เอกสารฉบับนี ้ จัดท�ำ ดัดแปลงและเผยแพร่ภายใต้ การด�ำเนินงานโครงการจัดท�ำสื่อจากผลงานวิจยั เพื่อ พัฒนาหลักสูตรท้ องถิ่น ในอ�ำเภอปางมะผ้ า จังหวัด แม่ฮอ่ งสอน โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อใช้ เป็ นสื่อส่งเสริ ม ประสบการณ์การเรี ยนรู้ โดยน�ำความรู้จากงานวิจยั ทางโบราณคดี โครงการโบราณคดีบนพื ้นที่สงู ใน อ� ำ เภอปางมะผ้ า จังหวัด แม่ฮ่อ งสอน , โครงการ โบราณคดีบนพื ้นที่สงู ในอ�ำเภอปางมะผ้ า จังหวัด แม่ฮอ่ งสอน และโครงการวิจยั เรื่อง การปฏิสมั พันธ์ ระหว่างมนุษย์ก่อนประวัติศาสตร์ กบั สิ่งแวดล้ อมบน พื ้นทีส่ งู ในอ�ำเภอปางมะผ้ า จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน ซึง่ มี รองศาสตราจารย์ ดร.รัศมี ชูทรงเดช หัวหน้ าโครงการ ซึง่ เป็ นประสบการณ์ตรงจากนักวิจยั ของโครงการจัด ท�ำสื่อจากงานวิจยั การจัดกิจกรรมร่วมกับชุมชนใน อ�ำเภอปางมะผ้ า จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน โดยความร่วมมือ จากวิทยาลัยชุมชนแม่ฮอ่ งสอน ได้ รับทุนสนับสนุน การท�ำวิจยั จากส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั (สกว.)
เอกสารฉบับนี้สามารถดาวน์โหลดและอ่านออนไลน์ได้ท่ี
imarmhs.wixsite.com/home
คำ�นำ� การจัดทำ�คู่มือลงพื้นที่ภาคสนาม ทางโครงการจัดทำ�สื่อจากผลงานวิจัย เพื่อ การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นในอำ�เภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน ได้จัดทำ� คู่มือประกอบการเรียนในหน่วยการเรียนรู้หน่วยที่ 3 4 และ 5 ได้แก่ หน่วย การเรียนรู้ที่ 3 : พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ และมรดกทางวัฒนธรรม มีเนื้อหาทางประวัติศาสตร์ โบราณคดี และบุคคลสำ�คัญทางประวัติศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ประวัติศาสตร์และวิถีชนเผ่า : ในส่วนเนื้อหาด้าน ศิลปกรรม ภาษา และวรรณกรรม คติชน การละเล่นพื้นบ้านและการแสดง ดนตรี และหน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่องภูมิปัญญาท้องถิ่น สำ�หรับการจัดทำ� คู่มือนี้เป็นแนวทางหนึ่ง ซึ่งเสมือนเครื่องมือในการช่วยในการทำ�กิจกรรม การเรียนรู้ชุมชนในประเด็นเบื้องต้นที่หลากหลาย
การเก็บข้อมูลพื้นฐานชุมชนนั้น เป็นสิ่งสำ�คัญและเป็นพื้นฐาน ต่อการเข้าใจ ชุมชน เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลเบื้องต้น สู่การวิเคราะห์เพื่อการพัฒนาชุมชน ประเด็นคำ�ถามส่วนใหญ่จะไล่เรียงตามพื้นฐานของชุมชน โดยยกตัวอย่าง คำ�ถามและสอดแทรกให้เห็นถึงวิธีการศึกษาแบบสังเกตการณ์อย่างมีส่วนร่วม (Participant observation) ซึ่งอาจทำ�ให้จากคนนอกกลายเป็นคนใน หรือ คนในอาจจะทำ�ความเข้าใจชุมชนของตนเองมากยิ่งขึ้น คู่มือในการเก็บข้อมูลภาคสนามนี้ จะเครื่องมือสำ�คัญให้สามารถใกล้ชิดชุมชนที่ จะเข้าไปศึกษาหรือทำ�ความเข้าใจในชุมชนของตนเองมากยิ่งขึ้น ช่วยจับประเด็น ในการทำ�รายงาน ทั้งในเบื้องต้นจนถึงการสังเคราะห์ข้อมูลเชิงลึก ( การเขียน ข้อมูลอย่างเป็นระบบรวมถึงการวิเคราะห์แยกแยะข้อมูลจากการบันทึกประจำ�วัน) ดังนั้น ประเด็นที่หลากหลายจากการเก็บข้อมูลภาคสนามจะช่วยสะท้อน การนำ� เสนอความเข้าใจผ่านงานเขียน และทำ�ความเข้าใจบริบทของชุมชนในเรื่องต่างๆ ที่เราต้องการที่จะหาข้อมูลและทำ�ความเข้าใจกับชุมชน
โครงการจัดท�ำสื่อจากผลงานวิจยั เพื่อพัฒนาหลักสูตรท้ องถิ่น ในอ�ำเภอปางมะผ้ า จังหวัดแม่ ฮ่องสอน
กิตติกรรมประกาศ ผลผลิตสื่อต่าง ๆ ของโครงการจัดท�ำสื่อจากผลงานวิจัย เพื่อพัฒนาหลักสูตร ท้องถิ่นในอ�ำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน (Innovative Media from Academic Research) ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา ได้รับความอนุเคราะห์ ได้รับความร่วมมือ สนับสนุนจากบุคคล องค์กรในหลากหลายสาขา ผู้วิจัยได้รับประสบการณ์มากมายทั้ง ปัญหา และอุปสรรคที่ผ่านมาอาจไม่ลุล่วงได้หากปราศจากบุคคลต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ ผู้วิจัยขอขอบคุณ ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ( สกว.) ที่ให้ทุน สนับสนุนการท�ำงานวิจัย ที่ปรึกษาโครงการฯ รศ.ดร.รัศมี ชูทรงเดช ให้โอกาส และ ชี้แนะความคิดเห็นต่าง ๆ มากมายตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา ขอบคุณ อาจารย์ประเสริฐ ประดิษฐ์ อาจารย์คมสัน คูสินทรัพย์ อาจารย์โยธิน บุญเฉลย และ อาจารย์วีระพรรณ เล่าเรียนดี ต่อค�ำชี้แนะในเวทีการประชุม และข้อแนะน�ำและวิจารณ์ ที่ได้ช่วยสร้าง แนวทางหรือมุมมองให้กับผู้วิจัยตลอดมา รวมถึง คณาจารย์จากวิทยาลัยชุมชน จังหวัด แม่ฮ่องสอน ที่ให้ความร่วมมือสนับสนุนต่อข้อวิจารณ์และแนวทางที่มีให้เป็นระยะ ข้อมูลของงานวิจัยที่ส�ำคัญหลายส่วนจะไม่สามารถเกิดขึ้นได้ถ้าหากปราศจาก ชาวบ้านหมู่บ้านถ�้ำลอดที่ให้ความรู้ ในการเล่าเรื่องราว ชาวบ้านหมู่บ้านแม่ละนาที่ ให้ความรู้ รวมถึงการดูแลเอาใจใส่คณะผู้อบรม และคณะวิจัยที่ลงพื้นที่ระหว่างท�ำงาน ชาวบ้านหมู่บ้านจ่าโบ่ต่อความมีน�้ำใจให้ความร่วมมือกับคณะวิจัยในทุก ๆ ด้าน ชาวบ้าน หมู่บ้านบ้านไร่ที่ให้การช่วยเหลือ ร่วมท�ำงาน ไม่ว่าจะเป็นการสัมภาษณ์ การถ่ายบันทึก วีดีโอ การส�ำรวจแหล่งโบราณคดี และอีกหลายหมู่บ้านที่ไม่อาจกล่าวในที่นี่ได้ทั้งหมด ผลงานสื่อต่างๆ ที่เกิดขึ้นด้วยความร่วมมือมากมาย ผู้วิจัยไม่สามารถท�ำส�ำเร็จ ด้วยตัวคนเดียว ผู้วิจัยอยากกล่าวขอบคุณทีมงานคณะวิจัย ที่มีความอดทน ความ เสียสละ ความทุ่มเท ในการท�ำงานร่วมกัน อาจารย์ทรงศักดิ์ ปัญญา นักวิจัยด้าน กระบวนการน�ำไปใช้และประเมินสื่อ เลขานุการ นางสาวจตุพร ปิยสุรประทีป ผู้ช่วย นักวิจัย เสาวลักษณ์ เขียนนอก และครอบครัวที่น่ารัก วรรณธวัช พูนพาณิชย์ วัชรินทร์ มณีวงษ์ จุฑามาส เรืองยศจันทนา ที่เป็นทั้งเพื่อนร่วมงาน เป็นพี่เป็นน้อง เป็นที่ปรึกษา ช่วยกันสร้างผลงานจนส�ำเร็จ
ขอขอบคุณช่างภาพอาชีพอาสามาผลิตผลงาน อุกฤษฎ์ จอมยิ้ม ยิ่งพงศ์ มั่นทรัพย์ รวมถึงช่างภาพสมัครเล่น ศรชัย ไพรเนติธรรม ที่น�ำพาภาพสวยๆให้แก่ โครงการการจัดท�ำสื่อฯ และอาจารย์ปรียาชนก เกษสุวรรณ ผู้มาช่วยงานอบรมและ เรียนรู้มากมายร่วมกัน ดร. ภาสกร อินทุมาน ที่ให้ค�ำปรึกษาแนะน�ำในเรื่องมุมมองต่างๆ นีรนรา อนุศิลป์ ขวัญประภา อุนารัตน์ ฝ่ายศิลป์ ออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ที่สวยงามมี กระบวนการออกแบบและผลิตอันละเอียดอ่อน ความรูต้ า่ งๆมากมายทีน่ �ำมาผลิตเป็นสือ่ เพือ่ การเรียนรูไ้ ด้มาจากความละเอียด และรอบคอบของทีมงานนักวิจัยทางโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร ที่เป็นเสมือน พีเ่ ลีย้ งทีค่ อยเกือ้ กูลสนับสนุน แนะน�ำตลอดระยะเวลาทีผ่ า่ นมา อุดมลักษณ์ ฮุน่ ตระกูล นัก มานุษยวิทยาเจ้าของข้อมูลด้านการศึกษาชาติพันธุ์ นัทธมน ภู่รีพัฒน์พงศ์ คงคาสุริยฉาย ผู้เชี่ยวชาญด้านโครงกระดูกคน ศิริลักษณ์ กัณฑศรี ผู้เป็นที่ปรึกษาในทุกเรื่อง นุชจรี ใจเก่ง มือเขียนบทที่รอบรู้ และ วอกัญญา ณ หนองคาย สมถวิล สุขเลี้ยง ชนม์ขนก สัมฤทธิ์ ธนัชญา เทียนดี ทีมหญิงแกร่งนักโบราณคดีที่ให้การช่วยเหลือ ร่วมความล�ำบาก ตลอดระยะการท�ำงานในพื้นที่ รวมถึงน้องๆนักศึกษาโบราณคดีที่เข้าร่วมอบรมที่บ้าน ถ�้ำลอด ศศิประภา กิตติปัญญา กมล ทองไชย เมลดา มณีโชติ แก้วสิริ เทวัญวโรปกรณ์ ธราภาสพงศุ์ เกตุกัน กานต์ภพ ภิญโญ สมคิด แสงจันทร์ ผู้ร่วมการอบรม ติดตามผลงาน และน�ำไปทดลองใช้เกิดผลมากมาย ส่วนสุดท้ายนี้ผู้วิจัยอยากจะขอกราบขอบพระคุณ ครอบครัว พ่อ แม่ พี่สาว ทัง้ สอง น้องชายและครอบครัวทีน่ า่ รักของผูว้ จิ ยั ในการให้การสนับสนุนและเป็นก�ำลังใจ ตลอดระยะทางอันยาวนาน ของการเดินทางในการผลิตผลงานที่ส�ำคัญนี้ ผู้วิจัยหวัง เป็นอย่างยิ่งว่าผลผลิตจากงานวิจัยชุดนี้ จะก่อให้เกิดความรู้ อันเป็นประโยชน์ ต่อคน ต่อชุมชน ต่อประเทศในการพัฒนาอย่างยั่งยืนสืบไป ศุภร ชูทรงเดช 1 มีนาคม 2561
แนวทางในการสัมภาษณ์ พูดคุย หรือเก็บข้อมูลจากคนในชุมชน
1
การทำ�ประวัติชีวิต ควรหาเรื่องราว (Story) จากรูปธรรมชีวิตของคนในชุมชนมากกว่าข้อเท็จจริง (Fact)
2
ควรเป็นคำ�ถามปลายเปิดเพื่อถามถึงความเคลื่อนไหว/การเปลี่ยนแปลง ในการดำ�เนินชีวิตของคนในชุมชน มากกว่าจะใช้คำ�ถามปลายปิด เช่น ควรถามด้วยคำ�ว่าอย่างไร มากกว่าให้คำ�ตอบว่า “ ใช่ ” หรือ “ ไม่ใช่ ”
3
สังเกตสภาพแวดล้อมและบรรยากาศการพูดคุย เพื่อประเมิน สถานการณ์และหาประเด็นที่จะเริ่มพูดคุยได้ อย่างเหมาะสม
4
มองหาจุดเด่น ความสามารถพิเศษ หรือสิ่งที่เราประทับใจ ในตัวผู้ให้ข้อมูลก่อน เพื่อเป็นหัวข้อเริ่มการสนทนา
5
ควรหลีกเลี่ยงคำ�ถามหรือข้อมูลที่จะโยงไปสู่ความขัดแย้ง และ กระทบกระเทือนความรู้สึกของชาวบ้าน
6
การตั้งคำ�ถามไม่ควรเร่งรัดเอาคำ�ตอบ ควรรอให้ชาวบ้านคิด และค่อย ๆ ตอบ
7
ควรทำ�ความรู้จักบุคคลอื่น ๆ ได้แก่ การศึกษาผังเครือญาติ เพื่อที่จำ� ทำ�ความรู้จักผู้คนที่เกี่ยวข้องกับชีวิตของผู้ที่เราต้องการศึกษามาก่อน ซึ่งจะช่วยในเรื่องการตั้งคำ�ถามและติดตามเรื่องราวของเขาได้ดีขึ้น
8
ระหว่างฟังเรื่องราวควรจดบันทึกทุกประเด็นต่าง ๆ ที่สงสัยไว้ก่อน ไม่ควรขัดจังหวะระหว่างการเล่าเพื่อที่จะเก็บข้อมูลของตัวเอง อย่างเดียวเท่านั้น ให้เก็บรายละเอียดไว้ถามตอนท้าย
9
พึงระมัดระวังการใช้เครื่องอัดเสียงในการเก็บข้อมูล ในประเด็นที่ อ่อนไหว เพราะผู้ให้ข้อมูลอาจจะไม่กล้าให้ข้อมูลได้
เครื่องมือ
ในการศึกษา เพื่อทำ�ความเข้าใจชุมชน
ภาพ: บรรยากาศบ้านบริเวณเชิงเขา หมู่บ้านแม่ละนา ตำ�บลปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน ที่มา : คุณอุกฤษฎ์ จอมยิ ้ม
1
แผนที่เดินดิน
หมายถึง การเดินสำ�รวจดูด้วยตา และจดบันทึกทางกายภาพ สิ่งแวดล้อมของชุมชนและสิ่งต่างๆ ที่พบเห็น เพื่อเข้าใจความหมาย ของสังคม (Social Meaning) และหน้าที่ทางสังคม (Social Function) ของพื้นที่ทางกายภาพ (Physical Space) เป็นเครื่องมือชิ้นแรก ที่สำ�คัญที่จะนำ�ไปสู่ความเข้าใจชุมชนด้วยวิธีการง่ายๆและใช้เวลาไม่นาน เป้าหมาย
1 2 3 4
ทำ�ให้มองภาพรวมของชุมชนได้ครบถ้วน ได้ข้อมูลมากและละเอียดในระยะเวลาสั้น ได้ข้อมูลที่มีความเชื่อถือมากกว่า เพราะได้จากการสังเกตด้วยตนเอง นำ�ไปสู่ความเข้าใจในมิติอื่น ๆ ตามมา
ซ้าย ภาพ: กิจกรรมเดินเท้าเก็บข้อมูลความรู้พื้นฐาน ชุมชน บ้านถ�้ำลอด ส่วนหนึ่งของกิจกรรมอบรมเชิง ปฏิบัติการ “เล่าเรื่อง-แลบ้านถ�้ำ ท�ำเป็นสารคดี” ที่มา: ยิ่งพงศ์ มั่นทรัพย์
วิธีการและข้อแนะน�ำ
1
อาจนำ�แผนที่เก่าที่เคยทำ�มาแล้วไว้มาใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานเบื้องต้น แล้วตรวจสอบว่ามีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร ใส่รายละเอียดเพิ่มเติม
2
ให้ความสำ�คัญกับการสร้างความคุ้นเคยกับชาวบ้านในชุมชนควบคู่ กับการเขียนแผนที่ แวะทักทายชาวบ้านระหว่างการทำ�งาน
3
ถ้าเป็นหมู่บ้านที่มีระยะห่าง ไม่ควรนั่งรถยนต์ทำ�แผนที่ อาจใช้ จักรยาน หรือจักรยานยนต์ แต่ต้องหมั่นจอดแวะทักทายคนใน พื้นที่ (หากรู้จักอยู่แล้วยิ่งเป็นการดี)
4
ต้องเดินสำ�รวจให้ทั่วถึง โดยเฉพาะผู้ที่มีรายได้น้อย บ้านผู้ทุกข์ยาก ที่อยู่ชายขอบของชุมชน บ้านที่แยกตัวอย่างโดดเดี่ยวในชุมชน
5
มองพื้นที่ทางกายภาพแต่ตีความให้เห็นพื้นที่ทางสังคม
6
ถ้ามทีมงานหลายคน ไม่ควรแยกเขียนแล้วนำ�มาต่อกัน ควรเดิน สำ�รวจร่วมกันทั้งทีม
7
หมั่นสังเกตการณ์พูดคุยแลกเปลี่ยนกันในทีมระหว่างเดินสำ�รวจ ว่าพื้นที่ที่เห็นบอกเรื่องราวอะไรที่สำ�คัญของชุมชน ซึ่งถือว่าเป็น กระบวนการเรียนรู้ที่สำ�คัญ
8
ข้อมูลบางอย่างไม่สามารถสังเกตได้ด้วยตาเพียงอย่างเดียว (อาจ จะเป็นภาพลวงตา) จำ�เป็นต้องสอบถามจากเจ้าของบ้าน / ญาติ / เพื่อนบ้าน หรือบุคคลอื่น ๆ เพื่อประกอบการพิจารณาเพิ่มเติม
9
ข้อมูลบางอย่างไม่สามารถสอบถามจากเจ้าของบ้านได้โดยตรง อาจสอบถามจากคนในชุมชนเพิ่มเติม หรืออาศัย การสังเกต เพิ่มด้วยตนเอง
10
ข้อพึงระวัง เมื่อให้ชาวบ้านนำ�ทาง ข้อมูลอาจจะมีอคติจากผู้พาเดิน เช่น ไม่ต้องการให้พบเห็นสิ่งที่คิดว่าสร้างความเสื่อมเสียต่อชุมชน
11
พยายามเขียนข้อสังเกต เช่น ความสัมพันธ์ทางสังคมระหว่างคน ในชุมชนและหน้าที่ทางสังคม
2 ผังเครือญาติ
ผังเครือญาติ คือ การถอดความสัมพันธ์ในเชิงเครือญาติ ที่เกิดขึ้นของ คนในชุมชน ทั้งโดยสายเลือดหรือจากการแต่งงาน เพื่อให้รู้จักเครือข่าย สังคม ( Social Network ) ที่สนับสนุนแต่ละครอบครัวอยู่ผังเครือญาติ มีความสำ�คัญ ต่อความเข้าใจชุมชนและสังคม ไม่ว่าจะเป็นสังคมเมือง และสังคมชนบท เพราะเครือญาติเป็นความสัมพันธ์ที่เป็นรากฐานของ ชีวิตครอบครัวจะมีความเกี่ยวข้องกันไปตลอดชีวิต ผังเครือญาติจะเป็น เครื่องมือสำ�คัญ ที่จะช่วยสร้างความคุ้นเคยกับคนในชุมชน ในเวลาอัน รวดเร็ว โดยการรู้จักและเข้าใจ ความสัมพันธ์ทางสังคมขั้นพื้นฐานของ สมาชิกในชุมชน เช่น ใครเป็นใครในชุมชน มีบทบาทหน้าที่อย่างไร และ มีความสัมพันธ์กับคนในครอบครัวและคนอื่นๆ ในชุมชนอย่างไร
3 การจัดทำ�ผังโครงสร้างองค์กรชุมชน
การศึกษาโครงสร้างองค์กรชุมชน หมายถึง การศึกษาความสัมพันธ์สังคม ของชาวบ้านในแง่มุมต่างๆ นอกเหนือจากความสัมพันธ์ทางเครือญาติ ทั้งโครงสร้างด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและวัฒนธรรม ฯ ลฯ ของ ชุมชนด้วยการศึกษา สถาบัน องค์กร และกลุ่มต่างๆ ทั้งที่เป็นทางการและ ไม่เป็นทางการ เพื่อทราบถึงความสัมพันธ์เชิงสถานภาพ บทบาท หน้าที่ และอำ�นาจระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ในชุมชน การศึกษาโครงสร้างองค์กรชุมชนจะช่วยให้สมารถสังเกตบทบาทสถาบัน องค์กร และบุคคลต่าง ๆ ที่ทำ�หน้าที่ขับเคลื่อนชุมชน นอกจากนี้จะทำ�ให้ ผู้ศึกษาสามารถจัดความสัมพันธ์ของตนเอง กับชุมชนได้อย่างเหมาะสม ไม่เป็นอุปสรรค์ต่อการเข้าถึงชุมชน และสามารถนำ�ข้อมูลมาประกอบภาพ ของชุมชนให้มีความชัดเจนมากขึ้น
3.1 โครงสร า้ งความส ัมพั นธ์ทางเศรษฐก ิจ ปัจจัยการผลิตของชุมชน และอ�ำนาจการตัดสินใจในการผลิตของ ชุมชนถูกก�ำหนดจากอะไร ฐานะทางเศรษฐกิจภายในชุมชนมี ความแตกต่างหรือไม่ อย่างไร เช่น วิธีการหารายได้ การแบ่งรายได้ จ�ำนวนครอบครัวที่มีฐานะ ร�่ำรวย -ปานกลาง -พออยู่ได้ -ทุกข์ยาก จ�ำนวนครอบครัวที่ให้ผู้อื่น เช่าที่ดิน จ�ำนวนครอบครัวที่ต้องเช่าที่ดินท�ำกิน จ�ำนวนครอบครัว กับภาระหนี้สิน กองทุนหมู่บ้าน แหล่งเงินกู้เงื่อนไขช�ำระ ฯลฯ
ภาพ: การเลี้ยงหมูดำ� และปลูกผักผลิตผลทางการเกษตรของชาวลาหู่นะ บ้านจ่าโบ่ อ.ปางมะผ้า จ.แม่ฮ่องสอน ที่มา : CBT BAAN JABO
3.2
โครงสร ้ า งความสัม พ นั ธ์ทางสังคม กลุ่มทางสังคมต่างๆทั้งที่เป็นทางการและกลุ่มที่เป็นชุมชนรวมตัวกันเอง ระบบและระดับการศึกษาในชุมชน องค์กรศาสนาและระบบความเชื่อต่าง ๆ ความสัมพันธ์ระหว่าง พระสงฆ์กับชาวบ้าน หรือกับผู้นำ� เป็นต้น ต้นทุนทางสังคม ภูมิปัญญาต่าง ๆ ระบบความเชื่อค่านิยมที่ทำ�ให้ ชุมชนสามารถแก้ปัญหา และปรับตัวตามการเปลี่ยนแปลงได้ ภูมิปัญญา / ระบบความเชื่อกับชุมชน ชาวบ้านกับการรับ สิ่งใหม่ ๆ จากภายนอก ฯลฯ
3.3
โครงสร้างความสัมพันธ์ทางการเมือง โครงสร้างการปกครองท้องถิ่น องค์กร บทบาทหน้าที่
กลุ่มหรือองค์กรต่าง ๆ ในชุมชน เกิดขึ้นเองหรือ มีการสนับสนุนจากองค์กรภายนอก ลักษณะและรูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มต่างๆ ภายในชุมชนเช่น ความขัดแย้ง การแบ่งปันผลประโยชน์ การช่วยเหลือ การแสดงความคิดเห็น ฯลฯ ความสัมพันธ์ระหว่างนายทุนทางธุรกิจท้องถิ่น
ปฏิทินชุมชน
4
ปฏิทินชุมชน คือ การเรียนรู้วิถีชาวบ้านในแต่ละวัน แต่ละเดือน แต่ละปี ว่าประกอบกิจกรรมอะไรบ้าง เกิดขึน้ ได้อย่างไร เกีย่ วข้องกับวิถชี าวบ้านอย่างไร ทั้งประกอบอาชีพต่างๆ งานบุญประเพณี การออกไปรับจ้างนอกชุมชน ซึ่ง ในแต่ละช่วงชาวบ้านจะทำ�อะไรบ้าง และแต่ละชุมชนก็มีวิถีชีวิตที่แตกต่าง กันไป ดังนั้นปฏิทินชุมชนก็คือเครื่องมือในการเรียนรู้จังหวะของชีวิตและ วิถีชุมชนนั่นเอง เป้าหมาย
1
ช่วยสร้างความเข้าใจในวิถีชีวิตของชาวบ้าน ทั้งในวงจรและจังหวะ การทำ�งานในรอบวัน / เดือน / ปี / ว่าชาวบ้านทำ�อะไรบ้างในช่วงใด
2
เป็นจุดเริ่มต้นของการสร้างความสัมพันธ์กับชาวบ้านในชุมชน และ เกิดความรู้สึกดีและมีความไว้วางใจมากขึ้น เมื่อเรารู้จักกาลเทศะใน วิถีชีวิตชาวบ้านก็จะสามารถเข้าหาชาวบ้านได้ถูกจังหวะนั่นเอง
3
ช่วยให้สามารถวางแผนโครงการ / จัดตารางการทำ�งานที่สอดคล้อง กับวิถีชีวิตของชาวบ้านได้อย่างเหมาะสม และถูกจังหวะเวลา
แบ่งเป็น
ปฏิทินเศรษฐกิจ
แยกประเภทอาชีพของชาวบ้าน ช่วงเวลาใดทำ�อะไร เขียนแจกแจงแต่ละ เดือน เช่น อาชีพชาวนา หว่านไถ ลงกล้า ปักดำ� เก็บเกี่ยว ช่วงใดเดินทาง ไปทำ�งานต่างถิ่น เป็นต้น ปฏิทินทางวัฒนธรรม
ขนบธรรมเนียม ประเพณี พีธีกรรมที่สำ�คัญ ที่เป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิตของ ชาวบ้านในชุมชน และมีอิทธิพลต่อความคิด ความเชื่อสืบทอดกันมาตั้งแต่ อดีตจนถึงปัจจุบันในแต่ละเดือน อาจเข้าไปสังเกตการณ์แบบมีส่วนร่วม
ในงานบุญประเพณีต่างๆ จะทำ�ให้รู้รายละเอียดเพิ่มขึ้น เช่น ทำ�อะไรบ้าง ใครบ้างที่เข้าร่วม การประกอบพิธีกรรมทำ�อย่างไร
ประวัติศาสตร์ชุมชน
5
การทำ�ความเข้าใจประวัติศาสตร์ความเป็นมาของชุมชนจะ ทำ�ให้เราทราบถึงที่มาที่ไปของปรากฏการณ์และปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชุมชนแต่ละช่วง ทราบถึงสถานการณ์ร่วมกัน ของชุมชน ที่มีส่วนในการกำ�หนดความรู้นึกคิดของชาวบ้านได้ รวมถึงเข้าใจถึงความสัมพันธ์ของสิ่งต่าง ๆ ในชุมชน เช่น ความสัมพันธ์ระหว่างผู้นำ�สำ�คัญ ๆ ความสัมพันธ์กับอำ�นาจรัฐ ลดความอคติส่วนตัวที่จะตัดสินเรื่องราว และการกระทำ� ต่างๆ ของชาวบ้าน
ประวัติชีวิตบุคคลในชุมชน
คือ เครื่องมือที่ทำ�ให้เห็นรายละเอียดวิถีชีวิตของคนใน ชุมชน เพื่อเกิดการเรียนรู้สร้างความเข้าใจเรื่องราวชีวิต ของชาวบ้าน เพิ่มมุมมองมิติความเป็นมนุษย์ของชาวบ้าน มากขึ้นผู้ที่ทำ�การศึกษาจำ�เป็นต้องวางกลุ่มเป้าหมายให้ ครอบคลุมคนในชุมชน ไม่ละเลยคนชายขอบ ซึ่งได้แก่ คนด้อยโอกาส คนจนในชุมชนผู้เฒ่าผู้แก่ รวมถึงกลุ่มผู้นำ� หรือผู้ที่ได้รับการยอมรับในชุมชนระดับต่างๆ
6
ภาพ: แม่เฒ่าชาวปกาเกอะญอ บ้านเมืองแพม อ.ปางมะผ้า จ.แม่ฮ่องสอน ที่มา: โครงการวิจัยเรื่อง การปฏิสัมพันธ์ระหว่าง มนุษย์ก่อนประวัติศาสตร์กับสิ่งแวดล้อมบนพื้นที่สูง ในอำ�เภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน
วันที่สัมภาษณ์ สำ�รวจและเก็บข้อมูลภาคสนาม 01
................ / .............. / ...............
ประวัติศาสตร์
ทั้งประวัติศาสตร์บอกเล่า จากผู้เฒ่าผู้แก่ และประวัติศาสตร์ที่บันทึกเป็น ลายลักษณ์อักษร หรือไม่อย่างไรบ้าง ( เช่น ชุมชนบ้านโคก แรกเริ่มเป็น การรวมกลุ่มทางชาติพันธุ์ ของชาวลาว เมื่ออพยพมาจากหลวงพระบาง หรือ ประวัติศาสตร์บอกเล่าจากนิทานพื้นบ้าน เป็นต้น)
ผู้ให้สัมภาษณ์ ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ข้อสังเกต อุปสรรคที่พบ และวิธีการแก้ไข
วันที่สัมภาษณ์ สำ�รวจและเก็บข้อมูลภาคสนาม
................ / .............. / ...............
การก่อตั้งชุมชน
มีเรื่องเล่าหรือบันทึกเอาไว้หรือไม่ ว่าใครเป็นคนแรก หรือ พวกแรกที่เข้ามาก่อตั้งชุมชน
ผู้ให้สัมภาษณ์ ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ข้อสังเกต อุปสรรคที่พบ และวิธีการแก้ไข
วันที่สัมภาษณ์ สำ�รวจและเก็บข้อมูลภาคสนาม 1.1
................ / .............. / ...............
ตำ�แหน่งที่ตั้ง
ของชุมชน / หมู่บ้าน / ต�ำบล / จังหวัดใกล้เคียง หรืออาณาเขตติดต่อชุมชน ติดต่อที่ไหนบ้าง เช่น ทิศเหนือ ติดกับต�ำบลหนองบัว ทิศ ใต้ ติดกับคลองน�้ำใส ทิศตะวันออก ติดกับหมู่สาม ทิศตะวันตก ติดกับอ่าวไทย * ถ้าสามารถบันทึกเป็นแผนที่ได้อาจช่วยทำ�ให้เกิดความเข้าใจได้ง่ายมากขึ้น
หน่วยประชาสงเคราะห์ หน่อวิ
เพอเนอ
หน่อติ๊ต๊ะ
สมคิด วีระ N
โบสถ์ บุญสม ผู่ใหญ่บ้านโสภณ แหลงคำ�
โรงเรียนบ้านคำ�สุข
ขุนยวม
สิชัย ดี
พือโข่ มานะ
เสรี
แผนผังบ้านคำ�สุข
ผู้ให้สัมภาษณ์ ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ข้อสังเกต อุปสรรคที่พบ และวิธีการแก้ไข
วันที่สัมภาษณ์ สำ�รวจและเก็บข้อมูลภาคสนาม 1.2
................ / .............. / ...............
รูปแบบการปกครองจากภาครัฐ
มีลักษณะการปกครองเช่นไร เช่น มีอบต. กำ�นัน ผู้ใหญบ้าน หรือไม่ โดยชี้ให้เห็นว่า อบต. กำ�นัน ผู้ใหญบ้าน มีหน้าที่ต่างกันหรือเหมือนกันอย่างไร อาจชี้แจงให้เห็นอำ�นาจ บทบาทและหน้าที่
ผู้ให้สัมภาษณ์ ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ข้อสังเกต อุปสรรคที่พบ และวิธีการแก้ไข
วันที่สัมภาษณ์ สำ�รวจและเก็บข้อมูลภาคสนาม
................ / .............. / ...............
มีโรงเรียนประจำ�ชุมชนหรือไม่ บอกสถานที่ตั้งของโรงเรียน ประวัติการก่อตั้ง โรงเรียน ระดับชั้นเรียน โดยสอบถามจากครูอาจารย์จากโรงเรียนประจำ�ชุมชน นั้น ๆ รวมถึงบทบาทและหน้าที่ในชุมชน
ผู้ให้สัมภาษณ์ ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ข้อสังเกต อุปสรรคที่พบ และวิธีการแก้ไข
วันที่สัมภาษณ์ สำ�รวจและเก็บข้อมูลภาคสนาม
................ / .............. / ...............
มีสถานีอนามัยประจำ�ชุมชนหรือไม่ บอกสถานที่ตั้ง จำ�นวนแพทย์ประจำ�สถานี อนามัย บทบาทและหน้าที่ในชุมชน
ผู้ให้สัมภาษณ์ ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ข้อสังเกต อุปสรรคที่พบ และวิธีการแก้ไข
วันที่สัมภาษณ์ สำ�รวจและเก็บข้อมูลภาคสนาม 1.3
................ / .............. / ...............
โครงสร้างทางประชากร
(อาจขอข้อมูลจากสถานีอนามัยหรือผู้นำ�ชุมชน เช่น อบต. กำ�นัน ผู้ใหญ่บ้าน)
จำ�นวนประชากร โดยจำ�แนกออกเป็น
เพศ / วัย
เด็ก :
ผู้ใหญ่ :
คนชรา :
ชาย : หญิง :
ดูลักษณะของการอพยพย้ายถิ่นของประชากร (จำ�นวน) หรือสาเหตุ เช่น การศึกษาและการออกมาหางานทำ�เนื่องจากว่างเว้นจากการทำ�เกษตรกรรม เป็นต้น (ข้อมูลอาจได้จากการสัมภาษณ์คนในชุมชนหรือหน่วยงานราชการ หรือทั้งสองก็เป็นได้)
ผู้ให้สัมภาษณ์ ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ข้อสังเกต อุปสรรคที่พบ และวิธีการแก้ไข
วันที่สัมภาษณ์ สำ�รวจและเก็บข้อมูลภาคสนาม
1.4
................ / .............. / ...............
อธิบายลักษณะทางกายภาพต่างๆ ที่มีผลต่อการด�ำเนินชีวิตชุมชน การคมนาคม
เช่น มีเส้นทางเดินรถ (ถนน) เส้นทางเดินเรือ (คลองหรือแม่นำ�้ ) อาจสอบถาม ประวัตกิ ารตัดถนน หรือการเปลีย่ นแปลงของเส้นทางคมนาคม
ภาพ: “แผนที่เดินดิน” การจัดทำ�แผนที่ชุมชนเบื้องต้น จากการสังเกตการณ์ด้วยการ เดินเท้าสำ�รวจรอบๆหมู่บ้านและบันทึกลักษณะทางกายภาพของหมู่บ้าน ส่วนหนึ่งของ กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ “โครงการมรดกทางวัฒนธรรมผ่านสายตาคนท้องถิ่น ที่มา: โครงการจัดทำ�สื่อจากผลงานวิจัย เพื่อพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น ในอำ�เภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน
ผู้ให้สัมภาษณ์ ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ข้อสังเกต อุปสรรคที่พบ และวิธีการแก้ไข
วันที่สัมภาษณ์ สำ�รวจและเก็บข้อมูลภาคสนาม
................ / .............. / ...............
สถานที่สำ�คัญ
เช่น วัด, สถานีต�ำรวจ, อบต., น�้ำตก, ทะเล, บ้านของปราชญ์ชุมชน เป็นต้น (ระบุรายชื่อ พร้อมทั้งให้ค�ำอธิบายถึงความส�ำคัญของสถานที่นั้นๆ)
ผู้ให้สัมภาษณ์ ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ข้อสังเกต อุปสรรคที่พบ และวิธีการแก้ไข
วันที่สัมภาษณ์ สำ�รวจและเก็บข้อมูลภาคสนาม
1.5
................ / .............. / ...............
รูปภาพตำ�แหน่งที่ตั้งทางภูมิศาสตร์
เช่น จากภาพถ่ายอากาศ แผนที่หลวง แผนที่ท่องเที่ยว แผนที่จาก อบต. หรือ หาแผนที่ถ่ายดาวเทียมจากเว็บไซด์ googleearth.com โดยแผนที่อาจบอก ต�ำแหน่งของถนน แม่น�้ำ ล�ำคลอง สถานที่ส�ำคัญภายในชุมชนได้
BAN RAI
ผู้ให้สัมภาษณ์ ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ข้อสังเกต อุปสรรคที่พบ และวิธีการแก้ไข
ผู้ให้สัมภาษณ์ ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ ภาพ: กิจกรรมเดินเท้าเก็บข้อมูลความรู้
ข้อสังเกต อุปสรรคที่พบ และวิพืธ้นีกฐานชุ ารแก้มไชน ข บ้านถ�้ำลอด ส่วนหนึ่งของ กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ “เล่าเรื่อง - แลบ้านถ�้ำ ท�ำเป็นสารคดี” ที่มา: ยิ่งพงศ์ มั่นทรัพย์
วันที่สัมภาษณ์ สำ�รวจและเก็บข้อมูลภาคสนาม
02
................ / .............. / ...............
ทรัพยากรต่าง ๆ ของท้องถิ่น
เพื่อทำ�ความรู้จักว่าชุมชนของท่านมีทุน (ทรัพยากร) อยู่เท่าไหร่ อย่างไร 2.1
แหล่งน�้ำ ชื่อแหล่งน�้ำส�ำคัญ เช่น เขื่อน ฝาย อ่างเก็บน�้ำ แม่น�้ำสายหลัก หรือ
ระบบประปา ( มีประปามานานเท่าไหร่ ) เป็นต้น และการใช้ประโยชน์
ผู้ให้สัมภาษณ์ ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ข้อสังเกต อุปสรรคที่พบ และวิธีการแก้ไข
วันที่สัมภาษณ์ สำ�รวจและเก็บข้อมูลภาคสนาม 2.2
................ / .............. / ...............
ลักษณะดิน
(อาจถามว่าเป็นดินร่วน, ดินร่วนปนทราย, หรือดินเหนียว) และความอุดมสมบูรณ์ของดินมีมากน้อยเพียงใด ( สอบถามจาก อบต. ผู้รู้ หรือกลุ่มแกนนำ�เกษตรกร)
ผู้ให้สัมภาษณ์ ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ข้อสังเกต อุปสรรคที่พบ และวิธีการแก้ไข
วันที่สัมภาษณ์ สำ�รวจและเก็บข้อมูลภาคสนาม 2.3
................ / .............. / ...............
ลักษณะป่าไม้
จำ�นวนพื้นที่ป่าไม้ ดูลักษณะความอุดมสมบูรณ์ (พื้นที่ป่าไม้ต่อจำ�นวนพื้นที่ชุมชน)
ประเภทของป่า เช่น ป่าปลูก หรือ ป่าชุมชน เป็นต้น
วันที่สัมภาษณ์ สำ�รวจและเก็บข้อมูลภาคสนาม
การใช้ประโยชน์
................ / .............. / ...............
ผู้ให้สัมภาษณ์ ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ข้อสังเกต อุปสรรคที่พบ และวิธีการแก้ไข
วันที่สัมภาษณ์ สำ�รวจและเก็บข้อมูลภาคสนาม 2.4
................ / .............. / ...............
สภาพภูมิอากาศ (อาจขอข้อมูลได้จากหน่วยงานราชการ)
สภาพอากาศ ร้อนชื้น หรือ ฝนตกชุก ดูอุณหภูมิเฉลี่ยตลอดปี
ดูระดับความเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ (อิทธิพลจากลมมรสุม เช่น เกาะหมากได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตก เฉียงใต้ ทำ�ให้มีฝนตกชุก ส่วนในระยะลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือพัดผ่าน เกาะหมากได้รับอิทธิพลไม่มากนักทำ�ให้อุณหภูมิไม่หนาวเย็น )
ผู้ให้สัมภาษณ์ ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ข้อสังเกต อุปสรรคที่พบ และวิธีการแก้ไข
วันที่สัมภาษณ์ สำ�รวจและเก็บข้อมูลภาคสนาม
2.5
................ / .............. / ...............
ความสมบูรณ์ของระบบนิเวศน์
ความหลากหลายของพันธุ์พืชและพันธุ์สัตว์ เช่น ค่าง พะยูน ที่แสดงให้เห็นความ หลากหลายและความอุดมสมบูรณ์ของป่าชุมชน
มีทรัพยากรธรรมชาติที่มีเฉพาะภายในท้องถิ่นหรือไม่ เช่น เกลือสินเธาว์ กล้วยไม้ เป็นต้น และการใช้ประโยชน์
ผู้ให้สัมภาษณ์ ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ข้อสังเกต อุปสรรคที่พบ และวิธีการแก้ไข
วันที่สัมภาษณ์ สำ�รวจและเก็บข้อมูลภาคสนาม 2.6
................ / .............. / ...............
อธิบายสภาพแห้งแล้งหรือการขาดแคลนทรัพยากรธรรมชาติ
ของพื้นที่ต่างๆ โดยอาจตั้งค�ำถามว่า มีพื้นที่ใดที่ท�ำการเพาะปลูกแล้ว ไม่ได้ผลบ้าง หรือมีพื้นที่ใดประสบปัญหาขาดแคลนน�้ำ หรือดินไม่อุดมสมบูรณ์ โดยบอกที่ตั้งและประวิติของพื้นที่นั้น
ผู้ให้สัมภาษณ์ ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ข้อสังเกต อุปสรรคที่พบ และวิธีการแก้ไข
วันที่สัมภาษณ์ สำ�รวจและเก็บข้อมูลภาคสนาม 2.7
แหล่งท่องเที่ยวที่มีอยู่ตามธรรมชาติ
(ระบุชื่อและความสำ�คัญของพื้นที่ )
2.8 แหล่งท่องเที่ยวที่เกิดจากฝีมือมนุษย์
(ระบุชื่อและความสำ�คัญของพื้นที่ )
................ / .............. / ...............
ผู้ให้สัมภาษณ์ ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ข้อสังเกต อุปสรรคที่พบ และวิธีการแก้ไข
วันที่สัมภาษณ์ สำ�รวจและเก็บข้อมูลภาคสนาม 2.9
................ / .............. / ...............
แหล่งโบราณสถานหรือสถานที่สำ�คัญทางวัฒนธรรม (วัด , สุเหร่า )
อาจถามถึงประวัติการก่อตั้งวัด หรือสุเหร่า
ความสัมพันธ์ของวิถีชีวิตคนในชุมชนกับสถานที่สำ�คัญทางวัฒนธรรม เช่น วันพระป้าไปทำ�บุญไหม ทำ�บุญวัดไหน ตรงไหน
ผู้ให้สัมภาษณ์ ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ข้อสังเกต อุปสรรคที่พบ และวิธีการแก้ไข
วันที่สัมภาษณ์ สำ�รวจและเก็บข้อมูลภาคสนาม
................ / .............. / ...............
2.10 แผนที่ทรัพยากรในประเด็นต่าง ๆ
ข้างต้น
(อาจระบุได้ในแผนที่โดยขอแผนที่จาก อบต. เป็นต้นแบบแล้วร่างแผนที่ แสดงให้เห็นภาพ ป่า แหล่งน�้ำ หรือนาข้าว เป็นต้น ) บ.ใหม่พัฒนา
ป่าต้นน�้ำ
บ.ปางตอง ป่าต้นน�้ำ
วัด บ.แม่ยวมหลวง
บ.นางงิ้ว
บ.ปางอุ๋ง
บ.แม่ยวมน้อย บ.แม่ค�ำสุข
ป่าช้า
ไร่หมุนเวียน
บ.แม่หาด
พท.บวชป่า
บ.หัวปอน
ที่ตั้งหมู่บ้าน
ล�ำห้วย
ถนน
ไร่หมุนเวียน ป่าช้า
แผนที่หมู่ที่ 1 บ้านคำ�สุข , บ้านนางิ้ว ตัวอย่างแผนที่ทรัพยากร
ผู้ให้สัมภาษณ์ ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ข้อสังเกต อุปสรรคที่พบ และวิธีการแก้ไข
ภาพ: กิจกรรมเดินเท้าเก็บข้อมูลความรู้ พื้นฐานชุมชน บ้านถ�้ำลอด ส่วนหนึ่งของ กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ “เล่าเรื่อง - แลบ้านถ�้ำ ท�ำเป็นสารคดี” ที่มา: ยิ่งพงศ์ มั่นทรัพย์
วันที่สัมภาษณ์ สำ�รวจและเก็บข้อมูลภาคสนาม 03
................ / .............. / ...............
ภูมิปัญญาท้องถิ่น
เพื่อทำ�ความรู้จักจิตใจของคนในสังคมของท่าน 3.1
รวมนาม “ผู้รู ้ ” หรือ “ปราชญ์ชาวบ้าน” ในด้านต่างๆ ได้แก่ ด้านอาชีพ วิถีพอเพียง หรือศิลปวัฒนธรรมโดยอธิบายประวัติชีวิต ความรู้ หรือ ความเชี่ยวชาญโดยย่อ (โปรดบอกสถานที่อยู่อาศัยและวิธีการติดต่อ )
ผู้ให้สัมภาษณ์ ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ข้อสังเกต อุปสรรคที่พบ และวิธีการแก้ไข
วันที่สัมภาษณ์ สำ�รวจและเก็บข้อมูลภาคสนาม
3.2
................ / .............. / ...............
บุคคลต้นแบบ
หรือ “กลุ่มคน” ที่มีวิถีชีวิตพอเพียงของชุมชน อธิบายแนวคิด, ความรู้ ประวัติ และบทบาทกิจกรรมสำ�คัญในชุมชน (โปรดบอกสถานที่อาศัยและวิธีการติดต่อ)
ผู้ให้สัมภาษณ์ ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ข้อสังเกต อุปสรรคที่พบ และวิธีการแก้ไข
ตัวอย่างการสัมภาษณ์บุคคล
ภาพ: นักศึกษามหาวิทยาลัยพะเยาถ่ายบันทึกวีดีโอสัมภาษณ์บุคคล พร้อมบันทึกเสียง กำ�นันผ่องศรี ปรีชาพงศ์มิตร ที่บ้านกลุ่มหัตถกรรม จักสานผักตบชวา บ้านสันป่าม่วง ต.สันป่าม่วง จ.พะเยา ที่มา: โครงการจัดทำ�สื่อจากผลงานวิจัยเพื่อพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นใน อำ�เภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน
ภาพ: นักวิจัยสัมภาษณ์พ่อเฒ่า เมืองปอน อ.ขุนยวม จ.แม่ฮ่องสอน ที่มา: โครงการสืบค้นและจัดการมรดกทางวัฒนธรรมอย่างยั่งยืนใน อำ�เภอปาย-ปางมะผ้า-ขุนยวม จังหวัดแม่ฮ่องสอน
การสังเกตการณ์ การเล่าเรื่องด้วยภาพถ่าย
ภาพ: แสดงอากาศเย็น ม้าน�ำเที่ยว และชาวบ้านถ�้ำลอดตากแดด ให้อบอุ่นระหว่างรอน�ำเที่ยวแพ อ.ปางมะผ้า จ.แม่ฮ่องสอน ที่มา: โครงการจัดท�ำสื่อจากผลงานวิจัยเพื่อพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น ในอ�ำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน
ภาพ: แสดงธุรกิจท้องถิ่นเพื่อการท่องเที่ยว โดยชุมชนม้ง ให้นักท่องเที่ยวเช่าชุดชนเผ่าม้งใส่ถ่ายภาพ ชุมชนบ้านแม่อูคอ อ.ขุนยวม จ.แม่ฮ่องสอน ที่มา : โครงการโบราณคดีบนพื้นที่สูงในอำ�เภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน
วันที่สัมภาษณ์ สำ�รวจและเก็บข้อมูลภาคสนาม
3.3
................ / .............. / ...............
ปฏิทินประเพณีและงานเทศกาลที่มีในชุมชน
อาจถามประเพณีและงานเทศกาลในรอบปี เช่น เดือนมกราคมในชุมชนจัดงาน ประเพณีอะไรที่สำ�คัญบ้าง หรือเมื่อถึงเทศกาสำ�คัญทางศาสนาหรือเทศกาล ของกลุ่มชาติพันธุ์ กระทำ�ช่วงใดในรอบปีบ้าง (แสดงเป็นตาราง 12 เดือน) มกราคม
กุมภาพันธ์
มีนาคม
เมษายน
พฤษภาคม
มิถุนายน
กรกฎาคม
สิงหาคม
กันยายน
ตุลาคม
พฤศจิกายน
ธันวาคม
ผู้ให้สัมภาษณ์ ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ข้อสังเกต อุปสรรคที่พบ และวิธีการแก้ไข
วันที่สัมภาษณ์ สำ�รวจและเก็บข้อมูลภาคสนาม 3.4
................ / .............. / ...............
เอกลักษณ์ของศิลปวัฒนธรรม
ของชุมชนที่แตกต่างจากชุมชนอื่น ภาษาถิ่น อาจถามว่าภาษาถิ่นที่คนในชุมชนใช้เรียกภาษานั้นว่าอะไร หรืออาจถามและให้คนในชุมชนอธิบายคำ�เรียกที่ต่างความหมายกัน เช่น คำ�ว่า เฮือน แปลว่า เรือนหรือบ้าน เป็นต้น (อาจมีตารางอธิบายคำ�หรือสำ�เนียง)
ผู้ให้สัมภาษณ์ ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ข้อสังเกต อุปสรรคที่พบ และวิธีการแก้ไข
วันที่สัมภาษณ์ สำ�รวจและเก็บข้อมูลภาคสนาม
................ / .............. / ...............
ดนตรี มีดนตรีพื้นเมืองประจำ�ชุมชนหรือไม่ ถ้ามี ใครเป็นผู้รู้ มีลักษณะเฉพาะตัวอย่างไร และมีการสืบทอดหรือไม่อย่างไร
ผู้ให้สัมภาษณ์ ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ข้อสังเกต อุปสรรคที่พบ และวิธีการแก้ไข
วันที่สัมภาษณ์ สำ�รวจและเก็บข้อมูลภาคสนาม
................ / .............. / ...............
การละเล่นหรือกีฬาประจำ�ท้องถิ่น เช่น การแข่งขันเรือหางยาวมีลักษณะ เฉพาะตัวหรือไม่ ใครเป็นผู้เล่น เล่นกันที่ไหน เมื่อไหร่ เป็นต้น
ผู้ให้สัมภาษณ์ ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ข้อสังเกต อุปสรรคที่พบ และวิธีการแก้ไข
วันที่สัมภาษณ์ สำ�รวจและเก็บข้อมูลภาคสนาม
3.5
................ / .............. / ...............
เอกลักษณ์ทางชาติพันธุ์
(ขนาดและลักษณะเฉพาะ)
มีกลุ่มชาติพันธุ์ใดบ้างในชุมชน (เช่น ชาวเขาเผ่ามูเซอ ขมุ หรือลาวพวน เป็นต้น ) อาจระบุจำ�นวน และลักษณะเฉพาะ เช่น การแต่งกาย ภาษา อาหาร วัฒนธรรมโดยรวม
ผู้ให้สัมภาษณ์ ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ข้อสังเกต อุปสรรคที่พบ และวิธีการแก้ไข
วันที่สัมภาษณ์ สำ�รวจและเก็บข้อมูลภาคสนาม
3.5
................ / .............. / ...............
ศาสนา อาจขอข้อมูลจากหน่วยงานราชการถึงสัดส่วนผู้นับถือศาสนา
ผู้ให้สัมภาษณ์ ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ข้อสังเกต อุปสรรคที่พบ และวิธีการแก้ไข
ภาพ: กิจกรรมเดินเท้าเก็บข้อมูลความรู้ พื้นฐานชุมชน บ้านถ�้ำลอด ส่วนหนึ่งของ กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ “เล่าเรื่อง - แลบ้านถ�้ำ ท�ำเป็นสารคดี” ที่มา: ยิ่งพงศ์ มั่นทรัพย์
วันที่สัมภาษณ์ สำ�รวจและเก็บข้อมูลภาคสนาม 04
................ / .............. / ...............
การผลิตและฐานการผลิต
เพื่อการวิเคราะห์ทุกข์ สุข ความมั่นคงทางรายได้และทรัพย์สิน 4.1
ผลผลิตที่สำ�คัญของท้องถิ่น
อาจถามว่าพืชหรือผลผลิตหลักของชุมชนที่เป็นรายได้หลักคืออะไร (ถ้าไม่มี ให้บอกว่ารายได้หลักมาจากอะไร เช่น ประมง เป็นต้น )
ผู้ให้สัมภาษณ์ ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ข้อสังเกต อุปสรรคที่พบ และวิธีการแก้ไข
วันที่สัมภาษณ์ สำ�รวจและเก็บข้อมูลภาคสนาม 4.2
................ / .............. / ...............
อาชีพที่สำ�คัญของท้องถิ่น
เช่น เกษตรกรรม เลี้ยงสัตว์ รับจ้าง ขายแรงงาน ประมง โดยอาจระบุโดยการ แบ่งกลุ่มอาชีพเป็นจำ�นวนเปอร์เซ็นต์ (ขอข้อมูลจากหน่วยราชการ) และระบุ รายได้เฉลี่ยของแต่ละอาชีพ (อาจขอข้อมูลได้จากหน่วยราชการ จำ�นวนตัวเลข ที่ได้อาจเป็นตัวเลขคร่าวๆ )
ผู้ให้สัมภาษณ์ ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ข้อสังเกต อุปสรรคที่พบ และวิธีการแก้ไข
วันที่สัมภาษณ์ สำ�รวจและเก็บข้อมูลภาคสนาม 4.3
................ / .............. / ...............
การจัดสรรทรัพยากร
รูปแบบการใช้ประโยชน์หรือการจัดสรรทรัพยากรที่เกี่ยวข้องกับท้องถิ่น อาจถามว่า เป็นทีด่ นิ ส่วนตัวหรือไม่แล้วมีการจัดสรรน�ำ้ มาใช้ในการเกษตรอย่างไร
ทุนที่ใช้ในการประกอบอาชีพมีอะไรบ้าง เช่น ที่ดิน (เช่า หรือ ส่วนตัว ) มีแรงงาน เงินทุน หรือไม่อย่างไร
ผู้ให้สัมภาษณ์ ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ข้อสังเกต อุปสรรคที่พบ และวิธีการแก้ไข
วันที่สัมภาษณ์ สำ�รวจและเก็บข้อมูลภาคสนาม 4.4
................ / .............. / ...............
ปฏิทินการผลิต
ความสัมพันธ์ที่เกี่ยวข้องระหว่างฤดูกาลและระบบการผลิตของชุมชน (ปฏิทินการผลิต ) อาจถามแบบไล่เดือนในรอบปีว่าแต่ละเดือนในระบบการผลิต ของชุมชนทำ�กิจกรรมใดบ้าง (อาจทำ�เป็นตารางหรือปฏิทินการผลิต )
ผู้ให้สัมภาษณ์ ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ข้อสังเกต อุปสรรคที่พบ และวิธีการแก้ไข
วันที่สัมภาษณ์ สำ�รวจและเก็บข้อมูลภาคสนาม
05
................ / .............. / ...............
องค์กรเครือข่ายชุมชน
ค้นหาความร่วมมือหรือภาคีที่ช่วยผลักดันโครงการ รายนามองค์กรเครือข่ายชุมชน รายชื่อแหล่งทุนภายในชุมชน ทั้งที่เป็นทางการ และไม่เป็นทางการ อาจเรียงลำ�ดับความสำ�คัญ พร้อมทั้งบอกประวัติการเข้ามา ของกลุ่มดังกล่าว แกนนำ� รูปแบบขององค์กร ได้แก่ เป้าหมายหน้าที่ สถานภาพ ตามกฎหมาย ระดับขององค์กร (เช่น จังหวัด อำ�เภอ ตำ�บล หมู่บ้าน) จำ�นวน สมาชิกขององค์กร ( นับตั้งแต่เริ่มต้น จนกระทั่งปัจจุบัน ) และการมีส่วนร่วม อย่างไรในชุมชน พร้อมทั้งระบุเบอร์โทรศัพท์ ที่อยู่ที่ติดต่อได้ของผู้นำ�กลุ่ม
ผู้ให้สัมภาษณ์ ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ชื่อ
อายุ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชนิดของข้อมูล :
จำ�นวนปีที่อยู่ในชุมชน ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
ข้อสังเกต อุปสรรคที่พบ และวิธีการแก้ไข
ลักษณะการเขียนข้อมูลชุมชน
1
เขียนเป็นลักษณะบทความเชิงสรุปความ อธิบายสภาพชุมชนเป็น ประเด็นต่างๆ ที่สำ�คัญ และเป็นแต่ละข้อสำ�หรับข้อมูลที่ควรทราบ ไม่จำ�กัดความยาว แต่ควรเหมาะกับลักษณะการทำ�งานเต็มเวลา
2
ถ้ า หากท่ า นมี ป ระเด็ น ที่ น อกเหนื อ ไปจากประเด็ น ต่ า งๆ ข้ า งต้ น โปรดระบุข้อมูลอื่นๆ ที่ท่านเห็นสมควร เพื่อให้ภาพข้อมูลชุมชนของ ท่านมีความละเอียดชัดเจน และเพื่อให้ตัวท่านเองสามารถรู้จักข้อมูล ของชุมชนของตัวเองอย่างรอบด้าน
3
บางครัง้ ประเด็นข้อมูลบางด้านอาจแตกต่างกันแต่ละชุมชน โปรดอธิบาย ว่าข้อมูลด้านที่ขาด หรือมีความขาดแคลนที่เกิดขึ้นจากข้อจำ�กัดของ สภาพชุมชนอย่างไร บน ภาพ: การจดบันทึกระหว่างการสัมภาษณ์ หรือพูดคุย จะเพิ่มการจดจำ� และสะดวกต่อการทบทวนเมื่อต้องการใช้ข้อมูล ที่มา: โครงการจัดทำ�สื่อจากผลงานวิจัยเพื่อพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น ในอำ�เภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน
4
ควรค้นคว้าหาข้อมูลของท่านจากแหล่งทั้งที่เป็นทางการ เช่น อบต. พัฒนากร ห้องสมุด เป็นต้น และแหล่งไม่เป็นทางการ เช่น การ สัมภาษณ์ผู้รู้ต่าง ๆ บางครั้งการได้มาของข้อมูลบางด้าน อาจเกิด จากการประมาณการณ์ที่ได้จากการสัมภาษณ์หรือการทำ�ความรู้จัก กับคนในชุมชนจำ�นวนหนึ่งเท่านั้น และบางครั้งการทำ�ความรู้จัก ข้อมูลผู้สัมภาษณ์ด้านอื่นๆ เช่น ญาติสายตระกูล ชีวิตประจำ�วัน จะมีประโยชน์สำ�คัญช่วยในการทำ�งานชุมชนท่านเองด้วย
บน ภาพ: สัมภาษณ์บุคคล ด้วยการบันทึกเสียงระหว่างการสนทนา จะทำ�ให้ได้ข้อมูลครบถ้วน ควรจะต้องขออนุญาตผู้ถูกถามก่อนการบันทึก เพื่อความสะดวกใจ นักวิจัยระหว่างการสัมภาษณ์พ่อหลวงปฎิเวช จองสนาน บ้านเวียงใต้ อ.ปาย ที่มา: โครงการสืบค้นและจัดการมรดกทางวัฒนธรรมอย่างยั่งยืนในอำ�เภอปาย ปางมะผ้า - ขุนยวม จังหวัดแม่ฮ่องสอน
แหล่งที่มาของข้อมูล รัศมี ชูทรงเดช และคณะ รายงานการวิจยั ฉบับสมบูรณ์“ โครงการโบราณคดีบนพื ้นที่สงู ในอ�ำเภอปางมะผ้ า จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน ” ระยะที่ 2 เล่มที่ 6 การศึกษาชาติพนั ธุ์วรรณาทางโบราณคดี , อุดมลักษณ์ ฮุน่ ตระกูล เสนอต่อส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั , พ.ศ.2550 รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ “ โครงการสืบค้ น และจัดการมรดกทางวัฒนธรรม อย่างยัง่ ยืนในอ�ำเภอปาย – ปางมะผ้ า – ขุนยวม” เล่มที่ 4 ด้ านประวัตศิ าสตร์ , นุชนภางค์ ชุมดี เสนอต่อส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั , พ.ศ.2552. การฝึ กอบรมเชิงปฏิบตั ิการ การจัดท�ำสารคดีเพื่อการบันทึกและเผยแพร่ มรดกทาง วัฒนธรรมของชุมชนโดยคนท้ องถิ่น “โครงการมรดกทางวัฒนธรรมผ่านสายตาคน ท้ องถิ่น.” วันที่ 18-19 กันยายน พ.ศ. 2556. บ้ านแม่ละนา ต�ำบลปางมะผ้ า จังหวัด แม่ฮอ่ งสอน. กิจกรรมฝึ กอบรมเชิงปฏิบตั ิการการผลิตสื่อสารคดีเพื่อการเรี ยนการสอนหลักสูตร ท้ องถิ่น“เล่าเรื่ อง - แลบ้ านถ� ้ำ ท�ำเป็ นสารคดี.” วันที่ 31 พฤษภาคม ถึง วันจันทร์ ที่ 2 มิถนุ ายน พ.ศ. 2557. ศูนย์ศกึ ษาธรรมชาติและสัตว์ป่าถ� ้ำน� ้ำลอด บ้ านถ� ้ำลอด หมู่ 1 ต�ำบลถ� ้ำลอด อ�ำเภอปางมะผ้ า จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน. คณะวิจยั โครงการจัดท�ำสื่อจากผลงานวิจยั เพื่อพัฒนาหลักสูตรท้ องถิ่น ในอ�ำเภอปางมะผ้ า จังหวัดแม่ ฮ่องสอน (Innovative Media form Academic Research) ศุภร ชูทรงเดช หัวหน้ าโครงการวิจยั และบรรณาธิการ ทรงศักดิ์ ปั ญญา นักวิจยั ด้ านกระบวนการน�ำไปใช้ และประเมินสื่อ จตุพร ปิ ยสุรประทีป วรรณธวัช พูนพาณิช เลขานุการ เสาวลักษณ์ เขียนนอก วัชริ นทร์ มณีวงษ์ จุฑามาส เรื องยศจันทนา ผู้ชว่ ยนักวิจยั กราฟิค : นีรนรา อนุศิลป์ ภาพหน้าปก : Spencer Selover via Pixels