เอกสารประกอบการอบรม
โครงการมรดกทางวัฒนธรรมผ่านสายตาคนท้องถิ่น
การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการการจัดท�ำสารคดีเพื่อการบันทึกและเผยแพร่ มรดกทางวัฒนธรรมของชุมชนโดยคนท้องถิ่น วันที่ 18-19 กันยายน พ.ศ. 2556 ณ บ้านแม่ละนา ต�ำบลปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน เล่าเรื่อง แลบ้านถ�้ำ ท�ำเป็นสารคดี”
กิจกรรมฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการการผลิตสื่อสารคดีเพื่อการเรียนการสอนหลักสูตรท้องถิ่น วันที่ 31 พฤษภาคม ถึง วันจันทร์ที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2557 ณ ศูนย์ศึกษาธรรมชาติและสัตว์ป่าถ�้ำน�้ำลอด บ้านถ�้ำลอด หมู่ 1 ต�ำบลถ�้ำลอด อ�ำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน โดยความร่วมมือระหว่างโครงการจัดท�ำสื่อจากผลงานวิจัยเพื่อพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น ในอ�ำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน วิทยาลัยชุมชนแม่ฮ่องสอนและชุมชนบ้านถ�้ำลอด สนับสนุนโดยส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
เอกสารฉบับนี้สามารถดาวน์โหลดและอ่านออนไลน์ได้ที่
imarmhs.wixsite.com/home
บทน�ำ
เอกสารฉบับนี้เป็นเอกสารที่จัดท�ำขึ้นภายใต้โครงการจัดท�ำสื่อจากผลงานวิจัยเพื่อพัฒนาหลักสูตร ท้องถิน่ ในอ�ำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน เป็นส่วนผลผลิตจากโครงการวิจยั เชิงปฏิบตั กิ ารอย่างมีสว่ นร่วม มีวตั ถุประสงค์ในการ 1) เพือ่ สังเคราะห์และถอดองค์ความรู้ ประสบการณ์วจิ ยั จากโครงการด้านโบราณคดี ประวัตศิ าสตร์และมานุษยวิทยากระบวนการในจังหวัดแม่ฮ่องสอน โดย ดร.รัศมี ชูทรงเดช ออกมาในรูปแบบของสื่อสารคดี สื่อการสอน และสื่อซีดี เพื่อจัดการความรู้จากผลงานวิจัยอย่างส่วนร่วมจากผู้ใช้ประโยชน์จากงานวิจัย 2) เพื่อการเผยแพร่องค์ความรู้จากงานวิจัยในรูปแบบของสื่อการสอนทั้งประเภท ข้อมูลชั้นต้นและผลงานที่ สังเคราะห์แล้ว 3) เพื่อการเผยแพร่การท�ำงานวิจัยและองค์ความรู้ได้โดยทั่วไปในระดับท้องถิ่น ประเทศโลก โดยมีขอบเขต การด�ำเนินงานคือ กระบวนการจัดการความรู้ การพัฒนาหลักสูตร และการจัดท�ำสือ่ ให้เป็นรูปธรรม สอดคล้อง กับความต้องการของท้องถิ่น โครงการจัดท�ำสือ่ ได้เล็งเห็นความส�ำคัญในการเสริมทักษะเพือ่ พัฒนาบุคลากรในพืน้ ทีเ่ จ้าของวัฒนธรรม ให้มีความรู้มากขึ้นในการสร้างกระบวนการจัดการความรู้และการผลิตสื่อ เพื่อให้เกิดการบูรณาการระหว่าง ความรู้จากการศึกษาวิจัยและความรู้ของชุมชนท้องถิ่น และการจัดการความรู้ให้อยู่ในรูปแบบสื่อที่น่าสนใจ ชุมชนสามารถน�ำไปใช้ประโยชน์ได้ และทีส่ ำ� คัญเพือ่ เป็นการเสริมอ�ำนาจ (Empower) ชุมชนในแง่ของการเป็น ผู้สร้างและผู้เลือกองค์ความรู้ที่จะน�ำมาใช้ประโยชน์ และเสริมอ�ำนาจในแง่ของการเป็นผู้บอกเล่าเรื่องราวของ ชุมชนตนเองผ่านกระบวนการผลิตสื่อ จึงเป็นที่มาของโครงการการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการการผลิตสื่อสารคดี เพือ่ การพัฒนาท้องถิน่ ทีม่ เี ป้าหมายให้ชมุ ชนได้มคี วามรูแ้ ละทักษะในการจัดการความรูแ้ ละการผลิตสือ่ วิดทิ ศั น์ สามารถน�ำไปประยุกต์ใช้เพื่อประโยชน์ของชุมชน ตลอดจนเป็นการสร้างการมีส่วนร่วมในการพัฒนาสื่อจาก ผลงานวิจัยเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับจังหวัดแม่ฮ่องสอนต่อไป
คู่มือประกอบการสร้างสื่อสารคดีพัฒนามาจากการถอดบทเรียนจากการจัดอบรม “ โครงการมรดก ทางวัฒนธรรมผ่านสายตาคนท้องถิ่น" วันที่ 18-19 กันยายน พ.ศ. 2556 ณ บ้านแม่ละนา ต�ำบลปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน และ “เล่าเรือ่ ง - แลบ้านถ�ำ้ ท�ำเป็นสารคดี” วันที่ 31 พฤษภาคม ถึง วันจันทร์ที่ 2 มิถนุ ายน พ.ศ. 2557 ณ บ้านถ�้ำลอด ต�ำบลถ�้ำลอด อ�ำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน ซึ่งจากการอบรมทั้งสองครั้งที่ ผ่านมาพบว่า ผู้ร่วมอบรมมีความต้องการเอกสารในลักษณะคู่มือที่สามารถกลับมาอ่านทบทวนความรู้ และ สามารถค้นคว้าเพิ่มเติมได้ผ่านทางสื่อออนไลน์ รวมถึงวิธีการที่จะน�ำเสนอวัฒนธรรมอย่างไรจึงตรงกับความ ต้องการ และเหมาะสมกับเจ้าของวัฒนธรรม จากผู้อบรมที่มาจากพื้นฐานที่หลากหลาย เช่น อาจารย์จาก วิทยาลัยชุมชน นักศึกษา ผู้น�ำชุมชน นักเรียน ทีมงานโครงการจัดท�ำสื่อจากผลงานวิจัยฯ คัดกรองข้อเสนอแนะน�ำมาสู่ คู่มือประกอบการสร้างสื่อ สารคดีชุมชน แบ่งองค์ความรู้ออกเป็น 2 ส่วนคือ ชาติพันธุ์วิทยา ( Ethnology ) และมานุษยวิทยาทัศนา อย่างสังเขป เป็นส่วนความรู้ด้านมานุษยวิทยาทัศนา และ การสอนถ่ายท�ำวิดีโอ ฉบับเร่งรัด เป็นส่วนความรู้ พื้นฐานการผลิตภาพยนตร์สารคดีทั่วไป รวมถึงพื้นฐานความรู้การถ่ายท�ำในเชิงมานุษยวิทยาทัศนา โดยหวังว่า จะเป็นแนวทางในการค้นคว้าเพิ่มเติม และน�ำองค์ความรู้ไปใช้ปฏิบัติได้จริงในพื้นที่ ทางทีมงานโครงการจัดท�ำ สื่อจากผลงานวิจัยเพื่อพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นในอ�ำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน ยินดีหากมีข้อคิดเห็น หรือค�ำแนะน�ำเพิ่มเติมในการปรับปรุงเอกสารให้สมบูรณ์เป็นประโยชน์ต่อการเรียนรู้ต่อไป
ศุภร ชูทรงเดชและคณะ โครงการจัดท�ำสื่อจากผลงานวิจัยเพื่อพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นในอ�ำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน
กิตติกรรมประกาศ
ผลผลิตสื่อต่าง ๆ ของโครงการจัดท�ำสื่อจากผลงานวิจัยเพื่อพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น ในอ�ำเภอ ปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน (Innovative Media from Academic Research) ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา ได้รับความอนุเคราะห์ ได้รับความร่วมมือ สนับสนุนจากบุคคล องค์กรในหลากหลายสาขา ผู้วิจัยได้รับ ประสบการณ์มากมายทั้งปัญหา และอุปสรรคที่ผ่านมาอาจไม่ลุล่วงได้หากปราศจากบุคคลต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ ผู้วิจัยขอขอบคุณ ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ที่ให้ทุนสนับสนุนการท�ำงานวิจัย ที่ปรึกษาโครงการฯ รศ.ดร.รัศมี ชูทรงเดช ให้โอกาส และชี้แนะความคิดเห็นต่าง ๆ มากมายตลอดระยะเวลา ที่ผ่านมา ขอบคุณ อาจารย์ประเสริฐ ประดิษฐ์ อาจารย์คมสัน คูสินทรัพย์ อาจารย์โยธิน บุญเฉลย และ อาจารย์วีระพรรณ เล่าเรียนดี ต่อค�ำชี้แนะในเวทีการประชุม และข้อแนะน�ำและวิจารณ์ที่ได้ช่วยสร้างแนวทาง หรือมุมมองให้กับผู้วิจัยตลอดมา รวมถึง คณาจารย์จากวิทยาลัยชุมชน จังหวัดแม่ฮ่องสอน ที่ให้ความร่วมมือ สนับสนุนต่อข้อวิจารณ์และแนวทางที่มีให้เป็นระยะ ข้อมูลของงานวิจัยที่ส�ำคัญหลายส่วน จะไม่สามารถเกิดขึ้นได้ ถ้าหากปราศจากชาวบ้านหมู่บ้าน ถ�้ำลอดที่ให้ความรู้ ในการเล่าเรื่องราว ชาวบ้านหมู่บ้านแม่ละนาที่ให้ความรู้ ร่วมถึงการดูแลเอาใส่คณะ ผู้อบรมและคณะวิจัยที่ลงพื้นที่ระหว่างท�ำงาน ชาวบ้านหมู่บ้านจ่าโบ่ต่อความมีน�้ำใจให้ความร่วมมือกับคณะ วิจัยในทุก ๆ ด้าน ชาวบ้านหมู่บ้านบ้านไร่ที่ให้การช่วยเหลือ ร่วมท�ำงานไม่ว่าจะเป็นการสัมภาษณ์ การถ่าย บันทึกวีดีโอ การส�ำรวจแหล่งโบราณคดี และอีกหลายหมู่บ้านที่ไม่อาจกล่าวในที่นี่ได้ทั้งหมด ผลงานสื่อต่างๆ ที่เกิดขึ้นด้วยความร่วมมือมากมาย ผู้วิจัยไม่สามารถท�ำส�ำเร็จด้วยตัวคนเดียว ผู้วิจัย อยากกล่าวขอบคุณทีมงานคณะวิจัยที่มีความอดทน ความเสียสละ ความทุ่มเทในการท�ำงานร่วมกัน อาจารย์ ทรงศักดิ์ ปัญญา นักวิจัยด้านกระบวนการน�ำไปใช้และประเมินสื่อ เลขานุการ นางสาวจตุพร ปิยสุรประทีป ผู้ช่วยนักวิจัย เสาวลักษณ์ เขียนนอก และครอบครัวที่น่ารัก วรรณธวัช พูนพาณิชย์ วัชรินทร์ มณีวงษ์ จุฑามาส เรืองยศจันทนา ที่เป็นทั้งเพื่อนร่วมงาน เป็นพี่เป็นน้อง เป็นที่ปรึกษาช่วยกันสร้างผลงานจนส�ำเร็จ
ขอขอบคุณช่างภาพอาชีพอาสามาผลิตผลงาน อุกฤษฎ์ จอมยิ้ม ยิ่งพงศ์ มั่นทรัพย์ รวมถึง ช่างภาพสมัครเล่น ศรชัย ไพรเนติธรรม ที่น�ำพาภาพสวยๆให้แก่โครงการการจัดท�ำสื่อฯ และอาจารย์ ปรียาชนก เกษสุวรรณ ผู้มาช่วยงานอบรมและเรียนรู้มากมายร่วมกัน ดร. ภาสกร อินทุมาน ที่ให้ค�ำปรึกษา แนะน�ำในเรื่องมุมมองต่างๆ นีรนรา อนุศิลป์ ขวัญประภา อุนารัตน์ ฝ่ายศิลป์ ออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ที่สวยงาม มีกระบวนการออกแบบและผลิตอันละเอียดอ่อน ความรู้ต่างๆ มากมายที่น�ำมาผลิตเป็นสื่อเพื่อการเรียนรู้ ได้มาจากความละเอียดและรอบคอบของ ทีมงานนักวิจัยทางโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากรที่เป็นเสมือนพี่เลี้ยงที่คอยเกื้อกูลสนับสนุน แนะน�ำตลอด ระยะเวลาที่ผ่านมา อุดมลักษณ์ ฮุ่นตระกูล นักมานุษยวิทยาเจ้าของข้อมูลด้านการศึกษาชาติพันธุ์ นัทธมน ภู่รีพัฒน์พงศ์ คงคาสุริยฉาย ผู้เชี่ยวชาญด้านโครงกระดูกคน ศิริลักษณ์ กัณฑศรี ผู้เป็นที่ปรึกษาในทุกเรื่อง นุชจรี ใจเก่ง มือเขียนบทที่รอบรู้ และ วอกัญญา ณ หนองคาย สมถวิล สุขเลี้ยง ชนม์ขนก สัมฤทธิ์ ธนัชญา เทียนดีทีมหญิงแกร่งนักโบราณคดีที่ให้การช่วยเหลือ ร่วมความล�ำบากตลอดระยะการท�ำงานในพื้นที่ รวมถึง น้องๆนักศึกษาโบราณคดีที่เข้าร่วมอบรมที่บ้านถ�้ำลอด ศศิประภา กิตติปัญญา กมล ทองไชย เมลดา มณีโชติ แก้วสิริ เทวัญวโรปกรณ์ ธราภาสพงศุ์ เกตุกัน กานต์ภพ ภิญโญ สมคิด แสงจันทร์ ผู้ร่วมการอบรม ติดตาม ผลงานและน�ำไปทดลองใช้เกิดผลมากมาย ส่วนสุดท้ายนี้ผู้วิจัยอยากจะขอกราบขอบพระคุณ ครอบครัว พ่อ แม่ พี่สาวทั้งสอง น้องชาย และ ครอบครัวที่น่ารักของผู้วิจัย ในการให้การสนับสนุน และเป็นก�ำลังใจตลอดระยะทางอันยาวนานของการ เดินทางในการผลิตผลงานที่ส�ำคัญนี้ ผู้วิจัยหวังเป็นอย่างยิ่งว่าผลผลิตจากงานวิจัยชุดนี้จะก่อให้เกิดความรู้ อันเป็นประโยชน์ต่อคน ต่อชุมชนต่อประเทศในการพัฒนาอย่างยั่งยืนสืบไป ศุภร ชูทรงเดช 1 มีนาคม 2561
คู่มือการสอนถ่ายท�ำวิดี โอ ฉบับเร่งรัด ในการจัดการความรูจ้ ากงานวิจยั เพือ่ ใช้ในประกอบและใช้เพือ่ สนับสนุน การเรียนการสอนในวิชา แม่ฮอ่ งสอนศึกษานัน้ มีอปุ สรรคหลายประการ เช่น นักเรียนซึง่ เป็นกลุม่ ชาติพนั ธุเ์ ป็นส่วนใหญ่ตอ้ งเดินทาง ไกลเพือ่ มาเรียน การขาดเรียนในชัน้ เรียนบ่อย ตัวนักศึกษามีปัญหา อุปสรรคส่วนหนึ่งในการเรียนการสอน นั้นเกิดจากครูผู้สอนเองได้รับมอบหมาย แต่ไม่มีความถนัด หากมีการลงพื้นที่ภาคสนามที่ไม่คุ้นเคยทั้ง กระบวนการเก็บข้อมูล การบันทึกข้อมูลด้านภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหวไม่มีความช�ำนาญ จึงมีความ ต้องการอีกมากในการน�ำข้อมูลจากท้องถิ่นเพื่อการน�ำไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพในการเรียนรู้ โครงการจัดท�ำสือ่ จากผลงานวิจยั เพือ่ พัฒนาหลักสูตรท้องถิน่ ในอ�ำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน เข้าใจถึงความส�ำคัญ ในการเก็บข้อมูลจากท้องถิน่ เพือ่ การใช้งานด้านการศึกษา การเผยแพร่ข้อมูลให้มี ประสิทธิภาพ ในพื้นที่ที่มีข้อจ�ำกัดทางกายภาพของจังหวัดแม่ฮ่องสอน จะต้องมีการเสริมให้ความรู้ด้านการ ผลิต จัดท�ำสื่อที่เหมาะสมแก่ครูผู้สอน ซึ่งส�ำคัญเป็นอันดับแรก รวมถึงนักศึกษาในการเข้าใจในการเก็บ ข้อมูลทั้งในแบบงานบันทึกและด้านภาพ และการเผยแพร่อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ สื่อที่มีพลังและเป็นที่แพร่หลายและนิยมในปัจจุบันคือ “สื่อสารคดี” ซึ่งมีพลังในการเผยแพร่ และการเข้าถึงได้ง่ายทางสังคมออนไลน์ การจัดท�ำสารคดีวีดีโอนั้น มิได้มีสอนหรือเรียนรู้ได้โดยทั่วไป การอบรมก็หามิได้ง่ายๆโดยทั่วไป โดยเฉพาะการเรียนรู้ที่ออกแบบเพื่อใช้ในการท�ำงานเพื่อเรียนรู้ทาง มานุษยวิทยาและการผลิตเป็นงานวิดโี อสารคดีทางด้านมานุษยวิทยาโดยตรง
หลักการและเหตุผล [1] สามารถรู้และเข้าใจการท�ำงานในกระบวนการผลิตวีดีโอเพื่อการเรียนรู้วิถีชีวิต ชุมชน [2] สามารถผลิตผลงาน วีดีโอสั้น ที่ถ่ายทอดองค์ความรู้จากชุมชน ได้ด้วยตัวเอง [3] สามารถ เรียนรูท้ ักษะในการสัมภาษณ์และบันทึกการสัมภาษณ์ที่ถูกต้อง และสามารถน�ำไปใช้งานได้ [ 4] ครูผสู้ อนสามารถน�ำไปใช้ประโยชน์ตอ่ ตนเองและสามารถถ่ายทอดสูน่ กั เรียน นักศึกษา รวมถึงบุคคลที่สนใจ [5] สร้างแรงบันดาลใจ ในการเรียนการสอนและส่งต่อความรูส้ นู่ กั ศึกษา ท�ำให้เกิดการเรียนรู้ อย่างสร้างสรรค์ในภายหน้า
คู่มือการอบรมเชิงปฏิบัติการฉบับนี้เป็นผลการอบรม “โครงการมรดกทางวัฒนธรรมผ่านสายตาคนท้องถิ่น” ที่บ้านแม่ละนา และ“เล่าเรื่อง – แลบ้านถ�้ำ ท�ำเป็นสารคดี” ที่ บ้านถ�้ำลอด อ�ำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน โดยน�ำความรู้และประสบการณ์ จากการฝึกอบรม มาประมวลกับความคิดเห็นของผู้อบรม น�ำมาจัดรวบรวมไว้ซึ่งประกอบด้วยส่วนส�ำคัญ 2 ส่วนหลักคือ
1
สร้างความรู้ความเข้าใจในการศึกษาเกี่ยวกับความน่าสนใจในวิถีชีวิตและชุมชน เรียนรู้มุมมองในเชิงมานุษยวิทยา
2
การเรียนรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพยนตรและความรู้ในเชิงปฏิบัติงานด้านภาพยนตร์คดีเชิงมานุษยวิทยาทัศนาเข้าใจง่าย โดยแบ่งเป็น ส่วนรายละเอียดปลีกย่อยเพื่อลดทอนความซับซ้อนเพื่อผู้ปฏิบัติสามารถเรียนรู้ได้ง่ายและรวดเร็ว การค้นหาแนวคิดในการ สร้างสรรค์งานสารคดี กระบวนการท�ำงานในการผลิตภาพยนตร์สารคดี เตรียมงานถ่ายท�ำการถ่ายท�ำเพื่อใช้ในการน�ำเสนอ วิถีชีวิต ชุมชน การคัดแยก และการจัดการข้อมูลหลังการถ่ายท�ำ การจัดท�ำโครงสร้างการเล่าเรื่อง ที่ใช้กระบวนการตัดต่อ ภาพ การสัมภาษณ์ สู่การสร้างเนื้อหาในการสร้างเรื่อง การน�ำผลงานที่ส�ำเร็จสู่การเผยแพร่ ช่องทางการเผยแพร่
สารบัญ
01 ชาติพันธุ์วิทยา (Ethnology) และมานุษยวิทยาทัศนา อย่างสังเขป
02 รู้จักภาพยนตร์และสารคดี
Page
1
การนิยาม
11
2
จะเริ่มต้นท�ำวิจัยและลงสนามอย่างไร ?
12
3
ประเด็นใดบ้างที่นักมานุษยวิทยาสนใจ?
17
4
มานุษยวิทยาทัศนา (Visual Anthropology)
18
4.1
การใช้ภาพนิ่ง (photograph) ในงานศึกษาชาติพันธุ์
21
4.2
การใช้ภาพเคลื่อนไหว (film)ในงานศึกษาชาติพันธุ์
22
บทที่ 1 ภาพยนตร์
25
บทที่ 2 ภาษาภาพยนตร์
31
บทที่ 3 สารคดี
50
03 ภาพยนตร์มานุษยวิทยาทัศนา Visual Anthropology
Page บทที่ 1
บทที่ 2
บทที่ 3
57
การเตรียมงานถ่ายท�ำสารคดีเชิงมานุษยวิทยา Observational cinema
61
การท�ำงานถ่ายท�ำสารคดีเชิงมานุษยวิทยา Observational cinema
68
บทที่ 4
ความรู้พื้นฐานการเรียงเรียงล�ำดับภาพและเนื้อหาวีดีโอ 73
บทที่ 5
การประชาสัมพันธ์ และการเผยแพร่ สารคดีเชิงมานุมษยวิทยา
บรรณานุกรม
ภาพยนตร์มานุษยวิทยาทัศนา Visual Anthropology
84
91
ชาติพันธุ์วิทยา / ETHNOLOGY / และมานุษยวิทยาทัศนา อย่างสังเขป
10
01
อุดมลักษณ์ ฮุ่นตระกูล
01
1..การนิยาม ชาติพันธุ์วิทยา (Ethnology)
ไม่จ�ำเป็นที่ต้องท�ำการศึกษากลุ่มคนที่เรียกว่าเป็นกลุ่ม ชาติพันธุ์ (ethnic group) เสมอไป แต่หมายถึง สาขาวิชา แขนงหนึ่งในศาสตร์ทางด้านมานุษยวิทยา (Anthropology) ที่เป็นการศึกษา วิเคราะห์ และเปรียบเทียบกลุ่มคนต่างๆ รวมไปถึงศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มคนเหล่านั้น พื้นฐาน ส�ำคัญของแขนงวิชานี้คือการท�ำวิจัยสนาม ที่นักวิจัยต้องลง สังเกตการณ์อย่างมีส่วนร่วมใน “สนาม” หรือพื้นที่วิจัยเป็น ระยะเวลาหนึ่ง ในอดีตนั้นจ�ำเป็นต้องฝังตัวอยู่ในสังคมหรือ ชุมชนที่ท�ำวิจัยยาวนานเป็นปีๆ เพื่อให้เข้าใจภาษา วัฒนธรรม และพฤติกรรม ต่างๆ ในทุกๆ แง่มุม เพื่อน�ำข้อมูลเหล่านั้นมา วิเคราะห์และเปรียบเทียบกับคนในวัฒนธรรมอื่น
ส่วนค�ำว่า ชาติพันธุ์วรรณนา (Ethnography) หมายถึง วิธีวิทยาในการวิจัย (research method) ที่ใช้ในการ ศึ ก ษาปรากฏการณ์ ท างวั ฒ นธรรมของสั ง คมหรื อ กลุ ่ ม คนที่ นั ก วิ จั ย ต้ อ งการศึ ก ษา โดยนั ก วิ จั ย ได้ เ ขี ย นบรรยายหรื อ พรรณนาถึงวัฒนธรรมนั้นไว้อย่างละเอียดและรอบด้านที่สุด เท่าที่จะท�ำได้
งานศึ ก ษาชาติ พั น ธุ ์ ถู ก พั ฒ นาขึ้ น มาในสั ง คมตะวั น ตก ตั้ ง แต่ ท ศวรรษที่ 1830 แต่ เ ติ บ โตมากในช่ ว งทศวรรษ 1860 – 1870 เมื่อศาสตร์ทางด้านมานุษยวิทยในสังคมตะวันตกขยายตัวอย่างรวดเร็ว และนักวิจัยส่วนใหญ่ก็กระหายใคร่รู้ต่อ “วัฒนธรรมอื่น” โดยเฉพาะการศึกษากลุ่มคนที่อยู่ไกลโพ้นไปอีกฝั่งมหาสมุทร อาทิ กลุ่มชนเผ่าในหมู่เกาะแปซิฟิก ชนเผ่าในป่าลึก ของลุ่มน�้ำอะเมซอน กลุ่มชาติพันธุ์ในเขตพม่า หรือแม้กระทั่งกลุ่มชาวอินเดียนแดงในทวีปอเมริกาเหนือ แนวคิดส�ำคัญที่มีส่วน สนับสนุนให้กับการขยายตัวดังกล่า ว คือทฤษฎีวิวัฒนาการ นิเวศวิทยาวัฒนธรรม ในภายหลังการศึกษาชาติพันธุ์และการเขียน งานชาติพันธุ์วรรณนา ถูกปรับมาใช้ศึกษาสังคมที่ซับซ้อนมากขึ้น ไม่ได้จ�ำกัดอยู่เพียงชนเผ่าที่ห่างไกลจากเมืองเพียงอย่างเดียว แต่มีการใช้ศึกษาสังคมเมือง เช่น ชุมชนแออัดในเมืองหลวง เช่น ชิคาโก กรุงเทพมหานคร หรือ แม้กระทั่ง การข้ามมาสู่พื้นที่ เสมือนจริง เช่น ในโซเชียลเน็ตเวิร์ค 1
2
เอกสารประกอบการบรรยายในการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การผลิตสื่อสารคดีเพื่อการเรียนการสอนหลักสูตรท้องถิ่น” ระหว่างวันที่ 31 พฤษภาคม – 2 มิถุนายน 2557 ณ ศูนย์ศึกษาธรรมชาติและสัตว์ป่าถ�้ำน�้ำลอด ต.ปางมะผ้า อ.ปางมะผ้า จ.แม่ฮ่องสอน อาจารย์ประจ�ำคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ชาติพันธุ์วิทยา (Ethnology) และมานุษยวิทยาทัศนา อย่างสังเขป
11
01
2..จะเริ่มต้นท�ำวิจัย และลงสนามอย่างไร... ภาพ: กิจกรรมเดินเท้าเก็บข้อมูลความรู้พื้นฐาน ชุมชน บ้านถ�้ำลอด ส่วนหนึ่งของกิจกรรมอบรม เชิงปฏิบัติการ “เล่าเรื่อง-แลบ้านถ�้ำ ท�ำเป็นสารคดี” ที่มา: ยิ่งพงศ์ มั่นทรัพย์
การท�ำงานวิจัยทางด้านมานุษยวิทยาเน้นการศึกษาสังคมวัฒนธรรมแบบองค์รวม กล่าวคือ การจะศึกษากลุ่มคนหรือสังคม วัฒนธรรมใดๆ นั้น นักวิจัยต้องศึกษาท�ำความเข้าใจ บริบทและองค์ประกอบของระบบสังคมวัฒนธรรมของวัฒนธรรมนั้นๆ อย่างรอบด้าน อาทิ บริบททาง ประวัติศาสตร์ พื้นที่ตั้งของหมู่บ้าน (ทางกายภาพ) สภาพแวดล้อมโดยรอบ ภาษา พิธีกรรม องค์กร ทางสังคม ศาสนา ความเชื่อ ระบบเครือญาติ เศรษฐกิจ การเมือง รวมไปถึงสภาพแวดล้อมทาง วัฒนธรรม (ความสัมพันธ์กับชุมชนรอบข้าง) ฯลฯ ประเด็นต่างๆเหล่านี้มีขอบเขตที่กว้างขวางซึ่งนัก วิจัยควรค้นคว้าและท�ำการศึกษาไว้ตั้งแต่ก่อนลงสนาม เพื่อที่จะเตรียมตัวถึงสิ่งที่นักวิจัยควรท�ำและไม่ สมควรท�ำขณะอยู่ในสนามรวมไปถึง มีแนวทางในการเก็บข้อมูลที่ชัดเจน อาทิ รู้ว่าข้อมูลส่วนใดที่ยัง ขาดส�ำหรับค�ำถามงานวิจัยของตนเอง หรือใครจะเป็นผู้ให้ข้อมูลส�ำคัญ 12
01
ขั้นตอนอย่างคร่าวๆ ของการท�ำงานวิจัย สามารถสรุปได้ ดังนี้
1
2
ค�ำถามงานวิจัย และโครงร่างงานวิจัย
3
ทบทวนเอกสาร ที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่วิจัย
คิดชุดค�ำถาม ในการสัมภาษณ์
นักวิจัยควรมีข้อมูลส่วนนี้เป็นอันดับต้นๆ ซึ่งหมายถึงนักวิจัยมีค�ำถามงานวิจัยที่ชัด ว่า ต้องการศึกษาหรือรู้อะไร พื้นที่วิจัยอยู่ ที่ ไ หน จะใช้ แ นวทางใดในการศึ ก ษา ค้นคว้า และเมื่อได้ค�ำตอบแล้วจะน�ำไปสู่ อะไร หรือได้ประโยชน์อะไรจากงานวิจัยนี้
งานในส่ ว นนี้ ไ ม่ ใ ช่ เ พี ย งดู ว ่ า มี ใ ครศึ ก ษา อะไรไว้เมื่อไหร่ แต่เพื่อให้ผู้วิจัยมีข้อมูล เบื้ อ งต้ น เกี่ ย วกั บ พื้ น ที่ ห รื อ สนามที่ ต น ก�ำลังจะลงวิจัย ช่วยให้สามารถวางแผน การท� ำ งานได้ ง ่ า ย อาทิ จะลงไปติ ด ต่ อ กับใคร ประเด็นใดที่ผู้วิจัยก่อนหน้าไม่เคย ศึ ก ษา หรื อ ศึ ก ษาไว้ ต�่ ำ ไม่ ล ะเอี ย ดซึ่ ง ถ้ า งานวิจัยที่ก�ำลังจะท�ำ หารายละเอียดได้จะ สามารถต่อยอดงานวิจัยต่อไปได้ เป็นต้น
ซึ่งสอดคล้องกับค�ำถามงานวิจัย ชุดค�ำถาม ที่ว่าอาจจะปรากฏเป็น “แบบสอบถาม” หรือ “สัมภาษณ์ปากเปล่า” ก็ได้ กล่าวคือ การสั ม ภาษณ์ ใ นสนามมี ทั้ ง แบบเป็ น ทางการ และไม่เป็นทางการ ขึ้นอยู่กับ ระดับของค�ำถามในการสัมภาษณ์ ถ้าหาก เป็ น ข้ อ มู ล พื้ น ฐานทั่ ว ไป ในครั ว เรื อ น อาจท�ำเป็นแบบฟอร์มได้ แต่ในงานวิจัย เชิงคุณภาพ ต้องมีการสัมภาษณ์เชิงลึก ซึ่งส่วนใหญ่ไม่ควรใช้แบบสอบถามแจก แต่ต้องเป็นการพูดคุยตัวต่อตัว ส่วนระดับ ของความเป็ น ทางการนั้ น ก็ ข้ึ น อยู ่ กั บ สถานการณ์
ชาติพันธุ์วิทยา (Ethnology) และมานุษยวิทยาทัศนา อย่างสังเขป
13
01
4 การลงสนาม มีรายละเอียดปลีกย่อย ทั้งเรื่องการประสานงาน การวางตัว และท่าทีต่อผู้ที่เราท�ำวิจัยด้วยอยู่หลายประการ ดังนี้
01
14
04
ประสานงานกับผู้ที่จะเป็นผู้ “กว้างขวาง” ในชุมชน
ท่าทีของผู้วิจัยในสนามเป็นเรื่องส�ำคัญ
อาทิ ก�ำนัน ผู้ใหญ่บ้าน หมอเมือง หมอยา พระภิกษุ ฯลฯ เพื่อ แนะน�ำตัวเองและสิ่งที่นักวิจัยต้องการศึกษา รวมไปถึงขั้นตอน ในการศึ ก ษา เพื่ อ ให้ ค นเหล่ า นั้ น ช่ ว ยกระจายข่ า ว และ ท�ำความเข้าใจกับคนในพื้นที่
ควรเคารพและให้ เ กี ย รติ ผู ้ ที่ เ ราสั ม ภาษณ์ ในฐานะของผู ้ ให้ข้อมูล ผู้วิจัยไม่ควรใช้อคติส่วนตัวในการตัดสินข้อมูลที่ได้รับ
02
05
เตรียมอุปกรณ์ช่วยในการเก็บข้อมูลให้พร้อม
วิธีการสัมภาษณ์ที่ดีคือเป็นผู้ฟังและซักถามที่ดี
อาทิ สมุดบันทึกสนาม เครื่องอัดเสียง กล้องถ่ายรูป กล้องวีดีโอ สิ่งที่ควรท�ำอย่างสม�่ำเสมอ คือ การบันทึก แม้กระทั่งขณะ สัมภาษณ์ เพราะเครื่องมืออื่นๆ นั้นเป็นเพียงเครื่องช่วยในการ บันทึก ซึ่งยังขาดความรอบด้าน การบันทึกจะสามารถบรรยาย สิ่งที่ด�ำเนินอยู่รอบตัวและบรรยากาศได้อย่างชัดเจนกว่า
การแสดงความเห็นแย้งกับที่ผู้ให้สัมภาษณ์ให้ข้อมูลสามารถ กระท�ำได้ แต่เพื่อน�ำไปสู่ค�ำอธิบายที่ชัดเจน แต่ไม่ใช่การบอก ว่าผู้ให้สัมภาษณ์ให้ข้อมูลผิด หรือมีความคิดที่ผิด เพราะ ไม่เช่นนั้นก็จะกลายเป็นว่า ค�ำตอบที่ได้เป็นค�ำตอบที่ผู้วิจัย คิดไว้ก่อนหน้าแล้ว
03
06
การสัมภาษณ์ควรขออนุญาตผู้สัมภาษณ์
การบันทึกข้อมูลระหว่างสนาม
ในการจะบันทึกข้อมูลด้วยเครื่องมือใดๆ ก็ตาม อาทิ กล้องถ่าย รูป กล้องวีดีโอ และเครื่องบันทึกเสียง ก่อนสัมภาษณ์ควรบอก กล่าวจุดประสงค์ของการสัมภาษณ์ และงานวิจัยอย่างคร่าวๆ เพื่อให้ผู้ถูกสัมภาษณ์เข้าใจการท�ำงานและรู้ว่าจะน�ำข้อมูลไป ใช้เพื่อการใด หากไม่ได้รับการอนุญาตให้บันทึกก็ไม่ควรฝืน หรือลักลอบท�ำ เมื่อสัมภาษณ์แล้วควรบันทึกข้อมูลเบื้องต้น เกี่ยวกับผู้ให้สัมภาษณ์ไว้ด้วย เช่น ชื่อ-นามสกุล อายุ ที่อยู่ ความเชี่ยวชาญ (ถ้ามี)
สมุดบันทึกเป็นอุปกรณ์จ�ำเป็นที่ช่วยเตือนความจ�ำได้ดียิ่งกว่า เครื่ อ งบั นทึ ก เสี ย ง หรื อ กล้ อ งวี ดี โ อ เพราะมี รายละเอี ย ด ปลีกย่อยระหว่างการลงสนาม ที่เครื่องมือดังกล่าวไม่สามารถ เก็บได้ทั้งหมด
01
5 การเขียนงานวิจัย
01
03
สิ่งที่นักวิจัยควรค�ำนึงถึงอยู่ตลอดเวลา ในขณะเขียนงานคือ ผลกระทบจากงานเขียนที่อาจมีต่อคนที่ให้ข้อมูล แม้ว่าเรื่องที่ เขียนอาจดูไม่รุนแรง ดังนั้น สิ่งที่ควรมีอยู่เสมอคือตระหนักต่อ ผลกระทบที่อาจจะตามมา ทั้งนี้ อาจไม่ได้กระทบต่อผู้ให้ข้อมูล โดยตรง แต่อาจมีต่อลูกหลาน เพื่อนบ้าน หรือแม้กระทั่งต่อ ทั้งชุมชน ทางที่ดีคือในขณะสัมภาษณ์ถ้ามีเรื่องใดที่ไม่แน่ใจ ควรสอบถามผู้ให้ข้อมูลว่ายินดีให้มีการเผยแพร่ หรือมีเนื้อหา ส่วนใดที่ไม่สะดวกใจให้ระบุชื่อผู้ให้สัมภาษณ์หรือไม่
งานเขี ย นไม่ ค วรเป็ น ภาพเหมารวม แต่ ค วรเขี ย นโดยระบุ เงื่อนไขและบริบทของการเขียน ตัวอย่างเช่น การกล่าวถึง วั ฒ นธรรม ประเพณี ของกลุ ่ ม ชาติ พั น ธ์ ใ ดชาติ พัน ธุ ์ ห นึ่ ง ไม่จ�ำเป็นว่า ทุกชุมชนจะมีธรรมเนียมปฏิบัติ หรือความเชื่อ ที่เหมือนกัน การที่ชุมชนหนึ่งเลือกที่จะเชื่อหรือปฏิบัติแบบ หนึ่งก็ไม่ได้หมายความว่าชุมชนอื่นๆ จะต้องท�ำแบบเดียวกัน หากระหว่างเก็บข้อมูล พบว่าชุมชนที่เข้าศึกษาแตกต่างไปจาก ที่ เ คยรั บรู ้ ม า ก็ ไ ม่ ไ ด้ ห มายความว่ า ชุ ม ชนนั้ น ท� ำ ผิ ด ตาม ธรรมเนียมที่ควรจะเป็น แต่ผู้วิจัยควรค้นหาเงื่อนไขหรือบริบท ที่ท�ำให้เกิดความแตกต่างกัน
02
04
สิ่งที่ไม่ควรปล่อยให้ปรากฏในงานเขียนคืออารมณ์และอคติ ของผูว้ จิ ยั ทีส่ ง่ ผลต่อการ “ตัดสิน”ชุมชนหรือกลุม่ คนทีถ่ กู ศึกษา
การเขียนงานหรือน�ำเสนอปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในชุมชนที่ไป ศึกษานั้นผู้วิจัยควรตระหนักว่าตนเองอาจได้รับข้อมูลเพียงด้าน หนึง่ เท่านัน้ แต่ยงั มีแง่มมุ อืน่ ๆซึง่ ต่างจากสิง่ ทีเ่ ราน�ำเสนอ ดังนัน้ การเขียนงานควรระบุเงื่อนไขและข้อจ�ำกัดของงานให้ชัดเจน
ชาติพันธุ์วิทยา (Ethnology) และมานุษยวิทยาทัศนา อย่างสังเขป
15
01
16
01
3..ประเด็นใดบ้าง ที่นักมานุษยวิทยาสนใจ การศึกษาองค์รวมทางวัฒนธรรมครอบคลุมประเด็นที่กว้างขวางมาก แต่โดยทั่วไปแล้ว การเก็บข้อมูลภาคสนาม จะมีข้อมูลพื้นฐานที่ควรมีเพื่อให้เข้าใจพื้นที่วิจัยได้ดียิ่งขึ้น ดังนี้
1
ประวัติหมู่บ้าน/ชุมชน
เนื้อหาที่เก็บอาจจะเป็นประวัติการอพยพเคลื่อนย้าย หรือถ้า ไม่ทราบก็ควรเป็นพัฒนาการการอพยพเข้ามาในหมู่บ้านของ คนกลุ่มใหม่ๆ หรือกลุ่มเครือญาติที่กระจายอยู่ในหมู่บ้านอื่นๆ
2
6
ระบบเครือญาติ การแต่งงาน ครอบครัว
7 8
เป็นประเด็นที่เกี่ยวข้องกับบทบาททางเพศ ในแต่ละสังคม รวมไปถึ ง การควบคุมทางสังคมผ่านระบบการแต่ ง งานและ เครือญาติ
4
ระบบการแลกเปลี่ยน การผลิต
อาทิ ตลาด การค้า อาชีพ เกษตรกรรม อาหาร การปฏิสัมพันธ์ ทั้งภายในชุมชนและกับชุมชนโดยรอบ
ระบบการถือครองทรัพย์สิน และความสัมพันธ์ ภายในชุมชน
การจัดองค์กรทางสังคม
ในประเด็นของการรวมตัวของกลุม่ คนต่างๆ อาทิ กลุม่ ผูป้ กครอง (ผูอ้ าวุโส) กลุ่มหนุ่ม-สาว กลุ่มแม่บ้าน เป็นต้น ซึ่งอาจขยาย ไปถึงความสัมพันธ์กับองค์กรทางสังคมภายนอกอื่นๆ
สภาพแวดล้อมของหมู่บ้านหรือชุมชน
ทั้งสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ (กายภาพ) และสภาพแวดล้อม ทางวัฒนธรรม (ความสัมพันธ์กับหมู่บ้านใกล้เคียง หรือกับ องค์กรทางการเมืองภายนอกอื่นๆ เป็นต้น)
3
5
ศาสนา ความเชื่อ และประเพณี
ระบบการตั้งถิ่นฐาน
ทีส่ มั พันธ์กบั การใช้ทรัพยากร สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ และวัฒนธรรม
9
อื่นๆ ตามแต่ความสนใจเฉพาะของผู้วิจัย
ซ้าย ภาพ: บ้านเรือนชุมชนตั้งอยู่บนเชิงเขา บ้านแม่ละนา ต.ปางมะผ้า อ.ปางมะผ้า จ.แม่ฮ่องสอน ที่มา : คุณอุกฤษฎ์ จอมยิ้ม ชาติพันธุ์วิทยา (Ethnology) และมานุษยวิทยาทัศนา อย่างสังเขป
17
01
4..มานุษยวิทยาทัศนา (Visual Anthropology)
แขนงวิชานี้เกิดจากการเฝ้ามองและสังเกตการณ์ (observation) ของนักมานุษยวิทยา ผ่านเครื่องมือ ที่ใช้บันทึกปรากฏการณ์ที่อยู่ตรงหน้า คื อ กล้ อ งถ่ า ยรู ป และในภายหลั ง จึ ง เริ่ ม มี ก ล้ อ งถ่ า ยภาพคลื่ อ นไหว หรือวีดีโอ ด้วยความคิดที่ว่าเครื่องมือ ที่เก็บภาพนิ่ง และภาพเคลื่อนไหวนั้นจะให้ความแน่นอนและเที่ยงแท้ ยิ่งกว่าการมองด้วยตา ของนักวิจัยเพียงอย่างเดียว
ในยุคต้นๆ ของการเก็บข้อมูลทางชาติพันธุ์ ภาพถ่ายทางมานุษยวิทยาเป็นข้อมูลที่ใช้ อธิบายลักษณะทางกายภาพของผู้คน พิธีกรรม สภาพแวดล้อมทางกายภาพ สิ่งแวดล้อม และบ้านเรือนของผู้คน ที่ส�ำคัญ นอกเหนือจากเป็นฐานข้อมูลให้กบั งานวิจยั คือ เป็นข้อมูลทีใ่ ห้ พืน้ ฐานเบือ้ งต้นต่อนักวิจยั รุน่ หลัง ทีจ่ ะท�ำความเข้าใจกับวัฒนธรรมและพืน้ ทีว่ จิ ยั ก่อนลงสนาม จริง บ่อยครัง้ ทีภ่ าพถ่ายจากภาคสนามถูกน�ำมาวิเคราะห์ใหม่และช่วยให้ มองเห็นรายละเอียด ทีม่ ากกว่าทีน่ กั วิจยั มองเห็นในภาคสนาม ในแง่ของภาพยนตร์ที่เป็นรากฐานให้กับ “ภาพยนตร์ทางชาติพันธุ์ (Ethnographic film)” ปรากฏขึ้นในช่วงต้นของศตวรรษที่20 งานชิ้นแรกๆ เป็นการเก็บข้อมูลวิถีชีวิตแบบดั้งเดิม ของชนเผ่าเอสกิโมในทวีปอเมริกาเหนือในช่วง ปี 1913
18
ภาพ : อุกฤกษ์ จอมยิ้ม 19
01
John Collier Jr., Bureau with Portraits and Mementos (and self portrait), Picuris Pueblo, New Mexico, ca. 1945 ทีมา : https://www.sfmoma.org/artwork/93.499 20
ภาพถ่ายวัตถุทางวัฒนธรรม
01
4.1.... การใช้ภาพนิ่ง (photograph)
ในงานศึกษาชาติพันธุ์ แนวคิดหนึ่งที่ถูกน�ำมาใช้ในการวิเคราะห์ภาพนิ่งจากสนาม คือ รายการวัตถุทางวัฒนธรรม (Cultural Inventory)
ส่วนใหญ่จะเป็นรายการวัตถุทางวัฒนธรรมประเภทสินค้าอุปโภคบริโภคในชีวิตประจ�ำวันของคนที่ หาได้ตามร้านขายของช�ำ และปรากฏอยู่ในชั้นวางของในบ้าน หรือตามพืน้ ทีส่ ว่ นตัวในบ้าน นักวิจยั มักจะถ่ายภาพวัตถุตา่ งๆ เหล่านีจ้ ากในบ้านทีเ่ ก็บข้อมูล อาทิ ชัน้ วางของ ชั้นหนังสือ โต๊ะเครื่องแป้ง แล้ววิเคราะห์วัตถุข้าวของต่างๆ ที่ปรากฏในภาพถ่ายว่าสะท้อนให้เห็นถึงมิติใดๆใน ชีวิตของผู้ถูกศึกษาบ้าง อาทิ คุณภาพชีวิต วิถีชีวิต ระดับเศรษฐกิจ การศึกษา ความผูกพันกับผู้คน รูปแบบของการใช้ชีวิต ถ้าหากเป็นการศึกษากลุ่มชาติพันธุ์จะขยายไปสู่การศึกษาระดับการใช้พื้นที่ ในครัวเรือนการจัดแบ่งพื้นที่ใช้งานภายในบ้าน อาทิ การแบ่งพื้นที่ครัว ห้องนอน พื้นที่เก็บอาหาร พื้นที่เลี้ยงสัตว์ และวัตถุข้าวของที่อยู่ในแต่ละพื้นที่ นอกจากภาพถ่ายวัตถุทางวัฒนธรรมแล้ว ภาพถ่ายกิจกรรมของผู้คนยังสะท้อนมากกว่า แค่ กิ จ กรรมที่ ป รากฏ บ่ อ ยครั้ ง ที่ นั ก มานุ ษ ยวิ ท ยาบั น ทึ ก ภาพเทคโนโลยี ที่ ผู ้ ค นใช้ เ พื่ อ การ ผลิตข้าวของเครื่องใช้ หรือเทคโนโลยีในการด�ำรงชีวิต เช่น การทอผ้าด้วยมือแบบดั้งเดิม และ การจับสัตว์น�้ำด้วยเครื่องมือดัง้ เดิม ข้อมูลทีส่ ามารถวิเคราะห์ผา่ นภาพถ่ายทีส่ ะท้อนแต่ละขัน้ ตอนของกระบวนการอาจประกอบด้วย การใช้ทรัพยากรจากสิ่งแวดล้อมที่ผู้คนอาศัยอยู่ เช่น เส้นใยที่ใช้ในการทอผ้า เครื่องมือในแต่ละขั้น ตอนของการทอ เช่น กระสวย เครื่องหีบเม็ดฝ้าย หูก และกี่ เป็นต้น ผลผลิตของผ้าทอที่ได้ถูกน�ำไป ใช้เพื่อกิจกรรมใดบ้าง (ผ้าทอแต่ละลายอาจถูกก�ำหนดให้ใช้ในกิจกรรมที่แตกต่าง) นอกจากนี้ยังสะท้อนความสัมพันธ์ของผู้คน ที่มีส่วนร่วมในแต่ละกิจกรรมได้ เช่นการ ถ่ายทอดความรู้ด้านการทอผ้าจากแม่สู่ลูกสาว กระบวนการเรียนรู้การทอผ้าของเด็กผู้หญิงในแต่ละ ช่วงวัย หรือการถ่ายทอดทักษะในการล่าสัตว์ของพ่อไปสู่ลูกชายในบางสังคม ชาติพันธุ์วิทยา (Ethnology) และมานุษยวิทยาทัศนา อย่างสังเขป
21
01
4.2....การใช้ภาพเคลื่อนไหว (film) ในงานศึกษาชาติพันธุ์
ภาพยนตร์ทางชาติพันธุ์
จะมีเจตนาเพื่อน�ำเสนอและท�ำความเข้าใจกับความแตกต่างทางวัฒนธรรม เช่นเดียวกับที่ ภาพนิ่งต้องการน�ำเสนอ เพียงแต่การน�ำเสนอผ่านภาพเคลื่อนไหวจะเก็บรายละเอียดของอารมณ์และ บรรยากาศที่เกิดขึ้นได้ดีกว่า รวมไปถึงภาพเคลื่อนไหวจะช่วยในการวิเคราะห์ เกี่ยวกับการสื่อสาร การเต้นร�ำ หรือพิธีกรรมที่มีรายละเอียดจ�ำนวนมากมายเกินกว่าที่เครื่องอัดเสียง ความทรงจ�ำของผู้วิจัย และสมุดบันทึกจะสามารถเก็บรายละเอียดได้ทงั้ หมด ภาพยนตร์ทางชาติพน ั ธุ์ อาจจะสามารถแบ่งออกไปเป็น 3 ประเภท อย่างกว้างๆ ตามจุดมุง่ หมายและกระบวนการในการสร้าง คือ
01 การบันทึกอย่างเป็นวัตถุวิสัย (Objective recording)
งานประเภทนี้อาจมีทั้งที่เป็นภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหว โดยเริ่มจากการถ่ายภาพวัตถุ พฤติกรรม และปรากฏการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น แล้วน�ำกลับมาวิเคราะห์หารูปแบบที่ถูก กระท�ำซ�้ำๆ แล้วจึงหาข้อสรุปของรูปแบบดังกล่าวเมื่อพบแล้วจึงท�ำการตัดต่อข้อค้นพบ ดังกล่าวเป็นภาพยนตร์ อาจจะเรียกได้ว่าเป็นงานที่ใช้ภาพนิ่งหรือภาพเคลื่อนไหว ที่บันทึกไว้เป็นวัตถุดิบเพื่อการวิเคราะห์ในเบื้องต้น แล้วจึงน�ำเข้าสู่กระบวนการตัดต่อ อีกครั้งเพื่อเสนอข้อสรุปของการค้นพบ
22
01
02 ภาพยนตร์ที่มีการเขียนบท (Scripted filming)
เป็นสารคดีที่นักวิจัยต้องการน�ำเสนอแนวคิดเกี่ยวกับวัฒนธรรม หรือสังคมที่พวกเขา ก�ำลังสนใจหรือศึกษา ดังนั้น จึงเป็นงานที่นักวิจัยลงไปในภาคสนามเพื่อเลือกภาพหรือ เหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับงานที่พวกเขาศึกษา โดยมีผู้แสดงที่เป็นคนในท้องถิ่น (ซึ่งแสดง เป็นตัวพวกเขาเอง) ภาพยนตร์ประเภทนี้จึงก่อให้เกิดทั้งเสียงชื่นชมและข้อถกเถียงที่ เป็นวงกว้าง โดยเฉพาะในประเด็นที่ว่า เรื่องราวดังกล่าวเป็นมุมมองของนักวิจัยเอง ต่อท้องถิ่นหรือสังคมที่พวกเขาศึกษา หรือว่าเป็นสิ่งที่เกิดขึ้น หรือเป็นตัวตนจริงๆ ของชาวบ้านที่ก�ำลังถูกศึกษา
03 ภาพยนตร์กึ่งการรายงาน (Reportage)
ภาพยนตร์ประเภทนี้เป็นมักจะเป็นการบันทึกเหตุการณ์หรือส่วนหนึ่งของวิถีชีวิตของ ผู้คนที่มีความส�ำคัญ และมีคุณค่าต่อการจัดเก็บเมื่อสังคมก�ำลังจะเข้าสู่การเปลี่ยนแปลง หรือจากอิทธิพลของสังคมภายนอก ภาพยนตร์ประเภทนี้ท�ำหน้าที่เป็นเพียงบันทึกหรือ การรายงานสิ่งที่เกิดขึ้น
แต่เดิมภาพยนตร์ชาติพันธุ์ มักจะสร้างโดยสายตาของนักวิจัยหรือคนนอก แต่ในภายหลังเริ่มมีการผลิตงานที่น�ำเสนอหรือถ่ายภาพยนตร์ โดยคนในท้องถิ่นเอง แต่ไ ม่ใช่แค่เ พียงเอากล้องถ่ายรู ป หรื อ กล้ อ งวี ดี โ อให้ คนในท้ อ งถิ่ น ไปถ่ า ยรู ปเพียงอย่างเดียว แต่หมายถึงการท�ำงานร่วมกันระหว่างนักวิจัยและคนในท้องถิ่น เพื่อที่จะเสนอตัวตน หรืออัตลักษณ์ของตนเอง ที่อาจเคยถูกน�ำเสนออย่างผิดๆมาก่อนโดยคนนอก
ชาติพันธุ์วิทยา (Ethnology) และมานุษยวิทยาทัศนา อย่างสังเขป
23
รู้จักภาพยนตร์และสารคดี
02
ศุภร ชูทรงเดช และคณะ
24
02
บทที่ 1
ภาพยนตร์ การเรียนรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพยนตร์ ภาษาภาพ และไวยากรณ์ของภาพยนตร์ ในปัจจุบันภาพยนตร์นับได้ว่าเป็นส่วนหนึ่งที่ส�ำคัญในการด�ำเนินชีวิตประจ�ำวันของคนในยุคศตวรรษ ที่ 21 ก็ว่าได้ หากเราคิดย้อนกลับไปดูว่า ภาพยนตร์ คลิปมือถือ คลิปยูทูป การ์ตูน และอื่นๆ ที่เป็นภาพเคลื่อนไหวนั้นมันเกิดขึ้นมาได้อย่างไร เราจะพบว่าเมื่อเราเปิดดูคลิปต่างๆ เมื่อเราต้องการ หยุดชั่วคราวในระหว่างเล่นนั้น ภาพที่เราเห็นหยุดคือภาพนิ่ง จากข้อสังเกตนี้จึงน�ำไปสู่ค�ำอธิบายว่า
ภาพยนตร์ (Motion Picture / Cinema / Film / Movie )
นั้นคือ ภาพเคลื่อนไหว เป็นภาพเคลื่อนไหวที่ถูกสร้างขึ้นมาจากภาพนิ่งหลายๆภาพ
น�ำมาล�ำดับ เรียบเรียงฉายต่อเนื่องกันด้วยความเร็วสูง ซึ่งสร้างให้เกิด “ภาพติดตา” ท�ำให้เราเกิดเห็นเป็นภาพเคลื่อนไหวต่อเนื่องกัน
รู้จักภาพยนตร์และสารคดี
25
02
The Thaumatrope (โทมาโทรบ)
เป็นเครื่องเล่นเกิดขึ้นในศตวรรษที่ 19 เป็นเครื่องเล่นที่ใช้หลักการผสมผสานภาพนิ่งด้วยการหมุน โดยใช้หลักฤษฏีการเห็นภาพติดตา
(persistence of vision)
ที่มา: http://voiceofthemonkey.com/the-thaumatrope/
26
02
ทฤษฏีการเห็นภาพติดตา (persistence of vision)
หลักการที่อธิบายถึงการมองภาพต่อเนื่องของสายตามนุษย์ หรือทฤษฎีการเห็นภาพติดตา
คิดค้นขึ้นในปี พ.ศ. 2367 (ค.ศ. 1824) โดยนักทฤษฎีและแพทย์ชาวอังกฤษ ชื่อ Dr. John Ayrton Paris ทฤษฎีดังกล่าวอธิบายถึงการมองเห็นภาพต่อเนื่องของสายตามนุษย์ไว้ว่า ธรรมชาติของสายตา มนุษย์ เมื่อมองเห็นภาพใดภาพหนึ่ง หลังจากภาพนั้นหายไป สายตามนุษย์จะยังค้างภาพนั้นไว้ ที่เรติน่าในชั่วขณะหนึ่ง ประมาณ 1/15 วินาที และหากในระยะเวลาดังกล่าวมีภาพใหม่ปรากฏขึ้นมา แทนที่ สมองของมนุษย์จะเชื่อมโยงสองภาพเข้าด้วยกัน และหากมีภาพต่อไปปรากฏขึ้นในเวลา ไล่เลี่ยกัน ก็จะเชื่อมโยงภาพไปเรื่อย ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ถ้าชุดภาพนิ่งที่แต่ภาพนั้นมีความแตกต่าง กันเพียงเล็กน้อยหรือเป็นภาพที่มีลักษณะขยับเคลื่อนไหวต่อเนื่องกันอยู่แล้ว เมื่อน�ำมาเคลื่อนที่ ผ่านตาเราอย่างต่อเนื่องในระยะเวลากระชั้นชิด เราจะสามารถเห็นภาพนั้นเคลื่อนไหวได้ เอกสารออนไลน์ filmv.wordpress.com ความรู้สึกที่เหมือนกับเห็นภาพของวัตถุถึงแม้วัตถุนั้นจะพ้นสายตาไปแล้ว
การที่เป็นเช่นนี้เนื่องจากกระแสประสาทที่กระตุ้นให้เห็นภาพยังคงค้างอยู่บนประสาทรับภาพ พจนานุกรมศัพท์ สสวท.
จากแนวคิดการเห็นภาพติดตานี้ เป็นหลักคิดน�ำไปสู่การท�ำต้นแบบของภาพยนตร์ ปัจจุบัน ความเร็ว ที่ใช้ในการถ่ายท�ำและฉายคือ 24 เฟรม หรือ 25, 30 เฟรม ต่อ1 วินาที
รู้จักภาพยนตร์และสารคดี
27
02
ภาพถ่ายต่อเนื่องน�ำไปสู่แนวคิดภาพเคลื่อนไหว พัฒนาการภาพเคลื่อนไหว สู่ภาพยนตร์ The Horse In Motion
“การเคลื่อนไหวของม้า The Horse In Motion” โดย Eadweard Muybridge (1978) 1
เป็นชุดภาพถ่ายต่อเนื่องกัน ที่ท�ำเพื่อพิสูจน์ให้เห็นว่า ม้าวิ่งขาลอยจากพื้นทั้งหมดสี่ขา ในชั่วขณะหนึ่ง ผลงานชุดนี้ ของ Eadweard Muybridge น�ำชื่อเสียงมาให้เขาและเป็น ต้นก�ำเนิดของภาพเคลื่อนไหว Eadweard Muybridge
เป็นที่รู้จักในนาม “บิดาแห่งภาพเคลื่อนไหว” จาก ผลงานการถ่ายภาพม้าชื่อ “The Horse In Motion” ด้วยการ บันทึกลักษณะการวิ่งของม้า เป็นภาพนิ่งอย่างต่อเนื่องกัน หลายภาพ ด้วยการตั้งกล้องภาพนิ่ง 12 ตัวเรียงกันแล้วขึงเชือก ขวางทางวิ่งไว้ และปลายด้านหนึ่งจะผูกเชือกติดไว้กับชัตเตอร์ กล้อง เมื่อม้าวิ่งแตะเส้นเชือก ก็จะท�ำให้กล้องท�ำงาน หลังจากถ่ายภาพได้แล้ว ไมบริดจ์ (Muybridge) ก็นำ� ภาพที่ได้มาติดบนวงล้อหมุน แล้วฉายด้วย zoopraxiscope ท�ำให้เห็นภาพการเคลื่อนไหวของม้าต่อเนื่องเหมือนของจริง
Eadweard Muybridge 2
1 2
28
ที่มา:http://movieteeruk.blogspot.com/2011/07/2.html ทีม่ า:http://www.cameraeyes.net/forum/index.php?PHPSESSID=hgs3n7evj11hr11jsls4vsu1s5&action=dlattach;topic=3246.0;attach=12680;image
02
ภาพเขียนอธิบายวิธีการถ่ายภาพนิ่ง “The Horse In Motion” 1
Eadward Muybridge's glass disk
2
ใช้เพื่อฉายให้เกิดภาพเคลื่อนไหว Muybridge Zoopraxiscope นักกีฬามวย, 1893
Zoopraxiscope 1879
3
เป็นอุปกรณ์ต้นส�ำหรับการแสดงภาพเคลื่อนไหว ที่สร้างขึ้นโดย Eadweard Muybridge ในปี 1879
ก็อาจจะถือว่า “นักกีฬามวย” เป็นภาพยนตร์เรื่องแรกของโปรเจ็กเตอร์ zoopraxiscope 1 ทีม่ า : http://cinemathequefroncaise.com/Chapter1-1/Figure_01_13_Horse.html 2 ทีม่ า : http://plumedepoule.blogspot.com/2011/03/locomotion.html 3 ทีม่ า : http://watvhistory.com/2013/05/factors-that-moulded-entertainment-in-perth-part-1/
29
02
ผลงานการสร้างความเชื่อมโยงระหว่างภาพนิ่งเพื่อให้เห็นการ เคลื่อนไหวจากจุดหนึ่งไปสู่อีกจุดหนึ่ง
ของ Muybridge และ Marey แสดงแบบโดย Thomas Eakins (1844-1916)
ที่มา : http://www.telegraph.co.uk
30
02
บทที่ 2
ภาษาภาพยนตร์
ภาษา ในความเข้าใจโดยทั่วไปคือ ตัวแทนการสื่อสารที่ท�ำให้มนุษย์เข้าใจกัน เป็น เครื่องมือที่ใช้สื่อสารความหมายซึ่งกันและกัน แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
1
Verbal Language
2
Non-Verbal Language
ภาษาที่ใช้ถ้อยค�ำหรือวัจนภาษา (Verbal Language)
ภาษาที่ไม่ใช้ถ้อยค�ำหรืออวัจนภาษา (Non-Verbal Language)
หมายถึง ภาษาพูดหรือภาษาที่ออกเสียง เป็นถ้อยค�ำ หรือประโยคที่มีความหมาย สามารถเข้าใจได้ เช่น ค�ำพูด ค�ำสนทนา ภาษาเขียน เป็นต้น
หมายถึง ภาษาที่ไม่ออกเสียงเป็นถ้อยค�ำ แต่สามารถสื่อให้เกิดความหมาย เกิดความรู้และความเข้าใจ เช่น การใช้สีหน้า ท่าทาง สัญลักษณ์ เป็นต้น
(นิพนธ์ คุณารักษ์. 2552 หน้า 20) รู้จักภาพยนตร์และสารคดี
31
02
“การที่ภาพยนตร์สามารถสื่อสารเรื่องราว ความหมายอารมณ์ ความรู้สึกให้ผู้ชมเข้าใจในสิ่งที่ปรากฏอยู่ในภาพยนตร์ได้ นั่นเพราะภาพยนตร์เป็นภาษาหนึ่งเรียกว่า Film language”1 ภาพยนตร์ใช้ภาษาของภาพ ที่มีลักษณะทางองค์ประกอบหลายอย่าง เพื่อการสื่อสาร เช่น แสง สี เสียง เงา การแสดง มุมกล้อง “วิธีการที่ดีของภาพยนตร์ จะต้องปล่อยให้กล้องบอกสิ่งต่างๆ ด้วยภาพแทนการใช้ค�ำพูด เมื่อมีบางสิ่งที่ต้องบอกแต่ไม่สามารถ จะบอกด้วยภาพได้ จึงปล่อยให้มีเสียงพูดออกมา” 2 ภาษาภาพยนตร์จึงเป็นภาษาที่ เป็นการใช้ภาพเล่าเรื่องเป็นหลัก ผ่านการใช้องค์ประกอบระบบสัญลักษณ์ เป็นส่วนใหญ่
“ ภาพ “ ภาษาของภาพยนตร์ (Film Language) ภาพ งานปอยส่างลอง ชาวไทใหญ่ เมษายน 2557 วัดป่าเป้า เชียงใหม่
1
ที่มา: ภาพถ่ายโดย อุกฤกษ์ จอมยิ้ม (นิพนธ์ คุณารักษ์. 2552 หน้า 21)
2 (สุรพงษ์ พินิจค้า. 2552)
32
02
Object in Frame /shot (cut)
สิ่งที่ปรากฏอยู่ในกรอบภาพ
ภาพที่ปรากฏจะเล่าเรื่องสื่อสารสู่ผู้ชมเสมอ คือ WHO ใคร - WHAT อะไร - WHERE ที่ไหน HOW อย่างไร - WHEN เมื่อไหร่ - WHY ท�ำไม รู้จักภาพยนตร์และสารคดี
33
02
Shot Size ขนาภาพ
การใช้ขนาดของกรอบภาพที่ต่างกัน แสดงออกถึงการสื่อสารความหมายที่แตกต่างกัน ของผู้ถ่ายท�ำ เช่น ภาพระยะไกลและกว้าง (XLS / Extreme Long Shot) เป็นภาพที่ต้องเล่า เนื้อหาของสถานที่และเวลาเป็นส่วนใหญ่ หรือ การใช้ภาพขนาดขยาย (XCU / Extreme Close Up) เป็นภาพที่ต้องการเน้น หรือเล่าเรื่องบางอย่างที่เล็กแต่ส�ำคัญ เป็นภาพที่มีพลัง เพราะคน ปกติจะไม่สังเกตหรือมองเห็นรายละเอียดมากนัก
XLS
Extreme Long Shot
ภาพระยะไกล+ขนาดกว้างมาก
MLS
Medium Long Shot
ภาพระยะไกล
34
LS Long Shot
ภาพขนาดกว้าง
MS
Medium Shot
ภาพระยะปานกลาง
02
MCU
Medium Close Up
ภาพระยะใกล้ปานกลาง
BCU
Big Close Up
ภาพระยะใกล้มาก
CU
Close Up
ภาพระยะใกล้
XCU
Extreme Close Up
ภาพระยะขยาย
ที่มา : โครงการสืบค้นและจัดการมรดกทางวัฒนธรรมอย่างยั่งยืนในอ�ำเภอปาย-ปางมะผ้า-ขุนยวม จังหวัดแม่ฮ่องสอน (ระยะที่1-3 พ.ศ. 2549-2555) รู้จักภาพยนตร์และสารคดี
35
02
Point of view ต�ำแหน่งของภาพและการเคลื่อนที่ จับคู่ Shot / two shot
เมื่อเวลาน�ำภาพต่อเนื่องเหตุการณ์มาต่อกันเปรียบได้กับการน�ำค�ำแต่ละค�ำ มาเรียงร้อยออกมาเป็นวลี หรือส่วนหนึ่งของประโยค ส่วนใหญ่แล้วจะใช้ เมื่อเราจับคู่การสนทนา หรือ ภาพที่จับมาตอบโต้กัน สิ่งที่ต้องไม่พลาดคือ Eye line matching B
A
X
180 องศา A
2
B
3
1 A
A
B
A
B
180 Degree Rule ที่มา : notitleproductionfilms.com 36
B
02
Camera Angles มุมมองกล้อง
1
2
3
ระดับสายตา (Eye Level Angle)
ระดับสายตาต�่ำ (Low Angle)
มุมสูง (High Angle)
มองสิ่ ง นั้ น ในลั ก ษณะปกติ วั ด โดย ประเมินจากความสูงของคนทั่วไป
ถ้าตั้งกล้องต�่ำ สิ่งที่เราถ่ายจะมีลักษณะ สูงใหญ่สง่า ระวังเวลาถ่ายคนถ้าคนตัว อ้ ว นใหญ่ม ากๆ ผลคือ จะน่าเกลียด ต้ อ งเลื อ ก ว่ า ต�่ ำ หรื อ สู ง แค่ ไ หนจึ ง จะ เหมาะสม หากเป็นผู้บริหารขององค์กร แล้ ว ใช้ มุ ม กล้ อ งต�่ ำ เพื่ อ แสดงให้ เ ห็ น ว่าสง่างาม
ต�ำแหน่งกล้องจะอยู่สูงกว่า สิ่งที่ ต้องการถ่าย หรือสิ่งที่เราต้องการ ถ่ายอยู่ต�่ำกว่าระดับสายตา
1 ที่มา: คณะวิจัย
2 ภาพถ่ายโดย: อุกฤกษ์ จอมยิ้ม
3 ภาพถ่ายโดย: อุกฤกษ์ จอมยิ้ม รู้จักภาพยนตร์และสารคดี
37
02
Movement การเคลื่อนที่ของภาพ Pan การแพน (Panning) เป็นการเคลื่อนไหวกล้องโดยการกวาดเลนส์ของกล้องไปทางซ้ายหรือขวาตามแนวนอน ในขณะที่กล้องตั้งอยู่กับที่บนขาตั้งกล้อง (Tripod) ในลักษณะคล้ายกับคนที่ยืนอยู่กับที่ แล้ ว หั น หน้ า ไปทางซ้ า ยหรื อ ขวา การแพนจะใช้ ใ นกรณี ที่ ต ้ อ งการสื่ อ ให้ เ ห็ น ความ ต่อเนื่องของภาพจากจุดหนึ่งไป ยังอีกจุดหนึ่ง
PAN
การแพนกล้องเพื่อเปลี่ยนจากภาพหนึ่งไปยังอีกภาพหนึ่ง (Surveying – pan) การแพนกล้องตามวัตถุที่เคลื่อนที่ (Following pan)
UP
DOWN
38
Tilt การทิลท์ (Tilting) เป็นการเคลื่อนที่กล้องขึ้นหรือลงในแนวดิ่ง ขณะที่วางกล้องอยู่บนขาตั้ง คล้ายกับ การก้มและเงยหน้าของคน โดยการกดกล้องลงเรียกว่า ทิลท์ ดาวน์ (Tilt down) ส่วนการเงยกล้องเรียกว่า ทิลท์ อัพ (Tilt up) เพื่อให้ได้ภาพที่ต่อเนื่องกันไป หรือ เชื่อมต่อภาพต่างๆ ได้
02
Tracking การแทรค (Tracking) เป็นการเคลื่อนที่กล้องขณะก�ำลังบันทึกภาพไปตามแนวนอนขนานกับวัตถุ มักใช้เมื่อ ต้องการติดตามการเคลื่อนที่ของสิ่งที่ก�ำลังถ่าย หรือ เมื่อต้องการให้ผู้ชมมีความรู้สึก ร่วมรับรู้ในการเคลื่อนที่ด้วย ในด้านการสื่อความหมายด้วยภาพ TRACK
DOLLY IN
DOLLY OUT
Dolly การดอลลี่ (Dollying) เป็นการเลื่อนกล้องเข้าไปหาวัตถุเรียกว่า ดอลลี่ อิน (Dolly in) หรือเลื่อนกล้องออกห่าง จากวัตถุ เรียกว่า ดอลลี่ เอ้าท์ (Dolly out) ในแนวตรง การดอลลี่จะท�ำให้เห็นมุมภาพที่เปลี่ยนไปพร้อมกับขนาดของภาพก็เปลี่ยนไปด้วย แต่ฉากหลังยังคงเดิม ภาพที่ได้จะต่อเนื่องกันเหมือนกับผู้ชมก้าวเข้าไปหาสิ่งที่ก�ำลัง ถ่ายอยูใ่ นลักษณะทีส่ ายตาจับจ้องอยูท่ สี่ งิ่ นัน้ อยู่
Point of View (POV) Camera, Hand Held Camera การใช้กล้องเคลื่อนที่แทนสายตา ของตัวละคร หรือ เป็นการมองมุมแบบติดตาม ของคนดู ให้ความรู้สึกตื่นเต้น ชวนติดตาม
รู้จักภาพยนตร์และสารคดี
39
02
Lighting แสง หรือ บรรยากาศของแสงในภาพ ภาพ ที่มา : CBT BAAN JABO การจัดแสง Drama lighting
การที่แสงเป็นองค์ประกอบหนึ่งในภาษาภาพยนตร์ เนื่องจาก การจัดแสงท�ำหน้าที่มีส�ำคัญ 2 ประการ
1
สร้างมิติและบรรยากาศในภาพยนตร์
2
สร้างผลพิเศษทางอารมณ์ความรู้สึก
Drama / Action Film noir / Horror Film
Setting บรรยากาศที่อยู่ในภาพ
การสร้างบรรยากาศ หรือ ฉากในภาพยนตร์
องค์ประกอบต่างๆในบรรยากาศจะช่วยสร้างให้เกิดอารมณ์ร่วมไปกับภาพยนตร์ สามารถแบ่งออกเป็น 4 ประเภทของบรรยากาศ ใช้ฉากของบรรยากาศจริง จัดฉากในบรรยากาศจริง ถ่ายฉากในสตูดิโอ ถ่ายในสตูดิโอแบบ Chroma key
40
02
ภาพถ่ายโดย: อุกฤกษ์ จอมยิ้ม
Sound เสียงที่อยู่ในภาพ เป็นองค์ประกอบที่ท�ำให้ภาพยนตร์สื่อสารได้อย่างชัดเจนและสมบูรณ์ โดยใช้ เสียงดนตรี เสียงประกอบ SFX / Sound design และ เสียงพูด Narrative เสียงดนตรี Soundtrack ช่วยสร้าง อารมณ์และเสริมการรับรู้ในระดับจิตใต้ส�ำนึก เสียงประกอบช่วยสร้างความรู้สึกสมจริงและอารมณ์ร่วม เสียงพูด ช่วยขยายเรื่องราวที่ภาพไม่อาจเสนอได้ และสื่อสารแนวคิดหลักของเรื่องให้ชัดเจน
รู้จักภาพยนตร์และสารคดี
41
02
ไวยากรณ์ของภาพยนตร์ ภาพยนตร์มีระบบสื่อความหมายในรูปของสัญลักษณ์ (Sign) และการเชื่อมโยง สัญลักษณ์ต่างๆเข้าด้วยกันให้เกิดความหมายหรือวากยสัมพันธ์ (Syntax). (Monaco. 2535 หน้า37)
เช่นเดียวกันกับภาษาทั่วไปที่น�ำเอาหน่วยเล็กๆมาประกอบ สร้างเกิดเป็น โครงใหม่ จากนั้นเมื่อรวมกันมากขึ้นจะเล่าเรื่องราวท�ำให้เกิดความเข้าใจ ไวยากรณ์ของภาพยนตร์ก็เช่นเดียวกัน หากเทียบกับภาษาปกติ ก็จะเป็นการน�ำเอาค�ำแต่ละค�ำที่มีความหมายในตัวมารวมกัน เป็นประโยค เป็นหน่วยที่ใหญ่ขึ้นเพื่อการสื่อสารความหมาย
42
02
ค�ำ (word) = กรอบภาพ (Frame) หมายถึง ภาพที่เปรียบกับค�ำที่ให้ความหมาย กรอบภาพ (Frame ) เป็นหน่วยเริ่มต้นของการเรียก คน สัตว์ สิ่งของ หรือเป็นการให้ความหมายในสิ่งนั้นๆ
ภาพ: เมื่อเป็นกรอบภาพ รวมกับบรรยากาศแสง สี และเสียง เล่าเรื่อง บอกเล่าด้วยตัวเองได้ ในภาพนี้เป็นภาพของหญิงชาวบ้านแม่ละนาน�ำเครื่องไหว้บูชา มาวางตรงทางเข้าโบสถ์ในเวลาเช้ามืด สื่อสารความสงบนิ่ง ด้วยขนาดภาพ LS ที่มา: ศุภร ชูทรงเดช รู้จักภาพยนตร์และสารคดี
43
02
เริ่ม 00:00
วลี (Phrases) หรือ ประโยค (Sentence) = ช็อต (Shot, Cut)
หมายถึง ภาพที่เกิดขึ้นจาการบันทึกภาพในช่วงเวลาหนึ่งจนกระทั่งหยุดการบันทึก เปรียบได้กับกลุ่มค�ำที่น�ำมาเรียงต่อกันเกิดความหมายบางอย่างขึ้นเป็นวลี Shot ที่เกิดจากกรอบภาพมาเรียงต่อกัน ในทางภาพยนตร์จะใช้องค์ประกอบ เช่ น แสงและขนาดของภาพต่างๆ ( XLS - LS - MLS - MS - MCU - CU - BCU - XCU) น�ำมาสร้างให้เกิดความหมาย WHO - WHAT - WHERE - HOW - WHEN - WHY
44
02
หยุด 00:16:17
ภาพ: เมื่อบันทึกเป็นภาพเคลื่อนไหว เกิดช่วงเวลาเริ่มขึ้นจนกระทั่งหยุดบันทึก เกิดการสื่อสารความหมายมากขึ้น จากกรอบภาพก็จะกลายเป็น Shot ที่มีการถ่ายทอดความหมายด้วยต้วเอง มีระยะเวลาเกิดขึ้น ที่มา: ปรียาชนก เกษสุวรรณ
รู้จักภาพยนตร์และสารคดี
45
02
ย่อหน้า (Paragraph) = ฉาก (Scene) หมายถึง การน�ำ Shot หลายๆอันมาเรียงร้อย สร้างความสัมพันธ์ให้เกิดความหมายมากขึ้น หรืออาจ เปลีย่ นความหมายเดิมก็ได้ เปรียบกับภาษาคือ ย่อหน้า เกิดขึน้ ด้วยการน�ำวลีและรูปประโยค มาเรียงร้อยกัน เกิดเป็นการเล่าเรื่องสร้างความหมายให้เกิดขึ้น แต่ละย่อหน้ามีเนื้อหาครอบคลุมเหตุการณ์ในสถานที่ หรือ เวลาช่วงใดช่วงหนึ่ง
Shot 1 ขนาดภาพ MLS เล่าเรื่องกลุ่มคนปั้นช้าว และข้าวก็เป็นข้าวร้อนๆ สังเกตจากการมีควัน
1
Shot 2 ขนาดภาพ CU เห็นมือหยิบข้าวแล้วจึงน�ำมาปั้น Shot 3 อีกด้านหนึ่งของกลุ่มจะรวบรวมและจัด เรียงข้าวโดยที่เมื่อปั้นเสร็จแล้วจึงถูกส่ง ต่อมาใส่ในพานขนาดใหญ่
2
ภาพชุด : ตัวอย่าง Scene ปั้นข้าว ประกอบด้วย shot หลาย shot หลายขนาดภาพที่เล่า เรื่อง Shot ทั้งหมดจึงเล่าเรื่องเกี่ยวกับการปั้นข้าว เช่น การน�ำข้าวจากการหุงใหม่ๆ มาวาง, การแบ่ ง และการปั ้ น , ทามือด้วยน�้ำผึ้ง ฯลฯ และเกิดขึ้น ใน สถานที่ เดียวกัน เป็นหนึ่งเหตุการณ์ แต่ละ scene จึงประกอบจาก หลายๆ shot รวมกัน
46
3
02
ตอน = ซีเควนซ์ Sequence คื อ การเชื่ อ มต่ อ scene หลายๆ scene มี ค วามสั ม พั น ธ์ แ ละเชื่ อ มโยงกั น เพื่ อ สร้ า งความหมาย สัญลักษณ์ใหม่ การประกอบย่อหน้าให้เป็นบทความ หรือเป็นช่วงตอนในนิยาย
Sequence เตรียมของ
Sequence หุงข้าว
ภาพชุด: ตัวอย่างการจัดวางเรียงภาพแต่ละ scene ในช่วงเวลาบันทึกต่างกัน
เช่น ภาพการจัดเตรียมตกแต่งอาหาร การแกะสลักผลไม้ การตกแต่งอาหาร เด็กๆที่มารับศีลจากหลวงพ่อในมุมหนึ่งของศาลา และ ในอีกมุมเป็นการปอกผลไม้และคัดแยกเพื่อเตรียมจัดใส่กระทงไว้ในถาด ภาพในแต่ละ scene รวมกันเป็น sequence ของการตระเตรียมอาหารถวายพระช่วงหัวค�่ำ Sequence ต่อมาจะประกอบด้วย scene ที่เกิดขึ้นภายนอกศาลาวันขึ้น 14 ค�่ำพระจันทร์สุกสว่าง มีการเล่นดนตรีกันอย่างเอะอะ ที่โรงครัวก็เริ่มจุดไฟติดเตาเผื่อที่จะ ท�ำการหุงข้าว การหุงข้าวนั้นก็มีการประดับประดา ไว้อย่างสวยงามด้วย เมื่อน�ำ Sequence ทั้งสองมาเรียงต่อกันก็จะเกิดการล�ำดับ เวลาขึ้น เป็นการแสดงให้เห็นว่า งานประเพณีนี้ได้รับความร่วมือจากชาวบ้านร่วมแรงร่วมใจกันท�ำทั้งบนศาสาและภายนอกศาสา ที่มา: ศุภร ชูทรงเดช รู้จักภาพยนตร์และสารคดี
47
02
การวางเค้าโครงเรื่อง = Narrative Structure เป็นการน�ำความหมายในแต่ละช่วงตอนมาจัด เรียบเรียงต่อกัน ให้เกิดช่วงเหตุการณ์ที่สามารถน�ำไปเชื่อมเหตุการณ์อื่นอีกหลายๆเหตุการณ์ เพื่อน�ำไป สู่เรื่องราวหลายๆเรื่องที่ทับซ้อนกัน ท�ำหน้าที่อธิบายความหรือผลักดันเรื่องให้ไป ข้างหน้า เหมือนกับการน�ำบทความหลายๆบท มาเรียบเรียงให้เป็นเนื้อเรื่องที่สมบูรณ์
การวางเรื่องราว ในการจัดท�ำสารคดีควรเรียบเรียบเรียงอย่างเรียบง่าย คือ บทน�ำ กลางเรื่อง บทท้าย
: บทน�ำที่น่าติดตาม // เรื่องน่าสนใจ // บทท้ายประทับใจ เป็นเรื่องราวที่เกิดขึ้นในวิถีชีวิตประจ�ำวันของเรา เพื่อนบ้าน ชุมชนแถวบ้าน งานประเพณีของหมู่บ้าน งานส�ำคัญต่างๆของที่บ้านหรือหมู่บ้าน น�ำมาคิดว่าอะไรคือสิ่งที่น่าสนใจ? ท�ำเพื่ออะไร? และใครคือคนดู? ที่กล่าวมาถ้าลองเริ่มท�ำจึงจะเข้าใจ
48
02
Sequence เตรียมของ
Sequence หุงข้าว
Sequence ปั้นข้าว
Sequence ไหว้เทวดา
Sequence ถวายของ
ภาพชุด: แสดงการจัดล�ำดับ เรียบเรียง Sequence ึ่ในแต่ละ Sequence ก็จะมีความหมาย เรื่องราวเป็นของตัวเองในแต่ละท่อน ลดับเรียบเรียงเพื่อน�ำไปสู่การล�ำดับเรื่องราวเนื้อหาเพื่อผู้ชม จากตัวอย่างเป็นการเตรียมงานต่างซอมต่อโหลง ชองชาวบ้านแม่ละนาในคืนก่อนวันงานบุญถวายข้าวมธุปยาส การจัดเรียบเรียง Sequence เริ่มจัดโดยยึดหลักของแต่ละช่วงเวลา คือ เย็น+หัวค�่ำ ค�่ำ+ดึก+เที่ยงคืน เช้าตรู่+ถวาย+ฟังธรรม ท�ำให้คนดูเข้าใจ
ที่มา: ศุภร ชูทรงเดช
รู้จักภาพยนตร์และสารคดี
49
02
บทที่ 3
สารคดี Documentary “ สารคดี ถ้าแยกค�ำแล้วแปล ก็จะได้ความว่า สาร หมายถึง ส�ำคัญ คดี หมายถึง เรื่อง ถ้าแปล รวมกันก็หมายถึง เรื่องใดที่มีสาระส�ำคัญ และถ้าเทียบค�ำนี้ทับค�ำภาษาอังกฤษจะเท่ากับค�ำ feature ซึ่งมีรากศัพท์ว่า fact ซึ่งแปลว่า ความจริง เพราะฉะนั้นการเขียนสารคดีจึงหมายถึง การเขียนเรื่อง ใดๆที่เป็นความจริงมีสาระส�ำคัญน่ารู้ที่แฝงด้วยความจริง เนื้อหามีสาระส�ำคัญที่เชื่อถือได้ 1 “ “ สารคดี หมายถึง งานเขียนที่เป็นเรื่องเกี่ยวกับข้อเท็จจริง เสนอเรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลที่มี ตัวตนจริง เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริง มีเจตนาเบื้องต้นในการให้สาระ ความรู้ ความคิด ทั้งนี้ต้องมีกลวิธี การเขียนให้เกิดความเพลิดเพลินด้วย 2 “ ถวัลย์ มาศจรัส อธิบายคล้ายคลึงกันแต่ในอีกแง่มุม “ สารคดี (Non-fiction) คือ งานเขียนที่ยึดถือเรื่องราวจากความเป็นจริง น�ำมาเขียน เพื่อมุ่ง แสดงความรู้ทรรศนะความคิดเห็นเป็นหลัก ด้วยการจัดระเบียบความคิดในการน�ำเสนอ ผสมผสาน ในการถ่ายทอดต่อการสนใจใฝ่รู้ของผู้อ่าน เพื่อให้เกิดคุณค่าทางปัญญา 3 “ ในสังคมร่วมสมัย แห่งการสื่อสารที่รวดเร็วด้วยเทคโนโลยี เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน มากขึ้น เนื้อหาที่เป็นสาระ ความจริงจึงถูกให้ความสนใจมากกว่าเดิม การท�ำงานในรูปแบบ สารคดีจึงให้ความหมายได้หลายแบบในยุคนี้ สารคดี สามารถงานสร้างสรรค์ไม่จ�ำกัดรูปแบบเป็นได้ ทั้งงานเขียน งานถ่ายภาพ งานเสียง งานภาพยนตร์ ในรูปแบบของการบันทึก หรือประดิษฐ์สร้างขึ้น มาใหม่ ซึ่งจะต้องอยู่ในหลักการที่ยึดหลักความเป็นจริง มุ่งให้ความรู้และความคิดเห็น เป็นสาระหลัก โดยมีการจัดระเบียบความคิดและกระบวนการน�ำเสนออย่างมีแง่มุมที่น่าสนใจ 1 ฉลวย สุรสิทธิ์ 2522: หน้า259
50
2 ศรี คณปติ. 2551, ย่อหน้า 1
3 ถวัลย์ มาศจรัส 2545: หน้า 244
02
ภาพ: ขบวนแห่ปอยส่างลอง วัดป่าขาม ต�ำบลเวียงใต้ อ.ปาย จ.แม่ฮ่องสอน ที่มา: โครงการโบราณคดีบนพื้นที่สูงใน อ�ำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน 51
02
ลักษณะส�ำคัญของหนังสารคดี ถึงแม้ว่า งานสารคดีจะมุ่งให้ความรู้ ข้อเท็จจริง หรือความคิดเห็นแก่ผู้อ่านเป็นส�ำคัญ แต่ในปัจจุบัน มีการน�ำเสนอในลักษณะที่หลากหลายท�ำให้ยากที่จะตัดสินว่างานเขียนชิ้นไหนไม่ใช่สารคดี หรือถ้า ใช่จะเป็นแบบไหนได้ ส�ำหรับคนที่มีความสนใจในงานสารคดีและเริ่มต้นมีข้อคิด ข้อสังเกตหลาย ประการที่ใช้ในการเริ่มคิดงานให้เป็นสารคดี
52
01
02
การเสนอข้อมูลหรือเนื้อหาสาระเป็นข้อเท็จจริง
มี จุดประสงค์ ใ ห้ ผู้ อ ่ านได้ รั บ ความรู ้ และความ เพลิ ดเพลิ น ในการชม
โดยเน้นเนื้อหาสาระ เรื่องราว เหตุการณ์ ตัวบุคคล หรือสถานที่ ต้องเป็นข้อเท็จจริง (fact) และยังเป็นการเสนอข้อมูลที่ผู้เขียน ได้ศึกษา สังเกต ส�ำรวจ หรือวิเคราะห์ตีความเป็นอย่างดีแล้ว
เป็นสองส่วนที่แยกกันไม่ได้
03
04
สารคดีอาจใช้จินตนาการประกอบได้
สารคดีต้องเป็นงานที่สร้างสรรค์
(อาจมีหรือไม่มีก็ได้) เป็นการสร้างภาพตามความนึกคิดที่เกิด จากอารมณ์ความรู้สึกของผู้เขียน เป็นการสร้างภาพที่เกิดขึ้น จากการวิเคราะห์ สังเกต พิจารณา จากข้อมูลที่เป็นข้อเท็จจริง
เป็นการน�ำเสนอความคิดเห็นและทัศนะที่เป็นประโยชน์แก่ ผู้อ่านโดยทั่ว ๆ ไป มิใช่สร้างสรรค์ให้แก่บุคคลใดโดยเฉพาะ
02
ประเภทของภาพยนตร์สารคดี สารคดี โดยทั่วไปจ�ำแนกออกได้หลายๆ แบบ แล้วแต่การตีความออกไปหลากหลายความเห็นและทฤษฏี ทัศนะของผู้เขียนจะมีการแบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ
1 การแบ่งตามวิธีการวางโครงเรื่อง และการบันทึก
01
02
03
Expository
Observational
Experimental
การบันทึกและถ่ายทอดโดยใช้บทสัมภาษณ์ การบันทึกด้วยการเป็นคนดู การเฝ้ามอง การติดตาม เสียงสัมภาษณ์ ผูบ้ รรยาย (Voice-of-God) เป็นตัวเดินเรื่อง ในบางครั้งเพื่อชี้น�ำประเด็น ในการบอกเล่าเนื้อหาของเหตุการณ์ เป็นวิธี ให้แก่คนดู เป็นสารคดีส่วนใหญ่ที่พบเห็น การที่ ช ่ า งภาพหรื อ คนท� ำ งานไม่ ส ามารถ โดยทั่วๆ ไป เมื่อมีการใช้พิธีกรมาร่วมหรือ คาดเดาสถานการณ์ล่วงหน้าได้ การบันทึก เป็นผูพ้ ดู ชีแ้ นะ พาน�ำไป และอธิบายประเด็น เป็ น แบบธรรมชาติ ข องคนๆนั้ น หรื อ เรียกว่าสารคดีแบบ Participatory เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นตรงหน้า
การทดลองด้วยวิธีอื่นที่ต่างจาก สองข้อแรก เช่น เน้นการเล่าคล้ายบทกวี (Poetic) เป็น เรื่องที่เล่าผ่านทัศนคติแบบศิลปิน มีภาษาและมุมมองของคนท�ำหนังร่วมอยู่ มาก เมหรือเน้นการผสมผสานความเข้าใจ (Reflexive) แสดงออกแบบศิลปะ และ สอดแทรกการแสดงในบางช่วงตอน แต่เรื่องและผู้น�ำของเรื่องเป็นจริง อยู่บน ความจริงในทุกสถานการณ์
รู้จักภาพยนตร์และสารคดี
53
02
2
การแบ่งตามวัตถุประสงค์และเนื้อหา การแบ่งเน้นไปที่รายละเอียด ลักษณะเฉพาะ ของเนื้อหาเพื่อจะง่ายต่อการจ�ำแนก หรือแบ่ง ประเภทไว้อย่างชัดเจน ประเภทของสารคดี แบ่งออกเป็น 10 เนื้อหาคือ
ภาพถ่ายโดย: อุกฤกษ์ จอมยิ้ม
สารคดีรายงานเหตุการณ์ (Journalist)
54
สารคดีชีวิตและบุคคล
สารคดีเด็ก (Youth)
(Biography)
เป็นสารคดีที่มุ่งเน้นการน�ำเสนอเหตุการณ์ ที่เกิดขึ้นที่ใดที่หนึ่ง กิจกรรมที่เกิดขึ้นนั้น มี สาระน่ารู้ที่เป็นประโยชน์ต่อสาธารณะ เช่น ประชุมวิชาการ การจัดงานร�ำลึก งานแต่งงาน
เน้นการน�ำเสนอแง่มุมของบุคคล เป็นการ น�ำเสนอได้หลายๆรูปแบบการน�ำเสนอ เช่น อัตชีวประวัติ การท�ำงานของบุคคล การ เสนออุดมคติ หรือปรัชญาบุคคล
เรื่ อ งราวที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ เด็ ก นั้ น มี ม ากมาย หลากหลาย เช่น ความไร้เดียงสา การถูก เอาเปรียบ การใช้แรงงาน เด็กเร่ร่อน เด็ก ถูกทารุณ หรือ ความใฝ่ฝัน
สารคดีท่องเที่ยว (Travel & Discovery)
สารคดีเกี่ยวกับธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม (Wildlife)
สารคดีวิถีชีวิต (Slice of Life)
เป็ น สารคดี ย อดนิ ย ม ของทุ ก ยุ ค ทุ ก สมั ย เกี่ยวพัน กับ การกิน เที่ยว แนะน�ำสถานที่ เรี ย ลิ ตี้ โ ชว์ ซึ่ ง วั ต ถุ ป ระสงค์ ส ่ ว นใหญ่ เป็ น การให้ ข ้ อ มู ล การท่ อ งเที่ ย ว การเล่ า ประสบการณ์ที่มีแง่คิด
เน้นเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับงานอนุรักษ์ ธรรมชาติ สัตว์ป่า และ พันธุ์พืช มนุษย์กับ สิ่งแวดล้อม การดูแลสิ่งแวดล้อม การน�ำ เสนอปั ญ หา เกี่ ย วกั บ ผลกระทบต่ า งๆ ที่ไม่ได้การดูแล
การน�ำเสนอเกี่ยว ความจริงเกี่ยวกับชีวิต และแง่คิด เกี่ยวกับชาติพันธ์ ชนกลุ่มน้อย หรื อ ชี วิ ต เมื อ งที่ ต กหล่ น การส� ำ รวจ ชีวิตในสลัม เด็กดมกาว
02
ภาพถ่ายโดย: อุกฤกษ์ จอมยิ้ม
สารคดีเกี่ยวกับสตรี และ เพศทางเลือก (Gender)
สารคดีรายงานพิเศษ
สารคดีเชิงวิจารณ์
(Special report)
(Commentary)
ประเด็ น ที่ น ่ า สนใจมากมาย ของสตรี สารคดีว่าด้วยเรื่องการรายงานที่อาศัยการ ในโลกใบนี้ รสนิยม การแต่งกาย ตลอดจน เก็บข้อมูล ลงพื้นที่ รับรู้เรื่องจริงในพื้นที่ ปัญหาต่างๆเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่สตรี มีแง่มุมหลากหลาย เช่นการเรียกร้อง ต่อสู้ เพื่ อ ความเป็ น ธรรม การน� ำ เสนอผลงาน และการท�ำงาน ที่มีแง่มุมพิเศษ
สารคดีที่แสดงออกทางความคิดเห็นในรูป แบบต่างๆ วิภาษณ์วิจารณ์ วิเคราะห์ ตีแผ่ เรื่องที่มีผลกระทบ สารคดีรูปแบบนี้มีการชู ประเด็ น ชั ด เจน และ การเสนอแง่ มุ ม ต่างๆเชิงติชม และวิเคราะห์
สารคดีผสมผสาน (Art)
การน�ำเสนอเรื่องใดเรื่องหนึ่ง โดยใช้วิธีการ น�ำเสนอแบบผสมในการถ่ายทอด เช่น การใช้ ภาพถ่ายทางศิลปะมาสร้างเป็สัญลักษณ์ใน การเล่าเรื่องการน�ำสาระที่เป็นจริงแต่น�ำ เสนอท�ำให้เป็นแง่มุมทางศิลปะ (ธัญญา สังขพันธานนท์. 2553: หน้า24) รู้จักภาพยนตร์และสารคดี
55
ภาพยนตร์มานุษยวิทยาทัศนา Visual Anthropology
03 ศุภร ชูทรงเดช และคณะ
56
03
บทที่ 1 ภาพยนตร์มานุษยวิทยาทัศนา Visual Anthropology “ มานุษยวิทยา คือวิชาที่ว่าด้วยการศึกษาผู้คนตั้งแต่เริ่มเกิดจนถึงตาย เช่น
ประวัติศาสตร์ของการวิวัฒนาการของมนุษย์ การปรับตัวของมนุษย์ ในสภาพแวดล้อมที่แตกต่าง วัฒนธรรม ภาษา การเมือง ครอบครัว รวมถึงการศึกษาที่มาของมนุษย์ในแง่ของกายภาพ ที่เราเรียกกันว่า โบราณคดี
“
และ จ�ำแนกสาขาวิชาของมานุษยวิทยาได้ดังนี้
มานุษยวิทยาทางศิลปะ (Anthropology of art)
มานุษยวิทยาทางการแสดงและศิลปะการร่ายร�ำ (Anthropology of the performing arts)
มานุษยวิทยาทางการเมือง (Political anthropology)
มานุษยวิทยาเด็ก (Anthropology of childhood)
นิเวศมานุษยวิทยาสิ่งแวดล้อม (Ecological / Environment anthropology)
มานุษยวิทยาทางศาสนา (Anthropology of religion)
มานุษยวิทยาพัฒนาการ (Anthropology of development) มานุษยวิทยาทัศนา และ โบราณคดี (Visual anthropology) (Archaeology)
จะเห็นได้ว่า มานุษยวิทยา มีความเกี่ยวข้องกับหลายสาขาวิชา 1
มานุษยวิทยาทางการแพทย์ (Medical anthropology) มานุษยวิทยาว่าด้วยเรื่องเพศ (Anthropology of gender)
ในการศึกษาและการเก็บข้อมูล นักมานุษยวิทยาเน้นการถ่ายทอดความเข้าใจและการบันทึกความจริงโดยผ่านเครื่องมือหลาย
แบบหลายระเภทในการเข้าถึง ความจริง ที่ประจักษ์อยู่เบื้องหน้า
“ มานุ ษ ยวิ ท ยา มี เ ป้ า ประสงค์ ในการศึ ก ษารวบรวมเก็ บ บั น ทึ ก ข้ อ มู ล ปรากฏการณ์ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในสั ง คม ชุ ม ชน อันเกีย่ วข้องถึงพฤติกรรมของผูค้ น วิถชี วี ติ เหตุการณ์เพือ่ วิเคราะห์ถึงความหมายและคุณค่า ภายใต้ระเบียบวิธีมานุษยวิทยา และ ถ่ายทอดสิ่งต่างๆ ที่เชื่อมโยงเกี่ยวข้องให้เกิดคุณค่า ความหมาย อันเชื่อมโยงปรากฏการณ์จริงของโลก โดยแรกเริ่มอาศัยเครื่องมือภาคสนามเป็นรูปแบบของการจดบันทึกเพียงอย่างเดียว จนกระทั่งเห็นและให้ความสนใจเป็น พิเศษต่อภาพยนตร์ในฐานะ เครื่องมือส�ำหรับช่วยในการจดบันทึก พฤติกรรม กิจกรรมทางวัฒนธรรมชุมชน “ 2 1
(อานุภาพ สกุลงาม. 2550 เอกสารออนไลน์) 2 (ฉันทนา ค�ำนาค. 2556:หน้า 10) ภาพยนตร์มานุษยวิทยาทัศนา Visual Anthropology
57
03
เมื่ อ มี ก ารน� ำ การบั น ทึ ก ภาพเคลื่ อ นไหว ในแบบภาพยนตร์ แ ละวี ดี โ อ ในการบั น ทึ ก เหตุ ก ารณ์ สถานการณ์ ท�ำให้เกิดการวิเคราะห์ ตีความ เกิดการศึกษาได้รวดเร็วละชัดเจนมากขึ้น ภาพยนตร์ จึงนับได้ว่าเป็นหนึ่งในเครื่องมือส�ำหรับการท�ำงาน ในการเก็บและเรียบเรียงข้อเท็จจริงภาคสนาม “ การใช้ประโยชน์สื่อภาพยนตร์ในทางตรงและทางอ้อมในการประกอบการอภิปรายทาง ความคิดเกี่ยวกับ ความจริง ทางวัฒนธรรมในความรับรู้ของนักมานุษยวิทยาและผู้เกี่ยวข้องกระทั่ง ต่อยอดเป็นแนวคิดสาขาย่อยทางมานุษยวิทยาในศาสตร์สาขา Visual Anthropology หรือ มานุษยวิทยาทัศนา “ 1
Fiction Profilmic
Invent เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นมาจาก การจัดการ ให้เกิดหน้ากล้อง
> More or less <
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ไม่ว่าจะมีกล้องหรือไม่มีกล้อง
Documentary
Film as language
Film as record
We invent what’s happening
Film records what happened
ภาพ: ผังแสดงการเปรียบเทียบให้เห็นข้อแตดต่างในแนวคิด
2
ระหว่างภาพยนตร์ทวั่ ไปทีม่ กี ารก�ำกับการแสดงแบบ (Fiction) มีขนั้ ตอนการผลิตและใช้ภาษาภาพยนตร์เป็นตัวก�ำหนดการเล่าเรือ่ ง ในทางตรงกันข้าม ภาพยนตร์แบบบันทึกสถานการณ์ (Nonfiction) จะเป็นการบันทึกสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในขณะที่สถานการณ์ เกิดขึ้นในช่วงเวลานั้นๆ ไม่มีการเกิดขึ้นซ�้ำอีก โดยสถานการณ์จริงที่เกิดขึ้นจะด�ำเนินไป แม้ว่าจะมีกล้องบันทึกหรือไม่ก็ตาม เช่น การบันทึกภาพพิธีกรรมที่เกิดขึ้นประจ�ำปี จากภาพประกอบจะเห็นภาพยนตร์สารคดี (Documentary) ในแนวคิดปัจจุบัน เป็นแนวคิดที่เชื่อมโยงการน�ำเสนอความ จริงได้ทั้งสองแนวคิด ทั้งแบบประกอบสร้างความจริงขึ้นมาใหม่ ด�ำเนินเรื่องแบบ fiction หรือ จะใช้แนวคิดแบบ nonfiction ที่เฝ้ารอ สังเกตการณ์ความจริงที่เกิดขึ้น หากกล่าวถึงการถ่ายท�ำภาพยนตร์สารคดี เชิงวัฒนธรรม มานุษยวิทยาทัศนา Visual Anthropology หรือ/และ ภาพยนตร์ชาติพันธุ์ Ethnographic film จะเห็นว่าใช้แนวทางการน�ำเสนอความจริงเป็นการถ่ายภาพที่มุ่งบันทึกภาพบน เหตุการณ์จริง ต่อเรื่องราวของบุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่ท�ำการ ศึกษา เพื่อการเรียนรู้ทางมานุษยวิทยาผ่านภาพ และใช้แนวทางการถ่าย ท�ำเพื่อการศึกษาข้อมูลทางมานุษยวิทยา ในแบบเฝ้ามองและสังเกตการณ์ (Observational Cinema) 1
58
(พรรณราย โอสถาภิรัตน์, 2543:1)
2
ศุภร ชูทรงเดช
03
Visual Anthropology หรือมานุษยวิทยาทัศนา
คือกระบวนการศึกษาทางมานุษยวิทยาที่อาศัยสื่อโสตทัศน์ เช่น ภาพถ่าย ภาพยนตร์และ สื่อ ใหม่ (New media) ในการถ่ายทอดงานศึกษาวิจัยทางมานุษยวิทยาทัศนา รวมทั้งเป็นเครื่องมือในการ ถ่ายทอด เสียง ของเจ้าของวัฒนธรรม ขณะเดียวกันอาจกล่าวได้ว่าผู้ผลิตสื่อก็อาศัยวิธีการทาง มานุษยวิทยาที่จะเข้าถึงแหล่งข้อมูล เพื่อที่จะผลิตสื่อเช่น ภาพยนตร์ชาติพันธุ์ (Ethnographic Film) อย่างมีส่วนร่วมกับเจ้าของวัฒนธรรม อย่างไรก็ตามหลักการส�ำคัญของมานุษยวิทยาทัศนา (Visual Anthropology) ไม่ได้ เป็นเพียงเครื่องมือหรือวิธีการศึกษาวิจัยเท่านั้น แต่ยังเป็นวิธีการท�ำความเข้าใจเนื้อแท้ของวัฒนธรรม (โดยเฉพาะอย่างยิ่ง วัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้หรือมองเห็นได้ยาก) และ สามารถถ่ายทอดสิ่งที่เจ้าของ วัฒนธรรมต้องการสื่อสารให้คนอื่น (หรือคนนอกวัฒนธรรม) เข้าใจได้ 1
อะไร คือ Visual Anthropology? การเล่าเรื่องด้วยภาพ ทั้งภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เป็นหัวใจหลักที่อธิบายความหมายของ Visual Anthropology
ปัจจัยหลักส�ำคัญของการสร้างเรื่อง และการถ่ายทอดความจริง เพราะ ความจริง เป็นเป้าประสงค์ ส�ำคัญของงานชาติพนั ธุว์ รรณา ขอบเขตของงาน Visual Anthropology พัฒนามาจาก 2 ลักษณะ คือ 1. การผลิตภาพยนตร์เชิงชาติพันธุ์ (Ethnographic Film) และการใช้สื่อทางด้านภาพเป็น
เครื่องมือในการศึกษาเก็บข้อมูล
2. การศึกษาเกี่ยวกับผลผลิตทางวัฒนธรรม ที่ประจักษ์ต่อสายตาและระบบของการผลิตและรับรู้
สิ่งเหล่านั้น (Visual Forms and Visual Systems) ภายใต้บริบททางวัฒนธรรม
2
จากแนวคิดในเชิงปฏิบัติการ “ท�ำให้ Visual Anthropology เป็นสาขาวิชาที่ให้ความสนใจกับทั้ง ความสั ม พั น ธ์ เ ชิ ง อ� ำ นาจในกระบวนการการผลิ ต สื่ อ ทางด้ า นภาพเกี่ ย วกั บ ประสบการณ์ ท าง วัฒนธรรม และปัญหาของการสร้างภาพแทนในการเขียนงานชาติพันธุ์วรรณาขึ้นอยู่กับภูมิหลังทาง ความคิดของผู้ศึกษาจะผลักดันให้แต่ละคนมีความสนใจเฉพาะต่างกันอย่างไร ผู้ที่ได้รับการฝึกฝน มาทางมานุษยวิทยาโดยตรง อาจสนใจจะพัฒนารูปแบบของการศึกษาที่สามารถใช้ประโยชน์จาก ข้อมูลประเภทที่ประจักษ์ต่อสายตาได้อย่างเต็มที่ ขณะผู้ที่มีศักยภาพในการใช้งานสื่อด้านภาพ อาจ สนใจจะสนทนาถึงกระบวนการสร้างความรู้ผ่านสื่อที่ต่างชนิดฯลฯ” 3 1
(บทความการอบรมเชิงปฏิบัติการทางมานุษยวิทยาทัศนา.2557. เอกสารออนไลน์)
3
(พรรณนาราย โอสถาภิรัตน์.2546: หน้า 81)
2
(พรรณนาราย โอสถาภิรัตน์.2546: หน้า 55)
ภาพยนตร์มานุษยวิทยาทัศนา Visual Anthropology
59
03
ภาพถ่ายโดย: อุกฤกษ์ จอมยิ้ม
การอบรมเชิงปฏิบัติการของโครงการจัดท�ำสื่อจากผลงานวิจัย เพือ่ พัฒนาหลักสูตรท้องถิน่ ในอ�ำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน อาศัยแนวคิดจากข้อที่ 1 และความต้องการของผูอ้ บรมทีต่ อ้ งการ ผลิตสื่อเพื่อสื่อสารวัฒนธรรมของตนเอง “สื่อทางด้านภาพและสิ่งที่ประจักษ์ต่อสายตาในรูปแบบอื่นๆ สามารถมีบทบาทต่อมานุษยวิทยา ไม่ใช่เพียงในฐานะที่เป็น เครื่องมือในการเก็บข้อมูล แต่ยังเป็นพื้นที่ที่เปิดกว้างต่อการถก เถียงเกี่ยวกับ ‘ความจริง’ ที่นักมานุษยวิทยาและเจ้าของ วัฒนธรรมสร้างขึ้น หรือพยายามจะให้ค�ำนิยาม” 1
จากขอบเขตข้างต้น การอบรมเชิงปฏิบัติการของโครงการจัด ท�ำสื่อจากผลงานวิจัยเพื่อพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น ในอ�ำเภอปาง มะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน จึงเป็นการก�ำหนดการฝึกอบรมร่วม ระหว่างนักวิจัยสื่อและผู้ร่วมอบรมที่ผสมผสานมาจากผู้คน หลากหลายในพื้นที่ อาจารย์ผู้สอน นักศึกษา นักเรียน เจ้าของ วัฒนธรรมในพื้นที่ ได้ปฏิบัติการท�ำงานผลิตภาพยนตร์สารคดี ใน โดยฝึกเล่าเรื่องจากภาพโดยอาศัยหลักคิดเบื้องต้นว่า
ภาพถ่ายใดๆ ที่บันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ ในชั่วขณะหนึ่ง ก็คือผลผลิตทางวัฒนธรรม ในรูปแบบของภาพถ่าย ส่วนการ ประจักษ์ต่อสายตา คือ การที่คนคนหนึ่งจะมองภาพใดๆ บุคคลนั้นจะมองด้วยทัศนะและประสบการณ์ของตน แต่ยังคงหลักการ ไม่ปรุงแต่ง คือ ภาพยนตร์นั้นจะต้องยึดหลักการถ่ายทอดความจริงเป็นหลัก รายละเอียดการถ่ายทอด จะต้องอยู่ในรูปของธรรมชาติ ปราศจาก การแต่ง หรือจัดฉากให้เป็น สิ่งที่ปรากฏในภาพยนตร์ควรเป็นธรรมชาติผู้ถูกบันทึก (เจ้าของวัฒนธรรม) อันเป็นที่มาของการถ่ายท�ำ ภาพยนตร์เชิงสังเกตการณ์ (Observational Cinema Movement) ซึ่งบุคคลที่เป็นเป้าของการถ่ายท�ำสามารถลืมการมีอยู่ของ กล้องในสถานที่นั้นๆได้ สิ่งที่ถูกบันทึกจะเป็นกลางและควรค่าแก่การอ้างอิง น�ำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการศึกษา การท่องเที่ยว การ เผยแพร่วัฒนธรรมในสื่ออื่นๆได้ต่อไป. 1
60
(พรรณนาราย โอสถาภิรัตน์.2546: หน้า 80)
03
บทที่ 2 การเตรียมงานถ่ายท�ำสารคดีเชิงมานุษยวิทยา Observational cinema การฟื้นฟูพลังและสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน และการจัดการและจัดการแหล่งท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน นั้นจ�ำเป็นที่จะต้องสร้างฐานความรู้ทางวิชาการและใช้ความรู้ในการวางแผนแม่บทส�ำหรับการพัฒนา ชุมชนในท้องถิ่น โดยมีมรดกวัฒนธรรมทางโบราณคดี-ประวัติศาสตร์ความทรงจ�ำเป็นแกนกลางของ สายใยที่ถักทอเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของชุมชนต่างอ�ำเภอร่วมกัน ซึ่งจะท�ำให้เกิดพลังในการเสียดทาน กระแสโลกาภิวัฒน์อย่างตระหนักรู้ ด�ำรงรักษาอัตลักษณ์ของตนไว้ได้ และสืบสานภูมิปัญญาดั้งเดิมของ บรรพชนสืบต่อลูกหลานต่อไป (รัศมี ชูทรงเดช.2552: หน้า 5)
ชี้ให้เห็นถึงความส�ำคัญในการตระหนักรู้ถึงความรู้และการน�ำองค์ความรู้ทางวัฒนธรรมในท้องถิ่นมาก่อ ให้เกิดประโยชน์ต่อท้องถิ่นของตนเอง อันสอดคล้องต่อกระบวนการผลิตสื่อในช่วงต้น คือ ส�ำรวจหา ข้อมูลที่ต้องการใช้ในการท�ำสื่อที่ดีที่สุด น่าสนใจที่สุด ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด คือข้อมูลที่มาจาก มรดกวัฒนธรรมหรือทรัพยากรวัฒนธรรมจากชุมชน “มรดกวัฒนธรรม” หรือ “มรดกศิลปวัฒนธรรม” ว่า “สิ่งสร้างสรรค์ของคนในอดีต ซึ่งมีรูปแบบ (tangible) เช่น ศิลปกรรม สถาปัตยกรรม สิ่งก่อสร้าง และที่เป็นนามธรรม (intangible) ไม่มีรูปร่าง เช่น ภาษา ศีลธรรม จริยธรรม สุนทรีย์ศาสตร์ทางด้านภาษา คติ ความเชื่อ ซึ่งอาจจะท�ำให้สร้างสรรค์ เป็นรูปธรรมในรูปแบบ ของศาสนสถาน เป็นต้น”
(อารักษ์ สังหิตกุล. 2544: หน้า 6)
“ทรัพยากรวัฒนธรรมก็คือผลิตผลของวัฒนธรรม หรือลักษณะต่างๆของระบบวัฒนธรรม (ทั้งในอดีต หรือ ปัจจุบัน) ที่มีค่า หรือเป็นตัวแทน หรือสามารถสื่อถึงวัฒนธรรมต่างๆได้” (ธนิก เลิศชาญฤทธ์.2554: หน้า 14)
พบว่าการนิยาม “มรดกวัฒนธรรม (Cultural Heritages) และ ทรัพยากรวัฒนธรรม (Cultural Resource) นั้นมีความหมายที่คล้ายคลึงกัน เรียกได้ว่าเป็นความหมายที่แตกต่างที่เหมือนกัน ผู้เขียนจะใช้ค�ำ “ทรัพยากรวัฒนธรรม (Cultural Resource)” เพื่อแทนความหมายในเอกสาร
ภาพยนตร์มานุษยวิทยาทัศนา Visual Anthropology
61
03
การเตรียมงานก่อนการถ่ายท�ำ (Preproduction : Documentary Idea & Working Plan) ค้นหาหัวข้อและการวางแผน
ภาพ: แผนภาพแสดงทรัพยากรทางวัฒนธรรมโดยพื้นฐานทั่วไป สามารถแยกย่อยได้ในเบื้องต้น
ปอยเหลินสิบเอ็ด ปอยส่างลอง ดับไฟเทียน ต่างซอมต่อโหลง งานประเพณี
เจ้าเมือง ผีป่า ผีแมน ความเชื่อ
คนเมือง ไทใหญ่ ปกาเกอะญอ ไตนอก ชาติพันธุ์
ข้าวส้ม หลามและอุบ ข้าวกั้นจิ้น อาหาร ขนมอะละหว่า โฮมสาตร์อาหารไทใหญ่
พุทธ ศาสนา
ธรรมชาติ
ศิลปะ
ดนตรีไทยใหญ่ จักสาน ตีกลองมองเชิง ลิเกจ๊าตไต ผ้าทอลายมือไต ร�ำกิ่งกะลา
ภูมิปัญญา
บ้านไทใหญ่ แกะสลัก นวดแผนโบราณ หมอสมุนไพร ตีมีด การท�ำน�้ำมันงา
อาชีพ ประวัติศาสตร์
ไทใหญ่อพยพมาจากพม่า ตระกูลเก่าแก่ ชื่อเดิมแม่ลัดนา เก่าแก่ 200 ปี
ที่มา: ศุภร ชูทรงเดช
62
ท�ำนา ท�ำไร่ เลี้ยงสัตว์ หาของป่า โฮมสเตย์
ผี
พิธีสู่ขวัญควาย ข้าวจอง - ข้าวถวายวัด บวชปอยส่างลอง เลี้ยงศาลเจ้าเมือง เลี้ยงศาลกลางบ้าน
ปลามีตา แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ดงกล้วยไม้รองเท้านารี อากาศเย็นตลอดปี ถ�้ำแม่ละนา 12 กม ถ�้ำปะการัง 600 กม ถ�้ำเพชร 500 กม ถ�้ำหินไข่มุก 300 กม
03
ในการเริ่มต้นส�ำรวจและหาข้อมูลเพื่อการท�ำงานผลิตสื่อสารคดี
จึงจ�ำเป็นต้องมีการค้นหา ส�ำรวจทรัพยากรวัฒนธรรมหรือมรดกวัฒนธรรม คือการลงภาคสนามสังเกตการณ์ ในพื้นที่ที่สนใจส�ำรวจ ทรัพยากรวัฒนธรรมเพื่อให้เข้าใจและเข้าถึงวัฒนธรรมใดๆ ที่ต้องการบอกเล่าหรือถ่ายทอด นับได้ว่าส�ำคัญเป็นอันดับแรกเริ่มต้นหา “ความคิด (Idea)” หาเรื่องราวจากท้องถิ่นของเรา เตรียมความคิดให้พร้อมในการเตรียมงานส�ำหรับเผชิญหน้ากับการเปลี่ยนแปลง ในช่วงก่อนและขณะท�ำงาน โดยแบ่งความพร้อมออกได้ดังนี้ การค้นหาแรงบันดาลใจจากแหล่งต่างๆ
เช่น การอ่าน การพบปะบุคคล การค้นหาสถานที่ การเดินทาง การเข้าร่วมงานประเพณี การเข้าร่วมเหตุการณ์ต่าง ๆ และถาม ตัวเองว่า
“
อะไรที่ประทับใจคุณ ประเด็นอะไรทีท ่ ำ� ให้คณ ุ สนใจ ?
“ เป็นการเตรียมพร้อมที่จะผลักดันให้งานนั้นส�ำเร็จได้ เมื่อเรามี ความต้องการ มีแรงบันดาลใจที่จะท�ำให้ส�ำเร็จผ่านอุปสรรค ทุกอย่างลุล่วงไปได้ การสร้างแนวคิด หลังจาการได้แรงบัลดาลใดแล้ว
การรวบรวมประเด็น และการสร้างประเด็นหลักและรอง การ สร้างข้อย่อยต่างๆ ที่จะสนับสนุนให้ประเด็นนั้นเข้มแข็ง เพราะ ประเด็นนี้จะท�ำให้เราได้เห็นภาพโดยรวม ก่อนถ่ายท�ำ และ สามารถเตรียมพร้อม รับมือกับสิ่งที่เปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น ใน ช่วงการท�ำงาน เช่น เราต้องการถ่ายท�ำประเด็นการท�ำงานของ คนลากแพที่ถ�้ำลอดเพื่อศึกษาเรื่องการจัดการ จัดระเบียบบริหาร งานของแพน�ำเที่ยวถ�้ำลอด แต่เมื่อถ่ายท�ำไปแล้ว พบว่าการ ท�ำงานแพท่องเที่ยวนั้น มีความเกี่ยวข้องส�ำคัญกับการถือตะเกียง น�ำเที่ยว หากเราคิดประเด็นไว้เผื่อแล้ว ก็จะสามารถปรับ กระบวนการท�ำงานได้ ไม่ต้องกลับไปค้นคว้าข้อมูลเพิ่ม คือ ท�ำการปรับแนวคิดเท่านั้น
การจ�ำกัดขอบเขตของความคิดนั้นให้แคบลง เพื่อการท�ำงาน
เลือกตัวแทน ในการบอกถึงสิ่งที่อยากจะเล่า หรือตัวแทนของ ปัญหา “ การสร้างภาพเล็กเพื่อแทนภาพใหญ่ ” เช่น การเล่า ปัญหาของสิ่งแวดล้อม แต่ จ�ำกัดวงไปที่ขยะ และจ�ำกัดขอบเขต ไปที่ ผลกระทบของขยะต่อชุมชน เมื่อแนวคิดแคบลงก็สามารถ จัดการได้ สามารถสร้างภาพคร่าวๆ เพื่อการท�ำงาน ส่วนนี้จะ เป็นส่วนที่ส�ำคัญที่จะท�ำให้เราเลือกและคัดสรรเรื่องให้ง่ายและ ตรงประเด็นในการใช้ภาพยนตร์อภิปรายประเด็นหัวข้อได้ดีที่สุด การด�ำเนินการหาข้อมูลรอบด้าน
ควรต้องค้นคว้าทั้งทางเอกสาร ภาพถ่าย และการรวบรวมข้อมูล จากแหล่งอื่น ๆ อาจรวมถึงการลงภาคสนามเบื้องต้น ในการ หาความร่วมมือจากชุมชน ก่อนการเข้ามาถ่ายท�ำ การถ่ายท�ำ คนในชุมชน ควรมีการแนะน�ำตัวและรู้จักคนในชุมชนก่อนลงไป ปฏิบัติงานในชุมชน การสร้างหรือขอความร่วมมือ ความไว้เนื้อ เชือ่ ใจนับได้วา่ เป็นส่วนทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ ในภาพยนตร์มานุษยวิทยาทัศนา การวางแผนงานการท�ำงาน
ในสนามของการถ่ายท�ำภาพยนตร์มานุษยวิทยาทัศนานัน้ การท�ำงาน ลักษณะงานเป็นแบบเฝ้ามองสังเกตการณ์ สิ่งที่จะเผชิญหน้า ระวังการท�ำงานภาคสนามไม่สามารถคาดเดาได้ ไม่แม้แต่จะ ก�ำหนดทิศทางการเดิน นั่ง หรือคุยกับผู้ที่เราเฝ้า แต่ก็เป็นการดี ที่เรามีโครงสร้างของเรื่องอยู่คร่าวๆในหัว โดยการสรุปความคิด ให้ เ ป็ น แนวทางเอาไว้ และเมื่ อ เผชิ ญ สถานการณ์ ข องความ เปลี่ยนแปลงแล้ว เราก็จะปรับหัวข้อได้ทันตามสถานการณ์นั้นๆ ภาพยนตร์มานุษยวิทยาทัศนา Visual Anthropology
63
03
ที่มา : CBT BAAN JABO
ตัวอย่าง เบื้องต้น ส�ำหรับการน�ำเสนอเรื่อง
“
เป็นภาพยนตร์เกี่ยวกับมนุษย์ กระบวนการการผลิตภาพยนตร์ชาติพันธุ์คือการ เข้าไปสัมผัสและมีประสบการณ์ตรงกับคนและใช้เวลาในการสังเกตและเรียนรู้วิถีชีวิตของเขา นี่คือกระบวนการสร้างความเข้าใจวัฒนธรรม บันทึกและน�ำเสนอเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริง
“
(ปีเตอร์ ครอว์เฟิร์ด, แกรี่ คิลเด.2556: หน้า 5)
การคิด ค้นหา ประเด็น แบบเบื้องต้นในการท�ำงานเพื่อท�ำให้เราสามารถจ�ำกัด ขอบเขตการท�ำงาน และตรวจสอบความคิดก่อนการท�ำงาน การท�ำเสนอหัวข้อเพื่อเป็นการ สรุปแนวคิด แนวทางในการท�ำงานเนื่องจากเมื่อเราต้องลงไปปฏิบัติงานในพื้นที่ อาจต้องมี การชี้แจงหรืออธิบายความให้ชุมชน หรือหากต้องติดต่อกับหน่วยงานต่างๆ จะท�ำให้เรา มั่นใจได้ว่า ทุกภาคส่วนจะเข้าใจการท�ำงานของเราไปในทิศทางที่สอดคล้องกัน
64
03
น�ำเสนอหัวข้อ (Proposal)
01 ชื่อที่น่าสนใจ เป็นชื่อที่มีค�ำส�ำคัญของภาพยนตร์อยู่ด้วย เพราะชื่อคือสิ่งแรกที่เรียกร้องความสนใจต่อผู้ชม และสะท้อนให้เห็นภาพร่างของภาพยนตร์ เช่น พันปีผีแมน เป็นภาพยนตร์เกี่ยวกับนักโบราณคดีในการขออนุญาตขุดส�ำรวจแหล่งโบราณคดี กับความเชื่อของชุมชนเกี่ยวกับ “ผีแมน”, สายน�้ำติดเชื้อ เรื่องราวของหมู่บ้านกับการปนเปื้อนของสารตะกั่วในล�ำห้วยคลิตี้, เพลงของข้าว เนื้อหาเกี่ยวกับการ เฉลิมฉลองวิถชี วี ติ ชาวนาทีเ่ กีย่ วพันกับข้าวผ่านภาพและบทเพลง การตัง้ ชือ่ เรือ่ ง สมพร มันตะสูตร (2525.หน้า175) ได้เสนอแนวทางไว้ดงั นี้
ชื่อเรื่องต้องสั้นใช้ถ้อยค�ำง่ายๆตรงไปตรงมา เช่น คน หุ่น, แรงงานต่างบ้าน, ซาเล้ง
อาจใช้ค�ำคม หรือสุภาษิต เช่น กระบี่อยู่ที่ใจ สวรรค์เบี่ยง
อาจใช้ค�ำกริยาแสดงอาการ เช่น เอลวิส ออกแบบได้, ฝากเลี้ยง
อาจใช้ค�ำที่มีความหมายคล้องจอง เช่น นั่งรถกินลม, ขาสั้น คอซอง
อาจใช้ค�ำที่มีความหมายตรงข้าม เช่น มลาบรี คนเถื่อน ชาวไร่หรือผู้อารยะ
ภาพ: การท�ำบุญถ�้ำน�้ำลอด บ้านถ�้ำลอด อ.ปางมะผ้า จ. แม่ฮ่องสอน ที่มา : ภาพยนตร์ “พันปีผีแมน”
ภาพยนตร์มานุษยวิทยาทัศนา Visual Anthropology
65
03
66
02
03
หลักการและเหตุผล
ประเด็นที่น่าสนใจ
ค้นคว้าหาค�ำตอบว่า ท�ำไมถึงสนใจ และจะผลิตชิ้นงานด้วย เหตุผลอะไร เช่น เพื่อการศึกษา
ค้นคว้าเบื้องต้นจากเอกสาร หรือ จากประสบการณ์ ว่า ประเด็นที่สนใจอยากท�ำ อะไรน่าสนใจแง่มุมไหนที่น่าน�ำ เสนอ เช่น งานขุดค้นแหล่งโบราณคดี ประเด็นที่น่าสนใจ คือ งานโบราณคดีการขุดค้น ชาวบ้านเจ้าของพื้นที่มีความเชื่อกับ อหล่งโบราณคดีหรือไม่อย่างไร เป็นต้น
04
05
ประเภทของสารคดี
โครงเรื่อง
จากประเด็นจะน�ำมาสู่ลักษณะการน�ำเสนอ คือ ถ้าเราท�ำ ประเด็นความเชื่อ หรือประเพณีในท้องถิ่น สามารถน�ำเสนอ ได้แบบท่องเที่ยว แบบรายงานพิเศษ แบบวิถีชีวิต หรือ แบบ มานุษยวิทยาทัศนา
หมายถึงการเล่าเรื่อง ที่จะท�ำให้ประเด็นที่เราต้องการชัดเจน เข้าใจยากหรือง่าย ตัวอย่าง งานท�ำพิธีไหว้ถ�้ำประจ�ำปีบ้านถ�้ำ ลอด มีขึ้นเพื่อขอบคุณธรรมชาติและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ได้ให้ชาว บ้านได้ใช้ถ�้ำเพื่อเป็นประโยชน์ ในการท่องเที่ยว โครงเรื่องเล่า จากวันก่อนมีการท�ำพิธี การเตรียมงาน สถานที่ อาหาร วันงาน งานพิธี ชาวบ้านตื่นแต่เช้า ต่างพากันออกมาท�ำบุญ พิธีกรรม จนกระทั่งเสร็จ มีการแทรกบทสัมภาษณ์ หรือ เล่า ประวัติความเป็นมา ความเชื่อของผู้เฒ่าผู้แก คนรุ่นใหม่ใน หมู่บ้านมีความเห็นอย่างไร
06
07
การน�ำเสนอ
สถานที่ถ่ายท�ำ
เมื่อได้เรื่อง ได้ประเด็น ได้โครงเรื่อง การน�ำเสนอให้น่าสนใจ เป็นส่วนหนึ่งที่ส�ำคัญในการท�ำงาน เช่น เราจะให้คนมาเป็น พิธีกรมาบรรยาย หรือ รายงานน�ำผู้ชมไปรู้จักการท�ำการ เกษตรวิถีใหม่ไม่ใช้สารเคมีที่บ้านห้วยไร่ หรือ น�ำเสนอแบบ ติดตามชีวิตของป้าคนชาติพันธุ์ตั้งแต่เช้าจรดเย็น และหลาย วันเพื่อน�ำเสนอการเกษตรวิถีใหม่ไม่ใช้สารเคมี เห็นการ ท�ำงานแบบไม่ต้องบรรยาย
ศึกษาภาคสนาม สร้างขอบเขตการท�ำงาน เพื่อการวางแผน ตัวอย่างจากการอบรมเชิงปฏิบัติการ ถ่ายท�ำงานประเพณี “ต่างซอมต่อโหลง” ที่มีงานเตรียมพิธีตั้งแต่ก่อนวันงานจน เที่ยงคืนและเช้าวันพิธีถึงเที่ยงคืนสถานที่ถ่ายท�ำมี วัด ศาลา วัด บ้านบุคคลที่เราจะให้เป็นคนน�ำด�ำเนินเรื่อง ต้องวางแผน ว่าจากสถานที่เราจะใช้เวลาในแต่ละที่เท่าไร่อย่างไร ในการ ถ่ายท�ำข้อมูลให้เพียงพอ
03
08
ระยะเวลาการท�ำงาน
ที่มา: คณะวิจัย
การจัดการเวลาและการลงพื้นที่ท�ำงาน เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับปัจจัยอื่นๆมาก เช่น บุคคลที่เราตองการน�ำเสนอในเรื่องมีกี่คน อยู่หมู่บ้านเดียวกันหรือเปล่า แต่ละคนจะใช้เวลาในการสัมภาษณ์มากน้อยอย่างไร เช่น หากเราสัมภาษณ์และต้องการได้ภาพวิถีชีวิตของ ลุงอายุ 60 กว่าปี ท�ำงานอดิเรกเป็นคนน�ำทางนักท่องเที่ยวขึ้นไปชมแหล่งโบราณคดีเพิงผาบ้านไร่ เราอาจจะใช้เวลา 2 วันเพื่อถ่ายภาพ การใช้ชีวิตในหนึ่งวันของแกและอีกครึ่งวันในเรื่องการน�ำทางสู่แหล่งโบราณคดีเพิงผาบ้านไร่ การเดินขึ้นเพิงผาอาจใช้เวลาปกติเพียง 1 ชั่วโมง แต่หากถ่ายท�ำต้องเพิ่มเวลาการท�ำงานถ่ายท�ำระหว่างทางด้วย เช่น สัมภาษณ์ลุงระหว่างทาง การถ่ายบรรยากาศทั่วไป ล�ำน�้ำลาง ชีวิตธรรมชาติ สัตว์ในป่า ความอุดมสมบูรณ์ธรรมชาติ ภูมิประเทศรอบๆแหล่งโบรานคดี รายละเอียดเล่านี้ควรค�ำนึงถึงด้วย ในการก�ำหนดเวลาท�ำงาน หากเวลาไม่พอ ภาพที่จะใช้ไม่เพียงพอ การกลับไปถ่ายใหม่ท�ำให้เสียเวลา ยุ่งยากแก่เรา และบุคคล ที่เกี่ยวข้อง ที่จะกลับมาท�ำสิ่งเดิม
09 ตัวอย่างค�ำถามคร่าวๆ หรื อ อื่ น ๆแล้ ว แต่ ค วามถนั ด การเตรี ย มค� ำ ถามส� ำ หรั บ การ ท�ำงาน เป็นสิ่งที่จะช่วยให้การท�ำงานมีเป้าหมายที่ชัดเจน และ ง่ายต่อการน�ำไปสู่การอธิบายประเด็นต่างๆในเรื่อง ยกตัวอย่าง เช่น การท่องเที่ยววิถีชีวิตชุมชนบ้านจ่าโบที่มีชื่อเสียง มี ลักษณะภูมิประเทศอย่างไร อะไรคือสิ่งดึงดูดนักท่องเที่ยว มี ที่มาอย่ า งไร ใครเป็ น คนส� ำ คั ญ วิ ถี ชี วิ ต ของชุ ม ชนเกิด การ เปลี่ยนแปลงหรือไม่ ค�ำถามเหล่านี้จะท�ำให้เราเตรียมพร้อมเมื่อ เราเข้าไปในพื้นที่ และเรารู้ว่าเราต้องเก็บภาพอะไรบ้าง พบใคร บ้างไปไหน ตรงไหนที่ควรไปเพื่อตอบค�ำถามเหล่านี้
10 การท�ำ Shot list คร่าวๆ เพื่อป้องกันความผิดพลาดในการเล่าเรื่อง เช่น ท�ำลิสต์ ของบุคคลที่เกี่ยวข้อง มีส่วนได้ส่วนเสีย สถานที่ที่จ�ำเป็น ต้องมี สภาพพื้นที่ เศรษฐกิจ สภาพความเป็นอยู่ ฯลฯ บน : การสัมภาษณ์บุคคล บันทึกข้อมูลภาคสนาม อ.ปางมะผ้า จ.แม่ฮ่องสอน ที่มา: โครงการสืบค้นและจัดการมรดกทางวัฒนธรรมอย่างยั่งยืนใน อ�ำเภอปาย - ปางมะผ้า -ขุนยวม จังหวัดแม่ฮ่องสอน ภาพยนตร์มานุษยวิทยาทัศนา Visual Anthropology
67
03
บทที่3 การท�ำงานถ่ายท�ำสารคดี เชิงมานุษยวิทยา Observational cinema
การท�ำงานถ่ายท�ำ (Production) มานุษยวิทยาทัศนา นั้นเป็นการท�ำงานภาพยนตร์ในแบบ เฝ้ามองสังเกตการณ์ การเตรียมตัวในการท�ำงานถ่ายท�ำ สารคดี ในแบบมานุษยวิทยาทัศนา โดยรวมนั้นจึงแตกต่างจากการเตรียมงานการถ่ายท�ำสารคดีทั่วไป ประการแรก การที่ทีมงานควรให้ความเคารพต่อเจ้าของวัฒนธรรม ดังนั้นการท�ำความคุ้นชินกับพื้นที่ ที่จะลงท�ำงานภาคสนาม เพื่อท�ำเข้าใจกับชุมชนและสร้างความคุ้นชินกับพื้นที่ต่อการปฏิบัติตัวของทีมงานไม่ให้เป็นประพฤติต้วที่จะก่อให้ เกิดการล่วงละเมิดต่อใดๆ ต่อศีลธรรมและความเชื่อของชุมชน ข้อส�ำคัญอีกประการ คือการใช้ทีมงานจ�ำนวนน้อย อย่างต�่ำ 1 คนและไม่เกิน 5 คน เพราะการที่ทีมงานมากจะเกิดความไม่คล่องตัวทั้งต่อผู้ที่เราเฝ้าสังเกตการณ์ และ ความคล่องตัวในการเคลื่อนที่ของกองถ่าย
เลือกวิธีการท�ำงานที่สัมพันธ์กับมุมมองที่จะใช้ในการถ่ายท�ำ การบันทึกภาพบุคคลหลักในเรื่องและเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับบุคคลนั้น โดยบันทึกวิถีชีวิตของบุคคลที่เป็นคนหลักใน การเดินเรื่อง ความเป็นอยู่ การด�ำเนินชีวิต เพื่อน หรืออะไรที่บุคคลนั้นผูกพัน เช่นความเชื่อ จะปรากฏอยู่ในที่ๆ เขากราบไหว้ หรือ เซ่นของ หรือ รอยสัก การเข้าร่วมงานประเพณี หนังสือที่อ่าน สิ่งที่อยู่รอบๆตัวที่คนถ่ายท�ำ ต้องสังเกตและบันทึกภาพไว้
68
03
วิธีการท�ำงานที่ท�ำให้เกิดความไว้เนื้อเชื่อใจ
ต่อบุคคลที่เราเฝ้าสังเกตการณ์บันทึกภาพ การใช้มุมกล้องในการถ่ายท�ำเป็นสิ่งส�ำคัญที่สุดในการถ่ายท�ำ เพราะการบันทึกภาพแบบ Observe นั้นจะไม่วางต�ำแหน่งกล้องที่มีลักษณะ คุกคาม หรือจัดการมากเกินไป การใช้ กล้องบันทึกภาพในฐานะเครื่องมือสังเกตการณ์มี 3 ลักษณะที่สัมพันธ์กับบทบาทและ พฤติกรรมผู้บันทึกในระหว่างถ่ายท�ำ คือ
1 แมลงวันที่เกาะผนัง -The Fly-on-the-wall : ไม่เป็นที่สังเกตเห็น ไม่ปรากฎตัวตนของกล้องและผู้บันทึกภาพในหนัง การท�ำงานของ กล้องเป็นแบบนิ่งเฉยเฝ้าสังเกต ถูกอธิบายว่าเป็นลักษณะของ observational style camera เสมอ แต่ก็ไม่เสมอไป เพราะอาจมี ปฏิสัมพันธ์กันระหว่างผู้ถ่ายและผู้ถูกถ่าย 2 แมลงวันว่ายในถ้วยซุป -The Fly-in-the-soup: กล้องและตากล้องมีบทบาทเป็นผู้กระตุ้นเหตุการณ์ กล้องเป็นสื่อส่วนหนึ่งที่ท�ำให้เกิด การกระท�ำนั้นๆ มีตัวตน มีการพูดกับกล้องและอธิบาย เปรียบเหมือนการมีตัวตนของ กล้องและผู้บันทึกมีบทบาทในการกระตุ้นเร้าสิ่งที่อยู่ตรงหน้า 3 แมลงวันเกาะดวงตา -The Fly-on-the-I (eye): กล้องเป็นส่วนหนึ่งของเหตุการณ์ กล้องถ่ายท�ำและสะท้อนตัวตนของ filmmaker ในนั้นด้วย “กล้องซึ่งถ่ายผู้อื่นอยู่ ก็อาจหันกลับมาเห็นผู้บันทึกภาพยนตร์ด้วยว่า ก�ำลังคิดอะไร เป็นการส่องสะท้อน (reflexivity) บทบาทของกล้องหรือการถ่ายท�ำ อยู่ที่ใดในเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น” (ฉันทนา ค�ำนาค.2556: หน้า 20)
จากลักษณะที่กล่าวมาจะพบว่า การถ่ายท�ำภาพยนตร์สารคดีชาติพันธุ์นั้นจะเป็นการถ่ายท�ำที่เล่าเรื่อง โดยมีคนในวัฒนธรรมชุมชนนั้นๆ เป็นเสมือนตัวแสดง ซึ่งด�ำเนินชีวิตตามปรากฏการณ์ของโลก ไม่ว่าจะมีกล้องอยู่ตรงหน้าหรือไม่ก็ตาม
ผู้บันทึกและผู้ถูกบันทึกจึงมีลักษณะที่สัมพันธ์กัน โดยเน้นการมีส่วนร่วม การได้รับความร่วมมือ (collaboration) เพื่อให้ผลการถ่าย เป็นไปอย่างเป็นธรรมชาติ เตรียมอุปกรณ์ให้พร้อมก่อนออกไปถ่ายท�ำ เช่น การท�ำลิสต์ของอุปกรณ์ กล้อง เลนส์ ขากล้อง แบตตารี่กล้อง เมมมอรี่การ์ค อุปกรณ์กันน�้ำ ท�ำความสะอาด การใส่เสื้อผ้าที่คำ� ถึงความคล่องตัวในการท�ำงานด้วยการถ่ายท�ำ สัมภาษณ์บุคคลอย่างเป็น ธรรมชาติ และสิ่งที่ควรค�ำนึงถึงที่สุดคือ การบันทึกเสียง ที่มีคุณภาพโดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงที่มีการสัมภาษณ์พูดคุยกับคนต่างๆ (ฉันทนา ค�ำนาค.2556: หน้า 17) ภาพยนตร์มานุษยวิทยาทัศนา Visual Anthropology
69
03
เกร็ดส�ำคัญ เทคนิคการสัมภาษณ์ (Interview technique)
70
ทีมงานน้อยควบคุมง่าย ในกองถ่ายควรมีจนวนคนอย่างน้อยที่สุด 1 -3 คน หรือ มากที่สุด 5 คนเท่านั้น เช่น คนถ่ายท�ำ คนสัมภาษณ์และบันทึกเสียง
การเตรียมค�ำถามล่วงหน้า
ศึกษาและท�ำความรู้จัก ผู้จะสัมภาษณ์
การให้เวลา ก่อน-เริ่มต้น-ระหว่าง
เพื่อให้แน่ใจว่าครอบคลุม ปรับเปลี่ยนได้ ตามสถานการณ์ แ ละเข้ า ถึ ง ประเด็ น ที่ ต้องการ อย่างไรก็ตามการตั้งค�ำถามควร เริ่มจากการสร้างความสัมพันธ์ พูดคุยก่อน เพือ่ สร้างบรรยากาศไว้เนือ้ เชือ่ ใจ ไม่รีบร้อน และไม่คาดคั้น ค�ำถามควรมีการปรับได้ ตามสถานการณ์ของการพูดคุยสัมภาษณ์
เพื่อให้แน่ใจว่าการตั้งค�ำถามจะเหมาะสม กับบุคคล เช่น ถ้าเป็นผู้สูงอายุ การได้ยิน จะน้อ ยต้ อ งถามสั้ นและเข้ า ใจง่ า ย หรื อ ผู้ถูกสัมภาษณ์ก�ำลังอยู่ในภาวะพร้อมหรือ มีภารกิจอยู่ก็ควรหลีกเลี่ยง การรอเพื่อ โอกาสที่ดีควรจะ “รอ”
การสั ม ภาษณ์ ถ ้ า เป็ น ไปได้ ให้ ช วนผู ้ สั ม ภาษณ์ พู ด คุ ย เพื่ อ สร้ า งความคุ ้ น เคย และจะสร้างบรรยากาศเป็นกันเอง ควรมี การหยุดพักเมื่อเกิดบรรยากาศของความ ตึงเครียด หรือเมื่อสังเกตว่าผู้ให้สัมภาษณ์ เริ่มใช้เวลาในการคิดนานก่อนตอบ และ ประโยชน์ในการพูดคุยซักถามโดยให้เวลา จะสร้างความคุ้นเคยสามารถน�ำไปสู่การ ให้ข้อมูลในเชิงลึกได้
03
การจัดต�ำแหน่งแห่งที่ของกล้อง ให้ได้มุมมองสวยงามและเหมาะสม ควรค�ำนึงถึงดังนี้
พื้นที่สัมภาษณ์
แสงสว่างเพียงพอ
สภาพแวดล้อม
ควรเป็นพื้นที่ที่ไม่มีเสียงรบกวนมากนัก ไม่ พลุ ก พล่ า น เสี ย งที่ มี ป ั ญ หามากในการ ท�ำงานคือ เสียงมอเตอร์ไซด์ เสียงกรีดร้ อ ง ของเด็ก เสียงทีม่ ลี กั ษณะแหลมให้หลีกเลีย่ ง
ควรให้ผู้ถูกสัมภาษณ์หันหน้าไปทางที่มีแ สง เช่ น หัน ไปทางหน้าต่าง ประตู ช่องแสง เนื่ อ งจากการบั น ทึ ก ภาพด้ ว ยกล้องจะได้ ภาพสวยชั ด เจน เมื่ อ มี แ สงเพี ย งพอหลีก เลี่ยงเวลากลางคืนหรือที่ที่มีแสงน้อย สังเกต ได้จากน�้ำหนักเงาในกล้องถ้าหนาทึบคือแสง ไม่เพียงพอ หรือภาพแตกไม่คมชัด
ควรจัดพืน้ ทีส่ ำ� หรับผูใ้ ห้สมั ภาษณ์ให้เหมาะสม รู้สึกสบาย ไม่มีปรากฏการณ์ที่ท�ำให้อยู่ใน อาการรีบเร่ง ไม่สะดวก หรือเขินอายต่อ บุคคลแวดล้อม
ต�ำแหน่งผู้สัมภาษณ์
การโต้ตอบระหว่างสัมภาษณ์
การเคลื่อนไหวของทีมงาน
ผู้สัมภาษณ์ควรนั่งคุยข้างกล้อง เพื่อรักษา การมอง สายตา (eye line) ของผู้สัมภาษณ์ ให้อยู่ในต�ำแหน่งไม่วอกแวก เหมาะสม ไม่ ต�่ำหรือสูงเกินไป ผู้ตั้งค�ำถาม ให้อยู่ระดับ เดียวกันกับผู้ให้สัมภาษณ์
ผูส้ มั ภาษณ์ตอ้ งเป็นผูฟ้ งั ทีด่ ไี ม่เปล่งเสียงใดๆ ในระหว่างสั ม ภาษณ์ ที่ จ ะรบกวนสมาธิ ของผู ้ พู ด ข้อห้ามที่ส�ำคัญคือ ห้ามไม่ให้ส่ง เสียงตอบรับ เช่น อืม อ๋อ ครับ ค่ะ เพราะจะ เกิ ด เสี ย งซ้ อ นทั บ กั น ระหว่ า งการสนทนา ท�ำให้เกิดอุปสรรคในขั้นตอนการตัดต่อได้
พยายามให้ทีมงาน อยู่ในสภาพที่สงบนิ่งไม่ เดินไปมา หรือ ลุกนัง่ ด้วยความระมัดระวังเพื่อ ไม่ให้รบกวน การสัมภาษณ์ หรือท�ำให้ผู้ถูก สัมภาษณ์เสียสมาธิ
?
ภาพยนตร์มานุษยวิทยาทัศนา Visual Anthropology
71
03
72
ภาพแทรก (Insert, Cut away)
ขนาดภาพ (shot sizes)
ความละเอียดอ่อน
ควรมีการบันทึกบรรยากาศรอบๆของผู้ถูก สัมภาษณ์ด้วย หมายถึง สภาพแวดล้อม บ้าน เวลา หรือ พื้นที่ รอบๆ ตัว ก่อนและ หลังการถ่ายท�ำ เพื่อบันทึกสภาพ เวลา สถานที่ สภาพเหตุ ก ารณ์ ร อบๆ ที่ เ กิ ด ขณะนั้ นด้ ว ย ซึ่ ง สามารถใช้ แ ทรกภาพ การสัมภาษณ์ได้เพื่อไม่ให้การสัมภาษณ์น่า เบื่อ หรือเมื่อมีปัญหาในขั้นตอนการตัดต่อ
ควรเปลี่ยนขนาดภาพบ้าง เมื่อมีโอกาส ช่วงที่เหมาะ คือช่วงที่เริ่มตั้งค�ำถามใหม่ ช่วงเปลี่ยนค�ำถาม บันทึกกิริยาอาการของ คนให้ สั ม ภาษณ์ ข ณะรอค� ำ ถาม และพั ก การสัมภาษณ์ หรือช่วงไม่เป็นทางการ
ไหวพริบระหว่างการถ่ายท�ำ ในการบันทึก งานประเพณี หรื อ งานส� ำ คั ญ ต่ า งๆใน หมู่บ้าน ชุมชน การมีส่วนร่วมระหว่างคน และชุมชนที่จะสามารถอธิบาย ที่มาของ ความเป็นอัตตลักษณ์ เช่น ร้านน�้ำชาของ ชาวมุสลิม งานท�ำบุญของชาวไทใหญ่ ฯลฯ ควรมี ก ารสอบถามขั้ น ตอนของงานนั้ น ๆ หรื อ ขอบเขต เพื่ อ ไม่ ใ ห้ เ ป็ น การรุ ก ล�้ ำ และรบกวนในพื้นที่หวงห้าม ส�ำหรับบุคคล นอกวัฒนธรรม
การจดบันทึกและบันทึกภาพ
การตรวจสอบการบันทึกภาพและเสียง
การจดบันทึกหรือบันทึกภาพสถานที่ และ ชื่อเรียกสถานที่นั้นๆ ที่เกี่ยวข้องในเนื้อหา ของเรื่ อ งเพื่ อ ใช้ ใ นการอธิ บ ายเรื่ อ งราว ต่างๆ ง่ายต่อการสื่อสารด้วยภาพ
การถ่ายโอนไฟล์และท�ำบันทึกการถ่ายท�ำ ควรท� ำ ทุ ก วั น หลั ง เสร็ จ สิ้ น การบั น ทึ ก เพื่ อ ความแน่ใจว่าจะไม่เกิดข้อผิดพลาด ควรมี ฮาร์ดดิสขนาดใหญ่ ส�ำหรับเก็บไฟล์ข้อมูล ถ่ายท�ำเสมอเพื่อการจดจ�ำ การจดบันทึก
ประจ�ำวัน จะช่ว ยให้ จ ดจ� ำ รายละเอี ย ด เหตุการณ์ต่างๆได้ง่ายขึ้น เช่น ต้องเพิ่มค�ำ อธิบาย ใส่ตัวหนังสือ หรือในกรณีที่ต้อง ค้นคว้าเอกสารเพิ่มเติม
03
บทที่ 4
ความรู้พื้นฐานการเรียงเรียง ล�ำดับภาพและเนื้อหาวีดีโอ การตัดต่อล�ำดับภาพ (Post production)
You cannot make a silk purse out of a sow's ear - เราไม่สามารถท�ำงานคุณภาพดีได้จากวัตถุดิบที่ไร้คุณภาพ Bruce Mamer.2539. หน้า: 377) เป็นค�ำกล่าวที่เป็นจริง มักได้ยินอยู่เสมอเมื่อเข้าสู่กระบวนการตัดต่อภาพยนตร์ นอกเหนือ จากการเตรียมงาน การถ่ายท�ำที่ดีแล้ว ในขั้นตอนสุดท้ายเป็นขั้นตอนที่จะท�ำให้ทุกอย่าง เป็นภาพยนตร์คือกระบวนการตัดต่อเรียบเรียงให้เล่าเรื่อง กระบวนการตัดต่อเพื่อล�ำดับภาพ การเรียบเรียงภาพ สู่การเล่าเรื่องตามที่ก�ำหนดไว้ เมื่อถ่ายท�ำเป็นกระบวนการที่ส�ำคัญที่จะน�ำไปสู่ประเด็นที่ต้องการจะเล่าสู่ผู้ชม แบบไหน อย่างไร กระบวนการนี้มีความเป็นไปได้หลากหลายแนวทาง ซึ่งขึ้นอยู่กับสิ่งที่เราบันทึกมา ครบถ้วนตามที่ต้องการ หรือเกิดการปรับเปลี่ยนตามสถานการณ์ที่เกิดขึ้นระหว่างถ่ายท�ำ ที่ท�ำให้การเล่าเรื่องนั้นอาจจะไม่ได้ตรงไปตรงมา ตามที่ตั้งใจไว้ เช่น การสัมภาษณ์ที่ ผู้สัมภาษณ์ต้องการให้บันทึกเสียงได้แต่ไม่ต้องการให้บันทึกภาพ หรืออาจเป็นไปในทาง ตรงกันข้ามที่ผู้สัมภาษณ์ให้สัมภาษณ์ตรงประเด็นแต่เนื้อหาอาจจะมีผลกระทบกับเจ้าของ พื้นที่วัฒนธรรมซึ่งอาจมีผลกระทบต่อผู้ให้สัมภาษณ์อีกด้วย ทั้งสองกรณี เป็นกรณีที่ พบบ่อยครั้ง ที่การตัดต่อจะต้องใช้ชั้นเชิงการเล่าเรื่องเพื่อหลีกเลี่ยงผลเสียหายที่อาจจะ เกิดขึ้นภายหลัง
การคัดกรองและแยกแยะส่วนต่างๆ ก่อนท�ำการตัดต่อเรียบเรียง
จึงเป็นเรื่องต้นๆ ในการจัดล�ำดับ ความส�ำคัญของเนื้อหาที่จะใช้ในตัวงาน การแยกส่วนที่ดีเก็บไว้และส่วนที่ไม่ใช่ ออกเพื่อการท�ำงานที่รอบคอบ และรวดเร็ว
การตัดต่อ (Editing) เป็นกระบวนการคัดสรรส่วนที่ดีในแต่ละช็อท (Shot) ที่สามารถตอบสนองการเล่าเรื่อง ซึ่งส่วนอื่นๆนอกเหนือจากนั้นก็จะถูกคัดทิ้งไป (Bruce Mamer.2539. หน้า: 377) ภาพยนตร์มานุษยวิทยาทัศนา Visual Anthropology
73
03
การเตรียมข้อมูล
1 2
ขั้นตอนนี้จะเป็นการเข้าไปส�ำรวจวัตถุดิบทุกอย่างที่มี และจัดการคัดแยกส่วนที่ไม่ส�ำคัญต่อการเล่าเรื่องออกในเบื้องต้น
การจัดการกับฟุตเทจ (Footages) คือ การน�ำภาพเคลื่อนไหวที่ถูกบันทึกมา (Footages) จัดเป็นหมวดหมู่ ตามวันหรือ ตามประเด็นหัวข้อที่ต้องการ
การถอดเทป คือ การน�ำค�ำสัมภาษณ์ มาถ่ายทอดเป็นตัวหนังสือเพื่อง่ายต่อความเข้าใจ คัดกรองเนื้อหา ได้ง่ายขึ้น ทุกๆ สัมภาษณ์ อาจมีการแปลให้เป็นภาษาที่เราเข้าใจ เช่น ภาษาท้องถิ่น หรือภาษาต่างประเทศที่มีการเรียงล�ำดับการค�ำพูด การใช้ค�ำที่ดูสับสนในการเรียบเรียง เป็นภาษาไทยมาตรฐาน สามารถจัดเรียบเรียงใหม่ให้เข้าใจเป็นประโยคที่เข้าใจง่ายแต่ยัง คงเนื้อหาเดิมไว้เป็นหลัก
คัดแยกและจดบันทึก ข้อมูล ภาพนิ่ง ภาพจากคลังภาพ ภาพเก่า ภาพนิ่งที่ถ่ายคัดลอกจากหนังสือ เสียงบรรยากาศ เสียงดนตรีทั้งเรียบเรียง หรือ ดนตรีประกอบ การ capture ไฟล์ การน�ำไฟล์จากแหล่งอื่น เข้าโปรแกรมตัดต่อเพื่อแปลงเป็นนามสกุลเดียวกัน เหล่านี้ควรจะเตรียมคัดแยก จดบันทึกไว้ เพื่อสะดวกเมื่อต้องการน�ำไปใช้งาน
74
03
การประกอบ โครงสร้างของเรื่อง (Assembly)
หลังจากที่ท�ำการส�ำรวจข้อมูลและวัตถุดิบต่างๆแล้วคัดแยก คัดสรร เนื้อหา ประเด็น สัมภาษณ์ตามที่เราถ่ายท�ำมาส่วนที่จะใช้งาน ส่วนที่คัดออกหรือเป็นส่วนที่ดีที่ส�ำรองไว้ใช้ ในขั้นตอนนี้จะเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ ประกอบด้วย 3 ส่วนด้วยกันคือ
การตัดต่อภาพ เป็นการเริ่มการตัดส่วนที่จะใช้งานเบื้องต้น จากจุดหนึ่งไปสู่อีกจุดหนึ่งในแต่ละ Shot น�ำส่วนต่อไปมาต่อกัน เพื่อดูความต่อเนื่องในเบื้องต้น โดยเรียงล�ำดับตามแบบบท (script) ก่อน หากเป็นการถ่ายภาพยนตร์แบบชาติพันธุ์ ภาพยนตร์มานุษยวิทยาทัศนา อาจต้องจัดเรียงตามเวลา ล�ำดับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริง ในกรณีบทสัมภาษณ์ก็จะเป็นการ ตัดส่วนที่คัดเลือกเป็นประเด็นแล้วเก็บไว้
การตัดต่อเสียง
+
เป็นการคัดเลือกเสียงที่จะใช้ หากเป็นการใช้เครื่องอัดเสียงแยก ระหว่างการถ่ายท�ำ ให้ประกอบเสียงและภาพให้ตรงกันเสียก่อนแล้วจึงตัดแยก เมื่อต้องการเลือกแต่ละช่วง ออกมาพร้อมภาพ เสียงบรรยากาศ เสียงพิเศษต่างๆ ในขั้นตอนนี้จะยังไม่ใช่จนกว่าจะถึง ขั้นตอนขัดเกลา แต่ถ้าเป็นเสียงพิเศษที่ต้องมีอยู่ในเรื่องก็ต้องใส่ไว้ เพื่อเป็นแนวทางใน ขั้นตอนต่อไป เช่น เสียงปิดประตูดังขึ้น ภาพเป็นคนสะดุ้งหันไปมอง หากไม่ใส่เสียงก็จะไม่ สามารถรู้ว่าเหตุใดคนหันไปมองพร้อมกัน
การใส่เอฟเฟค (effects) เบื้องต้น เพื่อการทดสอบดูความเหมาะสม โดยปกติการตัดต่อภาพในขั้นตอนของร่างแรกนั้น จะมุ่งประเด็นความสนใจไปที่การเล่าเรื่อง เป็นการมองให้เห็นภาพกว้างของการเล่าเรื่อง ทั้งหมดว่า สิ่งที่ถ่ายท�ำมาตามแผนนั้น เมื่อน�ำมาตัดต่อเรียบเรียงแล้ว เข้าใจไปในทิศทางที่ ต้องการไหม หรือไม่อย่างไร การล�ำดับความก่อนหลังดีหรือยัง จังหวะการเล่าเรื่อง วิธีการ เล่าเรื่องสามารถเล่าได้กี่แบบ แบบไหนบ้าง การสลับสับเปลี่ยนจะสามารถท�ำได้ง่ายใน ขั้นตอนนี้ ความยาวของหนังสั้นยาวมากน้อยอย่างไร การใช้เอฟเฟคเบื้องต้นจะเป็นแบบ ง่ายไม่ซับซ้อน คือ dissolve (การเปลี่ยนภาพด้วยการเลือน) superimpose (การท�ำ ภาพซ้อน) fade in(การเลือนภาพเป็นด�ำ) fade out (การค่อยๆปรากฏภาพขึ้นมา). ภาพยนตร์มานุษยวิทยาทัศนา Visual Anthropology
75
03
เวลาของภาพยนตร์: การตัดต่อที่นิยมโดยหลักการทั่วไปควรให้เนื้อหากระชับ และเข้าใจง่าย ไม่ยืดเยื้อ โดยปกติจะท�ำให้ อยู่ในความยาวจะอยู่ที่ประมาณ 3-5 - 8 -15-30 นาที (เป็นเวลามาตรฐานของช่วงเวลาที่น�ำไป ปรับใช้ได้ส�ำหรับสื่อหลากหลาย เช่น โทรทัศน์ เทศกาลหนัง สื่อออนไลน์ เป็นต้น) ในขั้นต้นนี้ควร คัดสรรประเด็นและล�ำดับความ ให้ได้เวลาอย่างน้อยเกินจากเวลาที่ต้องการไม่เกิน 5 นาที เช่น ต้องการหนัง 8 นาที ในขั้นต้นควรเรียบเรียงประเด็นที่ต้องรวมแล้วไม่เกิน 13 นาที
การตัดต่อเรียบเรียงประกอบโครงร่าง (Rough cut) ขั้นตอนนี้ จะเป็นการเริ่มจะมีขั้นตอนกระบวนการใช้ เทคนิคที่เรียกว่า “ตัดต่อ หรือ Editing” อย่างจริงจังขึน้ เพราะเริม่ มีการใส่ความหมายและสือ่ สารเรือ่ งราวมากขึน้ จากชอตหนึง่ ไปสูอ่ กี ชอตหนึง่ การตัดต่อ (Editing) คือ การเชื่อมต่อ สร้างความสัมพันธ์ระหว่างชอตหนึ่ง (Shot A) กับชอตสอง (Shot B) การตัดต่อสร้างความสัมพันธ์นี้ จะเป็นส่วนที่ให้เกิดการเล่าเรื่องราวที่เกิดขึ้น สู่องค์รวม เรื่องทั้งหมด การตัดต่อภาพยนตร์แบ่งออกเป็น 2 แบบหลัก คือ
1
A
B
การตัดต่อ (Cut) เป็นการน�ำชอตมาเรียบเรียงต่อเนื่องกันจากชอตหนึ่ง ไปสู่อีกชอตหนึ่งให้ความรู้สึกต่อเนื่อง
76
2
A
AB
B
การเชื่อม (Transition) เป็นการเชื่อมชอตสองชอตเข้าด้วยกัน โดยจะท�ำให้ ค่อยกลายเป็น ให้ความรู้สึกราบรื่น
03
1
การตัดต่อแบบ Cut หรือ Match Cut มีหลากหลายแบบ ขึ้นอยู่กับลักษณะของเด่นของแต่ละชอตที่เลือกมาเพื่อเชื่อมกัน เช่น มุมกล้อง ขนาดภาพ การแสดง การเคลื่อนที่ของกล้อง แสง สี เสียง และองค์ประกอบในแต่ละชอต Graphic Match การต่อภาพโดยใช้ลักษณะความคล้ายคลึงกันของภาพ
B
A
Match on Action การตัดต่อใช้การเคลื่อนที่หรือการเคลื่อนไหวภายในภาพ
B
A
Cut Away การใช้ภาพแทรกระหว่างชอตต่อเนื่องกัน
A
B
A
Cross Cut การตัดสลับภาพสองเหตุการณ์เรียงสลับกัน
A
B
A
B
A
ภาพยนตร์มานุษยวิทยาทัศนา Visual Anthropology
77
03
Jump Cut การตัดทอนช่วงเวลาในสถานการณ์ เดียวกันให้สั้นลง ให้ความรู้สึกต่อเนื่อง
A1
A2
A3
Smash Cut การตัดต่อภาพตัวแทนความหมาย เพื่อสื่อสารความรู้สึกที่ต้องการ
A1 A1
A2
A3
L Cut เป็นการใช้เทคนิคด้านเสียงที่เชื่อมต่อไปสู่ภาพในช่วงถัดไป
A
B
J Cut เป็นการใช้เทคนิคของเสียงที่มาจากภาพในช่วงถัดไปให้มาก่อน
A
78
B
03
2 การตัดต่อแบบ Transition Dissolve การจางหายของภาพมีหลากหลายแบบ โดยพื้นฐานคือการจางหายไป
A
AB
B
Cross Disslove การจางหายไปของภาพแรกโดยภาต่อไปจะปรากฏชัดขึ้น
A
AB
BC
Fade in เริ่มต้นจากภาพมืดสนิทค่อยปรากฏภาพชัดเจนขี้น
Black
A
Fade out ภาพชัดเจนปกติค่อยจางและด�ำมืดลง
A
Black
ภาพยนตร์มานุษยวิทยาทัศนา Visual Anthropology
79
03
Iris เทคนิคการเปลี่ยนภาพไปสู่ด�ำโดยใช้รูปทรง เช่น วงกลม, สี่เหลี่ยมค่อยๆท�ำให้ภาพแคบลงจนด�ำสนิท
A
B
Invisible Cut
A
Swift / Invisible
B
Graphic Match การใช้ลักษณะเด่นขององค์ประกอบของภาพ เป็นตัวเชื่อมโยงไปสู่ภาพต่อไป
A
AB
B
Wipe คือการกวาดภาพ A ออกเพื่อภาพ B มาแทน
A
A - wipe - B
ที่มา: https://www.youtube.com/watch?v=OAH0MoAv2CI
80
B
03
เสียง ดนตรี เสียงพากย์ การใส่เสียงในการตัดต่อ เสียงบรรยากาศของเหตุการณ์มีส่วนส�ำคัญ เพราะเป็นเสียงที่ท�ำให้คนดูเข้าใจและ เชื่อถือในภาพนั้นๆ มากกว่าการใส่เสียงเพลงประกอบ การใส่เสียงเพลงไม่ควรใส่ในขณะที่มีการให้สัมภาษณ์อยู่ ยกเว้นแต่เสียงนั้นจะมา จากบรรยากาศเช่น งานบุญงานฉลองที่อยู่ใกล้ๆ ถ้าเป็นไปได้ การถ่ายที่มาของเสียงรบกวน จะช่วยอธิบายสถานการณ์ได้ดียิ่งขึ้นในหนัง
การวางโครงเรื่องคร่าวๆเพื่อดูเนื้อหาในแต่ละช่วง
การจัดการ เริ่มเรียบเรียงจาก Scene และ SEQ ย่อยก่อน เช่น เริ่มตัดต่อแต่ละ scene ของการตักบาตร เพื่อประกอบใน Sequence ชีวิตประจ�ำวันช่วงเช้า เช่น scene 1: ที่บ้านตอนเช้า
scene 2: ออกจากบ้าน
1 ตื่นเช้าเตรียมตัวหุงข้าว 2 ท�ำกับข้าว 3 เตรียมจัดส�ำรับอาหาร 4 ไหว้พระสวดมนต์เช้า
1 เดินออกจากบ้านพบเพื่อนบ้าน 2 พระเดินมา 3 ใส่บาตรกับเพื่อนบ้าน
=
Sequence ชีวิตประจ�ำวันช่วงเช้า
scene 1 บ้านยามเช้า Sequence ชีวิตประจ�ำวันช่วงเช้า
การตื่น , เช้าเตรียมตัวหุงข้าว ท�ำกับข้าว
เตรียมจัดส�ำรับอาหาร ไหว้พระสวดมนต์เช้า
scene 2 ละแวกบ้าน
เดินออกจากบ้านพบเพื่อน
พระเดินมา
ใส่บาตรกับเพื่อน
ภาพประกอบ: แผนผังโครงสร้างการตัดต่อ สร้าง Scene ย่อย สู่การสร้าง Sequence ภาพยนตร์มานุษยวิทยาทัศนา Visual Anthropology
81
03
การท�ำงานเชิงมานุษยวิทยาทัศนา การประกอบสร้างเรื่องจากการตัดต่อนั้นให้เข้าใจว่า เราก�ำลังจะ เล่าความเป็นจริงที่ปรากฏ ให้ดีที่สุดให้น่าสนใจ
ไม่ใช่การสร้างความจริง แม้ว่าการเรียบเรียงเป็นการประกอบสร้างเพื่อเล่าความสรุปเนื้อหาใดๆก็ตาม การประกอบสร้างควรอยู่บนจุดยืนของการเล่า “ความจริง” ให้ “น่าสนใจ” หมายถึงการวางล�ำดับเรื่องให้คนติดตามเข้าใจง่ายถึงประเด็น เปิดประตูให้คนดูคิดและมีส่วนร่วม โดยไม่ชี้น�ำประเด็นและมีผลสรุปให้คนดูคล้อยตามทั้งหมด เช่น การเล่าเรื่องงานประเพณีต่างซ่อมต่อโหลง ถ่ายทอดเรื่องราว ของชาวบ้านโดยเริ่มตั้งแต่เตรียมงานก่อนหนึ่งวันไปจนถึงสิ้นสุดการท�ำงานบุญในวันต่อมา เป็นสารคดีที่เล่าเรื่องโดยภาพ และเสียงบรรยากาศในแบบการเฝ้าสังเกตการณ์ ให้ผู้ชมที่เป็นเจ้าของวัฒนธรรมได้เห็นรวมถึงบุคคลนอกวัฒนธรรมได้ดู และแสดงความเห็นต่อการเปลี่ยนแปลงของงานประเพณี
กล่าวโดยส่วนตัว หนังที่ผมท�ำจะประกอบขึ้นมาจาก 3 Rs คือ
Reflexive
Real
Record
มุมมองของคนถ่ายท�ำ การเฝ้ามอง privilege
สังเกตอารมณ์ อาการ ที่มีอยู่จริง sensual
การบันทึกภาพโดยในองค์ประกอบ อธิบายตัวเองในแบบ Profilmic *
= แฝงความเป็นตัวตน
= ความเป็นจริงทีป ่ รากฏตรงหน้า
= เหตุการณ์
ขั้นตอนการท�ำงานที่ยุ่งยากที่สุดในการตัดต่อ คือกระบวนการตัดต่อในขั้นแบบร่างเพราะอาจจะมีการ ตัดต่อที่ทดลองการเล่าเรื่องหลายแบบ เพื่อหาวิธีการเล่าเรื่องที่ดีและเหมาะสมที่สุดกับหนัง การตัดต่อ แบบร่างอาจจะใช้เวลามากกว่าสามร่างขึ้นไป เพื่อให้ได้การเล่าเรื่องและการสื่อสารความหมายที่ดี * Profilmic คือ สถานการณ์ที่เกิดขึ้นขณะบันทึก เป็นการบันทึกสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในขณะที่สถานการณ์เกิดขึ้นในช่วงเวลานั้นๆ ไม่มี
การเกิดขึ้นซ�้ำอีก โดยสถานการณ์จริงที่เกิดขึ้นจะด�ำเนินไปแม้ว่าจะมีกล้องบันทึกหรือไม่ก็ตาม ที่มา : ศุภร ชูทรงเดช
82
03
การขัดเกลาโครงร่างภาพยนตร์ (Fine cut) โครงร่างสมบูรณ์ (Final cut) เมื่อได้ร่างตัดต่อภาพยนตร์ที่พอใจแล้ว ขั้นตอน Fine Cut ก็จะเป็นในส่วนของการจัดการ เรื่องรายละเอียดต่างๆของภาพยนตร์ โดยเน้นทางกายภาพ 3 อย่าง คือ
1
2
ด้านการตัดต่อภาพ ให้ดเู หมาะสม และลืน่ ไหล การเอาเฟรม หรือการเชือ่ มต่อทีด่ ไู ม่ดอี อก
3
ด้านเสียง ด้านเอฟเฟคต่างๆ ดูรายละเอียดเรื่องระดับเสียงที่ใกล้เคียง การเชื่อมร้อยภาพให้เหมาะสม เพื่อให้ได้ กันหรือการให้เสียงมีระยะใกล้ และไกล ความหมาย ไม่รบกวนเรื่องมากจนเกิดไป เพื่อความกลมกลืนไปกับภาพ หรือท�ำให้ เสียงที่มีการรบกวนมากให้ชัดเจนขึ้นช่วย ในการเล่าได้ดีขึ้น
ส่วนอื่นๆ คือ การสื่อสารความหมาย ของ 3 Rs : Reflexive - Real - Record ว่าส่วนประกอบเหล่านี้มีปรากฏอยู่ในหนังมากน้อย อย่างไร เหมาะสมหรือไม่ ในบางสถานการณ์หากส่วน Reflexive ก็จะท�ำให้เนื้อหาของภาพยนตร์ดูน่าเบื่อ เช่นการเฝ้าดูทิ้งเวลาเพื่อ สังเกตการณ์นานจนเกินไปอาจมีผลกับคนดูเป็นต้น เมื่อทุกอย่างเรียบร้อยเสร็จสิ้นทุกรายละเอียด จึงใส่ชื่อเรื่อง ตัวหนังสือประกอบ ภาพ อธิบายสถานที่ ชื่อผู้ให้ข้อมูล และเครดิตผู้ร่วมงานต่างๆ และได้ความยาวของภาพยนตร์ที่เหมาะสมจึงเป็น Final cut
การท�ำต้นฉบับ (Render File) เมื่อตัดต่อภาพยนตร์เสร็จเป็น Final cut ที่พอใจแล้ว ขั้นตอนต่อมาคือ การน�ำภาพและเทคนิคทั้งหมดจากหลายภาคส่วน น�ำมาประมวลผลและท�ำให้เป็นหนึ่ง เรียกว่า render หรือ export ออกมาเป็นไฟล์ ต้นฉบับ (Master) ก่อนที่จะแปลงไฟล์ด้วย โปรแกรมแปลงไฟล์เป็นนามสกุลอื่นๆเพื่อที่จะใช้งาน ในลักษณะสื่อออนไลน์หรือ มัลติมีเดียอื่นๆ ต่อไป
ภาพยนตร์มานุษยวิทยาทัศนา Visual Anthropology
83
03
บทที่5
การประชาสัมพันธ์และ การเผยแพร่สารคดีเชิงมานุษยวิทยา หลายๆคนคงเคยมีปญ ั หาการเปิดไฟล์วดี โี อไม่ได้ หรือไม่ทราบว่าจะเปิดด้วยโปรแกรมไหนดี สาเหตุสำ� คัญอย่างหนึง่ ก็คอื เราอาจไม่ทราบว่า ไฟล์วีดีโอของเรานั้นเป็นไฟล์ประเภทใด และโปรแกรมไหนรองรับการเปิดไฟล์นั้นๆได้ ดังนั้น เรามาท�ำความรู้จักไฟล์วีดีโอประเภทต่างๆ กันสักนิด อย่างน้อยจะได้เข้าใจว่า ไฟล์ไหนมีความสามารถในการแสดงผลที่มีความละเอียดต่างกันอย่างไร
รู้จักชนิดของไฟล์วิดีโอ และเสียง ในช่วงหลายปีที่ผ่านมาระบบโทรทัศน์ของระเทศไทย มีการเปลี่ยนแปลงจากการส่งสัญญาณในระบบเดิม (Analog) เข้าสู่ระบบที่มีคุณภาพสูง ที่มีความคมชัดสูงรวมถึงภาพและเสียง ที่คมชัด มีรายละเอียดมาก การเปลี่ยนแปลง น�ำไปสู่การขยาย ช่องให้มีมากกว่ายุค 3 /5/7/9/11 “ไปสู่การขยายช่องทีวีเพิ่ม ขึ้นถึง 40 ช่อง แม้จะยังมีไม่ครบทุกช่องก็ตามแต่ผู้ชมก็มีทาง เลือกรับชมได้มากขึ้น HD High Definition
สัดส่วน 16:9 ขนาด 1920x1080 pixels SD Standard Definition
สัดส่วน 16:9 ขนาด 1280x720 pixels
ในการจั ด ท� ำ สื่ อ จึ ง ต้ อ งเรี ย นรู ้ พื้ น ฐานของไฟล์ วิ ดี โ อ ที่ปัจจุบัน มีสองมาตรฐาน จากเดิมจะใช้ไฟล์ที่มีขนาดภาพเพียง 720X576 pixels สัดส่วนของภาพ คือ 4 : 3 เป็นขนาดไฟล์ที่ ส�ำหรับทีวีในแบบเก่า มาเป็นสัดส่วนทีวีที่มีความละเอียดสูง และ จอภาพคมชัด เรียกทั่วไปว่าทีวี “จอแบน ดิจิตอลทีวี” เป็นระบบ HD (High Definition) รายละเอียดและอัตราส่วน คือ
1080i / 1080p (1920 x 1080)
720p (1280 x 720) DVD (720 x 576) VGA (640 x 480)
ที่มา : https://paephuriphan.wordpress.com/2014/10/21/สื่อบันทึกภาพหรือระบบ/
84
03
ไฟล์วิดีโอ การเปลี่ยนแปลงระบบทีวีและสื่อ ที่มีความสัมพันธ์ต่อการแสดงผลบนจอที่มีรายละเอียดทั้งสี แสง เสียงที่มากขึ้น ระบบการบันทึกภาพ จึงมีการเปลี่ยนแปลงจากระบบเทปสู่ระบบที่สอดคล้องกัน นั่นคือระบบบันทึกภาพแบบ HD (High Definition) ที่ให้ทั้งรายละเอียดและความคมชัดสูง ไฟล์วิดีโอเป็นสื่อบันทึกภาพหากเราสังเกตไฟล์วิดีโอ จะพบว่ามีจุดและอักษรตามหลัง ซึ่งเรียกกันทั่วไปว่า “นามสกุล” ของไฟล์ ในปัจจุบันไฟล์วิดีโอที่รู้จักกันทั่วไปนั้น มีใช้กันในหลากหลายรูปแบบ สาเหตุจากผู้พัฒนาจะมีการแจกจ่ายและเผยแพร่ให้ผู้น�ำไปใช้ทั่วไป ขึ้นอยู่กับ ความต้องการของแต่ละบุคคลว่ามีความต้องการใช้ในแบบคุณลักษณะใด
Flash Video (.FLV)
จะเปิดด้วย Flash player ซึ่งจะมีอยู่ใน web browser เกือบทุกตัวอยู่แล้ว การที่เราใช้ไฟล์นี้จะท�ำให้ ผู้ใช้ส่วนมากเปิดได้ทุกคน เป็นไฟล์ที่ใช้งานบนเวปไซท์ได้ดี
Windows Media Video จะเปิดด้วย Windows Media Player เป็นโปรแกรมที่มีทุกเครื่องที่ลง Window PC อยู่แล้วและ (.WMV) ส่วนใหญ่ผู้ใช้งานจะสามารถเปิดได้ (ผู้ใช้งานส่วนใหญ่ใช้ Window) RealPlayer (.RM, .RPM)
เปิดด้วย RealPlayer พัฒนาโดย RealNetwork Inc. จะมีรูปแบบเฉพาะตัวเล่นไฟล์มัลติมีเดียแบบ streaming บนอินเตอร์เน็ตได้ดี
QuickTime (.QT, .MOV)
เป็นไฟล์ที่พัฒนาโดยบริษัท Apple ส่วนใหญ่จะมีในเครื่องของ Macintosh เป็นไฟล์คุณภาพและความละเอียดสูง
Audio Video Interleave (.AVI)
เป็นรูปแบบของไฟล์วิดีโอของ window อยู่แล้วท�ำให้ผู้ใช้งาน window สามารถเปิดได้ เป็นไฟล์ที่มี ขนาดใหญ่และคุณภาพสูง
Motion Picture ปัจจุบนั เป็นตระกูลทีม่ กี ารใช้กนั แพร่หลาย เป็นรูปแบบของการบีบอัดไฟล์วดิ โี อให้มขี นาดเล็กลงทีน่ ยิ มคือ Expert Group (MPEG) MPEG-1 เริ่มแพร่หลายเมื่อ พ.ศ. 2535 ใช้ในการสร้างแผ่น VCD เป็นไฟล์คุณภาพต�่ำ MPEG-2 เริ่มแพร่หลายเมื่อ พ.ศ.2538 ใช้ในการสร้างแผ่น DVD เป็นไฟล์คุณภาพสูงกว่าMPEG-1
เริ่มต้นเมื่อ พ.ศ. 2541 จากความร่วมมือกันของวิศวกรทั่วโลกและได้เป็นมาตรฐานของ นานาชาติเมื่อปี พ.ศ. 2542 เป็นไฟล์ที่มีคุณภาพสูงและขนาดไม่ใหญ่มาก สามารถแปลงไฟล์ได้หลาย รูปแบบแต่ยังรักษาคุณภาพได้ดี ปัจจุบันเป็นไฟล์ยอดนิยมใช้ในงานด้านกราฟิก มัลติมีเดีย และสื่อออนไลน์ MPEG-4
ภาพยนตร์มานุษยวิทยาทัศนา Visual Anthropology
85
03
โปรแกรมที่นิยมใช้เปิดไฟล์วิดีโอ
GOM player :
http://player.gomlab.com/ ?language=th
โปรแกรมทั้งห้าสามารถเปิดไฟล์ได้ทุกนามสกุล และสามารถ ดาวโหลดฟรีได้จากเว็ปไซด์
Windows Media Player :
http://download.cnet.com/ windows-media-player/
VLC Media Player :
https://vlc-media-player.en .softonic.com/ ภาพ : การตัดต่อวีดีโอโดยโปรแกรมตัดต่อ ใช้เพื่อการเรียบเรียงเรื่องราว ล�ำดับความการ เล่าเรื่อง เมื่อตัดต่อเสร็จแล้ว ก็ต้องถ่ายทอด ออกมาเป็นไฟล์วีดีโอ เพื่อน�ำไปฉายต่อไป
86
Realplayer :
Quicktime Player :
http://www.real.com/th
https://support.apple.com/ downloads/quicktime/
ที่มา: โครงการจัดท�ำสื่อจากผลงานวิจัยเพื่อ พัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นในอ�ำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน
03
โปรแกรมแปลงไฟล์ เมื่อไฟล์จากนามสกุลที่เรา Render ออกมาแล้วเป็นไฟล์ที่ใหญ่ มีความละเอียดสูง เป็นนามสกุล MOV, AVI, หรือ Mpeg4 และ อื่นๆ ในการน�ำไปใช้งานด้านมัลติมีเดียหรือสื่อออนไลน์ ซึ่งจ�ำเป็น ต้องแปลงให้ขนาดเล็กลง หรือใหญ่ขึ้น เปลี่ยนนามสกุลไฟล์ให้ ใช้ได้กับอุปกรณ์อื่นๆ เช่นโทรศัพท์มือถือ อัพโหลดส่งเผยแพร่ ทางยูทูป (Youtube) หรือเว็ปไซด์ฝากไฟล์วีดีโออื่นๆ
เราจึงต้องมีการแปลงไฟล์โดยใช้โปรแกรมแปลงไฟล์ เช่น กรณี ยูทูป (YouTube) มีข้อก�ำหนดและอนุญาตแล้วเท่านั้นจะสามารถ อัพโหลดไฟล์นามสกุล MP4, FLV และ AVI ได้เท่านั้น แต่หากเรา มีไฟล์ MKV ในคอมพิวเตอร์ของเรา เราก็ต้องอาศัย โปรแกรม แปลงไฟล์ Format Factory หรือโปรแกรมแปลงไฟล์ตัวอื่นๆ เข้ามาท�ำการแปลงไฟล์สื่อของเราให้ไปเป็นรูปแบบที่เว็บไซต์ ก�ำหนดก่อน แล้วจึงจะสามารถส่งเผยแพร่ในยูทูปได้
ฟอร์แมทแฟคทอรี่ (Format Factory) เป็นโปรแกรมแปลงไฟล์ หนัง
วิดีโอ รูปภาพ เพลง เหตุผลที่ผู้เขียนแนะน�ำเนื่องจากใช้งานง่าย สะดวกแก่ ผู้ศึกษาเบื้องต้น ดาวโหลดสะดวก เป็นที่นิยมใช้งานฟรี ไม่มีค่าใช้จ่าย รวมถึงสามารถเปลี่ยนเป็นภาษาไทยได้ ดาวโหลดลิงค์: https://format-factory.en.softonic.com/
ไฟล์เสียง MP3 (.mp3) เป็นไฟล์ยอดนิยมสามารถเปิดได้กับ คอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่
RealAudio (.ra) เปิดด้วย RealPlayer มีเฉพาะบางเครื่องเท่านั้น
WAV (.wav) เป็นไฟล์ที่นิยมใช้ในอินเตอร์เนตเนื่องจาก เครื่องคอมพิวเตอร์เกือบทุกเครื่อง (ส่วนใหญ่) สามารถอ่านไฟล์นี้ได้ แต่ข้อเสียคือไฟล์มีขนาดใหญ่มากๆ
WindowsAudio (.wma) Microsoft Windows Audio format สามารถเปิดได้โดย Windows Media Player เป็นโปรแกรมที่มีทุกเครื่องที่ลง window อยู่แล้ว และส่วนใหญ่ผู้ใช้งานจะสามารถเปิดได้ (ผู้ใช้งานส่วนใหญ่ใช้ window )
ภาพยนตร์มานุษยวิทยาทัศนา Visual Anthropology
87
เมื่อเราได้งานส�ำเร็จเป็นวิดีโอที่สามารถเล่าเรื่องได้แล้ว สิ่งแรก ที่เราควรจะท�ำคือ การเผยแพร่ แบ่งปัน การน�ำเอาผลงาน มาให้ผู้ชมได้ชม เพื่อได้เรียนรู้รู้ว่าสิ่งที่เราคิด ท�ำ นั้นได้สื่อสาร ออกมาเป็นอย่างไร คนดูชื่นชอบหรือไม่ การแก้ไขนั้นสามารถ ที่จะท�ำได้ เมื่อเห็นปฏิกิริยา อาจใช้การสอบถามเพิ่มเติม เพื่อน�ำไปสู่การแก้ไขให้ดีขึ้น 88
การเรียนรู้วัฒนธรรมผ่านเลนส์ โดยเจ้าของวัฒนธรรม เป็นผู้ ถ่ายทอดบอกเล่าวัฒนธรรมของตน ด้วยตัวเอง เป็นวัตถุประสงค์ หลักของโครงการจัดท�ำสื่อจากผลงานวิจัย เพื่อพัฒนาหลักสูตร ท้องถิ่นในอ�ำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน
การเรียนรู้วัฒนธรรมผ่านเลนส์ โดยเจ้าของวัฒนธรรม เป็นผู้ถ่ายทอดบอกเล่าวัฒนธรรมของตน....ด้วยตัวเอง
ให้ชุมชนเรี ย นรู ้ แบบมี ส ่ ว นร่ ว ม ในการผลิ ต องค์ ค วามรู้ร ่ว มกัน กั บ นักจัดท�ำสื่อ นักศึกษาอาจารย์จากวิทยาลัยชุมชนรวมถึงผู้สนใจ ได้บอกเล่าและถ่ายทอดวัฒนธรรมของตนเองได้ด้วยตัวเอง เป็นส่วนหนึ่งในการเสริมสร้างพลังชุมชนในด้านการอนุรักษ์และ สืบสาน ถ่ายทอดวัฒนธรรมท้องถิ่น รวมไปถึงองค์ความรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่นของตนต่อไป
ภาพถ่ายโดย : อุกฤกษ์ จอมยิ้ม 89
เรียนรู้เพิ่มเติมเรื่องการท�ำให้การเผยแพร่ผลงานวิดีโอได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทางอินเทอร์เน็ตบทเรียน:
ก�ำหนดยุทธศาสตร์การสร้างสรรค์ https://creatoracademy.youtube.com /page/lesson/creative-fundamentals-bootcamp?hl=th#yt-creators-strategies-1 ค้นคว้าเพิ่มเติม
ประวัติศาสตร์ภาพยนตร์: https://filmv.wordpress.com/unit-1/ความหมายและหลักการเกิด ค�ำศัพท์ทางภาพยนตร์: http://limitedfuss.blogspot.com/?view=flipcard ประวัติศาสตร์ภาพยนตร์โลก: http://postproduction52.wordpress.com/2010/02/22 สอน Sony Vegas Pro ตัดต่อวีดีโอเบื้องต้น: https://www.youtube.com/watch?v=YmKf5xffmY4 ตัดต่อวีดีโอให้เป็นภายใน 5 นาที ส�ำหรับ Youtuber : https://www.youtube.com/watch?v=YmKf5xffmY4
เอกสารฉบับนี้สามารถดาวน์โหลด และอ่านออนไลน์ได้ที่
imarmhs.wixsite.com/home
90
บรรณานุกรม ภาษาไทย
สมพร มันตะสูตร. 2525 พรรณราย โอสถาภิรัตน์, 2546 รัศมี ชูทรงเดช 2552 2556 ธันญญา สังขพันธานนท์ 2553 ธนิก เลิศชาญฤทธ์ 2554 ฉันทนา ค�ำนาค 2556 2556 ภาษาอังกฤษ
Bruce Mamer เอกสารออนไลน์
“การเขียนเพื่อการสื่อสาร.” กรุงเทพฯ: โอเอสพริ้นติ้งเฮาส์. Visual Anthropology : สื่อทางด้านภาพกับความรู้ทางมานุษยวิทยา “สื่อกับมานุษยวิทยา” กรุงเทพฯ : ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) โครงการสืบค้นและจัดการมรดกทางวัฒนธรรมอย่างยั่งยืน ในอ�ำเภอปาย-ปางมะผ้า-ขุนยวม จังหวัดแม่ฮ่องสอน. กรุงเทพฯ : Speedjet Printing & Graphic Design ใครเป็น “เจ้าของ” มรดกวัฒนธรรมสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่ขุนยวม แม่ฮ่องสอน?. วารสารสังคมวิทยา มานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ปีที่32 ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน. “การเขียนสารคดีภาคปฏิบัติ.” กรุงเทพฯ: บริษัท ทีคิวพี จ�ำกัด. “การจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม” กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) “การเล่ารื่องและการรับรู้ความหมายภาพตัวแทนมลาบรีในภาพยนตร์.” วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวัฒนธรรมและการพัฒนา บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหิดล. ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) รายงานการด�ำเนินงานกิจกรรมเสวนาภาพยนตร์ ระหว่าง 10-11 เมษายน 2556.
2539 Film Production Technique: Creating the Accomplished Image. California : Wadsworth Publishing Company.
Prerana Reddy 2550 อานุภาพ สกุลงาม 2550 2551 นิติวัฒน์ เจตนา 2552 นิพนธ์ คุณารักษ์ 2552 นวกานต์ ราชานาค 2553 guru.google.co.th 2553 Adisak Tisanon 2555 สุรพงษ์ พินิจค้า.
“The Emergence of Ethnographic Film Practice: Past Travels and Future Itineraries.” แปลและเรียบเรียง โดย ชีวสิทธิ์ บุณยเกียรติ เข้าถึงเมื่อ 17 เมษายน 2557 จาก http://www.sac.or.th/ databases/ethnographic-_film/file/articles/5f6830a2bebb63ba12dc4b112ela2d00.pdf มานุษยวิทยาทัศนา (Visual Anthropology) ที่ปรากฏในกิจกรรมเยาวชน.เข้าถึงเมื่อ 17 เมษายน 2557 จาก http://www.eighteggs.com/sac/article_detail.php? article_id=52 &category_id=26 มาท�ำสารคดีเล่าวัฒนธรรมกันเถอะ! : Let’s Make A Documentary! เข้าถึงเมื่อ 17 เมษายน 2557 จาก http://www.eighteggs.com/sac/article_detail.php?article_id=55 &category_id=26 ประวัติภาพยนตร์โลก. เข้าถึงเมื่อ 20 เมษายน 2554, จากhttp://kiramura.blogspot.com/2009/01/ blog-post_28.html ภาษาภาพยนตร์ : องค์ประกอบของภาพยนตร์. วารสารศิลปกรรมศาสตร์ Vol 1, No..1 มหาวิทยาลัยขอนแก่น. เข้าถึงเมื่อ 17 เมษายน 2557, จาก http://www.tci-thaijo.org/index.php/ fakku/article/view/28081 Thaumatrope คืออะไร. เข้าถึงเมื่อ 8 เมษายน 2554, จาก http://www.bloggang.com/viewdiary. php?id=navagan&month=10-2008&date=03&group=5&gblog=4. ในการสร้างภาพยนตร์ให้เกิดภาพเคลื่อนไหวได้ เราใช้หลักการอะไร? เข้าถึงเมื่อ 9 เมษายน 2554, จาก http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=1f1767f41d5df7a6 ชนิดของวิดีโอ: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อวิดีโอ เข้าถึงเมื่อ 12 พฤษภาคม 2556 จาก http:// kruoong.blogspot.com/2011/07/blog-post.html “เอกสารประกอบการเรียนวิชา ภาพยนตร์เพื่องานภาพยนตร์”เข้าถึงเมื่อ 17 เมษายน 2557, จาก http://elearning. aru.ac.th/3011103/soc43/topic7/linkfile/print5.htm
91
บทความภาพยนตร์ชาติพันธุ์ 2557 ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) นันทวัฒน์ ไชยรัตน์ 2559
การอบรมเชิงปฏิบัติการทางมานุษยวิทยาทัศนา (Visual Anthropology Workshop). เข้าถึงเมื่อ จาก 8 พฤษภาคม 2554, จาก http://www.sac.or.th/databases/visualanthropology/ index.php/ event/past-event/item/46-visual-anthropology-workshop. รู้จักชนิดชองไฟล์วิดีโอและเสียง [เอกสารออนไลน์]. เข้าถึงเมื่อ 21 กุมภาพันธ์ 2560, จาก http://www.hellomyweb.com/course/dreamweaver/dreamweaver-multimedia-type/
การอบรมสัมมนาทางวิชาการ
ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร 2555 การอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารทางมานุษยวิทยาทัศนา, 2-12 เมษายน 2555, ณ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรนิ ธร (องค์การมหาชน) (องค์การมหาชน)
คณะวิจัยโครงการจัดท�ำสื่อจากผลงานวิจัยเพื่อพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น ในอ�ำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน (Innovative Media from Academic Research)
ศุภร ชูทรงเดช หัวหน้าโครงการวิจัยและบรรณาธิการ ทรงศักดิ์ ปัญญา นักวิจัยด้านกระบวนการน�ำไปใช้และประเมินสื่อ จตุพร ปิยสุรประทีป วรรณธวัช พูนพาณิชย์ เลขานุการ เสาวลักษณ์ เขียนนอก วัชรินทร์ มณีวงษ์ จุฑามาส เรืองยศจันทนา ผู้ช่วยนักวิจัย กราฟิคและภาพประกอบ นีรนรา อนุศิลป์ Vecteezy.com ภาพหน้าปก @ meowjutarat
92