุคลากรที่อยูในหนวยงานเดียวกัน หรือทํางานในลักษณะเดียวกัน แตตางหนวยงาน เชน CoPสํ า นั ก งานภาควิ ช า ตั ว อย า งกิ จ กรรมที่ เ กิ ด จาก CoP และเห็ น ประโยชน ชั ด เจนคื อ การจั ด ทํ า Competency เลขานุการภาควิชา เปนตน ดิฉัน หวังเปนอยางยิ่งวาคณะวิทยาศาสตร จะสามารถขับเคลื่อนไปสูองคกรแหงการเรียนรูไดอยาง เต็มตัวในไมชานี้ ดวยความรวมแรงรวมใจกันของพวกเราทุกคน ถึงแมวาคณะฯ ของเรา จะเปนองคกรที่ คอ นขา งใหญ หากเราประสานใจกัน ไมวาจะเปนที มผูบริหาร หั วหนาภาควิช า/หลักสูตร ในฐานะผูวาง นโยบาย และเลขานุการภาควิชา/หลักสูตร หัวหนางาน หัวหนาหนวย ผูสืบทอดเจตนารมณ และบุคลากร ในตําแหนงตางๆ ทุกทาน ซึ่งถือเปนผูปฏิบัติไมวาจะเปนสายวิชาการหรือสายสนับสนุน ซึ่งการเรียนรูรวมกัน จะทําใหพวกเรารูจักการทํางานเปนทีมที่เขมแข็ง คิดงานไดอยางเปนระบบ นอกจากนี้ ยังชวยเปนฟนเฟองใน การขับเคลื่อน “คณะวิทยาศาสตร” ของเรา ใหกาวไปสูองคกรแหงการเรียนรู สําหรับฉบับนี้ ก็ขอทิ้งทายไวใหผูบริหารทุกๆ ทาน ไมวาจะเปนระดับคณะฯ ภาควิชา/หลักสูตร หรือหนวยงาน ไดมองเห็นวิสัยทัศน พันธกิจ และเปาหมายขององคกรรวมกัน โดยการสราง “องคกรแหง การเรียนรู” ในหนวยงานของทาน และสนับสนุนใหบุคลากรไดเรียนรูรวมกันมากยิ่งขึ้น เพราะนอกจากจะ เปนประโยชนกับหนวยงานของทานเองแลว ยังสงผลใหคณะฯ ของเรา จะกาวไปสูการเปนองคกรที่ประสบ ความสําเร็จอยางยั่งยืนสืบไป และสิ่งที่ไดก็คือ “งานสําเร็จ คนเปนสุข”

Smart Science by Smart People


วิทยาสาร ฉบับที่ 1 ปที่ 1 ประจําเดือน ตุลาคม 2553

หนา

2

แนะนําบุคลากร (ประจําเดือน ก.ย.-ต.ค.53) ชื่อ-สกุล ตําแหนง สังกัด บรรจุเมื่อวันที่ จบการศึกษา

นางสาวชุตมิ น ฐิติพนวณิช อาจารย หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 1 กันยายน 2553 ระดับปริญญาโท สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอรและสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

คติประจําใจ ขอคิดในการทํางาน

รากฐานของชีวิตคือการศึกษา ในการทํางานนั้นนอกจากจะมีความตัง้ ใจ และ ใฝหาความรูใ หมๆ อยูเ สมอแลวยังตองมีความ ออนนอมถอมตน มีน้ําใจตอเพื่อนรวมงานและ อดทนตออุปสรรค เพราะบุคคลแตละคนนั้น มีนิสัยที่แตกตางกัน เพื่อทีเ่ ราจะไดปรับตัวใน การทํางานและอยูกับรวมกับผูอื่นอยางมี ความสุข

ชื่อ-สกุล ตําแหนง สังกัด บรรจุเมื่อวันที่ จบการศึกษา

นางสาววิมล วิรเกียรติ อาจารย ภาควิชากายวิภาคศาสตร 1 กันยายน 2553 ระดับปริญญาโท สาขาวิชากายวิภาคศาสตร คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ทําวันนีใ้ หดีทสี่ ุด อุปสรรคยอมมากอนความสําเร็จ.

คติประจําใจ ขอคิดในการทํางาน

Smart Science by Smart People


วิทยาสาร ฉบับที่ 1 ปที่ 1 ประจําเดือน ตุลาคม 2553

หนา

3

แนะนําบุคลากร…ตอ (ประจําเดือน ก.ย.-ต.ค.53)

ชื่อ-สกุล ตําแหนง สังกัด บรรจุเมื่อวันที่ จบการศึกษา

คติประจําใจ ขอคิดในการทํางาน

ชื่อ-สกุล ตําแหนง สังกัด บรรจุเมื่อวันที่ จบการศึกษา

คติประจําใจ ขอคิดในการทํางาน

นางสาวพัสตราภรณ ชุมแกน นักวิทยาศาสตร ภาควิชาจุลชีววิทยา 1 ตุลาคม 2553 ระดับปริญญาตรี สาขาวิชาเคมี-ชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ทําปจจุบันใหดีที่สุด แลวอนาคตจะดีเอง เรียนรูตลอดเวลา เพื่อการพัฒนาทีไ่ มหยุดนิง่

นายชีวิน ชนะวรรโณ นักวิชาการอุดมศึกษา หนวยเครื่องมือกลาง 1 ตุลาคม 2553 ระดับปริญญาตรี สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร เอาใจเขามาใสใจเรา เต็มที่และสนุกไปกับงานทีท่ ํา แลวผลลัพธจะเกินความคาดหมาย

Smart Science by Smart People


วิทยาสาร ฉบับที่ 1 ปที่ 1 ประจําเดือน ตุลาคม 2553

หนา

4

ประกวดคําคม

ประกวดคําคมภาษาไทยที่สอดคลองกับ “ Smart Science by Smart People "

คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร & สามารถสงผลงาน ไดที่หนวยการเจาหนาที่ & กติกาในการประกวด คณะวิทยาศาสตร ตั้งแตบัดนี้ จนถึงวันที่ 1. ผูสงผลงานจะตองเปนบุคลากร 25 พฤศจิกายน 2553 กอนเวลา 16.00 น. คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 2. ผลงานดังกลาว จะตองไมเคยสงไปประกวดที่ใด & ตัดสินผลการประกวดคําคม ในวันที่ 9 ธันวาคม 2553 โดยประกาศผลทางเว็บไซต มากอน www.sc.psu.ac.th 3. ผลงานของผูไดรับรางวัลถือเปนกรรมสิทธิ์ & สอบถามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ ของหนวยงานจัดประกวด คุณทัศนวรรณ แกวศรีหนอ และ 4. การตัดสินของคณะกรรมการถือเปนเด็ดขาด คุณจุฑามาศ ไพยรัตน หนวยการเจาหนาที่ คณะวิทยาศาสตร โทรศัพท 0 7428 8023 (สามารถสงผลงานไดไมจํากัดจํานวน)

สามารถดูรายละเอียดการประกวดไดที่ http://www.sc.psu.ac.th

Smart Science by Smart People


วิทยาสาร ฉบับที่ 1 ปที่ 1 ประจําเดือน ตุลาคม 2553

หนา

5

เลาสูกน ั ฟง (คุยเรื่อง KM กับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย โดย รองคณบดีฝายพัฒนาบุคลากรและการจัดการความรู)

ผมได รั บ มอบหมายให เ ขี ย นคอลั ม น นี้ ใ นจุ ล สารความรู “วิ ท ยาสาร” ฉบั บ ปฐมฤกษ ก็ คิ ด อยู น าน เหมือนกันวาจะเลาเรื่องอะไรดีที่เปนความรูแลวเขาใจไมยาก ไมเปนวิชาการจนเกินไป ฉบับนี้ก็ขอพูดเรื่องใกลตัวเรา ก็แลวกัน เรื่องของ “คน” หรือ เรียกใหดูดีมีคุณคาวา “มนุษย”คนนับวาเปนทรัพยากรที่สําคัญยิ่งสําหรับองคกร จนนักวิชาการหลายคนเรียกวา “ทุนมนุษย (human capital)” แตเมื่อเราวิเคราะหองคประกอบของตัวคนแลว ถามองอยางหยาบๆ คนก็คงประกอบดวย “กาย (body)” และ “จิต/จิตวิญญาณ(mind/soul)” ถึงตอนนี้คง ทําใหหลายคนสงสัยแลววาเพียงองคประกอบแคนี้จะกลายเปนทุนมนุษยไดอยางไร อันที่จริงแลว เมื่อเริ่มกอเกิด มนุ ษ ย เ รา ตั้ ง แต อ ยู ใ นท อ งแม คนเราก็ เ ริ่ ม สะสมข อ มู ล (data) สารสนเทศ (information) และความรู (knowledge) เมื่อเราคลอดออกมาดูโลกและมีพัฒนาการเจริญเติบโตขึ้นเรื่อย ๆ ผานยุคผานสมัย คนเราก็คอยๆ สะสมประสบการณ ฝกทักษะ ลองผิดลองถูก ผานกระบวนการฟงพูดอานเขียน วิเคราะหประมวล เรียนรูจดจํามา ตลอด เหมือนผูรูสวนใหญกลาวกันวา ใครมีความรูมากและใชความรูเปน คนนั้นก็ไดเปรียบคนอื่น โดยเฉพาะใน ยุคของเทคโนโลยีสารสนเทศ ดังนั้น ถาเราบริหารทรัพยากรมนุษ ยเ ปน ก็เหมือ นเราเพิ่มพูน คุณคาทุ นมนุษ ยข องเรา เห็นไหมครับ พัฒนาคนไดทั้งประโยชนตอตนเองและตอองคกร วกกลับมาที่เรื่อง ขอมูล หมายถึง ขอเท็จจริงที่ปรากฏใหเราเห็น เชน มีตนมะยมหนึ่งตนหนาบาน สวนสารสนเทศ หมายถึง ขอมูลที่ถูกวิเคราะหตีความใสความหมายเพิ่มเติมที่คน หรือหนวยงานสามารถนําไปใชประโยชนได เชน ตนมะยมหนึ่งตนหนาบานใหผลคราวละไมต่ํากวา 20 กิโลกรัม มักขายไดกิโลกรัมละไมต่ํากวา 20 บาท สวนความรู หมายถึง ขอมูลและสารสนเทศที่สะสมผานประสบการณและ ไดรับตรวจสอบแลววามีประโยชนตอการใชงาน เชน พบวาการรับประทานใบมะยมชวยลดความดันได ความรูถูก จําแนกเปน 2 ประเภท คือ (1) ความรูชัดแจง(explicit knowledge) เปนความรูที่สามารถแปลงมาอยูในรูป เอกสาร หรือ สื่อที่รับรูเขาใจได และ (2) ความรูแฝง(tacit knowledge) อยูในตัวบุคคล ตองมีการถายทอด ออกมา การจัดการความรู(knowledge management) หมายถึง กระบวนการระบุหรือสราง รวบรวมจัดเก็บ ความรูใหเปนระบบ สามารถเขาถึงคนหา มีการถายทอดแลกเปลี่ยนเรียนรูเผยแพรใหเปนประโยชน ฉบับนี้ ขอจบไวที่ ระดับความรูและทักษะของคนในเรื่องใดๆ จะเปนตัวบงบอกสมรรถนะ(competency) ของคนในเรื่องนั้นๆ ดังนั้น การประเมินสมรรถนะของคนในเรื่องใด ก็เปนการวัดความรูความสามารถของคนใน เรื่องนั้น เพื่อใหทราบและสามารถพัฒนาเพิ่มพูนทุนมนุษยซึ่งเปนประโยชนตอทุกฝาย ไมใชเปนการจับผิด ดังนั้น ระบบการประเมินสมรรถนะที่เอื้อตอการพัฒนาคนเปนสิ่งที่ดี นี่คือเสนทาง “การพัฒนาคนพัฒนางาน” ใชไหมครับ ###

Smart Science by Smart People


วิทยาสาร ฉบับที่ 1 ปที่ 1 ประจําเดือน ตุลาคม 2553

หนา

6

มุมระบายความคิด (สัมภาษณ ผศ.ดร.อัญชนา ประเทพ กับเสนทางและ แนวคิดการทํางานในคณะวิทยาศาสตร โดย ศิริประภา เรณุมาศ)

ด ว ยประสบการณ ก ารทํ า งาน 9 ป ที่ ผ า นมาของ ผศ.ดร.อั ญ ชนา ประเทพ อาจารย ป ระจํ า ภาควิ ช าชี ว วิ ท ยา และหัวหนาหนวยวิจัยสาหรายและหญาทะเล สถานวิจัยความ เป น เลิ ศ ความหลากหลายทางชี ว ภาพแห ง คาบสมุ ท รไทย คณะวิ ท ยาศาสตร มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร ได ทุ ม เท แรงกายแรงใจให กั บ การทํ า งานจนได รั บ รางวั ล อาจารย ตัวอยา งรุ น ใหม ระดับมหาวิท ยาลั ยสงขลานคริ น ทร ประจํา ป 2552 และรางวั ล ศิ ษ ย เ ก า ดี เ ด น คณะวิ ท ยาศาสตร ด า นความ สําเร็จในอาชีพ/หนาที่การงาน ประจําป 2553 ฉบับนี้เราจึงขอ เสนอเส น ทางและแนวคิ ด ในการทํ า งานของอาจารย ท า นนี้ ใ ห ไดรับทราบกัน ผศ.ดร.อัญชนา เลาใหฟงวา “ตอนแรกคิดเพียงวาอยากเปนนักวิจัย เพราะเมื่อไดเรียนชีววิทยาแลว รูสึกชอบและบอกกับตัวเองวาอันนี้คือสิ่งที่อยากเรียนรูและอยากเปน แตเมื่อไดเจอกับอาจารยทานหนึ่งซึ่ง สวนตัวคิดวาเปนเรื่องโชคดีที่ไดรับคําสอนและคําแนะนําจากทาน ซึ่งก็คือ รศ.ดร.จุฑามาส ศตสุข ไดบอกไว ว า ‘อาชี พ นั ก วิ จั ย ก็ เ ป น ส ว นหนึ่ ง ของสายวิ ช าการคื อ การสร า งงานวิ จั ย แต ก ารเป น ครู ห รื อ อาจารย มหาวิทยาลัยจะสามารถทําอะไรไดมากกวา นั้นก็คือ เราไดสรางคน ควบคูไปกับการทํางานวิจัยซึ่งเปนสิ่งที่ เราชอบดวย’ และดวยตัวเองก็เปนลูกสงขลานครินทร ตอนเริ่มทํางานก็ไดไปสักการะพระบิดาแลวอธิษฐาน วา ตัวเองจะทํางานเพื่อชดใชใหมหาวิทยาลัยสงขลานครินทรและภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร ที่ได สอนใหเราเปนคนและสรางเราขึ้นมา เพราะการสรางคนเปนสิ่งสําคัญ คนที่เราสรางขึ้น ก็จะไปสรางและให ความรูแกคนอื่นๆ ตอไป ทุกสิ่งที่เปนไดในตอนนี้เริ่มมาจากการที่เราเปนศิษยเกาของคณะวิทยาศาสตร เพราะอาจารย ทุ ก ท า นได พ ร่ํ า สอนเรามา ทํ า ให เ กิ ด ความผู ก พั น กั บ คณะวิ ท ยาศาสตร และ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร” สําหรับแนวคิดในการทํางานของ ผศ.ดร.อัญชนา ยึดหลักการทําในสิ่งที่ชอบและคืนประโยชนใหแก สังคมเพื่อการพัฒนาประเทศชาติตอไป “จริงๆแลว แนวทางในการทํางานก็ไมมีอะไรมาก การที่ไดทําในสิ่งที่ ชอบ และทําใหดีที่สุดเทาที่จะทําได ผลลัพธที่ไดก็จะมีประสิทธิภาพ ผนวกกับการมองหาโอกาสหรือชองวาง ที่มีอยูเพื่อสรางสรรคสิ่งที่ดีใหกับคณะ มหาวิทยาลัยและประเทศชาติ ยกตัวอยาง ตัวเองสนใจเรื่องสาหราย และหญาทะเล เราก็จะมองวาโอกาสและวิเคราะหจุดออน-จุดแข็งของตัวเองรวมทั้งบริบทรอบขางวา หากเรา ตองการทําในสิ่งนี้ใหออกมาดีและสามารถกาวตอไปขางหนาไดนั้นจะตองทําอยางไร ทั้งในสวนของหนวยงาน ตางๆที่ใหการสนับสนุนทั้งในระดับประเทศและองคกรระดับนานาชาติวาสามารถชวยเหลืออะไรเราไดบางใน การรวมกันสรางประโยชนใหเกิดขึ้น”

Smart Science by Smart People


วิทยาสาร ฉบับที่ 1 ปที่ 1 ประจําเดือน ตุลาคม 2553

หนา 7

มุมระบายความคิด…ตอ (สัมภาษณ ผศ.ดร.อัญชนา ประเทพ กับเสนทางและ แนวคิดการทํางานในคณะวิทยาศาสตร โดย ศิริประภา เรณุมาศ)

ผศ.ดร.อัญชนา ยังกลาวตออีกวา เมื่อไดรับความรวมมือและการชวยเหลือจากหนวยงานตางๆ จน กอใหเกิดทีมงานที่เข็มแข็งสามารถดูแลตัวเองได ลําดับตอไปก็เปนสวนของการใหคืนแกสังคมดวยเชนกัน “จากจุดที่เราไดรับการสนับสนุนและชวยเหลือแลวนั้น ตอไปเราก็เริ่มเปนผูใหแกผูที่ตองการความชวยเหลือ บาง เพราะจากประสบการณการทํางานที่ผานมา ทําใหทราบไดวาหนวยงานไหนสามารถใหความรวมมือ และชวยเหลือสังคมไดบาง ไมวาจะเปนโรงเรียนที่ดอยโอกาสที่ยังขาดความรู หรือแมแตนักศึกษารุนใหมๆ ที่ เดิ น เข า มาและสนใจอยากทํ า งานด า นนี้ เราก็ ห ยิ บ ยื่ น โอกาสที่ ดี ที่ สุ ด เท า ที่ จ ะเป น ไปได ใ ห แ ก เ ขา” และจากความทุมเทในการทํางานและผลงานตางๆ ทําให ผศ.ดร.อัญชนา ประเทพ ไดรับรางวัล อาจารยตัวอยางรุนใหม ระดับมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ประจําป 2552 และรางวัลศิษยเกาดีเดนคณะ วิทยาศาสตรดานความสําเร็จในอาชีพ/หนาที่การงาน ประจําป 2553 “จริงๆ การไดรางวัลเปนสิ่งที่ทําให ตัวเองชื่นใจแตมันไมใชคําตอบสุดทาย เพราะการที่ไดผลิตผลงานที่มีคุณคาและไดเห็นลูกศิษยของเราเปน คนดีและมีคุณภาพ และมีจุดยืนรวมกันในการพัฒนาองคกร และเปนตัวแทนที่ดีของภาควิชาฯ คณะและ มหาวิทยาลัยนั้นเปนรางวัลที่ยิ่งใหญดวยเชนกัน” ผศ.ดร.อัญชนา ไดกลาวถึงมุมของคณะวิทยาศาสตรไววา “ดวยคณะวิทยาศาสตรเปนคณะที่ใหญ การจะพัฒนาใหไปสูความเขมแข็งและเปนเลิศเราทุกคนจะตองชวยกันคิดและรวมกันวางแผน ทุกหนวยงาน ตองรวมมือกันชวยพัฒนาใหดีขึ้นได เพราะเราตองอาศัยความรวมมือซึ่งเปนสิ่งสําคัญยิ่ง และเชื่อวาขณะนี้ ทุกคนก็ไดพยายามทําบทบาทและหนาที่ของตัวเองใหดีที่สุด แมบางทีอาจไมมีใครมาบอกวาสิ่งที่เราทําอยู แลวเปนสิ่งที่ดีและถูกตอง แตขอใหเชื่อมั่นในสิ่งที่ตัวเองทําอยู และขอชื่นชมอาจารยทุกทาน เพราะรูวาการ เปนอาจารยไมใชงานที่งาย ตองอาศัยการทุมเทแรงกายแรงใจ และศรัทธาในสิ่งที่ทําอยู การพัฒนาคณะ วิทยาศาสตรของเราก็จะดําเนินไปไดอยางเขมแข็งและมีความสุข สุดทายตองขอกราบขอบพระคุณ รศ.ดร. สุนทร โสถิตพันธุ อาจารยผูใหญใจดีอีกทานที่คอยใหคําแนะนําในการทํางานและการดําเนินชีวิตที่ ดี ๆ เสมอมา”

Smart Science by Smart People


วิทยาสาร ฉบับที่ 1 ปที่ 1 ประจําเดือน ตุลาคม 2553

หนา

8

ประมวลภาพกิจกรรม (งานยินดีศรีวิทยา, งานเกษียณฯ, กิจกรรม 5ส และจิตอาสา

การใชงานระบบ E-Doc, Tea talk) “งานยินดีศรีวิทยา” : 16 กันยายน 2553

“กิจกรรม 5 ส และ จิตอาสา ” : 23 กันยายน 2553

“งานเกษียณอายุราชการ” : 22 กันยายน 2553

“Tea talk 2” : 21 กันยายน 2553

“Tea talk 3” : 7 ตุลาคม 2553 “การใชงานระบบ E-Doc” : 28 กันยายน 2553

Smart Science by Smart People


วิทยาสาร ฉบับที่ 1 ปที่ 1 ประจําเดือน ตุลาคม 2553

คณะกรรมการทํางานกองบรรณาธิการจุลสารความรู “วิทยาสาร” คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ที่ปรึกษาบรรณาธิการ

คณบดีคณะวิทยาศาสตร รองคณบดีฝายพัฒนาบุคลากรและการจัดการความรู ผูชวยคณบดีฝายกิจการพิเศษและประชาสัมพันธ

หัวหนากองบรรณาธิการ

นางสาวทัศนวรรณ แกวศรีหนอ

ผูชว ยบรรณาธิการ

นางจิตติมา โพธิ์เสนา

กองบรรณาธิการ

นายอิสรภาพ ชุมรักษา นางสาวศิริประภา เรณุมาศ นางสาวพิมพาภรณ ชุมสุวรรณ นายสันติ บัวกิ่ง นางสาวอรุณศรี รัตนญา นางสาวจุฑามาศ ไพยรัตน

Smart Science by Smart People

หนา

9


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.