เอกสารฉบับนี ้ จัดท�ำ ดัดแปลง และเผยแพร่ภายใต้ การด�ำเนินงานโครงการจัดท�ำสื่อจากผลงานวิจยั เพื่อ พัฒนาหลักสูตรท้ องถิ่น ในอ�ำเภอปางมะผ้ า จังหวัด แม่ฮอ่ งสอน โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อใช้ เป็ นสื่อส่งเสริ ม ประสบการณ์การเรี ยนรู้ โดยน�ำความรู้จากงานวิจยั ทางโบราณคดี โครงการโบราณคดีบนพื ้นที่สงู ใน อ� ำ เภอปางมะผ้ า จังหวัด แม่ฮ่อ งสอน , โครงการ โบราณคดีบนพื ้นที่สงู ในอ�ำเภอปางมะผ้ า จังหวัด แม่ฮอ่ งสอน และโครงการวิจยั เรื่อง การปฏิสมั พันธ์ ระหว่างมนุษย์ก่อนประวัติศาสตร์ กบั สิ่งแวดล้ อมบน พื ้นทีส่ งู ในอ�ำเภอปางมะผ้ า จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน ซึง่ มี รองศาสตราจารย์ ดร.รัศมี ชูทรงเดช หัวหน้ าโครงการ ซึง่ เป็ นประสบการณ์ตรงจากนักวิจยั ของโครงการจัด ท�ำสื่อจากงานวิจยั การจัดกิจกรรมร่วมกับชุมชนใน อ�ำเภอปางมะผ้ า จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน โดยความร่วมมือ จากวิทยาลัยชุมชนแม่ฮอ่ งสอน ได้ รับทุนสนับสนุน การท�ำวิจยั จากส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั (สกว.)
เอกสารฉบับนี้สามารถดาวน์โหลดและอ่านออนไลน์ได้ที่
imarmhs.wixsite.com/home
1
น
2
ค�ำน�ำ โครงการจัดท�ำสื่อจากผลงานวิจัย เพื่อการพัฒนาหลักสูตรท้ องถิ่น ในอ�ำเภอปางมะผ้ า จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน ได้ จดั ท�ำคูม่ ือประกอบการเรี ยนในหน่วยการเรี ยนรู้หน่วยที่ 3 4 และ 5 ได้ แก่ หน่วยการเรี ยนรู้ที่ 3 : พัฒนาการทางประวัตศิ าสตร์ และมรดกทางวัฒนธรรม มีเนื ้อหา ทางประวัตศิ าสตร์ โบราณคดี และบุคคลส�ำคัญทางประวัตศิ าสตร์ หน่วยการเรี ยนรู้ที่ 4 ประวัตศิ าสตร์ และวิถีชนเผ่า : ในส่วนเนื ้อหาด้ านศิลปกรรม ภาษา และวรรณกรรม คติชน การละเล่นพื ้นบ้ านและการแสดงดนตรี และหน่วยการเรี ยนรู้ที่ 5 เรื่ องภูมิปัญญาท้ องถิ่น ส�ำหรับการจัดท�ำคูม่ ือ ประวัตศิ าสตร์ และวิถีชนเผ่า ในอ�ำเภอปางมะผ้ า จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน เป็ นแนวทางหนึง่ ซึง่ เสมือนเครื่ องมือช่วยการเรี ยนรู้ชมุ ชนในประเด็นต่าง ๆ ที่หลากหลาย ในเบื ้องต้ น การเก็บข้ อมูลพื ้นฐานชุมชนนันเป็ ้ นสิ่งส�ำคัญและเป็ นพื ้นฐานต่อการท�ำความเข้ าใจชุมชน เพื่อให้ ได้ มาซึง่ ข้ อมูลเบื ้องต้ น สู่การวิเคราะห์เพื่อการพัฒนาชุมชน ข้ อมูลที่หลากหลาย จะท�ำให้ ผ้ เู รี ยนสามารถน�ำไปใช้ ควบคู่กบั การเรี ยนการสอนในชันเรี ้ ยน และสามารถน�ำไป ต่อยอดความคิด เปิ ดโอกาสให้ เกิดการแลกเปลี่ยนและถกเถียง น�ำไปสูก่ ารค้ นคว้ าเพิ่มเติม ในประเด็นใหม่ๆ ต่อไป ประวัตศิ าสตร์ และวิถีชนเผ่า ในอ�ำเภอปางมะผ้ า จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน เป็ นคูม่ ือการเรี ยนรู้ เบื ้องต้ น สามารถใช้ ร่วมกับสื่อผสมอื่นๆ เช่น สื่อสารคดี คูม่ ือเก็บข้ อมูลภาคสนาม เป็ นต้ น การสร้ างความเข้ าใจในอัตลักษณ์ สร้ างภูมิค้ มุ กันทางวัฒนธรรม คือ การเรี ยนรู้ความเป็ นมา ทางประวัติศาสตร์ และวิถีชีวิตอันเป็ นที่มาของตนเอง จะท�ำให้ เกิดความภาคภูมิใจกับ ท้ องถิ่นตน น�ำไปสูก่ ารปรับใช้ ประโยชน์ตอ่ การพัฒนาความรู้ในชุมชน ชาติพนั ธุ์ของตนเอง และชุมชนชาติพนั ธุ์อื่น ตลอดจนปกป้องรั กษาวัฒนธรรมให้ เหมาะสม รู้ เท่าทันการ เปลี่ยนแปลงจากโลกภายนอก ที่ก�ำลังเกิดขึ ้นในปั จจุบนั และในอนาคต โครงการจัดท�ำสื่อจากผลงานวิจยั เพื่อพัฒนาหลักสูตรท้ องถิ่น ในอ�ำเภอปางมะผ้ า จังหวัดแม่ ฮ่องสอน
3
กิตติกรรมประกาศ ผลผลิตสื่อต่าง ๆ ของโครงการจัดท�ำสื่อจากผลงานวิจัย เพื่อพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น ในอ�ำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน (Innovative Media from Academic Research) ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาได้รับความอนุเคราะห์ ได้รับความร่วมมือ สนับสนุนจากบุคคล องค์กร ในหลากหลายสาขา ผู้วิจัยได้รับประสบการณ์มากมายทั้งปัญหา และอุปสรรคที่ผ่านมาอาจไม่ ลุล่วงได้หากปราศจากบุคคลต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ ผู้วิจัยขอขอบคุณ ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ที่ให้ทุนสนับสนุนการ ท�ำงานวิจัย ที่ปรึกษาโครงการฯ รศ.ดร.รัศมี ชูทรงเดช ให้โอกาส และชี้แนะความคิดเห็นต่าง ๆ มากมายตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา ขอบคุณ อาจารย์ประเสริฐ ประดิษฐ์ อาจารย์คมสัน คูสินทรัพย์ อาจารย์โยธิน บุญเฉลย และ อาจารย์วีระพรรณ เล่าเรียนดี ต่อค�ำชี้แนะในเวที การประชุม และข้อแนะน�ำและวิจารณ์ที่ได้ช่วยสร้างแนวทาง หรือมุมมองให้กับผู้วิจัยตลอดมา รวมถึง คณาจารย์จากวิทยาลัยชุมชน จังหวัดแม่ฮ่องสอน ที่ให้ความร่วมมือสนับสนุนต่อ ข้อวิจารณ์และแนวทางที่มีให้เป็นระยะ ข้อมูลของงานวิจัยที่ส�ำคัญหลายส่วนจะไม่สามารถเกิดขึ้นได้ถ้าหากปราศจากชาวบ้าน หมู่บ้านถ�้ำลอดที่ให้ความรู้ ในการเล่าเรื่องราว ชาวบ้านหมู่บ้านแม่ละนาที่ให้ความรู้ ร่วมถึงการ ดูแลเอาใส่คณะผู้อบรมและคณะวิจัยที่ลงพื้นที่ระหว่างท�ำงาน ชาวบ้านหมู่บ้านจ่าโบ่ต่อความมี น�้ำใจให้ความร่วมมือกับคณะวิจัยในทุก ๆ ด้าน ชาวบ้านหมู่บ้านบ้านไร่ที่ให้การช่วยเหลือ ร่วม ท�ำงานไม่ว่าจะเป็นการสัมภาษณ์ การถ่ายบันทึกวีดีโอ การส�ำรวจแหล่งโบราณคดี และอีกหลาย หมู่บ้านที่ไม่อาจกล่าวในที่นี่ได้ทั้งหมด ผลงานสื่อต่างๆ ที่เกิดขึ้นด้วยความร่วมมือมากมาย ผู้วิจัยไม่สามารถท�ำส�ำเร็จด้วย ตัวคนเดียว ผู้วิจัยอยากกล่าวขอบคุณทีมงานคณะวิจัยที่มีความอดทน ความเสียสละ ความ ทุ่มเทในการท�ำงานร่วมกัน อาจารย์ทรงศักดิ์ ปัญญา นักวิจัยด้านกระบวนการน�ำไปใช้และ ประเมินสื่อ เลขานุการ นางสาวจตุพร ปิยสุรประทีป ผู้ช่วยนักวิจัย เสาวลักษณ์ เขียนนอก และครอบครัวที่น่ารัก วรรณธวัช พูนพาณิชย์ วัชรินทร์ มณีวงษ์ จุฑามาส เรืองยศจันทนา ที่เป็นทั้งเพื่อนร่วมงาน เป็นพี่เป็นน้อง เป็นที่ปรึกษาช่วยกันสร้างผลงานจนส�ำเร็จ
4
ขอขอบคุณช่างภาพอาชีพอาสามาผลิตผลงาน อุกฤษฎ์ จอมยิ้ม ยิ่งพงศ์ มั่นทรัพย์ รวมถึงช่างภาพสมัครเล่น ศรชัย ไพรเนติธรรม ที่น�ำพาภาพสวยๆ ให้แก่โครงการการ จัดท�ำสื่อฯ และอาจารย์ปรียาชนก เกษสุวรรณ ผู้มาช่วยงานอบรมและเรียนรู้มากมายร่วมกัน ดร. ภาสกร อินทุมาน ที่ให้ค�ำปรึกษาแนะน�ำในเรื่องมุมมองต่างๆ นีรนรา อนุศิลป์ ขวัญประภา อุนารัตน์ ฝ่ายศิลป์ออกแบบสือ่ สิง่ พิมพ์ทสี่ วยงามมีกระบวนการออกแบบและผลิตอันละเอียดอ่อน ความรู้ต่างๆ มากมายที่น�ำมาผลิตเป็นสื่อเพื่อการเรียนรู้ ได้มาจากความละเอียดและ รอบคอบของทีมงานนักวิจัยทางโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร ที่เป็นเสมือนพี่เลี้ยงที่คอย เกื้อกูลสนับสนุน แนะน�ำตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา อุดมลักษณ์ ฮุ่นตระกูล นักมานุษยวิทยา เจ้าของข้อมูลด้านการศึกษาชาติพันธุ์ นัทธมน ภู่รีพัฒน์พงศ์ คงคาสุริยฉาย ผู้เชี่ยวชาญด้าน โครงกระดูกคน ศิริลักษณ์ กัณฑศรี ผู้เป็นที่ปรึกษาในทุกเรื่อง นุชจรี ใจเก่ง มือเขียนบทที่รอบรู้ และ วอกัญญา ณ หนองคาย สมถวิล สุขเลี้ยง ชนม์ขนก สัมฤทธิ์ ธนัชญา เทียนดีทีมหญิงแกร่ง นักโบราณคดีที่ให้การช่วยเหลือ ร่วมความล�ำบากตลอดระยะการท�ำงานในพื้นที่ รวมถึงน้องๆ นักศึกษาโบราณคดีที่เข้าร่วมอบรมที่บ้านถ�้ำลอด ศศิประภา กิตติปัญญา กมล ทองไชย เมลดา มณีโชติ แก้วสิริ เทวัญวโรปกรณ์ ธราภาสพงศุ์ เกตุกัน กานต์ภพ ภิญโญ สมคิด แสงจันทร์ ผู้ร่วมการอบรม ติดตามผลงานและน�ำไปทดลองใช้เกิดผลมากมาย ส่วนสุดท้ายนี้ผู้วิจัยอยากจะขอกราบขอบพระคุณ ครอบครัว พ่อ แม่ พี่สาวทั้งสอง น้องชาย และครอบครัวที่น่ารักของผู้วิจัย ในการให้การสนับสนุน และเป็นก�ำลังใจตลอด ระยะทางอันยาวนานของการเดินทางในการผลิตผลงานที่ส�ำคัญนี้ ผู้วิจัยหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ผลผลิตจากงานวิจัยชุดนี้จะก่อให้เกิดความรู้ อันเป็นประโยชน์ต่อคน ต่อชุมชน ต่อประเทศ ในการพัฒนาอย่างยั่งยืนสืบไป ศุภร ชูทรงเดช 1 มีนาคม 2561
5
สารบั ญ
7 13 39 61 83 108 114 6
ประวัตศิ าสตร์ และวิถีชนเผ่า ในอ�ำเภอปางมะผ้ า จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน กะเหรี่ ยง / ปกาเกอะญอ ลาหูน่ ะ / ลาหูด่ �ำ ลาหูย่ ี / ลาหูแ่ ดง ลีซู ละว้ า แหล่งที่มาของข้ อมูล
ประวัติศาสตร์ และวิถีชนเผ่า ในอ�ำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน
7
อ�ำเภอปางมะผ้า ซึง่ เป็ นอ�ำเภอที่มีขนาดเล็ก และมีที่ราบค่อนข้ างน้ อยแต่มีความหลากหลายของกลุม่ คนมาก คือ 9 กลุม่ ประกอบด้ วยไทใหญ่ ลาหูแ่ ดง ลีซู ลาหูด่ �ำ ปกาเกอะญอ คนเมือง ม้ ง ลัวะ และปะโอ ส�ำหรับล�ำดับความเก่าแก่ของกลุม่ ชาติพนั ธุ์ที่มีการตังถิ ้ ่นฐานประกอบด้ วยกลุม่ หลักคือ ไทใหญ่ คนเมือง และ ปกาเกอะญอ ซึง่ มักจะเลือกตังถิ ้ ่นฐานบนที่ราบหรื อที่ราบเชิงเขาส่วนกลุ่มชนบนพื ้นที่สงู กลุ่มอื่นๆ มีการตังถิ ้ ่นฐานภายหลัง มีการรวม กลุม่ กันในระดับเครื อญาติและเคลื่อนย้ ายหมุนเวียนตามพื ้นที่เกษตรกรรมทุกๆ รอบ 5-10 ปี เพื่อสร้ างสมดุลและปรับความ อุดมสมบูรณ์ ของหน้ าดิน ดังนันจึ ้ งไม่มีการตังถิ ้ ่นฐานถาวร แต่ในปั จจุบนั สภาพสังคมมีความเปลี่ยนแปลงไป และมีข้อ บังคับทางกฎหมายเรื่ องที่ดินท�ำกิน จึงเริ่ มตัง้ หมู่บ้านถาวรเมื่อราว 30-80ปีมานี ้โดยกลุ่มชนบนท�ำให้ กลายเป็ นหมู่บ้านที่ มีอายุน้อยกว่ากลุม่ ที่มีการตังชุ ้ มชนค่อนข้ างถาวรอย่างไทใหญ่หรื อคนเมือง จากการศึกษาด้ านโบราณคดี พบหลักฐานการอยูอ่ าศัยและ ใช้ พื ้นที่ของคนมาตังแต่ ้ สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ในขณะที่ ชุมชนของคนปั จจุบนั พบว่ามีการตังถิ ้ ่นฐานมาตังแต่ ้ 210 ปี มาแล้ ว ที่บ้านแม่ละนา เป็ นชุมชนไทใหญ่ โดยมีผ้ นู �ำตาม ประวัตศิ าสตร์ บอกเล่าของชาวบ้ านแม่ละนาคือ “ปู่ ฮ้อยสาม” น�ำผู้คนอพยพจากรัฐฉาน มาตังชุ ้ มชน บนพื ้นที่ราบลุ่มน� ้ำ ขนาดใหญ่ ซึง่ เครื อญาติจากชุมชนไทใหญ่กลุม่ นี ้ ได้ ขยาย กลุม่ ออกไปยังบ้ านปางคาม บ้ านไม้ ลนั และบ้ านถ� ้ำลอดเมื่อ ประมาณ 40 ปี ที่ผา่ นมา ซึง่ เป็ นช่วงเวลาใกล้ เคียงกับคน ไทใหญ่ซงึ่ มีบรรพบุรุษมาจากเมืองหมอกใหม่-ลางเคอ (พม่า) มาถางที่ดนิ ปลูกข้ าวบริ เวณที่ราบบ้ านไร่
8
ร่ องรอยการตังชุ ้ มชนอื่นๆของกลุ่มคนบนพื ้นที่สงู มีเพียงการ บอกเล่าเป็ นประวัติศาสตร์ ของชุมชนอันเนื่องจากการอพยพ โยกย้ ายของกลุ่มประชากรไปยังผืนแผ่นดินที่อุดมสมบูรณ์ เป็ นวัฏจักรทุก 5 -10 ปี เช่น กลุม่ ลาหูแ่ ดง และลาหูด่ �ำที่มีการ เคลื่อนย้ ายอพยพระหว่างแนวชายแดนเชียงใหม่ พม่า และ เข้ าสู่การอยู่อาศัยระหว่างสันดอยของแนวเทือกเขาสาขาใน ปางมะผ้ ามาตังแต่ ้ 60-80 ปี มาแล้ ว และกลุม่ ปกาเกอะญอ จากบ้ านหนองขาวกลาง ต�ำบลห้ วยปูลงิ อ�ำเภอเมือง จังหวัด แม่ฮอ่ งสอน และกลุม่ จากบ้ านวัดจันทร์ อ�ำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ เข้ ามาตังถิ ้ ่นฐานรอบๆ บริ เวณหัวน� ้ำห้ วยแม่ หมูในปางมะผ้ าเมื่อประมาณ 82 ปี มาแล้ ว และเป็ นกลุม่ ที่ตงั ้ หมูบ่ ้ านถาวรก่อนลาหู่ คือ ปกาเกอะญอ ที่บ้านเมืองแพมเมื่อ ประมาณ 52 ปี มาแล้ ว บนที่ราบสันเขาในเขตต�ำบลถ� ้ำลอด
กลุม่ ชาติพนั ธุ์ม้ง เป็ นประชากรที่ย้ายถิ่นฐานมาจากเมืองนาย ประเทศพม่า เข้ าสูอ่ �ำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ และ เมืองแปง อ�ำเภอปาย ก่อนที่จะย้ ายไปอยูท่ ี่หวั น� ้ำแม่ฮอ่ งสอนซึง่ เป็ นเขตพื ้นที่สงู มีสภาพอากาศและภูมิประเทศใกล้ เคียงกับ ประเทศจีนอันเป็ นถิ่นก�ำเนิดของสายตระกูล แต่เมื่ออยูใ่ นอ�ำเภอเมืองแม่ฮอ่ งสอนได้ ประสบปั ญหาที่ท�ำกินไม่เพียงพอ ดังนัน้ จึงแสวงหาที่ใหม่ประกอบกับได้ รับการชักชวนจากหน่วยงานทางราชการให้ ย้ายชุมชนลงมาอยู่บนพื ้นที่ราบเพื่อการดูแลคน หลายกลุม่ ชาติพนั ธุ์ได้ อย่างทัว่ ถึง ดังนันจึ ้ งย้ ายมาอยูท่ ี่บ้านไร่ เมื่อประมาณ 38 ปี ที่แล้ ว ร่วมกับกลุม่ คนไทใหญ่ ในช่วงเวลา ใกล้ เคียงกันคนเมืองจากบ้ านสบแพมและคนไทใหญ่จากบ้ านน� ้ำกัดได้ เข้ ามาอยูท่ บี่ ้ านไร่เมือ่ ประมาณ 31 ปี มาแล้ ว กลุม่ ลาหู่ซงึ่ อยู่อาศัยข้ ามไปข้ ามระหว่างพม่าและปางมะผ้ าอยู่โดยตลอดมาตังแต่ ้ แรกก็ได้ ตงหมู ั ้ ่บ้านอย่างเป็ นหลักแหล่งที่ บ้ านจ่าโบ่ (ลาหูด่ �ำ) บ้ านปางบอน (ลาหูแ่ ดง) และบ้ านห้ วยเฮี ้ยะ (ลาหูด่ �ำ) เมื่อ 33 ปี 25 ปี และ20 ปี มาแล้ ว ตามล�ำดับ และ กลุม่ ลีซทู ี่บ้านน� ้ำบ่อสะเป่ ซงึ่ อพยพมาจากบ้ านกึด๊ สามสิบในระยะแรกของการตังบ้ ้ านเมื่อประมาณ 20 ปี มาแล้ ว หลังจากนัน้ จึงมีกลุม่ ลีซมู าจากเขตอ�ำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ อพยพเข้ ามาอีกหลายระลอก เป็ นการอพยพตามเครื อญาติไปและ แสวงหาที่ท�ำกินใหม่ การตังชุ ้ มชนในอ�ำเภอปางมะผ้ ามีผลจากปั ญหาเรื่ องผลกระทบของสงครามในช่วงเวลาตังแต่ ้ การผนวกดินแดนล้ านนาเข้ า เป็ นส่วนหนึง่ ของสยามต่อเนือ่ งมาจนถึงช่วงทีเ่ ป็ นรัฐชาติสมัยใหม่และมีการแสวงหาทีท่ ำ� กินเป็ นปัจจัยเสริมมาจนกระทัง่ ปัจจุบนั
ประวัตศิ าสตร์ และวิถชี นเผ่ า ในอ�ำเภอปางมะผ้ า จังหวัดแม่ ฮ่องสอน
9
¡Òû¡¤Ãͧ¢Í§ÊÂÒÁ ¾È. 2317-
250
200
210
150
100
50
82
WW II ¾.È. 2486 -
80 52
»¡Òà¡ÍÐÞÒ (àÁ×ͧá¾Á)
0
10
38
33
31
30
25
20
แผนภูมิแสดงล�ำดับการตั้งถิ่นฐาน ในอ�ำเภอปางมะผ้า
เอกสารฉบับนี ้ไม่ได้ กล่าวถึงชาวไทใหญ่ เนื่องจากศูนย์ไทใหญ่ศกึ ษา มีการ ศึกษารวบรวมความรู้เกี่ยวกับชาวไทใหญ่ไว้ อย่างรอบด้ านแล้ ว เอกสารฉบับนี ้ จะเป็ นการรวบรวมองค์ความรู้เกี่ยวกับชนเผ่าอื่น ๆ ที่ทางโครงการโบราณคดี บนพื ้นทีส่ งู ในอ�ำเภอปางมะผ้ า จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน และโครงการโบราณคดีบน พื ้นที่สงู ในอ�ำเภอปางมะผ้ า จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน โดย รศ.ดร.รัศมี ชูทรงเดช ได้ เคยศึกษารวบรวมไว้ ได้ แก่ กะเหรี่ ยง ลาหูน่ ะ ลาหูย่ ี ลีซู และละว้ า ดังนี ้
ประวัตศิ าสตร์ และวิถชี นเผ่ า ในอ�ำเภอปางมะผ้ า จังหวัดแม่ ฮ่องสอน
11
กะเหรี่ยง ปกาเกอะญอ ภาพ ที่มา : นีรนรา อนุศิลป์
12
กะเหรี่ยง หรือ ปกาเกอะญอ ชาวกะเหรี่ ยงในอ�ำเภอปางมะผ้ าเป็ นชาวกะเหรี่ ยงสกอว์ (Sgaw) หรื อปกาเกอะญอ เนื ้อหาส่วนใหญ่ในเอกสารฉบับนี ้ เรี ยบเรี ยงจากการศึกษาจากชาวกะเหรี่ ยงในบ้ านเมืองแพม ต� ำ บลถ� ำ้ ลอด อ� ำเภอปางมะผ้ า จังหวัดแม่ฮ่อ งสอนของ อุด มลักษณ์ ฮุ่นตระกูล ในโครงการโบราณคดีบนพื ้นที่สงู ในอ� ำ เภอปางมะผ้ า จั ง หวัด แม่ ฮ่ อ งสอน ระยะที่ 2 เป็ นหลัก ประกอบกับเอกสารการวิจัยอื่น ๆ ที่เกี่ ยวข้ อง ( ดูบรรณานุกรม)
ส�ำหรับประวัติการตังถิ ้ ่นฐานของชาวปกาเกอะญอ เริ่ มต้ น เมื่อประมาณ พ.ศ. 2467- 2468 โดยชาวปกาเกอะญอ จากบ้ านหนองขาว ( ต�ำบลห้ วยปูลิง อ�ำเภอเมือง จังหวัด แม่ฮ่องสอน ) ประมาณ 16 - 17 ครัวเรื อน อพยพมาตัง้ หมู่บ้านอยู่ที่บ้านแม่ยาง อ�ำเภอปาย กระทัง่ ราวปี พ.ศ. 2470 โดยการน�ำของพ่อเฒ่าตะเลาะ จึงได้ ย้ายมาอยู่ห้วย แม่หมู ( ปั จจุบนั คือบริ เวณใกล้ ๆ กับบ้ านแม่หมูลีซอ อ�ำเภอ ปางมะผ้ า ) ก่อนจะอพยพอีกครัง้ ขึ ้นไปอยู่บริ เวณหัวน� ้ำ แม่หมูซงึ่ อยู่สงู ขึ ้นไปกว่าที่ตงหมู ั ้ ่บ้านเดิม
จากการศึกษาประวัตศิ าสตร์ บอกเล่าของชุมชนปกาเกอะญอ บ้ านเมืองแพม ต�ำบลถ� ้ำลอด อ�ำเภอปางมะผ้ า พบว่าแต่เดิม พืน้ ที่หมู่บ้านนีเ้ คยเป็ นที่ตงบ้ ั ้ านของลัวะ เมื่อลัวะอพยพ ออกไป คนไทใหญ่จึงได้ เข้ ามาอาศัยอยู่แทนที่จนตังเป็ ้ น ชุมชน แต่หลังจากนัน้ ได้ อพยพหนีไปอยู่ฝั่งพม่า และมี ปกาเกอะญอย้ ายเข้ ามาอยู่ แต่ระหว่างนันยั ้ งมีไทใหญ่กลุม่ เล็กๆ อีกกลุม่ ได้ มาตังบ้ ้ านใกล้ๆเมืองแพม แต่ได้ ย้ายออกไป อยูก่ บั ญาติพี่น้องที่บ้านแม่ละนา เมืองปาย และที่อื่นๆ ใน ปั จจุบนั จึงเป็ นหมูบ่ ้ านของชาวปกาเกอะญอ
ช่วง พ.ศ. 2473 – 2593 ยังคงมีการอพยพเคลื่อนย้ ายแบ่ง ออกได้ เป็ นหลายกลุม่ อาศัยอยู่ในพื ้นที่บ้านแม่อมุ อง บ้ าน ผามอน บ้ านห้ วยไร่ บ้ านห้ วยโป่ ง บ้ านห้ วยผาตี๊ บ้ านปาง ควาย และบ้ านผักห้ า ต่อมา พ.ศ. 2496 -2500 ตังบ้ ้ าน หัวน� ้ำแพม จนกระทัง่ พ.ศ. 2504 มีผ้ นู �ำกลุม่ (พ่อเฒ่า กะเดอ วงศ์กะเหรี่ ยง ) ได้ รวบรวมชาวบ้ านที่อพยพมาด้ วย กันจากหัวน� ้ำห้ วยปูลิง อ�ำเภอเมืองแม่ฮ่องสอน และบ้ าน วัดจันทร์ อ�ำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ ย้ ายมาตังถิ ้ ่นฐาน ถาวรที่บ้านเมืองแพมจนกระทัง่ ถึงปั จจุบนั ซึง่ แรกเริ่ มมีเพียง 18 ครอบครัว กะเหรี่ ยง / ปกาเกอะญอ
13
1
ศาสนาและความเชื่อ ชาวกะเหรี่ ยงในอ�ำเภอปางมะผ้ าส่วนใหญ่ นับถื อ ศาสนาพุทธ – ผี มีการท�ำบุญตักบาตรพระสงฆ์เป็ นกิจวัตร และมีการนับถือผี มีผ้ นู �ำทางจิตวิญญาณทังที ้ ่เป็ นพระสงฆ์ และที่เป็ นหมอผี หมอเมือง เป็ นตัวแทนในการท�ำพิธีกรรม ต่างๆ ในชุมชน ชาวกะเหรี่ ยงบางส่วนนับถือศาสนาคริ สต์ ซึ่งกลุ่มที่นบั ถือศาสนาคริ สต์ ก็จะมีการท�ำพิธีกรรมต่างๆ โดยอิงกับคริ สตศาสนา และมีบาทหลวงเป็ นผู้น�ำ ในการท�ำ พิธีกรรมต่างๆ
ที่สองฝั่งล�ำน�้ำห่างจากสบห้วย สามารถตั้งบ้านเรือนได้
ล�ำน
�้ำสา
ล�ำน �้ำสา
ยย่อ
ย
ที่ระหว่างสบห้วย ห้ามตั้งหมู่บ้าน
ยย่อ
ย
สบห้วยต�่ำ
ล�
ำ
ห้
ว
ย
ภาพลายเส้ นแสดงพื ้นที่บริ เวณล�ำห้ วยที่เหมาะ และ ไม่เหมาะตังหมู ้ บ่ ้ าน
14
1.1
ความเชื่อเกี่ยวกับถิ่นฐานบ้านเรือน
ชาวกะเหรี่ ยงมีความเชื่อ ในการเลือกพื ้นที่ตงถิ ั ้ ่นฐาน บ้ านเรื อนคล้ ายๆ กับคน บนพื ้นที่สงู กลุม่ อื่นๆ ซึง่ มีข้อห้ ามที่สง่ ต่อกันมา ตังแต่ ้ สมัยบรรพบุรุษ ได้ แก่
•
ห้ ามตังหมู ้ บ่ ้ านบริ เวณกิ่วดอย เพราะเป็ นที่ที่สงิ่ ไม่ดีไหลมารวมกัน ถือว่าเป็ นทางเดิน ผ่านของผี มนุษย์ไม่ควรไปอยู่
•
ห้ ามตังหมู ้ บ่ ้ านบนดอยที่มีกิ่วดอยล้ อมรอบ / ในหุบเขาที่มีทางออกเพียงทางเดียว
•
ห้ ามตังบ้ ้ านใกล้กบั ภูเขาลูกโดดและหน้ าผาสูง ชาวกะเหรี่ยงเชือ่ ว่าภูเขาลูกโดดเป็ นทีอ่ ยูข่ องผี
•
ห้ ามตังหมู ้ บ่ ้ านบริ เวณที่ล�ำน� ้ำไหลลงมาจากภูเขาหรื อที่สงู หรื อสบห้ วยที่อยูใ่ นพื ้นที่ต�่ำ เพราะอาจจะเกิดน� ้ำท่วมได้
•
ห้ ามตังหมู ้ บ่ ้ านบริ เวณสบน� ้ำด้ านที่อยูร่ ะหว่างล�ำน�ำที่ไหลมาสบกัน
•
ห้ ามตังหมู ้ ่บ้านระหว่างล�ำน�ำ้ สองสาย ที่ยังสามารถมองจากริ มน�ำ้ สายหนึ่ง ไปยัง อีกสายหนึ่งที่ขนานกันอยู่
•
ห้ ามตังหมู ้ บ่ ้ านบนภูเขาที่มีล�ำน� ้ำขนาบทัง้ 2 ด้ าน / ห้ ามตังบนไหล่ ้ ดอยข้ างล�ำห้ วย ข้ อห้ ามข้ อนี ้อาจยกเว้ นได้ หากเสี่ยงทายแล้ วผลบอกว่าสามารถอยูไ่ ด้
•
บริ เวณใกล้ หนองน� ้ำนิ่ง
•
ห้ ามตังบ้ ้ านเรื อนใกล้ กบั “น� ้ำฮู” ซึง่ จุดที่ล�ำน� ้ำไหลไปลงโพรงใต้ ภเู ขา แต่ไม่ทราบว่าไป ออกทางไหน แต่สามารถใช้ ประโยชน์จากน� ้ำฮูได้
พื ้นที่เหมาะสมในการตังบ้ ้ านเรื อนส�ำหรับชาวกะเหรี่ ยง คือ บริ เวณไหล่เขา หรื อไหล่ดอย ทีไ่ ม่ชนั มากนักหรือสบห้ วยทีไ่ หลมาจากพื ้นราบธรรมดา แต่ให้ ตงบ้ ั ้ านสูงจากล�ำห้ วยเล็กน้ อย
กะเหรี่ ยง / ปกาเกอะญอ
15
ศาลผีบริเวณ ทางเข้าหมู่บ้าน กะเหรี่ยง ภาพ: ศาลผีริมถนนเข้าบ้านเมืองแพม ที่มา: โครงการโบราณคดีบนพื้นที่สูงในอ�ำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน
16
ความเชื่อเรื่องผี
1.2
ชาวกะเหรี่ ยงมีความเชื่อเรื่ องผี ทังผี ้ บรรพบุรุษ ผีน� ้ำ ผีเจ้ าเมือง และมีการจัดพิธีเลี ้ยงผีเมื่อเกิดเหตุเภทภัยใด ๆ กับคนใน ครอบครัวหรื อในชุมชน ผีที่ชาวบ้ านเกรงกลัวและจัดพิธีเลี ้ยงเป็ นประจ�ำ ได้ แก่ ผีเจ้าเมือง
ชาวกะเหรี่ ยงเชื่อว่าผีเจ้ าเมืองเปรี ยบเหมือนผีเจ้ าที่เจ้ าทาง คือ คอยคุ้มครองหมูบ่ ้ าน ต้ องมี การเลี ้ยงเจ้ าเมืองทุกปี เพื่อให้ อยูด่ ีมีสขุ มีการสร้ างหอเจ้ าเมืองขึ ้นโดยก�ำหนดให้ เป็ นบริ เวณ ศักดิ์สทิ ธิ์ ห้ ามมิให้ ตดั ไม้ หรื อล่าสัตว์ในบริ เวณนัน้ เพราะถือว่าเป็ นการรบกวนเจ้ าเมือง และ ห้ ามผู้หญิงขึ ้นไปบนหอเจ้ าเมืองหรื อแตะต้ องหอเจ้ าเมือง
ผีน�้ำ
เป็ นผีที่อยูต่ ามป่ า ตาม ต้ นน� ้ำ ล�ำน� ้ำ น� ้ำฮู หากผู้คนลบหลู่ เช่น ทิ ้งขยะลงน� ้ำ ท�ำให้ น� ้ำสกปรก ขว้ างก้ อนหินใส่น� ้ำหู ผีน� ้ำจะท�ำให้ ได้ รับความเดือดร้ อน ต้ องให้ หมอผีท�ำพิธีเลี ้ยงผีน� ้ำ
ผีฝาย
เป็ นผีที่ดแู ลล�ำฝาย ล�ำเหมืองส่งน� ้ำเข้ าที่นา คนที่ใช้ น� ้ำจากล�ำเหมืองแต่ละแห่งต้ องร่วมกัน เลี ้ยงผีฝาย
ผีแมน
ภาษากะเหรี่ ยงเรี ยก “ปอมีปอเทอ” ชาวกะเหรี่ ยงเชื่อว่าผีแมนเป็ นเจ้ าของโลงไม้ ในถ� ้ำแถบ ปางมะผ้ า มีลกั ษณะทัว่ ไปคล้ ายชาวกะเหรี่ ยง แต่งกายเหมือนกัน แต่รูปร่างสูงใหญ่เหมือน ชาวตะวันตก ผีแมนจะมาปรากฎตัวให้ เห็นเวลาที่ชาวบ้ านท�ำผิด เช่น ออกไปตัดไม้ ในป่ าใน วันศีล ตัดไม้ ไผ่มาท�ำข้ าวหลามในวันศีล โดยเฉพาะวันพระใหญ่ที่พระจันทร์ เต็มดวง เวลา ผีแมนมา หมู ไก่ และสัตว์เลี ้ยงต่างๆ ในหมูบ่ ้ านจะตกใจเหมือนมีคนเข้ ามารบกวน
กะเหรี่ ยง / ปกาเกอะญอ
17
1.3 ความเชื่อเกี่ยวกับความตาย ชาวกะเหรี่ ยงแบ่งความตายเป็ น 2 แบบ คือ ตายดีและตาย ไม่ดี ตายดี คือ การตายตามปกติ เช่น การตายในหมูบ่ ้ าน ป่ วยตาย แก่ตาย ส่วนตายไม่ดี เช่น ตายนอกเขตหมูบ่ ้ าน ประสบอุบตั เิ หตุ ถูกสัตว์ป่ากัดตาย หรื อคลอดลูกตาย ซึง่ จะ ท�ำพิธีศพไม่เหมือนกัน ตายดีจะจัดพิธีศพตามปกติ แต่ตาย ไม่ดีจะต้ องท�ำพิธีศพให้ เสร็ จทันที ไม่มีการเก็บศพเอาไว้ 7 วัน เหมือนคนที่ตายดี การท�ำศพมีทงการฝั ั้ งและการเผา ใน ฤดูฝนจะฝังศพ แต่ถ้าฤดูร้อน ฤดูหนาว จะท�ำศพด้ วยการ เผา ป่ าช้ าของชาวกะเหรี่ ยงจะแบ่งกันระหว่างป่ าช้ าฝังและ ป่ าช้ าเผา อาจจะอยูใ่ นพื ้นที่เดียวกันได้ แต่จะแยกอาณาเขต กันชัดเจนระหว่างป่ าช้ าฝังและป่ าช้ าเผา
1.4 ความเชื่อเกี่ยวกับการแต่งงาน
ชาวกะเหรี่ ยงมีความเชื่อว่าผู้หญิงที่ตายไปโดยที่ไม่แต่งงาน ถือเป็ นบาป ดังนัน้ จึงมีการให้ ความส�ำคัญกับการมีคคู่ รอง เป็ นอย่างมาก การแต่งงานกับคนในหมูบ่ ้ านเดียวกันอาจจะ จัดกันอย่างเรี ยบง่าย แต่หากแต่งงานกับคนต่างหมูบ่ ้ านจะ จัดยิ่งใหญ่กว่าเพราะถือว่าเป็ นหน้ าเป็ นตาของหมูบ่ ้ าน และ ในการแต่งงาน จะถือว่าฝ่ ายชายเป็ นใหญ่ เป็ นแรงงาน ที่ส�ำคัญในการท�ำไร่ ท�ำนา ดังนัน้ ฝ่ ายหญิ งจึงต้ องเป็ น ฝ่ ายสู่ขอฝ่ ายชาย 18
ตายดี
เก็บศพไว้ 1,3 หรื อ 7 คืน ท�ำพิธีศพตามปกติ
ตายไม่ดี
ไม่เก็บศพเอาไว้ ต้ องท�ำพิธีศพให้ เสร็ จทันที
เผา
ฤดูร้อน / ฤดูหนาว
ฝัง
ฤดูฝน
2
พิธีกรรม 2.1
การเสี่ยงทายพื้นที่ตั้งหมู่บ้าน เมื่อเลือกที่ตงหมู ั ้ ่บ้านได้ แล้ ว หมอผีจะท�ำพิธีปักกระดูกไก่เพื่อเสี่ยงทาย โดย น�ำไก่ที่คดั เลือกแล้ วว่าสมบูรณ์ ดีมาฆ่า และน�ำกระดูกส่วนที่ขามาขูดหารู เส้ น ประสาท แล้ วใช้ ไม้ เหลาแหลมปั กลงไป หมอผีจะท�ำนายจากทิศทางไม้ ที่ปัก ลงไปว่าดีหรื อไม่ดี หากเสี่ยงทายแล้ วดีก็สามารถตังหมู ้ ่บ้านได้ แต่หากไม่ดีก็ ต้ องย้ ายไปบริ เวณอื่นๆ อาจจะใกล้ ๆ กันนัน้ อีกวิธีการหนึง่ คือ ขุดหลุมเล็กๆ 1 หลุมบริ เวณที่จะตังหมู ้ บ่ ้ าน แล้ วน�ำดินจากการ ขุดถมคืนลงไปในหลุมเดิม ถ้ าถมไม่เต็มแสดงว่าไม่ดี ไม่ควรตังหมู ้ บ่ ้ าน แต่หาก ดินกองล้ นออกมาจากหลุมเชื่อว่าตังถิ ้ ่นฐานแล้ วดี ปลูกอะไรก็เจริ ญงอกงาม
2.2
พิธีแต่งงานที่น�ำเสนอในเอกสารฉบับนี้ เป็นพิธีแต่งงานระหว่างคนจากต่าง หมู่บ้าน อาจมีรายละเอียดไม่เหมือนกับ พิธีแต่งงานของคนในหมู่บ้านเดียวกัน
การแต่งงาน
พิธีแต่งงานของชาวกะเหรี่ ยงกินเวลายาวนาน ประมาณ 1 เดือนจึงจะเสร็ จ สมบูรณ์ เริ่ มตังแต่ ้ เมื่อหญิงชายตกลงปลงใจจะใช้ ชีวิตคูร่ ่ วมกัน ฝ่ ายหญิงจะส่ง ผู้ใ หญ่ ไ ปสู่ข อฝ่ ายชายและมัก มี ก ารต่อ รองกัน หลายครั ง้ จนกระทั่ง ฝ่ ายชาย ตกลง โดยที่ไม่มีการเรี ยกสินสอดแต่อย่างใด จากนันจึ ้ งมีการก�ำหนดวันแต่งงาน ฝ่ ายเจ้ าบ่าวจะต้ องต้ มเหล้ าให้ เสร็ จก่อนวันแต่งงาน ฝ่ ายหญิงก็จะเตรี ยมซื ้อหมู อาหาร และต้ มเหล้ าส�ำหรับวันงาน โดยมีคนในหมู่บ้านจะน�ำเหล้ าและอาหาร มาให้ เพื่อแสดงน� ้ำใจก่อนวันแต่งงาน ญาติฝ่ายเจ้ าสาวจะส่งตัวแทนไปรับขบวน เจ้ าบ่าว หากมาจากต่างหมู่บ้านก็ต้องไปรับระหว่างทางมาหมู่บ้าน เมื่อมาถึง จุดนัดพบ ก็จะมีการจุดประทัดหรื อยิงปื นขึน้ ฟ้า เพื่อส่งสัญญาณให้ คนใน หมู่บ้านทราบ ที่หมู่บ้านจะมีการตังขบวนรั ้ บเจ้ าบ่าวตังแต่ ้ ปากทางเข้ าหมู่บ้าน โดยมีกลุ่มผู้อาวุโสไปรอรั บ พร้ อมกับเหล้ า 1 ขวด เมื่อขบวนเจ้ าบ่าวมาถึง ผู้อาวุโสจะสาดน� ้ำใส่ผ้ มู าเยือนเพื่อเป็ นการต้ อนรับ แล้ วพาขบวนเจ้ าบ่าวไปนัง่ ตรงสถานที่ที่จดั เตรี ยมไว้ รับเจ้ าบ่าว มีการผลัดกันขับล�ำน�ำอวยพร ต้ นรับ แล้ ว ริ นเหล้ าใส่จอกให้ แก่กนั แล้ วส่งเหล้ าให้ เจ้ าบ่าวดื่มจนกว่าเหล้ าต้ ม 1 ขวดที่ เตรี ยมมาจะหมดจึงถือว่าสิ ้นสุดพิธีรับเจ้ าบ่าว กะเหรี่ ยง / ปกาเกอะญอ
19
พิ ธี มั ด มื อ เจ้ า บ่ า ว - เจ้ า สาว ในพิ ธี แ ต่ ง งานแบบชาวกะเหรี่ ย ง
เมื่อเสร็ จพิธีต้อนรับเจ้ าบ่าวแล้ ว เจ้ าบ่าวจะไปที่บ้านหลังหนึ่ง ที่เตรี ยมไว้ ให้ เจ้ าบ่าวพัก ระหว่างรอพิธีที่บ้านหลังนี ้จะมีการฆ่าหมู 1 ตัวส�ำหรับเลี ้ยงเจ้ าบ่าว ส่วนญาติๆ เจ้ าบ่าวที่ ตามมาด้ วยจะไปที่บ้านเจ้ าสาวเพื่อท�ำความรู้ จกั กับเจ้ าสาว และรับประทานอาหารที่ญาติ ฝ่ ายเจ้ าสาวเตรี ยมไว้ ให้ และบริ เวณลานบ้ านเจ้ าสาวจะมีชายหนุ่มในหมู่บ้านของเจ้ าสาว มารวมตัวกัน เนื่องจากจะมีโอกาสที่จะได้ พบกับหญิงสาวจากต่างหมู่บ้าน ที่มาร่ วมงาน แต่งงาน ซึง่ อาจจะพบคนที่ถกู ใจและสานสัมพันธ์กนั จนได้ แต่งงานในอนาคต เมื่อญาติเจ้ าบ่าวรั บประทานอาหารที่บ้านเจ้ าสาวเสร็ จแล้ ว ผู้อาวุโสฝ่ ายเจ้ าบ่าวและ เจ้ าสาวจะมานั่งร่ วมกับเจ้ าสาวดื่มเหล้ าและร้ องเพลงอวยพรโต้ ตอบกัน แล้ วกล่าวอวยพร เจ้ าสาว จากนันผู ้ ้ อาวุโสก็จะไปอวยพรเจ้ าบ่าวที่บ้านหลังที่เจ้ าบ่าวรออยู่ มีการดื่มเหล้ าเพื่อ รับค�ำอวยพรเช่นกัน เมื่อเสร็ จพิธีอวยพรแล้ เจ้ าบ่าวก็จะไปหาเจ้ าสาวที่บ้าน นัง่ เคียงข้ างกัน รั บค�ำอวยพรจากผู้อาวุโสพร้ อมกันอีกครั ง้ หนึ่ง จากนัน้ เจ้ าบ่าวจะแยกตัวกลับไปที่บ้าน หลังเดิมอีกครัง้ เพื่อรับประทานอาหาร 1 มื ้อ ซึง่ อาจจะต้ องฆ่าหมูเพิ่มหากอาหารไม่เพียงพอ 20
สุดท้ายคือพิธีมัดมือ ซึง่ มีความส�ำคัญมาก ฝ่ ายเจ้ าสาวจะส่งคนไปตามเจ้ าบ่าว มาที่บ้าน แต่ฝ่ายเจ้ าบ่าวจะต้ องส่งเพื่อนเจ้ าบ่าวพร้ อมกับ ย่ามใส่กระเป๋ าเงินของเจ้ าบ่าวไปให้ เจ้ าสาวก่อน เจ้ าสาว รับย่ามเข้ าไปในห้ องนอน เก็บกระเป๋ าเงินของเจ้ าบ่าวไว้ แล้ วส่งย่ามเปล่าคืนให้ กบั เพือ่ นเจ้ าบ่าวคนเดิม เมือ่ คาดคะเน ว่าเพื่อนน�ำย่ามไปให้ เจ้ าสาวเรี ยบร้ อยแล้ ว เจ้ าบ่าวจะ เดินทางไปบ้ านเจ้ าสาว เจ้ าสาวจะออกมารอ ที่ชานบันได พร้ อมกับน�ำ้ สะอาด ล้ างเท้ าให้ กับเจ้ าบ่าวก่อนขึน้ บ้ าน จากนัน้ เจ้ าสาวจะเปลี่ยนเสื ้อผ้ า เป็ นชุดสีขาวตัวยาวอัน เป็ นสัญลักษณ์ของสาวบริ สทุ ธิ์ ชุดของหญิงที่แต่งงานแล้ ว คือผ้ าถุงสีแดงกับเสื ้อสีด�ำทอลายหลากสี ปั กประดับด้ วย ลูกเดือย โพกศีรษะด้ วยผ้ าขนหนู เมื่อเปลี่ยนเสื ้อผ้ าแล้ วจะ ส่งเสื ้อผ้ าชุดใหม่ให้ กบั เจ้ าบ่าว คือ เสื ้อเชิ ้ตแขนยาวสีขาว เสื ้อผู้ชายของชาวกะเหรี่ ยง ผ้ าโพกศีรษะ และย่าม 1 ใบ เจ้ าบ่าวจะเปลี่ยนเป็ นชุดดังกล่าวเพื่อเข้ าพิธีมดั มือ ด้ายสีขาวพันรอบข้อมือ 3 รอบ มัดปมอีก 3 ครั้ง แล้วจึงดึงชายด้าย ที่เหลือให้ขาด แล้วน�ำมาวางไว้บนไหล่ ของเจ้าบ่าวหรือเจ้าสาว
ในพิธีมดั มือจะมีการจัดเตรี ยมพิธีโดยมีหมอน 2 ใบวางคูก่ นั ด้ านหน้ ามีพานและขันใส่ดอกไม้ พ่อแม่ คนเฒ่าคนแก่ ของ ฝ่ ายจะสาวจะเริ่ มมัดมือให้ เจ้ าบ่าวเจ้ าสาว โดยใช้ ด้ายสีขาว พันรอบข้ อมือ 3 รอบ มัดปมอีก 3 ครัง้ แล้ วจึงดึงชายด้ ายที่ เหลือให้ ขาดแล้ วน�ำมาวางไว้ บนไหล่ของเจ้ าบ่าวหรื อเจ้ าสาว อาจมีการผูกเงินไว้ กบั ด้ ายที่ผกู ข้ อมือหรื อจะเอาเงินใส่ลงไป ในขันใส่ดอกไม้ ด้านหน้ าก็ได้ หากวันแต่งงานเป็ นวันเสาร์จะ ต้ องท�ำพิธีให้ เสร็จก่อนเทีย่ งคืนเพือ่ ให้ เจ้ าบ่าวเจ้ าสาวเปลี่ยน เสื ้อผ้ าชุดใหม่ ซึง่ ตามความเชื่อแล้ ว ใส่เสื ้อผ้ าชุดใหม่ใน วันอาทิตย์ไม่ได้ การแต่งงานจึงไม่สามารถท�ำวันอาทิตย์ได้ และหากแต่งงานเลยไปจนเป็ นวันอาทิตย์ ก็ต้องจัดพิธีใหม่
เช้ าวันรุ่ งขึน้ เจ้ าสาวจะต้ องตื่นแต่เช้ ามาหุงข้ าวและท�ำ อาหารเลี ้ยงญาติฝ่ายเจ้ าบ่าวเพื่อแสดงฝี มือการปรุ งอาหาร เมื่อกินอาหารเช้ าเสร็ จ ก็จะมีพิธีการส่งญาติเจ้ าบ่าว คือ เจ้ าบ่าวและเจ้ าสาวจะนัง่ รับค�ำอวยพรและดื่มเหล้ าร่ วมกับ ญาติฝ่ายชาย ญาติเจ้ าสาวจะน�ำหมูตวั แรกทีฆ่ า่ เลี ้ยงในงาน พร้ อมกับข้ าวสุกห่อ ให้ ญาติเจ้ าบ่าวน�ำกลับไปพร้ อมกับ เหล้ าต้ ม หลังจากนัน้ ญาติฝ่ายเจ้ าบ่าวจะเดินทางกลับ หมูบ่ ้ านตนเอง เหลือไว้ แต่เจ้ าบ่าว และเพื่อนหรื อน้ องชาย อยูเ่ ป็ นเพื่อน ก่อนจะออกจากหมูบ่ ้ าน ญาติเจ้ าบ่าวกับญาติ เจ้ าสาวจะมีการยื ้อแย่งตัวเจ้ าบ่าวกันพอเป็ นพิธี หลังจากนัน้ ญาติเจ้ าบ่าวจะยอมปล่อยตัวเจ้ าบ่าว และกลับหมูบ่ ้ าน โดย ขากลับจากหมู่บ้านของเจ้ าสาว ญาติเจ้ าบ่าวจะต้ องแวะ เลี ้ยงผีโดยใช้ ข้าวและเหล้ าเป็ นเครื่ องเซ่นบริ เวณล�ำน� ้ำแถบ ทางเข้ าหมูบ่ ้ าน เพื่อบูชาผีน� ้ำ และเมื่อกลับไปถึงหมูบ่ ้ าน ของตนก็ จะน� ำ หัวหมูที่ น�ำ มาบ้ านเจ้ าสาว มาต้ ม และท� ำ อาหารใหม่ และน� ำ เหล้ าที่ เจ้ าบ่าวต้ ม ไว้ ก่อ นออกจาก หมูบ่ ้ านมากินเลี ้ยงกัน 1 คืน เจ้ าบ่าวจะอยูท่ ี่บ้านเจ้ าสาว 3 วัน แล้ วเดินทางกลับหมูบ่ ้ านตนเองพร้ อมกับญาติหรื อเพื่อน ที่มาอยูเ่ ป็ นเพื่อนและตัวแทนญาติฝ่ายเจ้ าสาว 1 กลุม่ เพื่อ รับเลี ้ยงจากฝ่ ายเจ้ าบ่าว และอยู่ที่บ้านตนเองอีกประมาณ 10 วัน จึงกลับไปที่บ้านเจ้ าสาว ระหว่างที่เจ้ าสาวรออยูท่ ี่ บ้ านตนเองก็จะทอเสื ้อและย่ามเตรี ยมไว้ ส�ำหรับเป็ นของ ขวัญให้ พอ่ เจ้ าบ่าว เมื่อเจ้ าบ่าวมาบ้ านเจ้ าสาวได้ ประมาณ 7 วัน ก็จะพาเจ้ าสาวกลับไปบ้ านของตน เพื่อให้ เจ้ าสาวได้ ผ่าฟื นและท�ำอาหารให้ พอ่ แม่ของฝ่ ายเจ้ าบ่าว เพื่อแสดงให้ เห็นถึงความขยันขันแข็งของลูกสะใภ้ เจ้ าสาวและเจ้ าบ่าว จะอยูท่ ี่บ้านเจ้ าบ่าวประมาณ 7 วัน เมี่อครบ 7 วัน เจ้ าสาว จะได้ รับของขวัญจากแม่สามี เป็ นเสื ้อทอที่ปักลวดลาย สวยงาม จากนัน้ ทัง้ คู่จึงจะเดินทางไปอยู่บ้านของตนเอง การแต่งงานของชาวกะเหรี่ ยงใช้ งบประมาณค่อนข้ างสูง โดยเฉพาะทางฝ่ ายเจ้ าสาว เพราะต้ องมีการฆ่าหมูเพื่อ กินเลี ้ยงในงานแต่งงาน ซึง่ บางครัง้ ฝ่ ายเจ้ าบ่าวก็จะช่วย ออกค่าใช้ จ่ายด้ วยได้ ชาวกะเหรี่ ยงไม่มีธรรมเนียมในการ เก็บค่าสินสอด แต่ถือว่าถ้ าใครมีเงินทองก็สามารถช่วยเหลือ กันในเรื่ องค่าใช้ จา่ ยในการจัดงานได้ กะเหรี่ ยง / ปกาเกอะญอ
21
2.3 การท�ำศพ
ชาวกะเหรี่ ยงให้ ความส�ำคัญกับการท�ำศพมาก เพราะถือว่า เป็ นการให้ เกียรติผ้ ูตายเป็ นครั ง้ สุดท้ าย หากมีการตาย เกิดขึ ้น และการตายนันเป็ ้ นการตายดี ชาวกะเหรี่ ยงจะเก็บ ศพไว้ จ�ำนวนวันคี่ คือ 1 คืน 3 คืน หรื อ 7 คืน แล้ วแต่ฐานะ ทางการเงินของครอบครัวผู้ตาย หรื อจ�ำนวนญาติพี่น้องหรื อ บุคคลที่ให้ ความเคารพต่อผู้ตาย ยิ่งร�่ ำรวยหรื อมีลกู หลาน ญาติพี่น้อง หรื อคนที่เคารพรักมากก็จะยิ่งเก็บศพไว้ นาน เพื่อรอให้ เดินทางมาเคารพศพได้ ทนั แต่หากตายไม่ดีก็จะ ต้ องรี บท�ำพิธีศพให้ เสร็ จสิ ้นภายในวันนัน้ การท�ำศพจะใช้ เสื่อไม้ ไผ่แบบเดียวกับที่ใช้ ตากข้ าวมาห่อ ศพแล้ วน�ำไปไว้ กลางบ้ านเพื่อรอให้ คนในหมู่บ้านมาท�ำพิธี แต่หากผู้ตายเป็ นคนที่ชาวบ้ านนับถือ เช่น ผู้น�ำหมู่บ้าน ชาวบ้ านและลูกหลาน จะช่วยกันขุดโลง จากต้ นไม้ ทงต้ ั้ น ลักษณะคล้ ายกับ โลงผี แ มน แต่จ ะไม่มี การสลัก หัวโลง เป็ นแต่เพียงตัดหัวท้ ายเรี ยบๆ แล้ วน�ำศพผู้ตายใส่ไว้ ในโลง พิธีศพท�ำได้ ทงฝั ั ้ งและเผาขึ ้นอยูก่ บั ว่าผู้ตายตายช่วงฤดูกาลใด หากตายในฤดูฝนจะฝัง แต่หากตายในฤดูร้อนและฤดูหนาว ก็จะเผา หรื อท�ำตามที่ผ้ ตู ายสัง่ เสียไว้
22
ในการฝังศพจะมีการใส่ของอุทศิ ให้ กบั ผู้ตายประกอบไปด้ วย เสื ้อผ้ าชุดใหม่ที่ใส่ให้ ผ้ ตู าย เงินโบราณที่เรี ยกว่าเงินแถบวาง ไว้ บนศพ 8 จุด คือ ตา 2 ข้ าง ปาก อก มือ 2 ข้ าง เท้ า 2 ข้ าง อาจมีการใส่เครื่ องมือเครื่ องใช้ อื่นๆ ไปด้ วย เวลาที่ฝังจะคว�่ำ หน้ าผู้ตายลงไปในหลุม หากใส่โลง จะน�ำออกมาจากโลง คว�่ำหน้ าลงในหลุม แล้ วทุบท�ำลายโลงก่อนจะฝังตามลงไป ส่วนของอุทิศอื่นๆ เช่น จาน ชาม ช้ อน ที่นอนหมอนมุ้ง ก็จะ ท�ำลายให้ เสียหายก่อนเพราะคนกะเหรี่ยงเชือ่ ว่าของทีส่ มบูรณ์ คือของคนเป็ น ส่วนของแตกหักเสียหายคือของคนตาย
ของที่สมบูรณ์คือของคนเป็น ของแตกหักเสียหายคือของคนตาย ส่วนเมล็ดพืชที่ให้ คนตายไปปลูกในโลกที่เดินทางไปอยู่ก็จะ เป็ นเมล็ดพืชที่ปลูกกัน ในไร่นาของชาวบ้ านนัน่ เอง ซึง่ ของ อุทิศเหล่านี ้จะวางไว้ ที่โคนต้ นไม้ ไม่ได้ ฝังไปกับศพ หากท�ำ ศพด้ วยการเผาก็จะวางศพคว�่ำหน้ าเช่นเดียวกับฝัง ส่วนของ อุทิศจะน�ำไปเผาที่อื่นต่างหาก ส�ำหรับคนตายที่เ ป็ นหญิ ง ไม่แต่งงาน จะท�ำพิธีฝัง โดยใส่ชดุ ผู้หญิงแต่งงานแล้ วให้ กบั ผู้ตาย และฝังในสถานที่ฝังแยกออกไปจากคนอื่นๆ ด้ วย
3
การด�ำรงชีวิต
ระบบการแลกเปลี่ยนแรงงานกันในเครือญาติ และชุมชนที่เรียกว่า เอาแรง
3.1 การผลิต
การเกษตร ส่ ว นใหญ่ ช าวกะเหรี่ ย งท� ำ ไร่ โดยท� ำ ไร่ แ บบหมุน เวี ย น ครอบครั วหนึ่งมีที่ไร่ หลายแห่ง แต่ละปี จะเลือกท�ำเพียง แห่งเดียว เมื่อจบการท�ำไร่ ในปี นนก็ ั ้ จะทิ ้งไว้ แล้ วไปท�ำ ที่ไร่ แห่งอื่นของตนเอง หมุนเวียนกันไปเพื่อให้ ผืนดินยังคง ความอุมสมบูรณ์ และได้ ผลผลิตมาก ชาวกะเหรี่ ยงยังมี ระบบการแลกเปลี่ยนแรงงานกันในเครื อญาติและชุมชนที่ เรี ยกว่า “ เอาแรง ” อยู่ ส่วนมากจะมีการเอาแรงกันในช่วง เก็บเกี่ยว การถางไร่ และการเผาไร่ ชาวกะเหรี่ ยงท�ำเกษตรตามฤดูกาล คือ ช่วงฤดูฝน เป็ นช่วง ลงเมล็ดพันธุ์ในดิน คอยดูแลไม่ให้ สตั ว์ป่า เช่น นก ลิง หนู เก้ ง กวาง มาขโมยกินเมล็ดพืช นอกจากนี ้ ยังมีการปลูกพืช พรรณธัญญาหารที่ใช้ เป็ นอาหารในครัวเรื อนในช่วงเดียวกัน นี ้ด้ วย เช่น เผือก มัน แตง พริ ก มะละกอ เป็ นต้ น พอเข้ าสู่ ช่วงฤดูหนาว เป็ นช่วงเก็บเกี่ยวผลผลิต จากนันทิ ้ ้งไร่ ไว้ ให้ พักตัว ปลายฤดูหนาวก็จะเริ่ มตีไร่ หรื อถางไร่ ในพื ้นที่ใหม่ที่ จะท�ำในรอบการผลิตถัดไป และเมื่อถึงฤดูร้อน ชาวบ้ านก็จะ เผาไร่ ซึง่ ก่อนจะเผาไร่ต้องมีการท�ำแนวกันไฟ และต้ องมี การเอาแรงเพื่อช่วยกันดูแลไม่ให้ ไฟลามไหม้ ป่า นอกจากท�ำไร่ แล้ ว ชาวบ้ านท�ำนาด้ วย โดยส่วนใหญ่ปลูก ข้ าวไร่ เพื่อกินเอง ส่วนพืชไร่ ปลูกเพื่อจ�ำหน่ายและเพื่อกิน ด้ วยส่วนหนึ่ง พืชไร่ ที่ปลูกส่วนใหญ่ ได่แก่ ข้ าวโพด ผักกาด กระเทียม หอมแดง เป็ นต้ น
กะเหรี่ ยง / ปกาเกอะญอ
23
24
การเลี้ยงสัตว์ ชาวกะเหรี่ ย งเลี ย้ งหมูด� ำ และไก่ เ พื่ อ ใช้ ใ นพิ ธี ก รรมต่า งๆ และเพื่อกินเป็ นอาหาร มักไม่จ�ำหน่ายให้ กบั ผู้อื่น การเลี ้ยงไก่จะปล่อยให้ ไก่หากินเองตามหมูบ่ ้ าน ส�ำหรับวัว ควายจะปล่อยให้ หากินตามป่ า แต่จะต้ อนกลับมาผูกไว้ ใต้ ถุนบ้ านในยามค�่ำคืน แต่บางครอบครัวก็ปล่อยไปเลย ถึงเวลาก็คอ่ ยไปตามกลับมา ส�ำหรับการเลี ้ยงหมูจะท�ำคอก เอาไว้ ให้ อยู่แยกต่างหากหรื อกันคอกไว้ ้ ใต้ ย้ งุ ข้ าวหรื อผูกหมู แผ่นหนังคล้ องตัวหมูกนั หมูโดนเชือกบาด แล้ วผูกไว้ ที่เสา ยุ้งข้ าวก็มี ส�ำหรับการเลี ้ยงหมูแบบชาวบ้ านจะไม่ซื ้ออาหาร สัตว์ส�ำเร็ จรู ปมาให้ สตั ว์กิน แต่มกั จะเก็บหาผักและเมล็ด ข้ าวหักๆ ที่เหลือจากกินเอง น�ำมาต้ มรวมกันเป็ นอาหารหมู เช่น หยวกกล้ วย เมล็ดข้ าวโพด เศษอาหารจากครัวเรื อน เป็ นต้ น
การเก็บของป่าล่าสัตว์ ส่วนใหญ่ชาวบ้ านจะเก็บของป่ าล่าสัตว์ เพียงเพื่อกินใน ครัวเรื อน ผักที่เก็บจะเป็ นพวกยอดผักที่งอกงามตามฤดูกาล ปลีกล้ วยป่ า ผักกูด หัวเผือก หัวมัน สมุนไพรต่างๆ ส่วนสัตว์ ที่ลา่ มากินได้ แก่ เก้ ง กวาง เป็ นต้ น
ภาพ: คอกวัวบ้านเมืองแพม ที่มา: โครงการโบราณคดีบนพื้นที่สูงในอ�ำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน
กะเหรี่ ยง / ปกาเกอะญอ
25
การทอผ้าพันคอ โดยใช้กี่เอว
26
ภาพ: การทอผ้าแบบ “กี่เอว” ชาวปกาเกอะญอ บ้านเมืองแพม อ.ปางมะผ้า จ.แม่ฮ่องสอน ที่มา: โครงการวิจัยเรื่อง การปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ก่อนประวัติศาสตร์กับสิ่งแวดล้อมบนพื้นที่สูงในอ�ำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน
การท�ำงานหัตถกรรม งานหัตถกรรมที่ขึ ้นชื่อของชาวกะเหรี่ ยงที่ปางมะผ้ า คือ การ ทอผ้ าฝ้าย เช่น ผ้ าฝ้ายกะเหรี่ ยงบ้ านเมืองแพม หญิงชาว กะเหรี่ยงทอผ้ าฝ้ายด้ วยกีเ่ อว เมือ่ ก่อนชาวบ้ านปลูกฝ้ายและ ปั่ นฝ้ายเองแต่ปัจจุบนั ซื ้อเส้ นฝ้ายจากตลาดมาย้ อมสีเอง สีที่ ย้ อมมีทงสี ั ้ จากพืชธรรมชาติและสีเคมี ผู้หญิงแต่ละคนใน หมู่บ้านจะใส่เอกลักษณ์ ของตัวเองเข้ าไปในผ้ าทอที่ตนท�ำ ท�ำให้ สามารถแยกแยะกันออกว่าผ้ าผืนไหนเป็ นของใคร
ส�ำหรับชายชาวกะเหรี่ ยงจะท�ำงานหัตถกรรมจักสานไม้ ไผ่ เมื่ อ ว่างจากการเกษตร เช่น การจัก สานเสื่ อ จากไม้ ไ ผ่ ตะกร้ าไม้ ไผ่ทงแบบมี ั้ ฝาปิ ดและไม่มีฝาปิ ด เครื่ องมือหาปลา ส่วนใหญ่จะท�ำเพื่อใช้ เอง แต่ฝืมือจักสานของชาวกะเหรี่ ยง เป็ นที่ยอมรับ ท�ำให้ มีคนมาสัง่ ซื ้องานหัตถกรรมจักสานจาก หมูบ่ ้ านชาวกะเหรี่ ยงอยูบ่ อ่ ย ๆ
ปั จจุบนั มีการทอผ้ าเป็ นผลิตภัณฑ์หลากหลายชนิด เช่น ผ้ าพันคอ ย่าม เสื ้อ ผ้ าถุง ผ้ าปูโต๊ ะ ผ้ าปูที่นอน บางคนก็ทอ เป็ นผืนผ้ าขายให้ ลูกค้ าน�ำไปตัดเย็บเป็ นปลอกหมอนหรื อ ผ้ าม่านอีกด้ วย ส่วนใหญ่จะจ�ำหน่ายอยูท่ ี่หมูบ่ ้ าน โดยมีการ ประสานงานกับทัวร์ เดินป่ า เมื่อไกด์ทวั ร์ พาทัวร์ เดินป่ ามาที่ บ้ านเมืองแพม ผู้หญิงในหมูบ่ ้ านก็จะน�ำผ้ าที่ตนทอเก็บไว้ มา วางจ�ำหน่ายให้ นกั ท่องเที่ยวได้ เลือกซื ้อ บางครัง้ ก็มีคนมา เหมาซื ้อไปขาย
3.2
อาหาร อาหารทีก ่ น ิ กันเป็นประจ�ำของ ชาวกะเหรี่ยง ได้แก่
อาหาร การกินของชาวกะเหรี่ ยงแตกต่างไปตามฤดูกาล
ส่วนใหญ่เก็บหาเอาจากไร่นาและป่ าในละแวกหมูบ่ ้ าน เช่น ผักกูด ผักฮี เผือก มัน หน่อไม้ ผักหวานป่ า ปลีกล้ วย ยอดผัก ป่ า เห็ด บางคนก็อาจจะปลูกผักเอาไว้ บริ เวณไร่ นาของ ตนเอง เช่น ผักกาด แตง เป็ นต้ น นอกจากนี ้ยังมีการตกปลา ล�ำห้ วย และล่าสัตว์จากในป่ ามากินเป็ นอาหาร เช่น เก้ ง กวาง ชาวบ้ านมักรวมตัวเป็ นกลุม่ ออกไปเก็บหาอาหารในป่ า กลุม่ แม่บ้านและเด็ก ๆ มักจะไปขุดเผือกขุดมัน หายอดผัก หาปลามาท�ำอาหาร ส่วนกลุ่มผู้ชายก็จะรวมตัวไปล่าสัตว์ เมื่อได้ อาหารกลับมาก็จะแบ่งกัน ส่วนเนื ้อหมู เนื ้อไก่ จะได้ กินก็ตอ่ เมื่อมีการเลี ้ยงผีหรื อมีพิธีกรรมต่างๆในหมูบ่ ้ าน
น�้ำพริก
ท�ำโดยใช้ พริ ก หอมแดง ย่างไฟ จนหอมแล้ วน�ำมาต�ำกับเกลือ กินกับผักที่หาได้ กินสด ๆ ลวก หรื อต้ ม ข้าวเบ๊อะ
เป็ นการน�ำไก่หรื อหมูมาต้ มกับ ขมิ ้น ปรุงรสด้ วยเกลือและพริ ก และใส่ข้าวสารต้ มรวมกัน กิน เป็ นกับข้ าว
กะเหรี่ ยง / ปกาเกอะญอ
27
การแต่งกายของหญิงสาวชาวกะเหรี่ยง ที่ยังไม่ได้แต่งงาน
3.3 ชาวกะเหรี่ ย งโดยเฉพาะผู้ห ญิ ง มักแต่งกายชุดประจ�ำเผ่าด้ วยผ้ า ฝ้ายที่ทอด้ วยตนเอง หญิงสาวที่ ยังไม่แต่งงานจะแต่งกายด้ วยชุด สีขาวทรงกระบอกยาวที่ ท� ำจาก ผ้ าทอ 2 ผืนเย็บต่อกันเป็ นชุด เว้ น ช่ อ งสวมคอและช่ อ งแขนเอาไว้ มักปล่อยผมยาว
การแต่งกาย
ส่ว นหญิ ง ที่ แ ต่ง งานแล้ ว จะสวม ผ้ าซิน่ สีแดง กับเสื ้อสีด�ำ ทรง กระบอกแบบสัน้ ท�ำจากผ้ าทอ 2 ผืนต่อกัน เว้ นช่องคอและแขนเอา ไว้ ปั กประดับด้ วยฝ้ายสีสนั ต่างๆ และลูกเดือยสวยงาม หญิงชาว กะเหรี่ ย งนิ ย มสวมสร้ อยลูก ปั ด เพราะนอกจากจะสวยงามแล้ วยัง ช่วยให้ อบอุ่นขึน้ ในช่วงฤดูหนาว 28
ปั จจุบนั กลุม่ ที่แต่งกาย ชุดประจ�ำเผ่าจะมีกลุม่ ผู้หญิง ที่แต่งงานแล้ วเสียส่วนใหญ่ ส่วนเด็กสาว จะแต่งชุดสีขาวเมื่ออยูใ่ นหมูบ่ ้ าน และเมื่อมีงานพิธีกรรม เมื่อออกนอกหมูบ่ ้ านจะแต่งตัว ตามสมัยนิยมมากกว่า
ชายชาวกะเหรี่ ยงนิยมใส่เสื ้อผ้ าฝ้ายทอทรงเดียวกันกับเสื ้อผู้หญิง แต่มกั เป็ นสีแดง และมีลายทอที่แตกต่างกับเสื ้อผู้หญิง สวมกับกางเกงคล้ ายๆกับกางเกงสะดอของ คนเมือง สีด�ำ หรื อใส่กบั กางเกงแสล็คขายาวก็มี กะเหรี่ ยง / ปกาเกอะญอ
29
4
4.1 ประเพณีเลี้ยงเมือง
ประเพณี ประเพณีที่ส�ำคัญของชาวกะเหรี่ ยงมีอยู่ 2 ประเพณีด้วยกัน คือ ประเพณีเลี ้ยงเมือง และ ประเพณีมดั มือ มีรายละเอียดดังนี ้
ประเพณี เ ลี้ ย งเมื อ ง
จะจัดขึน้ ในวันขึน้ 13 ค�่ำ หรื อขึน้ 3 ค�่ำ เดื อน 3 ของทุกปี ส่วนใหญ่จะเลือกวันขึ ้น 13 ค�่ำ แต่หากมีคนตายในเดือนที่ จะเลี ้ยงเมือง ก็จะเลื่อนออกไปเลี ้ยงเดือนอื่นแทน การเลีย้ งเมื องจะต้ องใช้ เหล้ าเป็ นส่วนประกอบส�ำคัญจึง ต้ องมีการเตรี ยมลูกแป้ง ส�ำหรับหมักข้ าวที่จะใช้ ต้มเหล้ า โดยให้ สาวบริ สทุ ธิ์เป็ นผู้ท�ำลูกแป้งนี ้ ขณะที่ปัน้ ลูกแป้งจะ ห้ ามไม่ให้ ชายหนุ่มที่ยงั ไม่แต่งงานเข้ าไปดูเด็ดขาด เมื่อได้ ลูกแป้งแล้ วจะน�ำไปหมักข้ าวเพื่อน�ำมากลัน่ เหล้ า กว่าจะได้ เหล้ าที่ใช้ ในพิธีเลี ้ยงเมืองต้ องใช้ เวลาประมาณ 1 เดือน และ ก่อนหน้ าวันเลี ้ยงเมือง 1 วัน คือ วันที่ 12 ค�่ำ หรื อ ขึ ้น 2 ค�่ำ หมอเมืองซึง่ เป็ นผู้น�ำการท�ำพิธีเลี ้ยงเมืองจะเรี ยกให้ ผ้ ชู ายใน หมูบ่ ้ านไปช่วยกันท�ำความสะอาดหอเจ้ าเมือง หากมีสว่ นใด ช�ำรุดก็จะซ่อมแซมให้ อยูใ่ นสภาพเรี ยบร้ อย เมื่ อ วันเลีย้ งเมื องมาถึง ภรรยาและลูกของหมอเมื อ งจะ ท�ำการต้ มเหล้ าทีน่ ำ� ข้ าวทีช่ าวบ้ านในหมูบ่ ้ านเอามาหมักรวม เตรี ยมไว้ และเตรี ยมท�ำขนมนึง่ ซึง่ ท�ำมาจากแป้งข้ าวเจ้ า กวนกับน�ำ้ ตาลห่อใบตองเป็ นรู ปร่ างสี่เหลี่ยมผืนผ้ าแบน ๆ น�ำไปนึง่ ให้สกุ ชุดหมากพลู 1 ชุด และหมู 1 ตัว 30
ซึง่ หมูตวั ที่จะใช้ ท�ำพิธี ชาวบ้ านจะร่ วมกันออกเงินเพื่อซื ้อ มาท�ำพิธี ส่วนครอบครั วอื่น ๆ ที่ไม่ใช่หมอเมืองจะต้ อง เตรี ยมไก่บ้านละ 1 ตัว ใบสะเป่ หรื อ ภาษากะเหรี่ ยงเรี ยกว่า “ ใบสุมีเจ๊ าะ” 1 ก�ำ ข้ าวตอก ชุดหมากพลู 1 ชุด พิธีเลี ้ยงเมืองจะเริ่ มขึ ้นประมาณ 9 โมงเช้ า แต่ละครอบครัว จะส่งตัวแทนผู้ชายขึ ้นไปท�ำพิธีบนหอเจ้ าเมือง ห้ ามผู้หญิง และบุคคลภายนอกที่เกิดและโตนอกหมู่บ้าน ขึน้ ไปบน หอเจ้ าเมืองขณะที่ก�ำลังท�ำพิธีอยู่โดยเด็ดขาด ที่ปากทาง เข้ าหมูบ่ ้ านทุกจุด จะมีตวั แทนหนุม่ สาวของหมูบ่ ้ านจะแบ่ง กันไปเฝ้าไว้ เพื่อกันไม่ให้ มีใครเข้ าออกระหว่างการท�ำพิธี มีการน�ำไม้ ไผ่มาท�ำสัญลักษณ์ คล้ ายๆหัวลูกศร บอกว่า ห้ ามเข้ าเอาไว้ แต่หากมีใครจ�ำเป็ นต้ องเข้ าออกในช่วงนันจริ ้ งๆ จะต้ องจ่ายเงินค่าผ่านทางประมาณ 20 – 30 บาท เพือ่ น�ำไป ให้ หมอเมืองเป็ นการขอผ่านทาง เชื่อกันว่าหากเข้ าออกใน ช่วงดังกล่าว จะท�ำให้ เกิดเคราะห์ร้าย การจ่ายเงินขอผ่านทาง เป็ นเหมื อ นการสะเดาะเคราะห์ไม่ให้ ได้ รับเคราะห์ร้ายจาก การเข้ าออกหมูบ่ ้ านในช่วงการเลี ้ยงเมือง
ส่วนที่บริ เวณหอเจ้ าเมือง จะจูงหมูขึน้ ไปฆ่าก่อนเป็ น อันดับแรก แล้ วผ่าท้ องเพื่อดูดีหมู หากดีหมูมีน� ้ำอยูเ่ ต็มก็ จะถือว่าวันนันเป็ ้ นวันดี หากไม่มีก็ถือว่าเป็ นวันที่ไม่ดีนกั ต่อมาจึงฆ่าไก่ตวั แรก ด้ วยวิธีทบุ หัวให้ ไก่ดิ ้น แล้ วปล่อย ลงในบริ เวณเขตรัว้ หอเจ้ าเมือง จนกระทัง่ เมื่อไก่ตายก็จะ ดูวา่ หัวไก่หนั ไปทางทิศใด หากหัวไก่หนั ไปทางหอเจ้ าเมือง จะถือว่าดีแต่ถ้าหัวไก่หนั ไปทางเดินขึ ้นมาก็จะถือว่าไม่ดี เมื่อท�ำนายเสร็ จก็จะน�ำไก่ไปประกอบอาหารต่อไป หลังจากนันหมอเมื ้ องก็จะฆ่าไก่ทกุ ตัวที่แต่ละครอบครัว เตรี ยมมาให้ แล้ วน�ำไปท�ำอาหารเมื่อประกอบอาหารเสร็จ แล้วจะแบ่งไปเลี ้ยงผีไร่ก่อน โดยต้ องเลี ้ยงด้ วยไก่ 1 ตัว เหล้ า 1 ขวด และข้ าวสุก เมื่อเสร็จพิธี ผู้ชายที่เข้ าร่วมพิธี ด้ านบนหอเจ้ าเมืองจะกินอาหารร่วมกัน ซึง่ ต้ องกินให้ หมด ถ้ าไม่หมดจะกลับมากินต่อในมือ้ ต่อไปก็ได้ แต่ อาหารเหล่านัน้ ไม่สามารถน�ำกลับไปบ้ านได้ เมื่อผู้ชาย ที่ไปประกอบพิธีกลับบ้ านมา กลุ่มหนุ่มสาวที่เฝ้าทาง เข้ าออกหมู่บ้าน ก็จะแยกย้ ายกันกลับบ้ าน หรื อไป เที่ยวเล่น ในวันเลี ้ยงเมือง จะเป็ นวันที่ห้ามท�ำงานทุก ชนิด แม้ แต่งานทอผ้ าในบ้ านก็ตาม พอตกกลางคืนจะมีการกินเหล้ าอวยพรที่บ้านหมอเมือง ตัวแทนผู้ชายจากแต่ละครอบครัวจะน�ำเหล้ าของตนไปที่ บ้ านหมอเมืองคนละ 1 ขวดเล็ก หมอเมืองและกลุม่ ผู้อาวุโสจะอวยพรให้ กบั ทุกคนที่มาร่ วมงาน เมื่อหมอ เมื องและผู้อาวุโสอวยพรแล้ วจะเทเหล้ าเล็กน้ อยลงใน ภาชนะรองรับ แล้ วส่งให้ ผ้ ขู อพรดื่ม จากนันหมอเมื ้ อง และผู้อาวุโสจะดื่มเหล้ าอีกแก้ ว ส่วนเหล้ าที่เทไว้ ใน ภาชนะนี ้ หมอเมืองจะน�ำไปไว้ ที่หอเจ้ าเมืองในวันรุ่งขึ ้น ประหนึ่ ง ว่ า เหล้ าที่ ดื่ ม อวยพรเมื่ อ ตอนกลางคื น นั น้ เป็ นการอวยพรโดยเจ้ าเมือง 31
พ่อเฒ่า บ้านเมืองแพม เตรียมตัวไป ร่วมประเพณี เลี้ยงเมือง
32
3.2 ประเพณีมัดมือ
ประเพณีมดั มือจัดขึ ้นปี ละ 2 ครัง้ ครัง้ แรกจัดขึ ้นในวันขึ ้น 14 ค�่ำ เดือน 3 หรื อต่อจากวันเลี ้ยงเมือง ส่วนครัง้ ที่ 2 จะจัดขึ ้น ในวันขึ ้น 14 ค�่ำ เดือน 9 หลังวันเลี ้ยงผีไร่ผีนา จุดประสงค์ ของประเพณี มั ด มื อ คื อ การเรี ย กขวัญ ของสมาชิ ก ใน ครอบครั ว ที่ ห นี ห ายไปให้ กลับ มา และเป็ นการอวยพร ซึง่ กันและกันระหว่างผู้ใหญ่ในบ้ านกับลูกหลาน เมื่อจัดพิธี ภายในบ้ านเสร็ จก็จะตระเวนไปรับและให้ พรตามบ้ านอื่นๆ ในชุมชนจนครบทุกบ้ าน
การเรียกขวัญ ของสมาชิกในครอบครัว ที่หนีหายไปให้กลับมา และเป็นการอวยพร ซึ่งกันและกันระหว่างผู้ใหญ่ในบ้านกับลูกหลาน สิง่ ของที่ต้องใช้ ในพิธีมดั มือ ประกอบด้ วย เหล้ า 1 ขวด อาหารคาว อาจเป็ นไก่หรื อหมูก็ได้ ข้ าวสุก ขนมต้ ม ซึง่ เป็ น ขนมที่ท�ำมาจากข้ าวเหนียวต้ ม ห่อด้ วยใบไม้ มี 2 รูปร่าง แบบหนึง่ ท�ำเป็ นกรวย เรี ยกว่า ขนมต้ มตัวเมีย อีกแบบหนึง่ ห่อเป็ นสามเหลี่ยมด้ านเท่ามุมกว้ าง เรี ยกว่า ขนมต้ มตัวผู้ เสื ้อผ้ าชุดใหม่ของผู้หญิง 1 ชุด และของผู้ชาย 1 ชุด ไม้ คน ข้ าวท�ำจากไม้ ไผ่ และด้ ายที่ใช้ มดั มือ
พิธีมดั มือเริ่ มตังแต่ ้ ก่อนจะฆ่าหมูหรื อไก่จะต้ องน�ำสัตว์ที่จะ ฆ่ามาไว้ ที่หน้ าบันไดทางขึ ้นบ้ าน ใช้ ไม้ คนข้ าวมาเคาะที่ตวั สัตว์ เพื่อเป็ นการเรี ยกขวัญของสมาชิกในครัวเรื อนที่ออกไป จากตัวให้ กลับมารอรับของไหว้ ที่บ้าน เมื่อฆ่าเสร็ จแล้ วจะ ช�ำแหละแยกชิ ้นส่วนเอาหัว ขา และตับ น�ำมาต้ มให้ พอสุก แล้ วจัดใส่ถาดส�ำรับพร้ อมกันกับของเซ่นไหว้ อนื่ ๆแต่บางบ้ าน ก็อาจจะน�ำเนื ้อสัตว์ที่ช�ำแหละแล้ วมาปรุ งอาหารส�ำเร็ จเลย โดยไม่ได้ แยกชิ ้นส่วนในการไหว้ เมื่อของเซ่นไหว้ พร้ อมแล้ ว สมาชิกในครอบครัวจะมานัง่ รวมตัวกัน หัวหน้ าครอบครัว หรื อผู้อาวุโสในบ้ านจะใช้ ไม้ คนข้ าวเคาะของเซ่นไหว้ ในถาด แล้ วกล่าวค�ำเรี ยกขวัญให้ มารับเครื่ องเซ่นที่เตรี ยมไว้ และ กลับสู่ร่างของสมาชิกในครอบครัว จากนันจึ ้ งเอาเส้ นด้ าย แตะทีส่ ำ� รับอาหารแล้ วน�ำมาผูกข้ อมือให้ กบั ลูกหลาน วิธีการ มัดมือจะเหมือนการมัดในงานแต่งงาน แต่ในกรณีที่มดั มือ เด็กเล็กจะเอาเศษด้ ายที่ดงึ ขาดแล้ ววางบนกระหม่อมแทนที่ จะวางบนไหล่เหมือนผู้ใหญ่ เมื่อมัดมือเสร็ จแล้ วจึงดื่มเหล้ า ร่วมกัน เด็กทีย่ งั ดืม่ เหล้ าไม่ได้ กจ็ ะแตะเหล้ าทีก่ ระหม่อมแทน งานมัด มื อ อาจถื อ ได้ ว่ า เป็ น งานปี ใ หม่ ข องชาวกะเหรี่ ย ง เพราะเป็ นงานที่ลกู หลานที่จากไปที่อื่นจะกลับมารวมตัวกัน อย่างพร้ อมหน้ า ในวันมัดมือจะไม่มีการท�ำงาน แต่เมื่อเสร็ จ การมัดมื อในครอบครั วก็ จะตระเวนไปตามบ้ านหลังอื่ นๆ เพื่ออวยพรให้ กนั ตลอดทังวั ้ น ที่บ้านผู้ใหญ่บ้านจะมีลกู บ้ าน มาชุมนุมกันเพื่อขอพรและเชิญชวนให้ ผ้ ใู หญ่บ้านไปมัดมือ ทีบ่ ้ านของตนบางครัง้ อาจมีการจัดงานมัดมือถึง 2-3วันจนกว่า จะครบกันทุกบ้ านแต่โดยมากจะพยายามไม่จดั เกิน 2 วัน กะเหรี่ ยง / ปกาเกอะญอ
33
5 ศิลปกรรมและสถาปัตยกรรม 5.1 บ้านเรือน แต่เ ดิ ม บ้ า นเรื อ นของชาวกะเหรี่ ย งสร้ างด้ ว ยไม้ ยื น ต้ น และ ไม้ ไผ่ โดยส่วนโครงท�ำมาจากไม้ ยืนต้ น โครงหลังคาท�ำจาก ไม้ ไผ่ล�ำ และมุงหลังคาด้ วยใบตองตึง เนื่องจากเมื่อก่อนการ ตังถิ ้ ่นฐานไม่ถาวรอาจต้ องมีการย้ าย และยังตัดไม้ ในป่ ามา ปรับปรุงบ้ านได้ สะดวก แต่ปัจจุบนั ไม่มีการย้ ายถิ่นฐานบ่อยๆ ประกอบกับเข้ าไปตัดไม้ มาใช้ ประโยชน์ได้ ยาก จึงมีการปรับ เปลี่ยนมาใช้ ไม้ แผ่นแปรรู ปมาจากไม้ สกั และไม้ เนื ้อแข็งอื่นๆ ผนังบ้ านท�ำด้ วยไม้ ไผ่ตีเป็ นไม้ ฟาก และใช้ กระเบื ้องยิปซัมมุง หลังคา อย่างไรก็ตาม บ้ านแบบดังเดิ ้ มก็ยงั คงมีการสร้ างหรื อ เก็บไว้ ใช้ ประโยชน์ เช่น ท�ำเป็ นห้ องครัว มีการสร้ างเตาไฟเอาไว้ ในบ้ าน เรี ยก ครัวไฟ เป็ นพื ้นที่ที่คนในครอบครัวนัง่ ใช้ เวลา ร่วมกันในการพูดคุย ผิงไฟ พร้ อมกับจิบน� ้ำเมี่ยง ( น� ้ำชา) หรื อ แม้ แต่นอนในช่วงฤดูหนาว บางครั ง้ ก็สนทนากับแขกที่มา เยี่ยมเยือนที่ครัวไฟนี ้เอง บ้านแบบดั้งเดิม ของชาวกะเหรี่ยง ภาพ: บ้านแบบดั้งเดิมของชาวกะเหรี่ยง บ้านเมืองแพม ที่มา: โครงการโบราณคดีบนพื้นที่สูงในอ�ำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน
34
กะเหรี่ ยง / ปกาเกอะญอ
35
พื้นที่ใต้ถุนบ้านที่ดัดแปลง เป็นพื้นที่ทอผ้าของแม่บ้าน
บ้ า นชาวกะเหรี่ ย งยกพื น้ สูง และมี ก ารใช้ ประโยชน์ จากใต้ ถุนบ้ านได้ หลายอย่าง เช่น แบ่งพื ้นที่ใต้ ถนุ ส่วนหนึ่งเป็ นที่ทอผ้ า ชาวบ้ าน จะน� ำ ไม้ ไ ผ่ ม าตี เ ป็ น ไม้ ฟ ากปูบ นโครงไม้ ไ ผ่ ยกขึ น้ เป็ น พื น้ ให้ แ ม่ บ้ า นได้ นั่ง ทอผ้ า ในช่ ว ง กลางวัน ส่วนพื ้นที่ใต้ ถนุ อีกส่วนที่เหลือก็อาจ จะเอาผูกวัว /ควายที่เลีย้ งไว้ หรื อบางบ้ านก็ ยังแบ่งใต้ ถุนเป็ นพืน้ ที่เก็บตุนฟื น
36
ภาพ: การทอผ้าแบบ “กี่เอว” ชาวปกาเกอะญอ บ้านเมืองแพม อ.ปางมะผ้า จ.แม่ฮ่องสอน ที่มา: โครงการวิจัยเรื่อง การปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ก่อนประวัติศาสตร์กับสิ่งแวดล้อมบนพื้นที่สูงในอ�ำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน
กะเหรี่ ยง / ปกาเกอะญอ
37
ลาหู่นะ ลาหู่ด�ำ ภาพ ที่มา : นีรนรา อนุศิลป์
38
ลาหู ่ น ะ หรือ ลาหู่ด�ำ ลาหู่
เป็นชื่อของกลุ่มตระกูลภาษาสาขาย่อยตระกูลหนึ่งของภาษา ธิเบโต – เบอร์มัน สืบเชื้อสายมาจากพวก Lo – Lo ที่มีถิ่นที่อยู่ในเขต มณฑลยูนนานของจีน เขตประเทศพะม่าระหว่างลุ่มแม่น�้ำส�ำคัญคือ ลุ่มแม่น�้ำสาละวินตะวันตกและแม่น�้ำโขงตะวันออก เขตประเทศลาว ในเมืองน�้ำทา และเขตเทือกเขาสูง ทางตอนเหนือของประเทศไทย กลุ่มชาติพันธุ์ลาหู่สามารถแยกย่อยได้ถึง 23 กลุ่ม ส�ำหรับในอ�ำเภอ ปางมะผ้า มีกลุ่มลาหู่ 2 กลุ่มใหญ่ คือ ลาหู่นะหรือลาหู่ด�ำ และลาหู่ยี หรือลาหู่แดง กลุ่มลาหู่แต่ละกลุ่ม มีความแตกต่างกันเล็กน้อยเรื่อง ภาษาและการแต่งกาย
ถิ่นก�ำเนิดดั้งเดิมของชาวลาหู่เชื่อว่าอยู่ในธิเบต ต่อมาถูกจีนรุกรานแล้ว จึงถอยร่นลงมาอยู่ในเขตลุ่มน�้ำสาละวิน และแม่น�้ำโขงบริเวณที่เป็น มณฑลยูนนานในปัจจุบันใกล้กับชายแดนจีน – พม่า ซึ่งมีการอพยพ จากจีนลงสู่พม่าเมื่อราวปลายคริสตศตวรรษที่ 19 กลุ่มชาติพันธุ์ลาหู่ เดิ น ทางเข้ า สู ่ ป ระเทศไทยผ่ า นจั ง หวั ด เชี ย งใหม่ แ ละกระจายไปตั้ ง ถิ่นฐานตามพื้นที่ต่างๆ ในภาคเหนือ โดยเฉพาะในเขตเทือกเขาสูงใกล้ ชายแดนไทย – พม่า ในเชตจังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน ตาก และก�ำแพงเพชร ส�ำหรับในอ�ำเภอปางมะผ้าพบประวัติการเคลื่อน ย้ายเข้ามาในพื้นที่ของชาวลาหู่เมื่อราว 70 – 80 ปีมาแล้ว
จากการศึกษาด้านมานุษยวิทยาในพื้นที่อ�ำเภอปางมะผ้า พบว่าพี่น้อง ลาหู่นะหรือลาหู่ด�ำกลุ่มแรกๆ ที่เข้ามาตั้งถิ่นฐานในอ�ำเภอปางมะผ้าได้ เข้ามาตั้งถิ่นฐานที่บ้านห้วยเฮี๊ยะ จากนั้นได้แยกออกไปตั้งหมู่บ้าน กระจายกันอยู่ในอ�ำเภอปางมะผ้า เช่น บ้านจ่าโบ่ บ้านลุกข้าวหลาม บ้านผาเผือก และบ้านบ่อไคร้ เป็นต้น ชาวลาหู่นะตั้งถิ่นฐานโดยอิงกับเครือข่ายญาติ คนเฒ่าคนแก่ในบ้าน ห้วยเฮี๊ยะได้เล่าให้ฟังว่า ปู่ย่าตายายบอกว่าบรรพบุรุษอพยพมาจาก เมืองแสนหวี ประเทศพม่า แล้วค่อยๆ เคลื่อนย้ายมาที่หน่าต่อ ประเทศพม่า จากนั้นจึงไปอยู่ที่ดอยสามหมื่น ซึ่งตั้งอยู่บริเวณสันเขา แบ่งเขตชายแดนไทย – พม่า แถบหมู่บ้านไม้ลัน ต�ำบลปางมะผ้า อ�ำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน และเมื่อมาอยู่ที่ดอยสามหมื่น ก็ได้ตั้งหลักแหล่งเป็นชุมชนใหญ่ และอาศัยอยู่ที่นั่นเป็นเวลายาวนาน มี ก ารเคลื่ อ นย้ า ยไปมาระหว่ า งพื้ น ที่ อื่น กั บดอยสามหมื่นหลายครั้ง ต่อมาภายหลัง พี่น้องชาวลาหู่นะที่เคยอาศัยอยู่บริเวณดอยสามหมื่น ก็แยกย้ายกันไปตั้งถิ่นฐานตามพื้นที่ต่างๆ ทั้งในอ�ำเภอปางมะผ้าและ จังหวัดต่างๆ ในภาคเหนือ
ลาหู่นะ / ลาหู่ดำ�
39
ชาวลาหู่นะ นับถือศาสนาดังเดิ ้ ม ซึง่ เป็ นความเชื่อเรื่ องผี ควบคู่กับ ศาสนาพุทธเสียเป็ นส่ว นใหญ่ ความเชื่ อ และ พิธีกรรมหลัก ๆจะเกีย่ วข้ องกับผีเสียเป็ นส่วนใหญ่ ชาวลาหูน่ ะ นับถือเทพเจ้ าที่เรี ยกว่า “ ฮื่อชา” โดยจะท�ำตู้ฮื่อชาเอาไว้ ใน บ้ าน ซึ่งตู้ฮื่อชานี ้ จะเปิ ดก็ต่อเมื่อ แก่ลุป่ามาท�ำพิธีไหว้ ฮื่อชาเท่านัน้ และห้ ามไม่ให้ ใครไปรบกวนบริ เวณตู้ฮื่อชา และเสาต้ นที่ต้ ฮู ื่อชาเกาะเกี่ยวอยู่
40
1 ดังนัน้ รอบเสาต้ นดังกล่าวจะมีการกัน้ เอาไว้ ด้วยไม้ ไผ่สาน อย่างมิดชิด เพื่อป้องกันไม่ให้ เด็กๆ มาเล่นบริ เวณดังกล่าว หรื อขว้ างปาอะไรไปโดนเสาต้ นนัน้
ชาวลาหู่นะจะหยุดงานทุกวันศีล ซึง่ ไม่ตรงกับวัน ศีลของชาวลาหู่ยีและชาวไทใหญ่ คือจะหยุดทุก 12 วัน และหยุดในวันเสือ (ดูเพิ่มเติมใน 5.2 วรรณกรรมและเรื่ องเล่า)
ศาสนา
ตู้ฮื่อชาในบ้านชาวลาหู่นะ
และ
ความเชื่อ
นอกจากศาสนาดังเดิ ้ มและศาสนาพุทธแล้ ว ชาวลาหู่นะ บางส่วนก็นบั ถือศาสนาคริ สต์ด้วย ซึง่ กลุม่ นี ้จะไปประกอบ พิธีทางศาสนากับบาทหลวงในโบสถ์คริ สต์ และมีวนั ส�ำคัญ ทางศาสนาตามที่ศาสนาคริ สต์ก�ำหนด การจัดพิธีกรรมต่าง ก็จดั ตามประเพณีแบบคริ สต์
พิธีไหว้ฮื่อชา
ลาหู่นะ / ลาหู่ดำ�
41
1.1 ความเชื่อเกี่ยวกับถิ่นฐานบ้านเรือน ชาวลาหูน่ ะมีการสัง่ สอนกันมาว่าพื ้นที่ใดเหมาะ/ไม่เหมาะที่จะ ตังถิ ้ ่นฐานบ้ านเรื อน ซึง่ ปั จจุบนั ก็ยงั คงมีความเชื่อในเรื่ องนี ้อยู่ ส�ำหรับพื้นที่ที่เหมาะจะตั้งถิ่นฐานบ้านเรือน ต้องมีลักษณะดังนี้
พื ้นที่ที่เป็ นดอยสูง มีแดดดี หาน� ้ำง่าย สันเขาเล็กๆ ที่แยกมาจากเทือกเขาหลัก เพราะพื ้นที่ ดังกล่าวมักหาน� ้ำได้ งา่ ย
1.2 ความเชื่อเกี่ยวกับบ้านเรือน ชาวลาหู่น ะมี ค วามเชื่ อ เกี่ ย วกับ การ สร้ างบ้ านอยูห่ ลายข้ อ ได้ แก่
ส�ำหรับพื้นที่ที่ห้ามตั้งหมู่บ้าน คือ
ไม่ตงบ้ ั ้ านบนสันเขา ต้ องเว้ นสันเขาไว้ ให้ เป็ นทาง เดินของผี ส่วนชาวบ้ านจะสร้ างบ้ านตรงไหล่เขาแทน การสร้ างบ้ านขวางทางเดินของผี จะท�ำให้ เจ็บไข้ ไม่ สบายได้
บริ เวณเทือกเขายาวที่มีดอยเล็กอื่น ๆ เข้ ามาชน ชาว ลาหู่นะเชื่อว่าเทือกเขายาวเป็ นเหมือนเส้ นทางที่ผีจาก ดอยเล็กๆ จะเดินผ่านมาที่ดอยหลัก อยูแ่ ล้ วไม่ดี
ไม่สร้ างบ้ านทับบริ เวณที่เป็ นป่ าช้ าเก่า บ่อน�ำ้ เก่า ครกมองเก่า จอมปลวกเก่า หรื อบ้ านเก่าที่ถกู รื อ้ ถอน ออกไป
ดอยสูงๆ เชื่อกันว่าเป็ นทางเดินของผี อยูแ่ ล้ วจะเจ็บไข้ ได้ ป่วย นอกจากนี ้ยังมีลมแรงเกินไป จะท�ำความ เสียหายให้ กบั บ้ านเรื อนได้
ไม่หนั หน้ าบ้ านหรื อบันไดบ้ านไปทางทิศตะวันตก
บริ เวณที่ราบใกล้ ล�ำน� ้ำ เชื่อกันว่าการอยูต่ รงที่ราบใกล้ ล�ำน� ้ำจะท�ำให้ เจ็บป่ วยบ่อยๆ บริ เวณที่มีดอยชนกัน โดยเฉพาะที่มีดอยชนกัน 3 ลูก ขึ ้นไป เชื่อกันว่าที่ราบตรงกลางระหว่างทัง้ 3 ดอยนัน้ เปรี ยบเหมือนมีไม้ ล้มใส่บ้าน
42
เมื่อเลือกพื ้นที่ตงหมู ั ้ บ่ ้ านได้ แล้ วก็จะท�ำพิธีเสี่ยงทายว่าตัง้ หมูบ่ ้ านได้ หรื อไม่ หากเสี่ยงทายออกมาแล้ วดี ก็สามารถตังหมู ้ บ่ ้ านบริ เวณนันได้ ้
ลูกที่แยกบ้ านออกไปต่างหากจะไม่สร้ างบ้ านสูงกว่า บ้ านพ่อแม่ บันไดทางขึ ้นบ้ านต้ องใช้ ไม้ แค่ 1 แผ่น 3 แผ่น หรื อ 5 แผ่น เชื่อกันว่าถ้ าใช้ ไม้ 2 แผ่นจะเป็ นเหมือน คานหามคนตายไปป่ าช้ า ส่วนใหญ่จะใช้ ไม้ เพียง 1 แผ่นหรื อใช้ ไม้ หลายแผ่นมาเรี ยงต่อกันเป็ นแผ่นใหญ่ แล้ วเอาไม้ มาวางขวางเป็ นขันบั ้ นได
2
พิธีกรรม
1.1 การท�ำศพ
ชาวลาหู่นะท�ำศพด้ วยการเผามาตังแต่ ้ สมัยปู่ ย่าตายายโดย จะประกอบพิธีในป่ าช้ าของหมู่บ้าน มีการจัดเตรี ยมพื ้นที่ เผาศพคล้ ายๆ กับการเตรี ยมพื ้นที่ฝังศพ ป่ าช้ าของหมูบ่ ้ าน จะตังอยู ้ ่ทิศใดก็ได้ ที่ไม่ใช่ทิศตะวันออก เพราะชาวลาหู่นะ เชื่อว่าทิศตะวันออกคือทิศของเจ้ าที่ของหมู่บ้าน ส่วนใหญ่ จะตังป่ ้ าช้ าบริ เวณสันเขาที่มีพื ้นที่คอ่ นข้ างราบ และไม่ใกล้ กับหมูบ่ ้ านจนเกินไป เมื่ อ เลื อ กพื น้ ที่ ฝั งศพได้ แ ล้ ว ก็ จ ะท� ำการเสี่ ย งทายพื น้ ที่ เผาศพ โดยโยนไข่ดบิ ลงพื ้นที่เลือกไว้ หากไข่แตกก็สามารถ เผาตรงนันได้ ้ แต่หากไม่แตกก็ต้องหาที่ใหม่ และเสี่ยงทาย ใหม่จนกว่าไข่จะแตก ส�ำหรับการเลือกพื ้นที่ต้องเลือกจาก นอกสุด ก่ อ น เมื่ อคนตายต่อมา จึงค่อยขยับเข้ ามาใกล้ หมูบ่ ้ านมากขึ ้น เพราะเชื่อกันว่าหากฝังจากด้ านในสุดก่อน คนตายจะมาพาคนอื่ น ในหมู่บ้ า น ให้ ต ายตามกัน ไป ชาวลาหู่นะมีธรรมเนียมการเผาสิ่งของเครื่ องใช้ ไปกับร่ าง ผู้ตายด้ วย ของที่เผาไปด้ วยกันมักเป็ นหม้ อ ชาม จาน เหรี ยญเงิน และเครื่ องมือโลหะต่างๆ
หลังจากเผาศพแล้ ว ชาวบ้ านจะกลับมาเยี่ยมหลุมศพบ้ าง หรื อหาเดินผ่านป่ าช้ าไปหาผลไม้ ป่าชาวลาหู่นะจะหักกิ่งไม้ สดแถวนันมาสุมไว้ บนพื ้นที่เผาศพ โดยเชื่อว่าพื ้นที่เผาศพก็ เหมือนเป็ นที่อยูข่ องคนตายแต่ละคน การหักกิ่งไม้ สดไปสุม ไว้ บ นที่ เ ผาศพถื อ เป็ น การบัง แดดบัง ฝนให้ ค นตายได้ อ ยู่ อย่างสบาย หากคนตายอยูไ่ ม่สบาย ลูกหลานที่อยูข่ ้ างหลัง ก็จะไม่สบายไปด้ วย
1.2 การเสี่ยงทายพื้นที่ตั้งหมู่บ้าน การเสี่ยงทายจะก�ำหนดตัวคนที่จะเสี่ยงทาย แล้ วในคืนนัน้ คนที่ถกู ก�ำหนดนอนหลับแล้ วฝันเห็นบ่อน� ้ำ แม่น� ้ำ ปลา ช้ าง เสือ หรื อไม่ฝันอะไรเลยก็ถือว่าดี พื ้นที่เหมาะสมต่อการตัง้ หมู่บ้าน แต่หากฝั นเห็นมีด เหล็ก หรื อค้ อนก็ถือว่าไม่ดี ต้ องหาพื ้นที่ใหม่
ลาหู่นะ / ลาหู่ดำ�
43
3
การด�ำรงชีวิต
วิถีชีวิตชาวลาหูน่ ะผูกพันอยูก่ บั ระบบการผลิตแบบ เกษตรกรรมบนพื ้นที่สงู สัมพันธ์ กบั ฤดูกาล และทรัพยากร ธรรมชาติในท้ องถิ่นอย่างใกล้ ชิด การผลิตส่วนใหญ่เน้ นเพื่อ การบริ โภคภายในครัวเรื อน มีการจัดจ�ำหน่ายบ้ าง เช่น การ ปลูกพืชไร่ สินค้ าหัตถกรรมประเภทผ้ า เป็ นต้ น
3.1 การผลิต การเกษตร ชาวลาหู่นะท� ำการเกษตรตามฤดูก าล ส่วนใหญ่จะท�ำไร่ พืชไร่มกั ปลูกเพื่อจ�ำหน่าย ส่วนใหญ่ปลูก ถัว่ แดง ข้ าวโพด งา นอกจากนี ้ มีการปลูกข้ าวและพืชผล ส�ำหรับบริ โภคในครัวเรื อนด้ วย ส่วนใหญ่ปลูกข้ าวไร่ แบ่ง พื ้นที่เล็กน้ อยส�ำหรับปลูกข้ าวเหนียว ซึง่ ใช้ ในการท�ำขนม ส�ำหรับพิธีกรรมต่างๆ การเพาะปลูกของชาวลาหูน่ ะเป็ นไป ตามฤดูกาลและยังคงรักษาระบบแรงงานแบบเอาแรงเอาไว้ มีการหมุนเวียนกันไปช่วยกัน โดยเฉพาะช่วงการเก็บเกี่ยว ผลผลิต ช่วงเวลาในการท�ำการเกษตรตามฤดูกาล มีดงั นี ้ 44
ฤดูฝน ราวเดือนกรกฎาคม ฝนเริ่ มลง ชาวบ้ านจะเริ่ มลงข้ าว
พืชไร่ และพืชผักที่จะปลูกในปี นนๆ ั ้ พืชผลที่มกั ปลูกคละไป กับข้ าว เช่น ฟั กทอง แตง ถัว่ ฝักยาว และพริ ก ในช่วงนี ้ ชาวบ้ านมักจะไปนอนเฝ้าไร่ เพื่อดูแลไม่ให้ พืชผลที่ถกู สัตว์ เข้ าไปท�ำลาย นอกจากนี ้ บางคนก็น�ำสัตว์เลี ้ยงเข้ าไปเลี ้ยง ในไร่ด้วย เช่น ไก่ ซึง่ จะสร้ างกรงเอาไว้ ใต้ กระต๊ อบเล็กๆ ที่ สร้ างไว้ เป็ นที่พกั ในไร่ แต่ถ้าเป็ นถัว่ แดงหรื อข้ าวโพดก็จะเริ่ ม เพาะปลูกช่วงปลายฤดูฝน
เป็ นช่วงการเก็บเกี่ยวผลผลิต ราวเดือนธันวาคม ชาวบ้ านจะไปเอามือกันโดยเฉพาะในช่วงการตีข้าว เป็ นช่วง ที่แต่ละครอบครัวจะส่งตัวแทนไปช่วยเก็บเกี่ยว จนกระทัง่ เก็บเกี่ยวครบทังหมู ้ บ่ ้ าน พอถึงช่วงเดือนมกราคมจะเป็ น ช่วงที่ถวั่ แดงเก็บเกี่ยวได้ ก็จะพากันเก็บเกี่ยวถัว่ แดง เมื่อ เก็บเกี่ยวเรี ยบร้ อยทังหมู ้ บ่ ้ าน จึงจะเริ่ มงานประเพณีปีใหม่ ลาหูด่ �ำหรื อประเพณีกินวอ
ฤดูหนาว
ชาวบ้ านจะว่างเว้ นจากการท�ำเกษตร บางส่วนจะ ออกไปรับจ้ างท�ำงานตามชุมชนหรื อในจังหวัดใหญ่ แต่พอ เดือนเมษายน – พฤษภาคมก็จะกลับมาช่วยกันตีไร่ ถางไร่ เตรี ยมพื ้นที่ให้ พร้ อมส�ำหรับการเพาะปลูกในปี ถดั ไป
ฤดูร้อน
ภาพ ที่มา : CBT BAAN JABO
การท�ำเกษตรของชาวลาหูด่ �ำ เป็ นการเกษตรแบบหมุนเวียน คือ ครอบครัวหนึง่ อาจมีที่ท�ำกินหลายผืน ในแต่ละปี จะท�ำในผืนใดผืนหนึง่ เมื่อเก็บเกี่ยวเสร็ จก็จะทิ ้งเอาไว้ ให้ ดนิ ได้ ฟืน้ ตัว แล้ วสลับไปท�ำอีกผืนหนึง่ วนเวียนกันไปเพื่อไม่ให้ หน้ าดินเสื่อมเร็ว
การเก็บของป่าล่าสัตว์ ชาวลาหู่นะยังเก็บของป่ าล่าสัตว์บ้าง ส่วนใหญ่ก็เพื่อน�ำ มากินเป็ นอาหาร เช่น การเก็บหน่อไม้ เห็ดป่ า ยอดผัก ต่างๆ มาท�ำอาหาร เวลาไปเก็บของป่ าล่าสัตว์ ชาวบ้ านมัก รวมเป็ นกลุ่ม เมื่อเก็บหรื อล่าอะไรมาได้ ก็จะแบ่งปั นกันไป ในกลุ่มที่ไปด้ วยกัน ลาหู่นะ / ลาหู่ดำ�
45
การเลี้ยงสัตว์ สัตว์ที่นิยมเลี ้ยงกันคือหมูด�ำและไก่ เพราะเป็ นสัตว์ที่ส�ำคัญ ต่อการท�ำพิธีกรรม สมัยก่อนเลี ้ยงกันตามบ้ าน แต่ปัจจุบนั มีการท�ำคอกหมูรวม ในพื ้นที่ที่ห่างออกไปจากหมู่บ้านพอ สมควร เพื่อสุขอนามัยของคนในชุมชน พอตกเย็น แม่บ้าน จะเอาอาหารหมูที่ต้มจากเศษอาหารในครัวเรื อนกับเมล็ด ธัญพืชที่เหลือจากการกินหรื อจ�ำหน่าย เช่น ปลายข้ าว เมล็ด ข้ าวโพด หยวกกล้ วย เป็ นต้ น แล้ วหิ ้วไปให้ หมูที่คอกหมูรวม บางบ้ านก็อาจจะปล่อยหมูออกไปหากินเองบ้ าง โดยเฉพาะ ฤดูแล้ งเพราะอาหารและน� ้ำไม่สมบูรณ์เหมือนฤดูอื่นๆ
ภาพ: สัตว์เลี้ยงส�ำคัญของหมู่บ้าน คือหมูและไก่ที่ใช้ในการเซ่นไหว้ผี ที่มา: โครงการโบราณคดีบนพื้นที่สูงในอ�ำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน
46
ส�ำหรับไก่จะเลี ้ยงแบบปล่อยอยูต่ ามหมูบ่ ้ าน บางคนก็สร้ าง คอกให้ บริ เวณที่ไร่ ส�ำหรับวัว / ควายส่วนใหญ่เลี ้ยงไว้ เพื่อ จ�ำหน่ายให้ กบั พ่อค้ าที่มารับซื ้อตามหมูบ่ ้ าน ชาวลาหูน่ ะแต่ละครอบครัวเลี ้ยงหมูหลายตัว อาจถึง 10 ตัว ถ้ าเป็ นครอบครัวใหญ่ เพราะเป็ นสัตว์ที่ฆา่ เพื่อใช้ ในพิธีกรรม ค่อนข้ างเยอะ เช่น งานกินวอ พิธีเลี ้ยงฮื่อชา (เทวดาหรื อ เทพเจ้ าของชาวลาหูน่ ะ) หรื อการเลี ้ยงผียามเจ็บไข้ ได้ ป่วย
ภาพ ที่มา : CBT BAAN JABO
การเลี้ ย งสั ต ว์ ของชาวลาหู่นะ คอกสัตว์ของ ชาวลาหู่นะ ลาหู่นะ / ลาหู่ดำ�
47
งานหัตถกรรมอันเป็นเอกลักษณ์ของชาวลาหู่นะ ได้แก่ งานหัตถกรรมจากโลหะ การแกะสลัก เครื่องใช้จากไม้ การจักสาน การเย็บปักถักร้อย
ภาพ ที่มา : CBT BAAN JABO
48
ชาวลาหูน่ ะให้ ความส�ำคัญกับผู้มีฝีมือทางงานช่าง โดยมี ต�ำแหน่งนายช่างใหญ่ประจ�ำหมู่บ้านเรี ยกว่า “ จะริ ป่า ” ซึง่ จะมีการถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับงานช่างให้ กบั ทายาท ในชุมชน ซึง่ อาจจะไม่ต้องเป็ นลูกหลานตัวเองก็ได้ โดย คัดเลือกจากความสามารถและนิสยั ใจคอ จะริ ป่ามีความ สามารถส�ำคัญ คือ การตีเหล็ก การท�ำเครื่ องเงิน การแกะ สลักเครื่ องใช้ จากไม้ จะริ ป่าจะคอยช่วยท�ำงานช่างให้ คนในหมูบ่ ้ าน โดยไม่คดิ ค่าแรง แต่ใน 1 ปี จะริ ป่าจะ ขอแรงชาวบ้ านให้ ชว่ ยงานตนเองได้ 3 – 4 ครัง้ ส่วนใหญ่ จะขอแรงไปช่วยงานในไร่ นา แต่หากเป็ นคนต่างหมู่บ้าน มาขอให้ ทำ� ก็จะต้ องจ่ายค่าตอบแทนให้ จะริป่าด้ วย แล้ วแต่ ว่าจะริป่าจะคิดเท่าไหร่
การท�ำงานหัตถกรรม งานหัตถกรรมจากโลหะ
เช่น การตีเหล็ก การท�ำเครื่ องประดับจากโลหะเงิน เป็ นต้ น ส�ำหรับการตีเหล็ก ส่วนใหญ่จะตี เครื่ องมือเครื่ องใช้ ในการเกษตรและในครัวเรื อน โดยน�ำเหล็กแหนบมาตีเป็ นมีด เคียว เสียม และฮะคือ ( เหล็กสามเส้ าส�ำหรับวางหม้ อบนเตาไฟ) ส่วนเครื่ องประดับนัน้ ชาวบ้ านมักน�ำ เงินแถบ ซึง่ เป็ นเหรี ยญรู ปีของอินเดียในสมัยโบราณที่ชาวบ้ านเก็บสะสมไว้ มาให้ จะริ ป่า หลอมท�ำเป็ นเครื่องประดับให้ หรือสัง่ ท�ำกับจะริป่าเลยก็มี ชาวบ้ านบางคนก็สามารถตีเหล็กได้ แต่เมื่อตีจนใกล้ เสร็ จก็จะน�ำไปให้ จะริ ป่าตีในขันสุ ้ ดท้ าย เพราะเชื่อว่าท�ำให้ ชิ ้นงานออกมาได้ รูปสวยงามกว่าตีเอง
การแกะสลักเครื่องใช้จากไม้
เครื่ องใช้ จากไม้ ยงั มีการท�ำอยูบ่ ้ าง แต่ก็หาคนท�ำได้ ยากแล้ วในปั จจุบนั ส่วนใหญ่แกะสลัก เป็ นภาชนะต่างๆ
การจักสาน
ชายลาหูด่ ำ� ส่วนใหญ่มคี วามสามารถเรื่องการจักสาน ส่วนใหญ่จะท�ำเครื่องจักสานจากไม้ ไผ่ ท�ำเป็ นตะกร้ า เสื่อรองส�ำหรับตีข้าว บางครัง้ ก็ใช้ หวายในการสานเครื่ องใช้ บางชนิด เช่น ตะกร้ าใส่ผ้าที่มีฝาปิ ด แต่ปัจจุบนั หาคนสานได้ ยากแล้ ว
การเย็บปักถักร้อย
งานเกี่ยวกับเสื ้อผ้ าเครื่ องแต่งกายเป็ นงานของผู้หญิง ซึง่ จะท�ำกันในช่วงที่วา่ งจากงานบ้ าน และงานในไร่ นา โดยมากจะซื ้อผ้ ามาตัดเย็บเป็ นชุดประจ�ำเผ่าให้ กบั ลูกสาวทุกคนในบ้ าน หากฐานะดีก็จะจัดเตรี ยมเครื่ องประดับจากเงินจ�ำพวกต่างหู ก�ำไลมือ ก�ำไลคอ และกระดุม เงินมาประดับตกแต่งชุดด้ วย ลักษณะของงานผ้ าแบบชาวลาหูน่ ะ คือ การเย็บผ้ าตัดต่อเป็ น ลายเสื ้อผ้ าด้ วยผ้ าหลากสีและการปั กผ้ า ลวดลายส่วนใหญ่เป็ นลวดลายเรขาคณิต ปั จจุบนั มีการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ในชุมชนลาหูน่ ะหลายแห่ง แม่บ้านจะตัดเย็บเสื ้อผ้ าแบบลาหูน่ ะ เก็บสะสมไว้ เมื่อมีนกั ท่องเที่ยวเข้ ามาก็จะแนะน�ำกันให้ ไปเลือกซื ้อตามบ้ าน ถือเป็ นรายได้ เสริ มให้ กบั ครอบครัว ลาหู่นะ / ลาหู่ดำ�
49
3.2
อาหารการกินของชาวลาหูน่ ะ อิงไปกับวิถีธรรมชาติ ส่วนใหญ่จะกินอาหารทีห่ าได้ ตามท้ องถิน่ ทังที ้ เ่ พาะปลูกเอง และหามาได้ จากในป่ า ชาวลาหู่นะกินข้ าวไร่ ที่ปลูกเองกับ ผักที่หาได้ ที่น�ำมาผัดหรื อต้ มกินกับน� ้ำพริ ก เนื ้อสัตว์ที่กินกัน บ่อยๆ คือ เนื ้อหมู เนื ้อไก่ เนื ้อปลา ถ้ ามีการออกไปล่าสัตว์ก็ อาจจะมีเนือ้ สัตว์ป่าอย่างเก้ ง กวาง หรื อหมูป่า มาเป็ น อาหารบ้ างอาหารชาวลาหูน่ ะจะเน้ นรสชาติเค็ม เผ็ด เครื่ อง ปรุงเพิม่ รสชาด ได้ แก่ พริก กระเทียม ข่า เกลือ ผงชูรสอาหาร ทีช่ าวลาหูน่ ะกินกันเป็ นประจ�ำ ได้ แก่
อาหาร
ภาพ ที่มา : CBT BAAN JABO
50
ภาพ ที่มา : CBT BAAN JABO
น� ้ำพริ กลาหูน่ ะมักมีสว่ นประกอบไม่กี่อย่าง ได้ แก่ พริ ก เกลือ ผักชี บางครัง้ ก็อาจจะใส่ถวั่ เน่า ผงชูรส หรื อผัก อื่น ๆ เข้ าไปผสมด้ วย รสชาติเค็ม เผ็ด กินกับผักจิ ้มแล้ ว ท�ำให้ เจริ ญอาหาร
น�้ำพริก
ปลาทีห่ าได้ ตามหมูบ่ ้ านมักเป็ นปลาล�ำห้ วย ตัวเล็กมีก้างมาก ชาวลาหูน่ ะจึงมักเอาไปหมักเกลือก่อนสัก 1 – 2 วันเพื่อให้ ก้างนิ่มลง แล้ วเอาเนื ้อปลามาผัดหรื อต้ มกับ เครื่ องเทศเป็ นเวลานานจนก้ างนิ่มพอที่จะเคี ้ยวได้ ไม่ต้อง คอยแกะออก ปลาผัดเครือ่ งเทศ
ชาวบ้ านจะน�ำถัว่ แดงไปต้ ม ปรุงรสด้ วยเกลือกับ พริ ก กินเป็ นกับข้ าว
ถั่วแดงต้ม
เนื้อสัตว์คั่วพริกแกง พริ กแกงของชาวลาหูน ่ ะมักจะประกอบ
ไปด้ วย พริ ก ข่า และเกลือ ชาวบ้ านจะเอาเนื ้อสัตว์สดๆ หรื อ รมควันมาคัว่ กับพริกแกงจนแห้ งสามารถเก็บไว้ กนิ ได้ หลายวัน
หากได้ สตั ว์ป่าตัวเล็กๆมา ชาวบ้ านจะสับทัง้ กระดูกให้ ละเอียดแล้ วไปคัว่ กับพริ กแกง ซึง่ ประกอบไปด้ วย พริ ก ข่า ตะไคร้ และเกลือเพื่อดับกลิน่ คาว เนื้อสัตว์ป่าคั่ว
ลาหู่นะ / ลาหู่ดำ�
51
52
ภาพ: แม่เฒ่าชาวลาหู่นะกับผลิตผลทางการเกษตร ที่มา: โครงการโบราณคดีบนพื้นที่สูงในอ�ำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน
การแต่งกาย
3.3
ปัจจุบัน ชาวลาหู่นะที่สูงอายุยังคงแต่งกายด้วยชุดประจ�ำเผ่าอยู่ในชีวิตประจ�ำวัน ผู้หญิง รุ่นใหม่ก็ยังใส่กางเกงลาหู่นะ แต่ท่อนบนอาจใส่เสื้อยืด แต่บางคนก็อาจจะใส่เสื้อลาหู่ยี ไปท�ำไร่ท�ำนา เพราะเนื้อผ้าบางกว่าเสื้อลาหู่นะท�ำให้เย็นสบายกว่า แต่แขนยาวเหมือนกัน ก็ยังสามารถกันแดดได้ ส่วนผู้ชายชาวลาหู่นะรุ่นใหม่ ๆ ก็มักจะสวมกางเกงลาหู่นะกับ เสื้อยืดหรือเสื้อเชิ้ต ด้วยเหตุผลเรื่องอากาศร้อน เอกลักษณ์อีกอย่างหนึ่งในการแต่งกายของหญิงชาวลาหู่นะ คือ ทรงผม ซึ่งจะไว้ยาว เฉพาะส่วนกลางกระหม่อม แล้วมวยเอาไว้ ส่วนด้านข้างจะตัดสั้นเกรียน ชุดผู้หญิงชาวลาหู่นะท่อนบนเป็นเสื้อคลุมยาวเลยเข่าลงมา แขนยาว ผ่าหน้าตลอดล�ำตัว ผ้าด้านข้างตั้งแต่เอวลงไปทั้ง 2 ข้าง ถ้าเป็นคนมีฐานะดีจะติดกระดุมเงิน และปักหมุด เงินแพรวพราวทั้งชุด สีพื้นของเสื้อเป็นสีด�ำ ตกแต่งด้วยแถบผ้าสีขาว สีน�้ำเงิน สีแดง ตรงแขนและชายเสื้อ บางครั้งแถบผ้านี้ก็ใช้เป็นผ้าลาย ท่อนล่างเป็นกางเกงสีด�ำ ยาว ครึ่งแข้ง มีลายปักสีขาวเป็นแถบยาวบริเวณเหนือหัวเข่า ส�ำหรับชุดผู้ชายท่อนบนเป็น เสื้อสีด�ำผ่าหน้า ช่วงตัวยาว แขนยาว ไม่ค่อยมีลวดลายนัก อาจะมีการประดับตกแต่ง ด้วยกระดุมเงินบ้างเช่นกัน แต่จะไม่มากเท่าของผู้หญิง ส่วนกางเกงจะเป็นกางเกงสีด�ำ เป้ายาว ขากว้าง คล้ายๆ กับกางเกงชาวลีซูแต่มักใช้เป็นสีด�ำ
ลาหู่นะ / ลาหู่ดำ�
53
3.4 ระบบเครือญาติ ลักษณะครอบครัวของชาวลาหู่นะเป็ นแบบครอบครัวขยาย เมื่อมีการแต่งงาน จะต้ องตกลงกันก่อนว่าจะไปอยู่บ้าน ของฝ่ ายใด แต่ส่วนมากฝ่ ายชายจะแต่งเข้ าบ้ านฝ่ ายหญิง หัวหน้ าครอบครัวจะเป็ นพ่อของฝ่ ายหญิง แม้ จะมีการแยก บ้ านออกไปแต่ก็มกั จะแยกออกไปปลูกติด ๆ กัน ยังกินข้ าว ด้ วยกัน ใช้ พื ้นที่การเกษตรร่วมกัน มีของกองกลางคล้ าย รูปแบบกงสีของชาวจีน คือท�ำมาหากินด้ วยกัน ทรัพย์สนิ ที่ ได้ จากการท�ำงานก็เอาเข้ ากองกลาง โดยมีหวั หน้ าครอบครัว เป็ นผู้แบ่งสรรปั นส่วนให้ สมาชิกในครอบครัว และควบคุม ค่าใช้ จา่ ยในบ้ านและเป็ นคนตัดสินใจเรื่ องต่างๆในครอบครัว หากหัวหน้ าครอบครัวเสียชีวิตลูก ๆ จะแยกบ้ านกันไป แบ่งที่ ท�ำกินเท่า ๆ กัน เพราะถือว่าไม่มีใครจะตัดสินเรื่ องอะไรใน บ้ านได้ ดีเท่าพ่อ ถ้ าแม่ยงั มีชีวิตอยู่ แม่จะเป็ นคนเลือกว่าจะ ไปอยูก่ บั ลูกคนไหน ชาวลาหู่นะในอ�ำเภอปางมะผ้ านันส่ ้ วนใหญ่เป็ นญาติพี่น้อง กันทังทางสายเลื ้ อด และผ่านการแต่งงาน มีการให้ ความ ส�ำคัญกับผู้อาวุโสในชุมชนมาก กลุม่ ผู้อาวุโสจะมีบทบาท ส�ำคัญในการเป็ นผู้น�ำชุมชน การตัดสินใจต่างๆ ในชุมชน เป็ นผู้น�ำด้ านพิธีกรรมต่างๆ เวลามีการล่าสัตว์ป่าตัวใหญ่ๆ มาได้ เช่น หมูป่า เก้ ง และกวาง ชาวบ้ านจะแบ่งเนื ้อสัตว์ที่ ล่ามาให้ กบั ผู้อาวุโส ได้ แก่ ผู้ใหญ่บ้าน จะริ กป่ า และแก่ลปุ ่ า (แก่มู หรื อ ผู้น�ำศาสนาของหมูบ่ ้ าน) ชิ ้นส่วนที่แบ่งให้ จะเป็ น ส่วนสันคอและสันสะโพก แต่หากเป็ นสัตว์ตวั เล็ก ผู้ลา่ ได้ ก็ อาจจะเก็บเอาไว้ กนิ ในครัวเรือน แต่จะชวนผู้อาวุโสทัง้ 3 คนนี ้ มากินด้ วยกันที่บ้าน ส่วนหัวสัตว์จะเป็ นของคนที่ยิงสัตว์ ตัวนันคนแรก ้ เมื่อได้ ไปก็จะไปต้ มซุปและเรี ยกคนในหมูบ่ ้ าน ให้ ไปกินด้ วยกัน
54
แม้ ปัจจุบนั จะมีการเลือกตังตามแบบรั ้ ฐไทยปั จจุบนั แล้ ว แต่ ผู้ที่ได้ รับเลือกตัง้ ทังที ้ ่เป็ นผู้ใหญ่บ้านหรื อสมาชิกองค์การ บริ หารส่วนต�ำบลก็มกั จะเป็ นคนที่มีเครื อญาติเป็ นจ�ำนวน มากหรื อเป็ นคนที่เป็ นญาติของผู้ที่มีคนยอมรับนับถือกันใน ชุมชนมากๆ เป็ นต้ น
ชาวลาหู่นะเห็นว่าการแต่งงานและการหย่าร้ าง เป็ นเรื่ อง ปกติ หากไม่สามารถอยูด่ ้ วยกันได้ ก็เลิกรากันได้ โดยผู้หญิง หรื อผู้ชายจะเป็ นฝ่ ายบอกเลิกก็ได้ การเป็ นแม่หม้ ายก็เป็ น เรื่ องปกติ และสามารถแต่งงานใหม่ได้ โดยไม่มีการครหา จากชุมชน กระนันชาวลาหู ้ น่ ะก็ไม่ยอมรับการลักลอบเป็ นชู้กนั เพราะถือว่าเป็ นเรื่องไม่ถกู ต้ อง หากหนุม่ สาวรักใคร่ชอบพอกัน และอยากจะอยู่ร่วมกัน ชายหนุ่มจะขึ ้นไปคุยกับหญิงสาว บนบ้ านฝ่ ายหญิงโดยมีพ่อแม่ฝ่ายหญิงอยู่ด้วย เมื่อตกลง ปลงใจกันแล้ วก็สง่ ผู้ใหญ่ฝ่ายชายไปสูข่ อ การแต่งงานครัง้ แรกจะไม่ยงุ่ ยาก เพียงแต่บอกกล่าวชาวบ้ าน ในชุมชน และเลี ้ยงด้ วยไก่หรื อหมูเท่านันก็ ้ ถือว่าเรี ยบร้ อย แต่หากเป็ นการแต่งงานครัง้ ที่ 2 ครัง้ ที่ 3 ก็จะยุง่ ยากขึ ้น เรื่ อยๆ ยิ่งมากครั ง้ ก็จะยิ่งมีขัน้ ตอนในการสู่ขอที่ยุ่งยาก มากขึ ้น อาจมีการเรี ยกค่าสินสอดหรื อมีการจัดงานเลี ้ยง และการประกาศข่าวแต่งงาน จะต้ องใหญ่โตมากขึ ้นด้ วย บางครัง้ อาจต้ องไปเทียวไปเทียวมาบ้ านฝ่ ายหญิง เพื่อให้ ครอบครั ว ฝ่ ายหญิ ง ไว้ ใ จ ต้ อ งมี ก ารสู่ข ออยู่ห ลายครั ง้ ซึง่ อาจกินเวลาเป็ นปี จึงจะได้ แต่งงานกัน ทังนี ้ ้ก็เพื่อพิสจู น์ ความจริ งใจของฝ่ ายชาย
ชาวลาหูน่ ะมีประเพณีส�ำคัญที่ ต้ องท�ำทุกปี อยู่ 2 ประเพณี คือ ประเพณีกินข้ าวใหม่ และ ประเพณีกินวอ หรื อ ปี ใหม่
ประเพณี
4.1
ประเพณีกินข้าวใหม่
ประเพณีกินข้ าวใหม่เกิดขึ ้นเพราะชาวลาหู่นะเชื่อว่าคนควร เก็บข้ าวมากินก่อนมดหรื อแมลง ถ้ ารอให้ ออกรวงแล้ วมด และแมลงจะมาแย่งกินก่อน จัดขึ ้นช่วงปลายฤดูฝน หรื อ เดื อ น 10 ของชาวลาหู่น ะ ตามปฏิ ทิ น ไทยจะเป็ น ช่ ว ง ประมาณเดือนกันยายน พิธีกินข้ าวใหม่จดั ขึ ้นในวันข้ างขึ ้น ซึง่ ในแต่ละปี คนเฒ่าคนแก่จะก�ำหนดวันท�ำพิธี ประเพณีกิน ข้ าวใหม่จดั 2 วัน กับ 1 คืน ในแต่ละวันมีการท�ำพิธีตา่ งๆ ดังนี ้
วันที่ 1
สมาชิกแต่ละบ้ านจะออกไปเกี่ยวข้ าวที่เพิ่งตังท้ ้ องก่อนออกเป็ นรวงมา 1 ก�ำ แล้ วน�ำแกนใน ต้ นข้ าวออกมา เก็บพืชผักที่ปลูกไว้ ในไร่ เช่น แตง ข้ าวโพด ใบยาสูบ ที่เพิ่งออกผลเหมือนกับ ต้ นข้ าวมาด้ วยอย่างละเล็กละน้ อย พอถึงช่วงบ่าย จะน�ำต้ นข้ าว 1 คู่ แตง 1 คู่ ข้ าวโพด 1 คู่ ฟั กทอง 1 คู่ ใบยาสูบ 2 ใบ และใบชาอีกเล็กน้ อยเอาไปไว้ ที่บ้านที่มีต้ ฮู ื่อชา แล้ วบ้ านที่มี ตู้ฮื่อชา จะน�ำอาหารที่พี่น้องที่ใช้ ต้ ฮู ื่อชาร่ วมกันน�ำมา ให้ ไปแลกกับบ้ านที่ต้ ฮู ื่อชาหลังอื่น ทังหมู ้ บ่ ้ านก็จะได้ แลกผลผลิตกัน เมือ่ แลกผลผลิตกันแล้ วก็จะแยกย้ ายกันไปพบปะเยีย่ มเยียน ญาติพี่น้องเพื่อนฝูง พอตกกลางคืนก็จะมีการเต้ นจะคึไปทังคื ้ นจนถึงเช้ าวันใหม่
วันที่ 2
วันที่ 2 เช้ าวันที่สองชาวบ้ านทุกครัวเรื อนจะน�ำเทียนขี ้ผึ ้ง 1 คู่ และข้ าวตอกไปให้ กบั แก่ลปุ ่ า ที่บ้าน และทุกบ้ านก็จะรวมเงินกันซื ้อหมู 1 ตัว บ้ านพ่อหลวงจะเป็ นบ้ านที่ออกเงินเยอะที่สดุ เมื่อฆ่าแล้ วก็แบ่งหมูให้ ทกุ บ้ านให้ เหมาะสมกับจ�ำนวนเงินที่ชว่ ยออก หลังจากนันแก่ ้ ลปุ ่ าจะ ไปตามบ้ านที่มีต้ ฮู ื่อชาเพื่อท�ำพิธีเลี ้ยงฮื่อชา โดยใช้ เนื ้อหมูที่ฆ่าแบ่งกันเป็ นเครื่ องเซ่นไหว้ บ้ านใดที่แก่ลปุ ่ ายังไม่ไปท�ำพิธีก็จะยังกินเนื ้อหมูไม่ได้ แต่ก็สามารถกินอาหารอื่นได้ ดังนัน้ เวลาที่แก่ลปุ ่ าจะท�ำพิธีก็จะเลือกไปท�ำบ้ านที่มีเด็กเล็กๆก่อน เพราะเด็กทนหิวได้ ไม่เท่าผู้ใหญ่ หลังเสร็จพิธี ชาวบ้ านจะหยุดงานอยูบ่ ้ าน 1 วัน ห้ ามออกไปท�ำงานนอกบ้ าน ลาหู่นะ / ลาหู่ดำ�
55
4.2 ประเพณีกินวอหรือปีใหม่
ประเพณีกินวอเปรี ยบได้ กบั ปี ใหม่ของชาวลาหูน่ ะ มักจัดช่วงเดือนมีนาคม – เมษายน บางปี ก็อาจจะเลื่อนเข้ ามาเป็ นเดือน กุมภาพันธ์ ในการเลือกวันจัดงานจะต้ องมีการประชุมกันทังหมู ้ บ่ ้ าน เพื่อให้ ทราบว่าชาวบ้ านในชุมชนเก็บเกี่ยวผลผลิตกัน เสร็ จสิ ้นแล้ วหรื อยัง หากยังไม่เสร็จก็ต้องรอจนกว่าจะเก็บเกี่ยวเสร็ จสิ ้นทุกคนก่อน งานประเพณีกินวอจัดประมาณ 5 วัน แต่ หลังจาก 5 วันแล้ วประมาณ 10 – 15 วันก็จะมีประเพณีที่เรี ยกว่าปี ใหม่น้อย ซึง่ ยังถือว่าเป็ นช่วงประเพณีกินวอเหมือนกัน ซึง่ จะด�ำเนินไปประมาณ 4 วัน จากนันจึ ้ งมีพิธีสง่ ฮื่อชากลับสวรรค์ ซึง่ ถือว่าเป็ นอันจบประเพณีกินวอของปี นนั ้ ซึง่ การจัดงาน ประเพณีกินวอแต่ละช่วงมีดงั นี ้
56
วันที่ 1
ชาวบ้ านทุกบ้ าน จะต�ำข้ าวปุ๊ กแล้ วน�ำไปไว้ ที่บ้านที่ต้ ูฮือชา หลังจากนัน้ บ้ านที่มีคอกฮื่อชาจะน�ำข้ าวปุ๊ กที่เพิ่งต�ำได้ ไปแลก กับ บ้ า นที่ มี ต้ ูฮื่ อ ชาอื่ น ๆ ของที่ น� ำ ไปแลกประกอบไปด้ ว ย ข้ าวปุ๊ ก 1 คู่ ใบยาสูบ 1 คู่ เทียนขี ้ผึ ้ง 1 คู่ ใบชาอีกเล็กน้ อย เมื่อ แลกกันเสร็จจะมีการฆ่าหมู 1 ตัว ซึง่ เป็ นหมูที่ชาวบ้ านช่วยกัน ออกเงินซื ้อน�ำมาท�ำอาหารเลี ้ยงกัน
วันที่ 2
ชาวบ้ านจะออกไปช่วยกันซ่อมแซมลานจะคึแต่เช้ า เอาหัวหมูที่ ฆ่ากินกันเมื่อวันที่ 1 ไปกินด้ วยกัน ตกกลางคืนจะมีการส่งตัว แทนสมาชิกของแต่ละบ้ านไปเต้ นจะคึอย่างน้ อยบ้ านละ 1 คน บ้ านไหนไม่ไปจะต้ องจ่ายค่าปรับ เพราะถือว่าเป็ นเรื่องทีท่ กุ บ้ าน ต้ องมีสว่ นร่วม พอถึงเวลาประมาณตี 1 หรื อตี 2 ชาวบ้ านจะ เอาฟื นใส่แปมหรื อตะกร้ าส�ำหรั บแบกของไปแลกกับบ้ านอื่น บ้ านไหนก็ได้ ขึ ้นอยูก่ บั ว่าเจ้ าของบ้ านแต่ละหลังอยากจะเอาไป แลกกับใคร เอาให้ ได้ จ�ำนวนบ้ านละ 2 แปม การแลกฟื นจะแลก กันไปจนถึงเช้ า ส่วนที่ลานจะคึก็จะเต้ นกันไปถึงเช้ าเช่นกัน
วันที่ 3
วันด�ำหัวคนเฒ่าคนแก่ ตอนเช้ าจะมีการน�ำเทียนขี ้ผึ ้งไปแลกกัน ตามบ้ าน บ้ านที่ไม่มีคอกฮื่อชาจะเอาเทียนของตัวเองไปให้ บ้ านที่มีต้ ฮู ื่อชา แล้ วบ้ านที่มีต้ ฮู ื่อชาก็จะน�ำไปแลกกับบ้ านที่มีต้ ู ฮื่อชาหลังอื่น นอกจากเทียนขี ้ผึ ้งแล้ ว ของที่ต้องไปแลกยังต้ อง ประกอบไปด้ วย น� ้ำเปล่า ข้ าวปุ๊ ก และเนื ้อหมูจากวันแรก 2 คู่ ของอื่น ๆ น�ำไปแลกกัน ส่วนน� ้ำเปล่านันเอาไปเพื ้ ่อล้ างมือให้ คนเฒ่าคนแก่ พอตกกลางคืนก็จะกลับไปเต้ นจะคึกนั ตลอดคืน
วันที่ 4 ช่วงกลางวันชาวบ้ านจะพักผ่อนอยูบ่ ้ าน ตกกลางคืนก็จะไปเต้ นจะคึกนั จนถึงเช้ าอีก วันที่ 5
ท�ำเหมือนกับวันที่ 4
ชาวลาหู่นะก�ำลัง เต้นจะคึ
ส�ำหรับ 5 วันดังกล่าวเรี ยกกันว่ากินวอใหญ่ เมื่อผ่านกินวอ ใหญ่ไป 10 – 15 วันก็จะเข้ าสูช่ ว่ งปี ใหม่น้อย หากบ้ านไหน ต้ องการท�ำบุญเรี ยกขวัญสมาชิกในครัวเรื อนก็จะฆ่าหมูเลี ้ยง ชาวบ้ าน ช่วงปี ใหม่น้อยจะมีการไปด�ำหัวคนเฒ่าคนแก่ที่ หมูบ่ ้ านอื่น ซึง่ อาจจะไม่ต้องเป็ นชาวลาหูน่ ะด้ วยกันก็ได้ และ มีการไปเยี่ยมเยียนคนรู้ จักหรื อญาติพี่น้องตามหมู่บ้านอื่น พอกลางคืนก็จะกลับมาเต้ นจะคึกนั ทุกคืน เมือ่ ผ่านปี ใหม่น้อย ไปแล้ ว คนเฒ่าคนแก่ก็จะช่วยกันก�ำหนดวันท�ำพิธีส่งฮื่อชา กลับสวรรค์ โดยการน�ำเทียนขี ้ผึ ้งขนาดใหญ่ไปที่บ้านแก่ลปุ ่ า แล้ วแก่ ลุป่าก็ จะท� ำ พิ ธีส่ง ฮื่ อ ชากลับสวรรค์ เมื่ อ ส่ง ฮื่ อ ชา เรี ยบร้ อยแล้ วก็ถือว่าเป็ นการจบประเพณีกินวอของปี นนั ้
ภาพ ที่มา : CBT BAAN JABO
ลาหู่นะ / ลาหู่ดำ�
57
ศิ ล ป ก ร ร ม และสถาปัตยกรรม 5.1 บ้านเรือน แต่เดิมชาวลาหูน่ ะสร้ างบ้ านด้ วยไม้ ไผ่ ส่วนโครงอาจท�ำมา จากไม้ สกั หรื อไม้ ยืนต้ นอื่น ๆ ที่หาได้ ตามป่ า แถบหมู่บ้าน มุง หลัง คาด้ วยใบตองก๊ อ น� ำมาเย็บ เป็ นตับ แล้ วน� ำ ไป มุงหลังคา ซึง่ ต้ องเปลี่ยนทุก 2 – 3 ปี บางครัง้ ชาวบ้ านก็ จะน�ำไม้ จากบ้ านเก่าที่หมู่บ้านเดิมที่เคยอยู่มาสร้ างบ้ านที่ บ้ านใหม่ด้วย แต่หากย้ า ยไปที่ ไ กลๆ ก็ อาจจะไปขนไม้ ไปด้ วยเพราะเดินทางไม่สะดวก พื ้นที่ใช้ งานของบ้ านชาวลาหูน่ ะแบ่งเป็ น 2 ส่วนหลัก คือ ชานบ้ าน ซึง่ เป็ นส่วนทีต่ ดิ กับบันไดบ้ าน ชาวบ้ านมักจะนัง่ ท�ำงานหรื อพูดคุยกันตรงชานบ้ าน ส่วนภายในบ้ านจะเป็ น ทังครั ้ วและห้ องนอน มีเตาไฟที่ท�ำจากกะบะดินอัดแน่นอยู่ ตรงกลางบ้ าน ด้ านบนเตาไฟจะมีหิ ้งที่ท�ำจากเสื่อไม้ ไผ่ไว้ ส�ำหรับเก็บอาหารและเมล็ดพันธุ์ สมาชิกในครัวเรื อนจะ นอนกันรอบๆ เตาไฟนันเอง ้ บางบ้ านอาจจะมีต้ ฮู ื่อชาเล็กๆ อยูต่ รงมุมห้ องนอน ปั จจุบนั มีการปรับเปลี่ยนพื ้นที่ในการ ใช้ ประโยชน์ โดยบ้ านแต่ละหลังมักจะมีการต่อเติมห้ องนอน เจ้ าของบ้ าน มีสว่ นหิ ้งเก็บน� ้ำใช้ ภายในบ้ าน ตรงชานบ้ าน อาจมีการขยายเป็ นพื ้นที่เก็บผลผลิต มีการต่อน� ้ำประปาขึ ้น มาเพื่อล้ างจาน ซักล้ างเล็กๆ น้ อยๆ บางบ้ านก็เก็บผลผลิตไว้ ในห้ องนอนเจ้ าของบ้ านด้ วย 58
5
5.2 ภาษา วรรณกรรมและเรื่องเล่า เรื่ องเล่าเกี่ยวกับวันศีลของชาวลาหูน่ ะ ชาวลาหูน่ ะจะมีสตั ว์ ประจ�ำวัน เช่น เสือ กระต่าย นาค งู ม้ า และ เป็ ด เป็ นต้ น และวันศีลจะตรงกับวันเสือ มีเรื่ องเล่ากันว่าสมัยก่อนเมื่อ มนุษย์ยงั ไม่มีศาสนา และไม่มีวนั ศีล พระเจ้ าได้ เรี ยกให้ คน จากทีต่ า่ งๆ ส่งตัวแทนขึ ้นไปรับศาสนากับพระเจ้ า ชาวลาหูน่ ะ ส่งตัวแทนไป 2 คน แต่ทงั ้ 2 คนนี ้มัวแต่ดื่มเหล้ าเลยไปถึงช้ า กว่าคนอื่น ๆ พระเจ้ าจึงไม่ได้ อยูร่ อให้ โอวาท แต่ได้ ฝากเรื่ อง ไว้ กบั เสือ เมื่อไปถึงแล้ วเสือก็จ�ำไม่ได้ วา่ พระเจ้ าสัง่ อะไรไว้ บ้ าง จ�ำได้ แต่ว่าพระเจ้ าได้ ให้ ก�ำหนดวันศีลกับมนุษย์ทงั ้ ปวงไว้ เพื่อเป็ นวันหยุด เสือจึงบอกตัวแทนชาวลาหูน่ ะทัง้ 2 คนนันไปว่ ้ า พระเจ้ าให้ หยุดท�ำงานในวันศีล คือ วันเสือ ซึง่ 12 วันจึงจะเวียนมา 1 ครัง้
บ้ านชาวลาหู่ น ะมั ก ท� ำ เป็ นบ้ าน ยกพืน้ ความสูงของใต้ ถุนบ้ านขึน้ อยูก่ บั พื ้นที่ ส่วนใหญ่จะมีการปรับ พื น้ ที่ ใ ห้ เ รี ย บก่ อ นจะปั ก เสาเรื อ น พืน้ ที่ใต้ ถุนบ้ านมักใช้ เป็ นที่เก็บตุน ฟื นแห้ งส�ำหรับประกอบอาหารและ ให้ ความอบอุน่ เป็ นที่เลี ้ยงสัตว์ เช่น ไก่ ส่วนหมู ปั จจุบนั ไม่เลี ้ยงใต้ ถนุ บ้ านแล้ ว แต่จะไปเลี ้ยงรวมกันใน คอกหมูรวมของหมูบ่ ้ านแทน
ลาหู่นะ / ลาหู่ดำ�
59
ภาพ ที่มา : นีรนรา อนุศิลป์
60
ลาหู่ยี หรือ ลาหู่แดง จากประวัตศิ าสตร์ บอกเล่าของชาวลาหูแ่ ดงในอ�ำเภอปางมะผ้ า ชาวลาหูแ่ ดงเคลื่อนย้ ายมา จากบริ เวณชายแดนไทย – พม่าทางด้ านทิศเหนือ ซึง่ กลุม่ นี ้มีโยกย้ ายระหว่างชายแดนไทย พม่าทางด้ านจังหวัดเชียงใหม่มาก่อนหน้ านี ้แล้ ว ก่อนจะข้ ามกลับเข้ ามาอีกครัง้ เมื่อประมาณ 70 กว่าปี มาแล้ ว ถิ่นฐานแรกเริ่ มอยูบ่ ริ เวณชายแดนของประเทศไทยในเขตลุม่ น� ้ำโป่ งแสนปิ๊ ก ลุม่ น� ้ำลาง และลุม่ น� ้ำของ ก่อนที่จะค่อยๆ เคลื่อนย้ ายและแยกหมูบ่ ้ านออกมาอีกหลาย หมูบ่ ้ าน หมูบ่ ้ านชาวลาหูแ่ ดงที่มีความเก่าแก่ ได้ แก่ หมูบ่ ้ านปางบอน ต�ำบลนาปู่ ปอ้ ม อ�ำเภอ ปางมะผ้ า ก่อตังเป็ ้ นหมูบ่ ้ านอย่างเป็ นทางการมาแล้ วประมาณ 25 ปี พี่น้องลาหูแ่ ดงในอ�ำเภอปางมะผ้ ามีความสัมพันธ์เป็ นเครื อญาติกนั เกือบทังสิ ้ ้น แต่เดิมอาศัย อยูบ่ ริ เวณเดียวกันที่ดอยแกงแสน ในเขตพม่า โดยมีผ้ นู �ำ คือ ปู่ จองแอสือ ซึง่ เป็ นทังผู ้ ้ น�ำ ศาสนาและผู้น�ำหมูบ่ ้ าน ชาวลาหูแ่ ดงอาศัยอยูท่ ี่ดอยแกงแสนเป็ นเวลาถึง 30 ปี จนกระทัง่ เกิดความผันผวนสถานการณ์ชายแดนไทย -พม่า และมีโจรจีนฮ่อเข้ ามาปล้ นสะดม อยูเ่ ป็ นระยะ ท�ำให้ ชาวบ้ านที่ดอยแกงแสนต้ องมีการเคลื่อนย้ ายเพื่อหาถิ่นที่อยูใ่ หม่ โดยแยก เป็ น 2 กลุม่ กลุม่ แรกย้ ายไปอยูท่ ี่บ้านอาโจหรื อบ้ านคะปิ โหล ณ บริ เวณลุม่ น� ้ำโป่ งแสนปิ๊ กใน เขตประเทศไทย โดยมีพอ่ เฒ่าอาโจ เป็ นผู้ก่อตังหมู ้ บ่ ้ าน ต่อมาเมื่อบ้ านคะปิ โหลมีประชากร เพิ่มมากขึ ้นก็ได้ มีการแยกย้ ายออกไปตังหมู ้ บ่ ้ านใหม่ ได้ แก่ บ้ านยาป่ าแหน บ้ านผาแดง บ้ าน ซอแบะ บ้ านป่ าโหล บ้ านปางตอง และบ้ านไม่ซงั หนาม และบ้ านคะปิ โหลเองก็มีการย้ ายที่ตงั ้ หมูบ่ ้ านหลายครัง้ จนมาตังอยู ้ ท่ ี่บ้านปางบอนในปั จจุบนั ในช่วงนี ้ ชาวลาหูแ่ ดงได้ กระจายตัว ไปอย่างมากมาย แต่ในที่สดุ บางส่วนก็ได้ ย้ายกลับมารวมตัวกันบริ เวณหัวน� ้ำของ หมูบ่ ้ านที่ แยกตัวออกจากบ้ านคะปิ โหลนี ้เป็ นหมูบ่ ้ านลาหูแ่ ดงที่อยูบ่ ริ เวณลุม่ น� ้ำของ ลุม่ น� ้ำโป่ งแสนปิ๊ ก ลุม่ น� ้ำแม่ละนา และลุม่ น� ้ำลาง ซึง่ กลุม่ ลาหูแ่ ดงที่ลมุ่ น� ้ำลางเป็ นกลุม่ ที่คอ่ นข้ างใหญ่ มีหมูบ่ ้ าน หลัก คือ บ้ านแสนค�ำลือ ซึง่ ตังอยู ้ บ่ ริ เวณหัวน� ้ำลาง เป็ นหมูบ่ ้ านที่แยกตัวออกมาจากดอย แกงแสนในช่วงเดียวกับบ้ านอาโจ น�ำโดย แสนค�ำลือ ได้ น�ำพี่น้องลาหูแ่ ดงส่วนหนึง่ เคลื่อน ย้ ายไปยังบริ เวณลุม่ น� ้ำลาง ตังหมู ้ บ่ ้ านชื่อบ้ านแสนค�ำลือ
จากนัน้ ประชากรบ้ า น แสนค� ำ ลื อ ก็ ไ ด้ มี ก ารแยก ตัวออกไปตังหมู ้ ่บ้านต่างๆ ในเขตลุ่มน� ้ำลางจนกลาย เป็ น ประชากรกลุ่ ม ใหญ่ ของลุ่ม น� ำ้ ลางในปั จจุบนั ลาหู่ยี / ลาหู่แดง
61
1
ศาสนาและ ความเชื่อ
ส่วนใหญ่แล้ วชาวลาหูย่ ีนบั ถือผีควบคูไ่ ปกับการ นับถือศาสนาพุทธ ในด้ านการปฏิบตั จิ ะท�ำพิธีกรรมที่เกี่ยวกับ ผีเป็ นหลัก ส่วนในศาสนาพุทธก็จะมีการท�ำบุญและหยุดงาน กันในวันศีล (วันพระ) ชาวลาหูย่ ีบางกลุม่ ก็นบั ถือ ศาสนาคริ สต์ แต่ก็ยงั คงท�ำพิธีกรรมตามอย่างที่นบั ถือผี อยูบ่ ้ างนอกจากความเชื่อหลักคือการนับถือผีแล้ ว ชาวลาหูย่ ี ยังมีความเชื่อในเรื่ องอื่นๆ ที่สืบทอดกันมาในวิถีชีวิต ได้ แก่
1.1 ความเชื่อเกี่ยวกับถิ่นฐานบ้านเรือน การเลือกตังหมู ้ บ่ ้ านของชาวลาหูย่ ีมกั เป็ นพื ้นที่สนั เขาขนาดเล็กที่แยกออกมาจากสันเขาขนาดใหญ่ คล้ ายเป็ นกิ่งไม้ แขนงย่อยที่แยกออกมาจากกิ่งใหญ่ มีข้อห้ ามในการเลือกพื ้นที่ ดังนี ้ ตังหมู ้ ่บ้านใกล้ ล�ำน�ำ้ ได้ แต่ ต้ อ งเป็ น พื น้ ที่ ใ กล้ ล� ำ น� ำ้ ที่ มี ความกว้ างขวางมากพอ แต่ โดยมากก็ จ ะไม่ ตัง้ หมู่ บ้ าน ใกล้ ล�ำน� ้ำ เพราะเชื่อว่าท�ำให้ เจ็บป่ วยบ่อย
ห้ ามตัง้ หมู่บ้ า นบนดอยที่ มี แนวยาวมากๆ เพราะเชื่อว่า เป็ นทางเดินของผีอยู่แล้ วจะ ท�ำให้ มีแต่เรื่ องเดือดร้ อนใจ
ห้ ามตังหมู ้ ่บ้านบริ เวณกิ่วลม ที่ตงหมู ั ้ ่บ้านต้ องไม่สงู หรื อต�่ำ ซึ่ ง เป็ น จุ ด ที่ มี ล มพัด แรงอยู่ จนเกินไป ตลอดและห้ ามตังหมู ้ ่บ้านบน พื ้นทีห่ มูบ่ ้ านเก่าหรือป่ าช้ าเก่า
1.2 ความเชื่อเกี่ยวกับบ้านเรือน ในการปลูกสร้ างบ้ านเรื อน ชาวลาหูย่ ีก็มีความเชื่อที่ ปฏิบตั สิ ืบต่อกันมาเช่นกัน ส่วนใหญ่จะเป็ นความเชื่อ เกี่ยวกับการแยกออกไป ปลูกบ้ านในบริ เวณเดียวกัน หรื อใกล้ เคียงกันของคน ในครอบครัว ได้ แก่
62
เชื่อว่าลูกที่แต่งงานไปแล้ วห้ ามสร้ างบ้ านสูงกว่าบ้ านแม่ หรื อหากจ�ำเป็ นต้ องสร้ างสูงกว่าก็ ห้ ามไม่ให้ น� ้ำจากบ้ านลูกไหลลงมาที่บ้านแม่ น� ้ำที่ห้ามไหลลงมานี ้หมายถึงน� ้ำจากการซักล้ าง หรื อการใช้ ภายในครัวเรื อนของลูกและน� ้ำจากชายคาบ้ าน ห้ ามไม่ให้ ประตูบ้านที่สร้ างขึ ้นมาใหม่ของลูกอยูใ่ นแนวเดียวกันกับประตูบ้านของแม่ ห้ ามสร้ างบ้ านทับพื ้นที่ที่เคยเป็ นบ้ านของคนตายไม่ดี เช่น คลอดลูกตาย ฆ่าตัวตาย หรื อ ต้ นไม้ ทบั ตาย เพราะเชื่อว่าวิญญาณของคนที่ตายไม่ดีจะกลับมาท�ำให้ คนที่มาอยูใ่ หม่เจ็บไข้ ได้ ป่วยหรื อมีอนั เป็ นไป
1.3 ความเชื่อเรื่องผี
ตามความเชื่อของชาวลาหู่ยี ผีมีถึง 32 ชนิด การเลี ้ยงผีแต่ละชนิดก็จะมีพิธีกรรมที่ต่างกัน ออกไป ดังนัน้ เมื่อเวลาเจ็บป่ วยหรื อเกิดเหตุเภทภัยขึ ้นในหมู่บ้าน ชาวบ้ านจะไปปรึ กษา “ ปู่ จอง ” หรื อหมอผีประจ�ำหมูบ่ ้ าน เพื่อให้ ทราบว่าตนลบหลูผ่ ีอะไร แล้ วจะต้ องท�ำพิธีเลี ้ยง อย่างไรจึงจะเหตุเภทภัยหรื ออาการเจ็บป่ วยจึงจะหายไป
1.4 ความเชื่อเกี่ยวกับ ความตาย
ปู่ จอง คือ คนที่สามารถติดต่อกับผีได้ คล้ ายๆ กับเป็ นคนทรง ต�ำแหน่งปู่ จองนี ้ไม่ได้ สืบทอด กันทางสายเลือด เพราะถือว่าผีเป็ นผู้เลือกปู่ จอง เมื่อถึงเวลาคนที่ถกู ผีเลือกให้ เป็ นปู่ จองก็จะ แสดงอาการออกมาให้ เห็นเอง ผู้หญิงหรื อผู้ชายก็สามารถเป็ นปู่ จองได้ แต่ต้องเป็ นคนที่ผี เลือก ชาวลาหูย่ ีให้ ความเคารพปู่ จองมาก ในวันส�ำคัญต่างๆ ชาวบ้ านจะไปรวมตัวกันที่บ้าน ปู่ จองเพื่อขอพรและค�ำตักเตือนเพื่อให้ ปรับปรุงตัว
ชาวลาหู่ยีมองว่าความตายเป็ นเรื่ องปกติของโลก การเตรี ยมตัวก่อนตายจึงไม่ได้ หมายถึง ลางร้ าย คนเฒ่าคนแก่ลาหู่ยีจึงตระเตรี ยมสิ่งของและเสื ้อผ้ าใหม่ที่สวยงามไว้ เอาไว้ ส�ำหรับ แต่งตัวในยามเสียชีวิตกันเป็ นเรื่ องปกติ ความเชื่อของชาวลาหูย่ ีที่ เกี่ยวข้ องกับความตายมีอยู่ หลายข้ อด้ วยกัน ดังนี ้
สัญญาณบ่งบอกว่าคนป่ วยใกล้ ตาย คือ คนป่ วยมีอาการเหน็ดเหนื่อยเป็ นอย่างมาก เพราะ คนลาหู่ยีเชื่อว่าคนที่ใกล้ ตาย ดวงวิญญาณจะออกจากร่ างไปตามเก็บรอยเท้ าของตน เมื่อเก็บได้ ครบจึงจะตาย ในช่วงพิธีศพ ห้ ามไม่ให้ แมวด�ำหรื อสุนขั ด�ำข้ ามศพ เพราะจะท�ำให้ คนตายฟื น้ ขึ ้นมา เพื่อ ป้องกันไม่ให้ คนตายฟื น้ ชาวลาหูย่ ีจะมีไม้ กวาดขนาดเล็กวางไว้ ข้างศพ หากมีแมวด�ำหรื อ สุนขั ด�ำข้ ามศพก็จะเอาไม้ กวาดดังกล่าวตีศพเพื่อไม่ให้ ฟืน้ ขึ ้นมา หากพิธีศพจัดขึ ้นในคืนเดือนหงาย ห้ ามคนที่มางานศพชี ้ชวนดูดวงจันทร์ เพราะจะท�ำให้ คนตายลุกขึ ้นมาดูด้วย การเลือกพื ้นที่ป่าช้ า ส่วนใหญ่จะเลือกพื ้นที่ด้านตะวันตกของหมูบ่ ้ านที่ไม่ต้องข้ ามล�ำธารไป เพราะชาวบ้ านเชื่อว่าหากป่ าช้ าอยูด่ ้ านทิศตะวันออก พอพระอาทิตย์ขึ ้นในตอนเช้ า แดดจะ ส่องผ่านป่ าช้ า เงาป่ าช้ าตกลงที่หมูบ่ ้ าน ซึง่ จะท�ำให้ คนในหมูบ่ ้ านป่ วย แต่หากอยูท่ างทิศ ตะวันตก เมื่อแดดส่องผ่านป่ าช้ าแล้ วพระอาทิตย์ก็ตกดิน จึงไม่มีผลอะไรกับหมูบ่ ้ าน ลาหู่ยี / ลาหู่แดง
63
พิธีกรรม
2 ขวา ภาพ: ปู่จองหรือหมอผีแห่งบ้าน ปางบอน ขณะท�ำพิธีเลี้ยงผี ที่มา: โครงการโบราณคดีบนพื้นที่สูง ในอ�ำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน
2.1 การเสี่ยงทายพื้นที่ตั้งหมู่บ้าน เมื่อเลือกพื ้นที่ตงหมู ั ้ ่บ้านได้ แล้ วจะมีการเสี่ยงทายเพื่อตรวจ ดูวา่ พื ้นที่ที่เลือกนันเหมาะสมที ้ ่จะตังถิ ้ ่นฐานหรื อไม่ โดยให้ ผู้อาวุโสของหมู่บ้าน เช่น ปู่ จอง คนเฒ่าคนแก่ เป็ นคน เสี่ยงทาย โดยเอาข้ าวสารและเทียนจากทุกครัวเรื อนมารวม กันในถาดไม้ ไผ่ จุดเทียนแล้ วน�ำไปวางบริ เวณพื ้นที่ที่เลือกไว้ จากนันผู ้ ้ เสี่ยงทายก็กลับบ้ าน ตื่นเช้ ามาก็ตรวจดูวา่ เมื่อคืน นอนหลับฝันเห็นอะไรบ้ าง ถ้ าฝันเห็นปลา น� ้ำ ทราย หรื อไม่ ฝันเห็นอะไรเลย แสดงว่าดี สามารถตังหมู ้ บ่ ้ านบนพื ้นที่ที่ เลือกไว้ ได้ แต่ถ้าฝันเห็นดิน เหล็ก หรื อสิง่ อื่นๆ นอกเหนือ จากปลา น� ้ำ ทราย ถือว่าไม่ดี ไม่ควรตังถิ ้ ่นฐานในบริ เวณนัน้
ตะแหลว จากไม้ไผ่ เป็นสัญลักษณ์แทนความดีงาม สามารถป้องกันความชั่วร้าย ไม่ให้เข้ามาท�ำร้ายผู้คนได้
2.2 การเลี้ยงผี พิธีกรรมเลี ้ยงผีจะแตกต่างกันไป ตามชนิดของผีที่ท�ำให้ ชาวบ้ านเจ็บป่ วยหรื อเหตุเภทภัยที่เกิดขึ ้นในหมูบ่ ้ าน ส�ำหรับ การเลี ้ยงผีในเอกสารฉบับนีเ้ ป็ นการเลี ้ยงผีในกรณีที่คนใน บ้ านเจ็บป่ วยเพราะผีที่อาศัยอยูใ่ นบ้ านเป็ นผีไม่ดี ต้ องขับไล่ ผีตนนันออกไปจากบ้ ้ าน 64
ปู ่ จ องก� ำ ลั ง ท� ำ พิ ธี เ ลี้ ย งผี เจ้ าของบ้ านที่จะท�ำพิธีขบั ไล่ผีจะเอาข้ าวสารใส่ถงุ 5 ถุง ในแต่ละถุงบรรจุพอดีที่จะหุงข้ าวใน หม้ อหุงข้ าวขนาดใหญ่ ในเช้ าวันประกอบพิธี เจ้ าของบ้ านจะน�ำข้ าวสารทัง้ 5 ถุงไปให้ ผ้ อู าวุโส ทีต่ นนับถือบ้ านละ 1 ถุง เพือ่ ให้ ผ้ อู าวุโสทัง้ 5 คนนันช่ ้ วยหุงข้ าวเพือ่ น�ำกลับมาให้ ทบี่ ้ านเลี ้ยงผี เจ้ าของบ้ านจะกลับบ้ านไปฆ่าหมู 1 ตัวเพื่อเตรี ยมท�ำอาหารที่จะใช้ ในพิธี สัตว์ที่ฆา่ เพื่อเลี ้ยง ในพิธีอาจจะต่างกันไปตามความหนักเบาของเรื่ องที่เกิดขึ ้น หากเรื่ องไม่ร้ายแรงมาก ปู่ จอง อาจจะให้ ฆา่ ไก่ เลี ้ยงด้ วยเนื ้อไก่ก่อน หากยังไม่หายก็คอ่ ยฆ่าหมูเพื่อท�ำพิธีใหญ่ ส�ำหรับปู่ จองและผู้ชว่ ยจะช่วยกันท�ำเครื่ องเซ่นอื่นๆ ที่ใช้ ประกอบพิธี ปู่ จองจะเตรี ยมสิง่ ที่เรี ยกว่า “ยอกะเล” ประกอบไปด้ วยหยวกกล้ วยที่สลักเป็ นรูปช้ าง รูปม้ า ซึง่ ชื่อว่าเป็ นสัตว์ที่สง่ ผีไปยัง ที่ที่ตนเคยอยู่ หลังจากแกะสลักช้ าง - ม้ าเรี ยบร้ อยแล้ ว จะสาน “แหลว” หรื อ “ตะแหลว” จาก ไม้ ไผ่ เป็ นสัญลักษณ์แทนความดีงาม สามารถป้องกันความชัว่ ร้ ายไม่ให้ เข้ ามาท�ำร้ ายผู้คนได้ แหลวทีใ่ ช้ ในพิธีกรรมของชาวลาหูย่ มี ี 3 ประเภท คือ แหลวจะยา แหลวอาเหยะ และ แหลวโตะ แหลวจะยาและแหลวอาเหยะจะอยูร่ วมกัน แต่เรี ยกต่างกันตามต�ำแหน่งและทิศทางของเส้ น ตอกที่สานขึ ้นเป็ นตัวแหลว แหลวทัง้ 2 ประเภทนี ้จะไม่ค้ นุ ตานัก เวลาน�ำไปใช้ จะมัดรวมกับ กิ่งไม้ ที่เป็ นเครื่ องเซ่นอีกชนิดหนึง่ ด้ วย ส่วนแหลวโตะ เป็ นแหลวที่ค้ นุ ตา มีทงสิ ั ้ ้น 12 แฉก ซ้ อน กัน 9 ชัน้ เมื่อท�ำพิธีจะน�ำมามัดรวกับแหลวจะยาและแหลวอาเหยะ ลาหู่ยี / ลาหู่แดง
65
แหลวที่ใช้ ในพิธีกรรมไหว้ผี ภาพ: แหลว หรือจะแหลว เป็นสัญลักษณ์ความดีงาม สามารถป้องกันความชั่วร้าย ไม่ให้เข้ามาทำ�ร้ายผู้คนได้ ที่มา: คุณอุกฤษฎ์ จอมยิ้ม
66
ส�ำหรับเครื่ องเซ่นอื่นๆ ได้ แก่ กระดาษตัดเป็ นรูปคน หุน่ รูปคนที่ท�ำจากกิ่งไม้ วงแหวนไม้ ไผ่ รูปร่างคล้ ายก�ำไล กรวยไม้ ไผ่สำ� หรับบรรจุข้าวสารและกิ่งไม้ ทนี่ �ำมามัดรวมกันประกอบไปด้ วย ใบกล้ วย (ก้ านกล้ วยพร้ อมใบตอง) กิ่งต้ นก่อ หญ้ าคา และกิ่งต้ นยอ (ไม้ โก-ภาษาไทใหญ่) การท�ำพิธีแบ่งเป็ น 2 ส่วน คือ พิธีที่ท�ำในบ้ านและพิธีที่ท�ำนอกบ้ าน ส�ำหรับพิธีในบ้ าน ปู่ จอง จะท�ำพิธีสวดเพื่อเรี ยกผีออกจากบ้ านและให้ กลับไปที่ที่ตนจากมา ในขันตอนสุ ้ ดท้ ายที่เรี ยกผี ปู่ จองจะเอามัดกิ่งไม้ ที่เตรี ยมไว้ มาปั ดผนังบ้ านทุกด้ านเพื่อไล่ผี แล้ วโดยมัดกิ่งไม้ ขึ ้นไปบน หลังคาบ้ าน ซึง่ เป็ นการตรวจดูวา่ ผีนนออกจากบ้ ั้ านไปหรื อยัง จากนันจึ ้ งน�ำแหลวจะยาและ แหลวอาเหยะ 4 ชุดไปติดไว้ ที่มมุ ทัง้ 4 ของห้ องนอนเจ้ าของบ้ าน และน�ำแหลวโตะไปติดไว้ ที่ หน้ าประตูทางเข้ าห้ องนอน เพื่อป้องกันไม่ให้ ผีกลับมาท�ำร้ ายคนในบ้ านได้ อีก หลังจากเสร็จพิธีแล้ ว ชาวบ้ านทังหมู ้ บ่ ้ านจะส่งตัวแทนมาร่วมกินอาหารที่เจ้ าของบ้ านจัดเลี ้ยง อาหารที่เลี ้ยงในงานท�ำขึน้ จากเนือ้ หมูที่ฆ่าไว้ เป็ นเครื่ องเซ่น น�ำมาต้ มใส่เกลือและพริ ก เมื่อกินอาหารเสร็ จก็จะมีพิธีผกู ข้ อมือเรี ยกขวัญ อวยพรซึง่ กันและกัน ชาวลาหูย่ ีเชื่อว่าการ มัดมือไม่จ�ำเป็ นต้ องให้ ผ้ อู าวุโสมัดให้ เท่านัน้ ใครก็สามารถมัดมือและอวยพรให้ กนั ได้ วิธีการ มัดมือจะพัน 1 รอบ 2 รอบ และ 4 รอบ จึงจะถือว่าเป็ นการมัดมือที่ดี
3.3 การท�ำศพ
พิธีกรรมในการท�ำศพของชาวลาหู่ยีจะมีการแบ่งศพเป็ น 2 แบบตามลักษณะการตาย คือ ตายดีกบั ตายไม่ดี ตายดี คือ ป่ วยตาย แก่ตาย เป็ นต้ น ส่วนตายไม่ดี เช่น คลอดลูกตาย หรื อ ตายด้ วยเหตุไม่ปกติตา่ ง ๆ นอกจากนี ้ สถานที่ตายก็มีผลต่อพิธีศพด้ วย คือ หากตายในหมูบ่ ้ านก็จะจัดงานศพตามปกติ แต่หากตายนอกหมูบ่ ้ าน ชาวลาหูย่ ีจะไม่น�ำศพกลับเข้ ามาในหมูบ่ ้ าน จะต้ องท�ำศพภายนอก หมูบ่ ้ าน เช่น หากตายที่โรงพยาบาลก็จะให้ ทางโรงพยาบาลท�ำศพให้ เลย เป็ นผลให้ ชาวลาหู่ ยีหลายคนที่เจ็บไข้ ได้ ป่วยหนักๆ มักไม่ไปโรงพยาบาล เพราะเกรงว่าถ้ าตายที่โรงพยาบาลก็ จะไม่ได้ ถกู จัดการศพเรี ยบร้ อยตามธรรมเนียมของเผ่า ญาติพี่น้องก็เกรงว่าหากรักษาไม่หาย แล้ วเสียชีวิตนอกหมูบ่ ้ าน ศพของผู้เป็ นที่รักจะไม่ถกู จัดการอย่างเรี ยบร้ อย
เมื่อมีคนตายในหมูบ่ ้ าน หากคนตายเป็ นเด็กก็จะฝังในวันที่ตายเลย แต่หากเป็ นคนหนุม่ สาว ผู้ใหญ่ หรื อคนเฒ่าคนแก่ ญาติพี่น้องจะเก็บศพไว้ ท�ำพิธี 1 วัน 3 วัน หรื อ 7 วัน โดยช่วงที่เก็บ ศพไว้ ที่บ้านจะต้ องจุดเทียนเอาไว้ ไม่ให้ ดบั ตลอดเวลา และท�ำกระทงโดยใช้ กาบกล้ วยมามัด เข้ าเป็ นทรงสีเ่ หลีย่ มส�ำหรับใส่อาหารทีท่ ำ� เลี ้ยงกันในงานวางไว้ ทางด้ านศีรษะของศพในวันแรก จะเอาปี กไก่ที่ฆา่ เลี ้ยงกันในงานที่ยงั ไม่ถอนขนและตีนไก่วางไว้ บนอกคนตาย ตามความเชื่อ ที่วา่ ปี กไก่จะเป็ นพัดให้ คนตายพัดคลายร้ อนขณะเดินทางไปที่ “ ซือมือ ” ( สวรรค์ / โลก วิญญาณ ) บางคนเชื่อว่าปี กไก่จะเป็ นปี กให้ คนตายบินไปหาน� ้ำดื่มแก้ กระหายระหว่างทาง ส่วนตีนไก่ก็เป็ นเสบียงระหว่างเดินทาง อาหารที่น�ำมาเลี ้ยงในงานศพจะเป็ นหมูและไก่ ซึง่ ต้ องเลี ้ยงให้ อดุ มสมบูรณ์ เพราะเชื่อว่า คนตายจะได้ กินด้ วยกันก่อนเดินทางไปซือมือ เชื่อกันว่าคนตายจะออกเดินทางไปซือมือหลัง จากฝังศพแล้ ว 12 วัน การกินเลี ้ยงจะท�ำในช่วงกลางวัน ส่วนกลางคืนจะอยูเ่ ป็ นเพื่อนศพ
ลาหู่ยี / ลาหู่แดง
67
ในวันฝั งศพ ญาติพี่น้องจะพากันแห่ศพไปที่ป่าช้ า หาก คนตายตายดีก็จะน�ำไปฝังที่ป่าช้ าประจ�ำหมูบ่ ้ าน ถ้ าคนตาย เป็ นเจ้ าของบ้ าน ก่อนเคลื่อนศพ ญาติพี่น้องต้ องช่วยกันรื อ้ ฝาบ้ านด้ านหนึง่ ออก เพื่อน�ำศพออกไปพร้ อมกับท่อนไม้ ที่ มักจะผูกติดไว้ กบั ขื่อบ้ านออกไปด้ วย เพราะถ้ าพาออกทาง ประตู เชื่อกันว่าคนตายจะไม่ได้ ไปซือมือ หลังจากฝังศพ ญาติพี่น้องก็ต้องสร้ างบ้ านหลังเล็กๆ เอาไว้ ในหมูบ่ ้ านเพือ่ ให้ คนตายได้ มบี ้ านของตัวเองอยู่ เมือ่ ไปถึงซือมือ ส�ำหรับการบรรจุศพนัน้ คนหนุม่ สาวจะใช้ ผ้าห่มสีขาวห่อศพ แต่ถ้าเป็ นคนเฒ่าคนแก่จะน�ำศพใส่โลงไม้ โดยน�ำไม้ ทงต้ ั้ น มาขุดเป็ นช่องส�ำหรั บใส่ศพ ท�ำแท่งเดือยยื่นออกมาจาก ด้ านเพื่อใช้ ผกู เชือกลากไปป่ าช้ า ส่วนฝาปิ ดก็จะใช้ แผ่นไม้ สี่เหลี่ยมปิ ดเอาไว้ ในขบวนแห่ศพจะมีแต่ผ้ ชู ายในหมูบ่ ้ านช่วยกันแห่ไป เมื่อไป ถึงป่ าช้ าก็จะเลือกที่ฝังศพ โดยใช้ มีดหรื อไข่ไก่โยนขึน้ ฟ้า โดยหันเข้ าหาตัวหมู่บ้าน หากมีดปั กลงตรงไหนหรื อไข่ไก่ ตกลงแตกตรงไหนก็แสดงว่าคนตายเลือกบริ เวณนันเป็ ้ นที่ ฝังศพของตน ผู้ที่ชว่ ยแห่ศพมาก็จะช่วยกันขุดหลุมลึกกว่า 1 เมตร แล้ ววางศพหรื อโลงไม้ ลงไปในหลุม ตัวคนตายจะถูก ฝั งพร้ อมกับชุดใหม่ที่ญาติสวมให้ และเหล็กซึ่งใช้ แทนเงิน ส�ำหรับว่าจ้ างเรื อนัง่ ข้ ามน� ้ำระหว่างเดินทางไปซือมือ และ ต้ องเผาชายเสื ้อใหม่ที่ใส่ไปให้ ผ้ ตู ายด้ วย มิฉะนัน้ เมื่อไปถึง สวรรค์จะถูกแย่งไปหมด เมื่อวางศพลงในหลุมแล้ วต้ องหา แผ่นไม้ มาวางปิ ดศพไว้ จากนันตั ้ ดเอาใบไม้ มาสุมทับไว้ อีก ชันหนึ ้ ง่ ก่อนที่จะโกยดินกลบหลุม
68
เมื่อฝั งศพเสร็ จแล้ วก็จะเอาปี กไก่และตีนไก่ชิน้ ที่วางไว้ บน อกตังแต่ ้ วนั แรกทีต่ ายมาวางไว้ บนหลุมศพ ช่วงต�ำแหน่งล�ำตัว จากนันขบวนแห่ ้ ศพก็จะพากันเดินทางกลับบ้ านคนตาย น�ำ น� ้ำเปล่าที่ญาติคนตายจัดเตรี ยมไว้ มาประพรมให้ ทกุ คนที่ไป ร่วมพิธีฝัง จากนันทุ ้ กคนก็จะแยกย้ ายกันกลับบ้ าน และมา รวมตัวกันที่บ้านญาติผ้ ตู ายอีกครัง้ ในช่วงกลางคืน เพื่ออยู่ เป็ นเพื่อนปลอบใจญาติผ้ ตู าย เช้ าวันต่อมาจากวันฝังศพ ญาติพี่น้องคนตายจะท�ำอาหาร คาว - หวานใส่ภาชนะน�ำไปที่หลุมศพเพื่อเซ่นไหว้ อาหารที่ เตรี ยมไปมี 2 ชุด ชุดหนึง่ ส�ำหรับคนตาย จะวางไว้ ให้ ที่ข้าง หลุมศพ ในต�ำแหน่งข้ างศีรษะ อีกชุดหนึง่ เตรี ยมไปเลี ้ยงผี จะวางไว้ ต� ำ แหน่ง ปลายเท้ าคนตาย เพื่ อ ไม่ใ ห้ ผี ม าแย่ง อาหารของคนตาย นอกจากนี ้ ยังมีการเตรี ยมจอบ มีด และ เครื่ องใช้ โลหะของคนตายแล้ วแต่ว่าพี่น้องจะเอาอะไรไปให้ คนตายน�ำไปใช้ ที่ซือมือ ในวันที่น�ำเครื่ องเซ่นไหว้ กลับไปให้ คนตายที่หลุมศพนี ้ หากพบว่ามีรอยเท้ าสัตว์หรื อคนย�่ำบน หลุมศพ เชื่อกันว่าจะมีคนหรื อสัตว์ประเภทที่เป็ นเจ้ าของ รอยเท้ านันเสี ้ ยชีวิตในเวลาอีกไม่นานหลังจากนัน้
ส�ำหรับผู้ที่ตายไม่ปกติ จะ มีพิธีกรรมในการท�ำศพต่างออกไป เช่น ถ้ าคลอดลูกตาย จะไม่มีการ แห่ศพผ่านหมู่บ้าน แต่จะพาศพ อ้ อมไปด้ านนอกหมูบ่ ้ าน เดินข้ าม ล� ำ ห้ ว ยที่ ค่ อ นข้ า งใหญ่ พ อที่ ป ลา อาศัยอยูไ่ ด้ แล้ วไปฝังบนภูเขาสูง ในการฝั ง ก็ ต้อ งผ่า เอาศพลูก ออก มาจากท้ องแม่ แล้ วฝังไว้ ด้วยกัน และต้ องเอาหนามแหลมแทงเท้ า ศพไว้ ไม่เช่นนัน้ คนตายจะเดิน กลับมาบ้ าน ส่วนพิธีกรรมอื่น ๆ ก็ ท�ำเหมือนกับการตายกรณีปกติ
โลงศพไม้ที่วางไว้ บนภูเขา ภาพ: โลงศพไม้ของชาวลาหู่บนยอดเขา ที่มา: โครงการโบราณคดีบนพื้นที่สูงใน อ�ำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน
นอกจากนี ้ ในกรณีที่เป็ นผู้อาวุโสที่ มีคนเคารพนับถือมากก็อาจมีการ ท�ำพิธีศพที่ต่างไปจากคนอื่น เช่น กรณีของปู่ จองแอสือ ซึง่ เป็ นปู่ จอง คนแรก ๆ ของชาวลาหูย่ ีบ้านปาง บอนและเป็ นผู้น�ำชาวลาหู่ยีอพยพ เข้ ามาที่อ�ำเภอปางมะผ้ า ก็มีการ ท�ำศพตามที่ทา่ นสัง่ เสียไว้ ก่อนตาย คือ น�ำศพใส่โลงไม้ วางไว้ บนห้ างที่ ท�ำยกสูงน�ำไปวางไว้ บนปลายสันเขา สูงชัน เป็ นต้ น ลาหู่ยี / ลาหู่แดง
69
3
ก ารด� ำ ร ง ชีวิต
3.1 การผลิต การผลิตของชาวลาหูย่ ีขึ ้นอยูก่ บั ฤดูกาล แต่สว่ นใหญ่ยงั คงท�ำการเกษตรเป็ นหลัก โดยปลูกพืชไร่เพื่อค้ าขาย ปลูกข้ าวไร่และพืชผักอื่นๆ เพื่อบริ โภคในครัวเรื อน ส่วน การเลี ้ยงสัตว์ และการผลิตแบบอื่นๆ จะท�ำเพื่อใช้ เองในครัวเรื อนเป็ นหลัก 1) การเกษตร ชาวลาหูย่ ีท�ำไร่เป็ นส่วนใหญ่ บางบ้ านก็ท�ำนาด้ วย ชาวบ้ านเลือก ที่ดินท�ำเกษตรจากความสมบูรณ์ ของดินและไม่ห่างไกลจากหมู่บ้านจนเกินไป ชาวลาหูย่ ียงั คงมีระบบแรงงานแบบ “เอาแรง” เอาไว้ โดยแต่ละช่วงการท�ำไร่ ตังแต่ ้ การถางหญ้ า เพาะปลูก และการเก็บเกี่ยว จะมีการจัดคิวกันว่าบ้ านไหนจะท�ำ วันไหน และผลัดกันไปช่วยเอาแรงกัน พืชไร่ที่ปลูกกันมาก ได้ แก่ ข้ าวโพด ถัว่ แดง หอมแดง กระเทียม เป็ นต้ น ส่วนข้ าวจะปลูกเพื่อกินเท่านัน้
ช่วงฤดูฝน
ชาวลาหู่ยีจะเริ่ มถางหญ้ า เตรี ยมดิน และเริ่ มเพาะปลูก ซึ่งเป็ นช่วงที่ต้อง ท�ำงานหนัก โดยเฉพาะหากบ้ านใดท�ำ ทัง้ ไร่ และนาก็ต้องแบ่งเวลาเพื่อเตรี ยม ดินและเพาะปลูกให้ พร้ อมทัง้ 2 พื ้นที่ และต้ องคอยดูแลไม่ให้ สตั ว์เข้ าไปกินพืชที่ เพาะปลูกไว้
70
ช่วงฤดูหนาว
เป็ นช่วงการเก็บเกี่ยวผลผลิต ส�ำหรับ ใครที่ต้องการปลูกพืชเสริ มรายได้ อย่าง หอมแดง กระเทียม ก็ต้องเตรี ยมดินและ เพาะปลูกกันอย่างต่อเนื่อง พืชเหล่านี ้ จะปลูกบนพื ้นที่นา ส่วนพื ้นที่ไร่ชาวบ้ าน จะปล่อยทิ ้งเอาไว้ เพือ่ ให้ ดนิ ฟื น้ คืนสภาพ
ช่วงฤดูร้อน
ต้ น ฤดูร้ อนพื ช เสริ ม รายได้ ที่ ป ลูก ไว้ ใ น ช่วงฤดูหนาวก็ถึงเวลาเก็บเกี่ยวอีกครัง้ ราวเดือนมีนาคม - เมษายน เมื่อเก็บ เกี่ยวเสร็ จแล้ ว ชาวบ้ านจะเริ่ มกลับไป เตรี ย มพื น้ ที่ ไ ร่ ที่ ทิ ง้ เอาไว้ ตัง้ แต่ ต้ น ฤดู หนาว ราวเดือนเมษายน - พฤษภาคมก็ จะเริ่มตีไร่และเผาวัชพืชออกจากดิน เพือ่ เตรี ยมเพาะปลูกพืชในฤดูฝนที่จะมาถึง
2) การเก็ บ ของป่ า ล่ า สั ต ว์ ส่ว นใหญ่ จ ะเก็ บ ของป่ าล่า สัต ว์ ม าเพื่ อ กิ น ใน ครัวเรื อน ไม่คอ่ ยเอาไปขาย 3) การเลี้ยงสัตว์ ชาวลาหูย่ ีเลี ้ยงหมูด�ำ ไก่ และวัว / ควาย แต่เดิมปล่อยให้ หากินเอง แต่ปัจจุบนั มีการท�ำคอกส�ำหรับเลี ้ยงสัตว์ที่ชดั เจน ยกเว้ นไก่ที่อาจจะยัง ปล่อยให้ หากินเองบ้ าง หรื อในฤดูร้อนที่ไม่มีการเพาะปลูกก็สามารถปล่อยสัตว์ออก ไปหากินเองได้ เพราะไม่ต้องกลัวว่าจะไปท�ำลายพืชผลของใคร ชาวลาหูย่ ีเลี ้ยงสัตว์ ด้ วยอาหารที่ท�ำเอง เช่น หยวกกล้ วยต้ มกับเศษอาหารและปลายข้ าว สัตว์ที่เลี ้ยงไว้ ส่วนใหญ่เลี ้ยงไว้ เพื่อท�ำพิธีกรรม ได้ แก่ หมูด�ำและไก่ ชาวบ้ านจะไม่ขายให้ คนอื่น ส่วนวัว/ควาย ชาวบ้ านเลี ้ยงไว้ ขายให้ กบั พ่อค้ าที่มารับซื ้อถึงในหมูบ่ ้ าน 4) การท�ำงานหัตถกรรม ผูท้ ี่ท�ำงานหัตถกรรมในหมูบ่ ้ านชาวลาหูย่ ีมีหลายชนิด ได้ แก่ การจักสานเครื่ องใช้ จากไม้ ไผ่ การตีเหล็ก การท�ำเครื่ องเงิน การท�ำเครื่ องดนตรี ลาหูย่ ี การตัดเย็บ/ปั กผ้ า และการทอผ้ า ผู้ที่ท�ำงานหัตถกรรมมักเป็ นผู้สงู อายุ ซึง่ ท�ำให้ กับคนในหมู่บ้านและคนนอกหมู่บ้านที่มาสัง่ ท�ำเพื่อขายหรื อแลกกับอาหาร นอกจากนี ้ ผู้หญิงลาหูย่ ีก็ท�ำงานหัตถกรรมเพื่อใช้ เองในครัวเรื อนและเพื่อจ�ำหน่าย ด้ วยเช่นกัน
การจักสานไม้ไผ่
ถ้ าเป็ นผู้ช าย ก็ จ ะจักสานตะกร้ าจาก ไม้ ไผ่ เช่น ตะกร้ าใส่เสื ้อผ้ าแบบมีฝาปิ ด และเครื่ องใช้ อื่น ๆ เช่น ตะกร้ าใส่ปลา ตะกร้ าหาบน� ำ้ ซึ่ง ปั จ จุบัน หาคนท� ำ ได้ ยากแล้ ว การตีเหล็ก
ใช้ วิ ธี ก ารตี เ หล็ ก ให้ ร้ อน แล้ ว ท� ำ เป็ น รูปร่างต่างๆ ส่วนใหญ่จะตีเป็ นเครื่ องใช้ ในการเกษตร เหล็กทีน่ ำ� มาตีมกั เป็ นเหล็ก แหนบรถยนตร์ ที่วางขายกันตามตลาด
การปักผ้า
งานผ้ า ของชาวลาหู่ยี มี ค วามโดดเด่น เรื่ องลายปั กที่ละเอียด ส่วนการทอผ้ า นัน้ แต่เดิมชาวลาหูย่ ีไม่ทอผ้ า แต่จะน�ำ ของไปแลกผ้ าหรื อซือ้ ผ้ าจากในตลาด มาตัดเย็บและปักให้ สวยงาม แต่ปัจจุบนั หญิงชาวลาหูย่ ีสามารถทอผ้ าได้ เพราะ มีโครงการในพระราชด�ำริ ของพระบาท สมเด็ จ พระบรมราชิ นี น าถมาส่ง เสริ ม การทอผ้ า ชาวลาหูย่ ีจงึ ได้ มีการทอผ้ า และมี การออกแบบลายผ้ าแบบลาหู่ยี ขึ ้นมาด้ วย
ผู้อาวุโสชาวลาหู่ยี ที่มีความสามารถ ด้ านหัต ถกรรม จะได้ รั บ ต� ำ แหน่ ง ที่ เรี ยกว่ า “ ปู่ เละ ” เป็ นค� ำ ที่ ใ ช้ เรี ยก ผู้อ าวุโ สชาย ที่ ท� ำ งานหัต ถกรรมได้ หลายอย่ า ง ไม่ ว่ า จะเป็ น การตี เ หล็ ก การท� ำ เครื่ อ งเงิ น รวมไปถึ ง การท� ำ เครื่ องดนตรี ประจ�ำเผ่า คือ กลองลาหู่ และเครื่ อ งเป่ าที่ เ รี ย กว่ า “ นอ”
ลาหู่ยี / ลาหู่แดง
71
3.2 อาหาร ชาวลาหู่ยีรับประทานข้ าวเป็ นอาหารหลัก มีทงข้ ั ้ าวไร่ และ ข้ าวนา ส่วนอาหารอื่นๆ ที่น�ำมาท�ำกับข้ าวก็จะเป็ นพืชผัก และเครื่ องปรุ งที่หาได้ ในท้ องถิ่น เช่น ผักที่ปลูกไว้ กินเอง ยอดผักพื ้นบ้ านเก็บได้ ตามป่ า เห็ด หน่อไม้ เป็ นต้ น ส่วน เครื่ องปรุงหลักในครัวชาวลาหูย่ ีคือ พริ กแห้ ง เกลือ หอมแดง กระเทียม ผงชูรส ส�ำหรับเนื ้อสัตว์ ส่วนใหญ่ ชาวบ้ านจะได้ รับประทานเนื ้อหมู เนื ้อไก่ กันในวันที่มีการเลี ้ยงผีในหมูบ่ ้ าน และมีการเข้ าป่ าไปหาปลา ล่าสัตว์ มาท�ำเป็ นอาหารด้ วย ส�ำหรับอาหารประจ�ำบ้ านชาวลาหูย่ ี ได้ แก่
น� ้ำพริ กชาวลาหูย่ ีเป็ นการน�ำพริ กแห้ งมาคัว่ ไฟให้ กรอบ ต�ำกับเกลือ บางครัง้ ก็ใส่ผงชูรสด้ วย ลักษณะคล้ าย กับพริ กเกลือของคนไทยพื ้นราบ สามารถเก็บไว้ กินได้ นาน และพกพาไปกินกับข้ าวยามไปไร่นาได้ สะดวก บางครัง้ ก็จะ น�ำน� ้ำพริ กดังกล่าวมาเจียวในน� ้ำมันเพื่อเพิ่มรสชาติ
น�้ำพริก
มีรสชาติเค็มและเผ็ดเล็กน้ อยเนื ้อ ปลาแห้ งและเส้ นหมี่ส�ำเร็ จรู ปเป็ นของที่หาซื ้อได้ จากร้ านค้ า ในหมูบ่ ้ านได้ งา่ ยชาวบ้ านจึงนิยมน�ำมาต้ มรับประทานกับข้ าว
ปลาแห้งต้มกับเส้นหมี่
แม่เฒ่าชาวลาหู่ยีก�ำลังคั่ว พริกแห้งเพื่อท�ำอาหาร
72
เมนูปลาประจ�ำบ้ านของชาวลาหูย่ ี คือการน�ำปลาล�ำห้ วยที่หาได้ มาหมักเกลือทิ ้ง ไว้ 1 คืน จากนันน� ้ ำใส่กระบอกไม้ ไผ่ ต�ำพริ ก แห้ ง และเกลื อ ใส่ล งไปในกระบอกไม้ ไ ผ่แ ละ คลุกให้ เข้ ากับปลา จากนันน� ้ ำกระบอกนันไป ้ หลาม กะให้ เนื ้อผาสุกได้ ที่ก็ยกลงเทใส่ภาชนะ รับประทานเป็ นกับข้ าว ปลาหลาม
ลาหู่ยี / ลาหู่แดง
73
3.3 การแต่งกาย
ชุด ประจ� ำ เผ่ า ของชาว ลาหูย่ ีจะเป็ นชุด 2 ชิ ้น มีท่อนบนเป็ นเสื ้อ ส่วน ท่อนล่างนัน้ ผู้หญิงจะ นุ่งผ้ าถุง ส่วนผู้ชายจะ นุ่งกางเกง
เสื ้อของผู้หญิงลาหูย่ ีเป็ นเสื ้อแขนยาวทรงกระบอก ผ่าหน้ า ความยาวเสื ้ออยูท่ ี่ระดับเอว สีพื ้นเสื ้อเป็ นสีด�ำ แต่มกั มีผ้าสี ฟ้าคาดไว้ ตรงต้ นแขนทัง้ 2 ข้ าง ตรงชายเสื ้อด้ านหน้ าเป็ นผ้ า สีแดงหรื อสีฟา้ บางคนอาจใช้ พื ้นเสื ้อเป็ นสีฟา้ คาดสีผ้าสี แดงตรงต้ นแขน หรื อสีพื ้นเสื ้อเป็ นลายสีโทนแดง คาดสีฟา้ ส�ำหรับผ้ าซิน่ มักนุง่ สีด�ำเช่นเดียวกับสีพื ้นของตัวเสื ้อ แต่มี การปั กผ้ าเป็ นลวดลายสวยงาม เช่น ลายสัตว์ ลายเรขาคณิต อาจมีการสวมเครื่ องประดับที่ท�ำจากโลหะเงิน นิยมใส่ก�ำไล สร้ อยห่วงสวมคอ และต่างหู ส่วนชุดผู้ชายชาวลาหูย่ ีจะสวม เสือ้ สีด�ำประดับด้ วยแถบผ้ าสีฟ้าตรงต้ นแขนและชายเสือ้ ตัวเสื ้อเป็ นทรงกระบอกยาวคลุมสะโพก ผ่าหน้า มีทงแบบ ั้ แขนยาวและแขนสันระดั ้ บข้ อศอก ส�ำหรับกางเกงนันในอดี ้ ต จะเป็ นกางเกงขากว้ างสีด�ำล้ วน แต่ปัจจุบนั มีการตกแต่ง ด้ วยแถบผ้ าสีเดียวกับเสื ้อ และมีชายผ้ าส�ำหรับผูกเอวซึง่ ปั จจุบนั มักเปลี่ยนมาเป็ นเอวยางยืดหมดแล้ วเพราะสวมใส่ สะดวกกว่าในสมัยก่อน
ชาวลาหู่ยีจะใช้ ผ้าก�ำมะหยี่สีด�ำในการตัดเย็บเสื ้อผ้ าตาม แบบดังเดิ ้ ม แต่ปัจจุบนั มีการปรับเปลี่ยนใช้ เนื ้อผ้ าแบบอื่นที่ ถ่ายเทเหมาะสมกับสภาพอากาศที่ร้อนเกือบทังปี ้ และมี ราคาถูกลง ส่วนชุดที่ตดั เย็บด้ วยผ้ าก�ำมะหยี่ราคาแพงจะ เก็บเอาไว้ สวมใส่ในวันส�ำคัญ การตัดเย็บเสื ้อผ้ าประจ�ำเผ่าก็ ยังคงเป็ นหน้ าที่ของผู้หญิงในหมูบ่ ้ าน ผู้หญิงลาหูย่ ีเรี ยนการ ตัดเย็บจากแม่ตงแต่ ั ้ ยงั เป็ นเด็ก 74
ส�ำหรับผู้ชายมักไม่คอ่ ยสวม เสื ้อลาหูย่ ีอยูบ่ ้ าน แต่จะสวม กางเกงลาหู่ยีกบั เสื ้อยืดหรื อ เสื ้อเชิ ้ต แต่ในยามออกงาน นิยมแต่งกายด้ วยชุดประจ�ำ เผ่าทังชุ ้ ดเช่นเดียวกับผู้หญิง ชาวลาหู่ยียงั คงแต่งกายด้ วยชุดประจ�ำเผ่า โดยเฉพาะผู้หญิงมักสวมใส่เสื ้อประจ�ำเผ่าใน ชีวิตประจ�ำวัน แต่จะเลือกแบบที่ผ้าบางเพื่อให้ เย็นสบาย แต่ทอ่ นล่างอาจสวมผ้ าถุงที่ซื ้อได้ ตามท้ องตลาด ซึง่ มีราคาถูกกว่าและสวมใส่สบายกว่า เช่น ผ้ าถุงพม่าหรื อผ้ าถุงแบบที่มา จากภาคใต้ แต่หากต้ องไปตลาด ไปอ�ำเภอ หรื อไปร่วมงานต่างๆ ก็มกั จะแต่งชุดประจ�ำเผ่า ออกไปเพราะมองว่าดูดีกว่าแต่งชุดตามสมัยนิยม
ลาหู่ยี / ลาหู่แดง
75
3.4 ระบบเครือญาติ
คนลาหูย่ ที อี่ ยูใ่ นหมูบ่ ้ านเดียวกัน ส่วนใหญ่จะเป็ นเครือญาติ กันทังสิ ้ ้น ชาวลาหู่ยีไม่เจาะจงว่าจะต้ องนับถือบรรพบุรุษ ฝ่ ายใดเป็ นพิเศษ แต่สว่ นใหญ่เมื่อแต่งงานแล้ ว ลูกชายจะ ยังอยูท่ ี่บ้านพ่อแม่ ท�ำให้ ครอบครัวมีลกั ษณะเป็ นครอบครัว ขยาย จะมีการแยกบ้ านออกไปก็ตอ่ เมื่อแต่งงานและอาศัย อยูบ่ ้ านพ่อแม่ได้ 2 – 3 ปี โดยมากจะตังบ้ ้ านอยูไ่ ม่ไกลจาก พ่อแม่หรื อเครื อญาติของตน หากไม่มีการแยกไปตังบ้ ้ าน ใหม่ก็อาจจะต่อห้ องเพิ่มขึ ้นมาเพื่อให้ เป็ นห้ องของหัวหน้ า ครอบครัว ส่วนสมาชิกคนอืน่ ๆ ก็นอนรอบๆเตาไฟภายในบ้ าน เมื่อมีประชากรมากขึ ้นก็จะมีการแยกออกไปตังหมู ้ บ่ ้ านใหม่ ชาวลาหูย่ ีจะไม่แต่งงานกันญาติกนั เอง เมื่อรักใครชอบพอ กับใครก็แต่งานและอยู่กินด้ วยกันการหย่าร้ างเป็ นเรื่ องปกติ ของชาวลาหู่ยีซึ่งมองว่าหากไม่สามารถอยู่ร่วมกันได้ ก็ควร จะเลิกรากัน ส่วนลูกที่เกิดด้ วยกันมักจะอาศัยอยูก่ บั แม่
เรื่ องของเครื อญาติมีอิทธิพลต่อการเลือกผู้น�ำในชุมชน ผู้น�ำ หมู่บ้านมักเป็ นผู้ที่สืบสายตระกูลมาจากผู้น�ำคนส�ำคัญของ ชุมชน แม้ ปัจจุบนั จะมีระบบเลือกตังของรั ้ ฐเข้ ามา แต่ผ้ ทู ี่ได้ รั บเลือกตัง้ ก็ มักจะเป็ นคนที่มีญาติพี่น้องเป็ นจ�ำนวนมาก ชาวบ้ านส่วนใหญ่จะเลือกญาติตวั เองให้ เป็ นผู้น�ำ เช่นนายก องค์การบริ หารส่วนต�ำบล เป็ นต้ น นอกจากจะให้ ความส�ำคัญกับเครื อญาติแล้ ว ชาวลาหูย่ ียงั ให้ ความส�ำคัญกับระบบอาวุโสมาก ชาวบ้ านให้ ความเคารพ กับผู้อาวุโสในครอบครัว ในหมูบ่ ้ าน โดยเฉพาะผู้น�ำผู้บ้าน อย่างผู้ใหญ่บ้าน ปู่ จอง ปู่ เละ หากชาวบ้ านในชุมชนไปล่า สัตว์ได้ มาแล้ วแบ่งกัน จะเอาส่วนที่ดีที่สดุ แบ่งเป็ น 3 ส่วน แล้ วน�ำไปให้ ผ้ อู าวุโสทัง้ 3 ท่านนี ้ก่อน แล้ วที่เหลือจึงน�ำมา แบ่งกัน ส่วนหัวสัตว์จะต้ องให้ กบั คนที่ยิงสัตว์ตวั นันเป็ ้ นคน แรกเท่านัน้ ประเพณี ส�ำคัญในรอบปี ของชาวลาหู่ยีมี 4 งานด้ วยกัน ได้ แก่ งานออกพรรษา งานกินวอ งานสร้ างศาลา และงาน เข้ าพรรษา ส�ำหรับชาวลาหูย่ ีที่นบั ถือศาสนาคริ สต์ก็อาจจะ ไม่เข้ าร่วมงานประเพณีทางพุทธศาสนา คือ งานออกพรรษา งานสร้ างศาลา และงานเข้ าพรรษา แต่จะมีการจัดงาน คริ สตมาส รวมถึงงานประเพณีส�ำคัญทางศาสนาคริ สต์
76
4
ประเพณี 4.1 ประเพณีกินวอ ประเพณีกินวอเปรี ยบเสมือนงานปี ใหม่ของชาวลาหูย่ ี มีการจัด งานช่วงเดือนกุมภาพันธ์ถงึ มีนาคม ใช้ เวลาจัดงานทังสิ ้ ้น 6 วัน ช่วงที่มีประเพณีกินวอ ชาวบ้ านจะหยุดท�ำงานทุกอย่างเพื่อ ร่วมพิธีและตระเวนเยี่ยมญาติพี่น้องทังในหมู ้ บ่ ้ าน และต่างหมูบ่ ้ าน ถือเป็ นงานรื่ นเริ งที่ใหญ่ที่สดุ ในรอบปี
วันที่ 1
ชาวบ้ านจะรวมตัวกันต�ำข้ าวปุ๊ ก แล้ วน�ำไปวางไว้ บนหิ ้งไม้ ไผที่ทกุ บ้ านท�ำขึ ้นเพื่อใช้ ในงานนี ้ โดยเฉพาะ
วันที่ 2
ชาวบ้ านจะช่วยกันเตรี ยมสถานที่จดั งาน ณ ลานจะคึ ของหมูบ่ ้ าน โดยการตัดต้ นสนและ ไม้ ไผ่มาปั กไว้ และฆ่าหมูที่เลี ้ยงไว้ แล้ วน�ำเนื ้อหมูมาแบ่งกัน ส่วนที่เป็ นมันหมู ชาวบ้ านแต่ละ ครอบครัวจะเอากลับไปวางไว้ บนหิ ้งไม้ ไผ่ที่บ้าน จากนันก็ ้ น�ำข้ าวปุ๊ กและหัวหมูไปห้ อยไว้ กบั ต้ นสนและไม้ ไผ่ที่เตรี ยมไว้ ที่ลานจะคึ
วันที่ 3
ชาวบ้ านจะน�ำน� ้ำล้ างมือไปยังบ้ านต่างๆ เพื่อล้ างมือให้ กบั คนเฒ่าคนแก่ทกุ คนในหมู่บ้าน เพื่อเป็ นการขอขมา ขอพร และอวยพรให้ กบั คนเฒ่าคนแก่ พร้ อมทังรั้ บค�ำสัง่ สอน พอตก กลางคืน หนุม่ สาวทุกคนในหมูบ่ ้ านก็จะไปรวมตัวเพื่อเต้ นร� ำกันที่ลานจะคึตลอดคืน
วันที่ 4
จะมีการด�ำหัวสมาชิกในหมูบ่ ้ านทุกบ้ าน ของที่ต้องเตรี ยมไปคือข้ าวปุ๊ ก หมู และเทียน ส่วน เจ้ าของบ้ านจะต้ องเตรี ยมเหล้ าและขนมมาเลี ้ยงคนที่มาด�ำหัวตน พอตกกลางคืนก็จะมีการ เต้ นร� ำที่ลานจะคึกนั ทังคื ้ นอีก
วันที่ 5
ชาวบ้ านจะน�ำข้ าวปุ๊ กที่แขวนไว้ ที่ลานจะคึมาแจกให้ กบั สมาชิกในหมูบ่ ้ านทุกคน แล้ วช่วยกัน ท�ำข้ าวปุ๊ กขึ ้นมาใหม่ เอาไปแขวนไว้ แทนของเดิมที่เอากลับมา พอตกกลางคืนก็มีการเต้ นจะ คึกนั อย่างต่อเนื่องอีก 2 คืน จึงถือว่าจบพิธีกินวอ ลาหู่ยี / ลาหู่แดง
77
4.2 ประเพณีสร้างศาลา ประเพณีสร้ างศาลาจัดขึ ้นตรงกับวันศีล (วันพระ) ช่วงเดือนพฤษภาคม ของทุกปี เป็ นงานสาธารณะประโยชน์ที่ชาวบ้ านในชุมชนจะมาร่วมมือ กันสร้ างศาลา โดยไม่จ�ำกัดว่าจะต้ องสร้ างบริ เวณไหน แต่จะเลือก บริ เวณที่สร้ างแล้ วเกิดประโยชน์มากที่สดุ การจัดงานทังหมดมี ้ 3 วัน ประเพณีนี ้ไม่จ�ำเป็ นต้ องฆ่าสัตว์ เพราะไม่ใช่การเลี ้ยงผี อาหารที่น�ำมา รับประทานร่วมกันเป็ นอาหารทัว่ ๆ ไปที่กินกันอยูใ่ นวันปกติ
4.3 ประเพณีเข้าพรรษา ประเพณี เ ข้ า พรรษาจัด ตรงกับ วัน เข้ า พรรษาตามปฏิ ทิ น พระพุท ธ ศาสนาทัว่ ประเทศ ถือว่าเป็ นวันศีลใหญ่ ชาวบ้ านจะข้ าวโพดหรื อ ผลผลิตที่ออกช่วงนันอย่ ้ างละเล็กละน้ อยไปให้ กบั ทุกบ้ าน แล้ วจึงน�ำ กระดาษสาที่ตดั เป็ นรูปคน ด้ ายผูกข้ อมือ และเงินจ�ำนวนเล็กน้ อยใส่ผ้า ขาวน�ำไปให้ ที่บ้านปู่ จอง วันต่อมาจะกลับไปที่บ้านปู่ จองอีกครัง้ เพื่อฟั ง ว่าปู่ จองจะตักเตือนแต่ละคนหรื อแต่ละครอบครัวเรื่ องอะไร เมื่อรับฟั ง เสร็ จแล้ วก็รับด้ ายคืนมา 4.4 ประเพณีออกพรรษา
ประเพณีออกพรรษาจัดตรงกับวันออกพรรษาตามปฏิทินพุทธศาสนา พิธีกรรมท�ำเหมือนกับประเพณีเข้ าพรรษา เพียงแต่เปลี่ยนผลผลิตที่น�ำ ไปให้ แต่ละบ้ านเป็ นข้ าว หัวมัน หรื อผลผลิตที่ออกในช่วงนันๆ ้
78
วันแรก
ตรงกับวันศีล ชาวบ้ านจะหยุดงาน มีการพบปะพูดคุยกัน วันที่สอง
มีการท�ำพิธีที่บ้านปู่ จอง ปู่ จองจะ อวยพรให้ กับทุกคน วันที่สาม
สมาชิกในหมูบ่ ้ านไปร่วมมือกันสร้ าง ศาลาตรงจุดที่เลือกไว้ แต่ละคนจะน�ำ อาหารมารับประทานร่วมกัน
บ้านเรือน
รูปแบบบ้ านชาวลาหูย่ ีแต่ดงเดิ ั ้ มเป็ นบ้ านไม้ โครงสร้ างเป็ น ไม้ ยืนต้ นหรื อไม้ ไผ่ ใช้ ไม้ ไผ่ตีเป็ นไม้ ฟากท�ำเป็ นผนังและท�ำ เป็ นพืน้ บ้ าน ส่วนหลังคามุงด้ วยใบตองก๊ อซึ่งเป็ นพืชใน ตระกูลปาล์มชนิดหนึ่ง ซึ่งมีความทนทานกว่าใบตองตึง เนื่ อ งจากสมัยก่ อนมี การเคลื่อนย้ า ยหมู่บ้า นบ่อ ย จึง ไม่ จ�ำเป็ นต้ องสร้ างบ้ านให้ มนั่ คงมากนัก ยิ่งถูกรมควันนาน ๆ ก็ยิ่งทน ปั จจุบนั มีการปรับเปลี่ยนไปตามสังคมที่เปลี่ยนไป ชาวลาหูย่ ีไม่ย้ายถิ่นอีกแล้ ว จึงได้ มีการสร้ างบ้ านถาวรโดย ใช้ ไม้ เนื ้อแข็งหรื อไม้ สกั ที่หาได้ ในพื ้นที่มาท�ำบ้ าน มุงหลังคา กระเบื ้องยิปซัม่ หรื อสังกะสี บางหลังก็ท�ำเป็ นพืน้ ปูนหรื อ บ้ านสองชันด้ ้ วย
บ้านแบบดั้งเดิมของชาวลาหู่ยี
ศิ ล ป ก ร ร ม แ ล ะ ส ถ า ป ัต ย ก ร ร ม บ้ านของชาวลาหูย่ ีมกั ยกพื ้นสูง มีใต้ ถนุ ในระดับที่แตกต่าง กันไปตามสภาพพื ้นที่ที่สร้ างบ้ าน การยกพื ้นบ้ านเป็ นการ ปรับระดับของบ้ านโดยไม่ต้องปรับพื ้นดิน หากบ้ านใดใต้ ถนุ บ้ านสูงก็มกั จะเลี ้ยงสัตว์ไว้ ตรงใต้ ถนุ บ้ าน พื ้นบ้ านชาวลาหู่ มัก จะเปิ ด ช่ อ งเอาไว้ เ พื่ อ กวาดเศษอาหารทิ ง้ ลงตามร่ อ ง ไม้ ไผ่ สัตว์เลี ้ยงต่างๆ ก็จะมากินเศษอาหารเหล่านัน้ จึงไม่ ค่อยมีเศษอาหารเหลือค้ างให้ เกิดความสกปรก และมีการ ขุดร่ องน�ำ้ เอาไว้ ให้ น�ำ้ ไหลไปยังพืน้ ที่ที่ต�่ำกว่าโดยไม่ท�ำให้ ใต้ ถนุ บ้ านเฉอะแฉะ นอกจากนี ้ ชาวบ้ านยังใช้ ใต้ ถนุ บ้ าน เป็ นพื ้นที่เก็บตุนฟื นแห้ งเอาไว้ ในช่วงฤดูฝน ตลอดจนเก็บ ผลผลิตทางการเกษตรที่เก็บเกี่ยวได้ ในแต่ละปี ด้วย
ภาพ: บ้านพ่อหลวงป่าแหน ไพรบันลือ บ้านปางบอน ที่มา: โครงการโบราณคดีบนพื้นที่สูงในอ�ำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน
ลาหู่ยี / ลาหู่แดง
79
ห้องเก็บน�้ำ
ห้องครัว และ รับแขก
ห้องนอนเจ้าของบ้าน ชานนั่งเล่น
กองไฟ
แผนผังบ้านชาวมูเซอแดงในปัจจุบัน ครัวไฟในบ้านชาวลาหู่ยี
ภาพวาดผังการแบ่งพื้นที่ใช้ ประโยชน์ในบ้านชาวลาหู่ยี
ขวา ภาพ: เตาไฟบ้านปู่เละ ประกอบด้วย หม้อ เหล็กสามเส้า ครกไม้ กาน�้ำร้อน และตู้ใส่ถ้วยชามหรือเก็บอุปกรณ์อย่างอื่น เหนือเตาไฟใช้ตากพริกแห้ง ที่มา: โครงการโบราณคดีบนพื้นที่สูงใน อ�ำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน
การจัดแบ่งพื ้นที่ใช้ ประโยชน์ในบ้ าน แต่เดิมมักสร้ างไว้ เพียง ห้ องเดียว มีเตาไฟอยูก่ ลางบ้ าน โดยเตาไฟท�ำด้ วยกะบะดิน อัดแข็งรูปสี่เหลี่ยม วางก้ อนเส้ าหรื อเส้ าเหล็กสามขาเอาไว้ เพื่อรองอุปกรณ์ท�ำอาหาร เหนือเตาไฟจะมีหิ ้งวางของที่ท�ำ จากเสื่อไม้ ไผ่หรื อชัน้ ไม้ ไผ่ ซึ่งจะมีสภาพแห้ งและด�ำจาก ควันไฟ ซึง่ ช่วยไล่ความชื ้นและป้องกันเชื ้อราให้ กบั สิง่ ที่เก็บ ไว้ ด้านบนชัน้ คนในครอบครัวจะนอนกันรอบๆ กองไฟ ซึง่ ช่วยไล่ความหนาวในฤดูหนาวได้ เป็ นอย่างดี แต่ในปั จจุบนั มีการแบ่งส่วนใช้ ประโยชน์เป็ น 4 ส่วนชัดเจน คือ ห้ องนอน เจ้ าของบ้ าน ห้ องครัว ชานนัง่ เล่น และห้ องเก็บน� ้ำ ซึง่ บริ เวณ ห้ องครัวจะเป็ นห้ องที่ใช้ รับแขกด้ วย แขกไปใครมาชาวลาหูยี ก็จะต้ อนรับด้ วยน� ้ำชาและนัง่ พูดคุยกันหน้ าเตาไฟ 80
6
ภาษา วรรณกรรมและ เรื่ อ งเล่ า เรื่องเล่าเกี่ยวกับชีวิตหลังความตาย ชาวลาหูย่ ีมีความเชื่อเรื่ องชีวิตหลังความตาย เชื่อว่าคนตาย จะเดิ น ทางไปอยู่ยัง โลกหลัง ความตายหรื อ สวรรค์ ที่ ช าว ลาหูย่ ีเรี ยกว่า “ซือมือ ”
โดยมีเรื่ องเล่าเกี่ยวกับซือมือว่าเมื่อก่อนโลกมนุษย์กบั ซือมือ สามารถมองเห็นกันได้ แต่เหมือนมีกระจกกันไว้ ้ ไม่สามารถ พูดคุยกันได้ ท�ำให้ คนตายที่อยู่ในซือมือกับญาติพี่น้องใน โลกมนุษย์ตา่ งก็มีความทุกข์ ร้ องไห้ หากันอยูไ่ ม่หยุด ในที่สดุ “ฮือชา ” หรื อ เทวดาจึงบันดาลให้ มองกันไม่เห็นอีกเลย เพื่อ จะได้ ไม่ต้อ งทุก ข์ ท รมานใจ ชาวลาหู่ยีเ ชื่ อ ว่า คนตายจะ เดินทางไปซือมือในวันที่ 12 หลังจากฝั งศพ หากไปถึง ก่อนหน้ านันจะเข้ ้ าไปอยูบ่ ้ านในซือมือไม่ได้ เพราะญาติพนี่ ้ อง ในซือมือเหม็นขี ้ดิน ลาหู่ยี / ลาหู่แดง
81
ลีซู ภาพ ที่มา : นีรนรา อนุศิลป์
82
หมู่บ้านน�ำ้ บ่อสะเป่ ตังอยู ้ ่บนสันเขาทิศใต้ ของหุบเขาบ้ านไร่ ซึ่งเป็ นหลุมยุบขนาดใหญ่ มีประวัติศาสตร์ บอกเล่ากล่าวถึงการก่อตังหมู ้ บ่ ้ านมีระลอกการอพยพ 2 ครัง้ คือกลุม่ ลีซทู ี่อพยพ เข้ ามาในสมัยแรกประมาณช่วงปี พ.ศ. 2515-2517 ต่อมาการอพยพโยกย้ ายช่วงต่อมาเกิดขึ ้นใน ช่วงที่บ้านท่าไคร้ มีบ้านประมาณ 2 หลัง และการอพยพของชาวลีซกู ลุม่ ที่ 2 ประมาณปี พ.ศ. 2517-2521 หลังจากนันยั ้ งมีชาวลีซจู ากหมูบ่ ้ านอื่น เช่น เชียงดาว เชียงใหม่ บ้ านดอยหลวง และ บ้ านดีหลวง อพยพเข้ ามาตังถิ ้ ่นฐานเพิ่มอยูเ่ รื่ อยมา จนมีจ�ำนวนประชากรที่เพิ่มสูงจากจ�ำนวน เพียง 7-8 หลังคาเรื อน เป็ น 147 หลังคาเรื อน ภายในระยะเวลาประมาณ 30 ปี ตังแต่ ้ ก่อตัง้ หมู่บ้าน แต่เพราะชาวบ้ านส่วนใหญ่ไม่มีบตั รประจ�ำตัวประชาชนท�ำให้ สถานะของบ้ านน� ้ำบ่อ สะเป่ เป็ นหย่อมบ้ านหนึง่ ในการปกครองของหมู่ 3 บ้ านไร่ ล�ำดับการตังถิ ้ ่นฐานของทัง้ 5 กลุม่ ชาติพนั ธุ์ในพื ้นที่วิจยั พบว่าการตังชุ ้ มชนถาวรแรกเริ่ มของปาง มะผ้ าอยูบ่ ริ เวณที่ราบบ้ านแม่ละนาของกลุม่ คนไทใหญ่ เมื่อประมาณ 200 ปี มาแล้ ว ต่อมากลุม่ คนลาหูแ่ ดงและลาหูด่ �ำที่เคลื่อนย้ ายและตังชุ ้ มชนอยูบ่ นแนวสันเขาในเขตรอยต่อระหว่างไทยกับ พม่าได้ เข้ ามาปั กหลักในเขตประเทศไทยอย่างถาวร รวมถึงกลุม่ ปกาเกอะญอ ที่แม้ จะมีอาศัยอยู่ ในเขตปางมะผ้ ามาตังแต่ ้ ประมาณ 80 ปี มาแล้ ว แต่ได้ ตงหมู ั ้ บ่ ้ านเมื่อประมาณ 40 กว่าปี มานี ้ และกลุม่ ลีซเู ป็ นกลุม่ สุดท้ ายที่มีการหยุดการอพยพเมื่อประมาณ 35 ปี ที่ผา่ นมา
ลีซู
83
1
ศาสนาและ ความเชื่ อ
ชาวลีซนู บั ถือศาสนา 2 ศาสนาหลัก คือ ศาสนาพุทธ – ผี และศาสนาคริ สต์ ส่วนเรื่ องความเชื่อนัน้ ชาวบ้ านมีความเชื่อที่ สืบต่อกันมาแต่ดงเดิ ั ้ มมากมาย และมีพิธีกรรมที่เกี่ยวข้ องกับความเชื่อแต่ละเรื่ อง โดยมีผ้ นู �ำทางจิตวิญญาณของชุมชนเป็ น ผู้ท�ำพิธี ได้ แก่ หมอผี ซึง่ จะมีทงที ั ้ ่เป็ นหมอผีตามธรรมชาติ มีลกั ษณะเหมือนร่างทรง ส่วนใหญ่หมอผีตามธรรมชาติจะมี บทบาทในการท�ำนายโดยไม่ต้องอาศัยพิธีกรรมเสี่ยงทาย ส่วนหมอผีอีกแบบหนึง่ คือ หมอผีที่ร�่ำเรี ยนมาจากหมอผีรุ่นก่อนๆ มีวิชาอาคมเป็ นผู้น�ำในการท�ำพิธีกรรมต่างๆ ได้ เช่น พิธีเรี ยกขวัญ ท�ำนายด้ วยกระดูกไก่ การท�ำนายจากลักษณะตับหมู เป็ นต้ น ผู้น�ำทางจิตวิญญาณอีกคนหนึง่ ที่ส�ำคัญ คือ หมอเมือง เป็ นตัวแทนหมูบ่ ้ านในการท�ำหน้ าที่ดแู ลศาลเจ้ าเมือง เป็ น ผู้น�ำในพิธีเลี ้ยงเมือง พิธีกินวอ และการเสี่ยงทายด้ วยกระดูกไก่ (ดูรายละเอียดพิธีกรรมต่างๆ ในข้ อ 4.2) ส�ำหรับความเชื่อต่างๆ ของชาวลีซู ได้ แก่ 1.1 ความเชื่อเกี่ยวกับถิ่นฐานบ้านเรือน ในการตังถิ ้ ่นฐานบ้ านเรื อน ชาวลีซจู ะปรึกษาร่วมกันระหว่างผู้อาวุโส หมอผี ผู้น�ำ และผู้ที่ร้ ูธรรมเนียมโบราณ ซึง่ บางครัง้ ก็ไม่ สามารถระบุลกั ษณะทางภูมิศาสตร์ ได้ อย่างเฉพาะเจาะจงเหมือนดังชนเผ่าอื่นๆ แต่ก็มีข้อก�ำหนดและข้ อห้ ามที่สามารถระบุ ได้ อย่างแน่นอนจากสิง่ ที่เห็นได้ ในพื ้นที่ ดังนี ้
พื้นที่ที่เหมาะกับการตั้งหมู่บ้าน
ควรเป็ นพื ้นที่ราบกว้ างขวาง มีภเู ขาโอบล้ อม ชาวลีซเู ชื่อว่าท�ำให้ เงินทองไหล เข้ ามาแล้ วไม่ไหลออกไปไหน บ้ างก็ว่าภูเขาที่โอบล้ อมเปรี ยบเหมือนอ้ อมอก พ่อแม่ ถ้ าจะให้ ดยี งิ่ ขึ ้นไปอีกจะต้ องมีเขาลูกโดด 1 ลูกอยูต่ รงกลางทีร่ าบดังกล่าว ชาวบ้ านเรี ยกกันว่า “ขันโตก” หรื อ “โต๊ ะกินข้ าว” พบลักษณะเช่นนี ้ที่บ้านน� ้ำบ่อ สะเป่ หมูบ่ ้ านชาวลีซใู นต�ำบลสบป่ อง อ�ำเภอปางมะผ้ า พื ้นที่สนั เขาที่มีล�ำน� ้ำขนาบ 2 ข้ างก็ถือว่าเป็ นที่ที่ดีเช่นกัน แต่คอ่ นข้ างหายาก เพราะพื ้นที่ลกั ษณะดังกล่าวมักจะแคบ ไม่เพียงพอต่อการตังหมู ้ บ่ ้ านของชาว ลีซู ซึง่ มีกลุม่ เครื อญาติมากมายอยูด่ ้ วยกัน
84
ข้อห้ามและข้อก�ำหนดต่างๆ ในการเลือกพื้นที่ตั้งถิ่นฐาน
ห้ ามตังบ้ ้ านเรื อนบริ เวณกิ่วดอย เว้ นแต่ว่ากิ่วดอยนันจะมี ้ ดอยสูงอยู่ด้านหลัง บังลมที่จะพัดผ่านกิ่วดอย ห้ ามตังบ้ ้ านบริ เวณที่มีกิ่วตรงกัน 2 กิ่ว เชื่อว่าเป็ นทางผ่านผี ห้ ามตังบ้ ้ านบริ เวณสบห้ วย ตังแต่ ้ 2 ห้ วยขึ ้นไป
1.2 ความเชื่อเรื่องผี ชาวลีซมู ีความเชื่อเรื่ องผี ไม่วา่ จะเป็ นผีเจ้ าเมือง ผีดอย ผีน� ้ำ ผีป่า ผีไร่ ผู้ที่มีบทบาทส�ำคัญในการเลี ้ยงผี คือ หมอผีของหมูบ่ ้ าน ชาวลีซจู ะจัดพื ้นที่ส�ำหรับเลี ้ยงผี เช่น บริ เวณภูเขาที่สงู ที่สดุ ใกล้ กบั หมูบ่ ้ านจะถูกกันไว้ ไหว้ ผีดอยและผีป่า ส่วนบริ เวณที่ไหว้ ผีน� ้ำจะอยูใ่ กล้ กบั บ่อน� ้ำและแหล่งน� ้ำของหมูบ่ ้ าน ส่วนบริ เวณหัวบ้ านและท้ ายบ้ าน จะเป็ นพื ้นที่ที่ชาวบ้ านน�ำเครื่ องเซ่นผี ไปวางไว้ ผีที่ชาวบ้ านให้ ความส�ำคัญเป็ นอย่างมาก คือ ผีเจ้ าเมือง มีการสร้ างหอเจ้ าเมือง และมีพิธีเลี ้ยงเจ้ าเมืองเป็ นประจ�ำ ทุกปี และมีแบบแผนการปฏิบตั ิ มีข้อห้ ามต่างๆ เอาไว้ อย่างชัดเจน ดังนี ้ ข้อห้ามเกี่ยวกับศาลเจ้าเมือง คล้ายกับ ชาวไทใหญ่ คือ หอเจ้าเมือง
ห้ามผู้หญิงเข้าไปในเขตรั้วศาลเจ้าเมือง
หอเจ้ าเมืองมีลกั ษณะคล้ ายคลึงกับหอเจ้ าเมืองของชาวไทใหญ่ คือคล้ ายบ้ านหลัง ห้ ามแตะต้ อง ห้ ามขึ ้น บนศาลเจ้ าเมือง เล็กๆ มีรัว้ ล้ อมรอบ และจะปล่อยต้ นไม้ ใหญ่ให้ ร่มครึม้ รอบๆ บริ เวณหอเจ้ าเมือง โดยเด็ดขาด การตั้งหอเจ้าเมือง
การตังหอเจ้ ้ าเมือง มักเลือกพืน้ ที่ที่สูงกว่าบริ เวณที่ตงบ้ ั ้ านเรื อน และอยู่ทาง ห้ามตัดต้นไม้ บริ เวณรอบๆ ศาลเจ้ า ทิศเหนือ หมอเมืองของหมูบ่ ้ านจะเลือกทีต่ งหอเจ้ ั้ าเมืองตังแต่ ้ ตอนเริ่มก่อตังหมู ้ บ่ ้ าน เมือง ถือว่าเป็ นการรบกวนเจ้ าเมือ ลีซู
85
หมู่บ้านน�้ำบ่อสะเป่ ภาพ: การกระจายตัวของหมู่บ้านน�้ำบ่อสะเป่ ที่มา: โครงการโบราณคดีบนพื้นที่สูง ในอ�ำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน
86
1.3 ความเชื่อเกี่ยวกับบ้านเรือน ส่ ว นใหญ่ จ ะเป็ นความเชื่ อ เกี่ ย วกั บ ทิศทางของบ้ านที่ครอบคลุมถึงบ้ านทุก หลังในหมูบ่ ้ าน ได้ แก่ ห้ ามตัง้ บ้ าน โดยหัน ประตูห น้ า บ้ า น เข้ าหากัน หากเข้ าไปหมูบ่ ้ านชาวลีซจู ะ พบว่ า บ้ า นทุก หลัง จะหัน หน้ า ไปทิ ศ เดียวกัน โดยคานและไม้ ใจบ้ านจะหัน โคนไม้ แ ละปลายไม้ ไปทิ ศ เดี ย วกัน ทังหมู ้ บ่ ้ าน ห้ ามหันประตูบ้านไปทางหอเจ้ าเมือง ห้ ามตังบ้ ้ านตรงกับกิ่วดอย และห้ ามหัน ประตูบ้านไปทางกิ่วดอยเพราะจะท�ำให้ คนในบ้ านเจ็บป่ วย
ลีซู
87
ศาลเจ้ า เมื อ งในหมู ่ บ ้ า นชาวลี ซู บ้านน�้ำบ่อสะเป่
1.4 ความเชื่อเกี่ยวกับความตาย ชาวลีซูไม่ได้ แบ่งพื น้ ที่ หมู่บ้านเป็ นป่ าช้ าเหมื อ นชาติพันธุ์ อื่น ๆ แต่จะเลือกพื ้นที่ฝังศพเฉพาะบุคคล และมีการเลือกที่ พิถีพิถันโดยเฉพาะ หากผู้ตายเป็ นผู้ที่แต่งงานแล้ วและมี ลูกหลาน ก็ยิ่งต้ องหาพื ้นที่ฝังศพที่ดี โดยชาวลีซมู ีความเชื่อ ว่าการฝังศพบนพื ้นที่ดี ๆ จะท�ำให้ ลกู หลานของผู้ตายมีชีวิต ที่ดี ร�่ ำรวย แต่หากผู้ตายไม่มีลกู หลานก็ไม่ต้องพิถีพิถนั ใน การเลือกมากนัก โดยผู้ทมี่ คี าถาอาคมจะเป็นคนเลือกพื ้นทีฝ่ งั ศพ
88
ส�ำหรับพื้นที่ฝังศพที่ดีในความเชื่อของชาวลีซู มีลักษณะ ดังนี้ ดอยยาวๆ ที่มีน� ้ำขนาบข้ าง มีลกั ษณะ เป็ นสันเขาที่สงู ใหญ่
สันเขาที่มีดอยสูงขนาบหัวและท้ าย
พืน้ ที่ราบที่มีดอยล้ อมรอบ มีไหล่เขาทอดยาว ไปบริ เวณส่วนกลางของที่ราบ ดังกล่าว และตรงส่วนปลายดอยควรจะมีบอ่ หรื อหลุมเล็กๆ ที่ไม่มีหินขวาง หรื อมี น� ้ำด้ วยก็ยิ่งดี ลักษณะดังกล่าว เชื่อกันว่าจะท�ำให้ เก็บเงินเก็บทองได้ ดี ลักษณะ แบบนี ้มักจะเลือกให้ ส�ำหรับผู้ตายที่มีลกู หลาน เชื่อว่าจะท�ำให้ ลกู หลานมีชีวิตที่ดี มีเงินทองใช้ ไม่ขาดมือ พืน้ ที่ราบที่มีดอยล้ อมรอบนี ้ หากข้ างหลังมีภูเขาสูงที่ สามารถมองมาแล้ วเห็นพื ้นที่ฝังศพก็จะยิ่งดีมาก
ส�ำหรับข้อห้ามในการเลือกพื้นที่ฝังศพ มีดังนี้ แม้ วา่ จะพบพื ้นที่ราบที่มีดอยล้ อมรอบและมีไหล่เขาทอดยาวไปยังส่วนกลางที่ราบ ดังกล่าว แต่หากตรงปลายดอยมีถ� ้ำก็จะถือว่าไม่ดี หรื อมีธารน� ้ำไหลก็เชื่อว่าท�ำให้ เงินทองไหลไปหมด ไม่เลือกพื ้นที่ด้านตะวันตกของหมู่บ้าน เป็ นพืน้ ที่ฝังศพ เชื่อว่าหากฝั งบริ เวณ ดังกล่าว คนในหมู่บ้านจะตายตามกัน ไปด้ วย
ห้ ามฝังศพบนพื ้นที่สนั เขายาวที่ด้าน ข้ างขนาบอยูด่ ้ วยกิ่วดอย
บนดอยหนึง่ ลูกที่เลือกเป็ นที่ฝังศพอาจจะฝังได้ มากกว่าหนึง่ ศพก็ได้ แต่มีข้อแม้ วา่ ศพที่ฝังบริ เวณเดียวกันต้ องเป็ นศพของคนในตระกูลเดียวกัน และต้ องห่างกันพอ สมควร อย่างไรก็ตามหากไม่มีพื ้นที่จริ งๆ คนต่างตระกูลก็สามารถฝังบนดอยลูก เดียวกันได้ แต่ต้องห่างกันไปมากๆ ลีซู
89
2 พิธีกรรม 2.2 การเสี่ยงทายเลือกที่ตั้งศาลเจ้าเมือง
2.1 การเสี่ยงทายพื้นที่ตั้งหมู่บ้าน
หมอเมืองจะท�ำหน้ าที่เลือกที่ตงศาลเจ้ ั้ าเมือง เมื่อได้ พื ้นที่ แล้ วจะท�ำพิธีกรรมเสี่ยงทาย โดยใช้ ทอ่ นไม้ ขนาดเล็ก 2 ท่อน คล้ ายเครื่ องเสี่ยงทายของคนจี นที่พบเห็นได้ ตามศาลเจ้ า ชาวจีนทัว่ ไป เมื่ออธิษฐานแล้ ว หมอเมืองจะโยนไม้ ทงั ้ 2 ท่อนลงบนพื ้นหรื อโต๊ ะเล็กๆ หากครัง้ แรกที่โยน ไม้ ทอ่ นหนึง่ คว�่ำ ท่อนหนึง่ หงาย จะต้ องโยนให้ ได้ เช่นนัน้ 3 ครัง้ จึงจะ ถื อ ว่าพื น้ ที่ ดัง กล่า วเจ้ า เมื องได้ เลือกแล้ ว หากว่าไม่ได้ จะต้ องเลื่อนไปเสี่ยงทายที่พื ้นที่อื่นใกล้ๆกัน เมื่อเสี่ยงทายได้ แล้ วจึงจะสร้ างศาลเจ้ าเมือง
เมื่อเลือกพื ้นที่ตงหมู ั ้ ่บ้านแล้ ว จะมีการท�ำครกมองส�ำหรับ ต�ำข้ าว แล้ วน�ำข้ าวสาร 7 เม็ดมาวางเรี ยงกันไว้ ใกล้ ๆ กับ ครกมอง ปั กกิ่งไม้ ไว้ ตรงกลาง จากนันจึ ้ งเอาภาชนะครอบไว้ แล้ วจุดธูปอธิษฐาน เมื่อธูปดับหมดจึงเปิ ดภาชนะดู หากมี ข้ าวสารเคลื่อนไปเกาะบนกิ่งไม้ หรื อตังอยู ้ ท่ ี่เดิม แสดงว่า สามารถตัง้ ถิ่ น ฐานบริ เวณดัง กล่าวได้ แต่ห ากข้ า วสาร กระจายออกไปไม่เกาะกลุม่ เหมือนที่วางไว้ ตอนแรก แสดง ว่าไม่สามารถตังหมู ้ ่บ้านตรงนันได้ ้ ต้ องเลือกพื ้นที่ใหม่ ซึง่ ส่วนใหญ่จะเลือกพื ้นที่ใกล้ ๆ กับบริ เวณที่เสี่ยงทายตอนแรก ไม่ถงึ กับต้ องเลือกที่หา่ งออกไปมากนัก
2.3 การเลี้ ย งผี แ ละท� ำ นายด้ ว ยกระดู ก ไก่ หรือตับหมู หากในหมูบ่ ้ านชาวลีซเู กิดปั ญหาอะไรที่ไม่สามารถตัดสินใจ ได้ หรื อการเจ็บป่ วยโดยไม่ร้ ูสาเหตุ ชาวบ้ านจะไปหาหมอผี ให้ ชว่ ยท�ำนายและให้ ค�ำแนะน�ำว่าควรท�ำอย่างไร โดยจะมี การฆ่าไก่ตวั ผู้เพื่อเลี ้ยงผี จากนันจึ ้ งน�ำไก่ไปประกอบอาหาร แล้ วน�ำกลับมาเซ่นไหว้ ผีอีกครั ง้ หนึ่ง หมอผีจะน�ำกระดูก ขาไก่สว่ นบนมาถากเอาผิวกระดูกด้ านบนออกไปบาง ๆ จน เห็นรูเล็ก ๆ บนกระดูกไก่ที่เป็ นช่องของเส้ นเอ็นเส้ นประสาท หมอผี จ ะเหลาไม้ ก้า นเล็ก ๆ ที่ พ อจะเสียบลงไปบนรู ใ น กระดูกขาไก่ทงั ้ 2 ข้ างได้ แล้ วน�ำกระดูกมาคีบไว้ ในมือให้ ขนานกัน วางชิ ้นกระดูกในทิศทางเดียวกัน 90
กระดูกในมื อ ซ้ ายเป็ นตัวแทนคนที่ มาท� ำนาย กระดูกใน มือขวาเป็ นตัวแทนผี การท�ำนายจะดูทิศทางของไม้ เล็ก ๆ ที่เสียบอยู่บนรู ของกระดูกทังสองชิ ้ ้น แล้ วหมอผีจะตีความ เพื่อตอบค�ำถามของผู้ที่มาขอให้ ชว่ ยท�ำนายให้ ส�ำหรับการท�ำนายด้ วยตับหมูจะดูกนั หลังจากที่เพิ่งฆ่าหมู เสร็ จใหม่ๆ ซึง่ สามารถท�ำนายได้ หลายอย่าง ตังแต่ ้ ท�ำนาย ว่าในปี นนั ้ เจ้ าของหมูจะมีฐานะร�่ ำรวยหรื อยากจน สุขภาพ จะเป็ นอย่างไร และเรื่ องอื่นๆ เกี่ยวกับครอบครัว
การท�ำนายด้วยกระดูกไก่ ภาพจากโครงการวิ จยั พหุสมั พันธ์ คนกับไก่ อันเนือ่ งมาจาก พระราชด�ำริ ในเจ้าชาย อากิ ชิโนมิ ยะ ฟูมิฮิโตะ แห่งประเทศญี ป่ นุ่ ภายใต้พระราชูปถัมภ์ในสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
2.4 การแต่งงาน
เมื่ อ หนุ่ม สาวชาวลี ซูมี ค วามรั ก ใคร่ ช อบพอกัน และตกลง ปลงใจที่จะใช้ ชีวิตคูร่ ่วมกัน ฝ่ ายชายจะนัดวันกับหญิงสาว แล้ วส่งของหมันไปให้ ้ ครอบครัวฝ่ ายหญิง ถ้ ามีใจรักตอบก็ จะรับของหมันไว้ ้ แต่หากไม่ชอบพอก็จะส่งของหมันกลั ้ บ ในกรณีที่รับหมัน้ เย็นวันเดียวกันนัน้ หญิงสาวจะออกไป นอกบ้ าน แล้ วให้ ผ้ ชู ายมารับไปอยูท่ ี่บ้านฝ่ ายชายในคืนนัน้ ชาวลีซเู รี ยกพิธีนี ้ว่า “ การหนีตามกันที่ผ้ ใู หญ่รับรู้ ” เมื่อฝ่ าย หญิงไปอยูท่ ี่บ้านฝ่ ายชายแล้ วจะต้ องหลบอยูใ่ นห้ อง โดยมี เพื่อนผู้หญิ งหรื อญาติของฝ่ ายชายคนรั กมาอยู่เป็ นเพื่อน ด้ วยตลอดคืน หากคืนนันผู ้ ้ หญิงรู้สกึ ไม่ชอบใจ ผู้ชายจะพา มาส่งคืนที่บ้านในเช้ าวันรุ่งขึ ้น ลีซู
91
หญิงสาวจะออกไปนอกบ้าน แล้วให้ผู้ชายมารับไปอยู่ ที่บ้านฝ่ายชายในคืนนั้น ชาวลีซูเรียกพิธีนี้ว่า การหนีตามกันที่ผู้ใหญ่รับรู้
หลังจากการหนีตามกันแล้ ว ที่บ้านฝ่ ายหญิงจะเตรี ยมตัวรับการสูข่ ออย่างเป็ นทางการ โดยจะมี ญาติๆ ของฝ่ ายหญิงและผู้อาวุโสที่ชาวบ้ านให้ การเคารพมาเป็ นสักขีพยานและเป็ นผู้เจรจา หาก พ่อของฝ่ ายหญิงหรื อฝ่ ายชายเสียชีวิตก็จะมี ตัวแทนมาเจรจาให้ ซึ่งมักจะเป็ น ผู้อ าวุโสที่ ไ ด้ รั บ การเคารพจากคนในชุมชน ในงานแต่งงานจะไม่มีหญิงสาวที่ยงั ไม่ได้ แต่งงานมาร่ วมพิธี เพราะ เกรงจะเกิดค�ำครหาว่ามาเพราะอิจฉาเจ้ าสาวที่ได้ แต่งงานก่อนตน หรื อแอบชอบพอเจ้ าบ่าว ส�ำหรับที่บ้านเจ้ าบ่าวก็จะมีญาติพี่น้องและเพื่อนๆ มารวมตัวกันเพื่อเตรี ยมงานแต่งงานเช่นกัน โดยญาติฝ่ายชายจะฆ่าหมู หัน่ เป็ นชิ ้นพอค�ำมาร้ อยกับตอกเป็ น 2 พวง ใส่ถ้วยพร้ อมตะเกียบ พร้ อมด้ วยเหล้ าพื ้นเมือง 2 ขวด ซึง่ ตกแต่งด้ วยกระดาษตัดเป็ นพูใ่ ส่ไว้ ที่ปากขวด วางรวมกันไว้ ใน ถาดพร้ อมเงิน พอได้ เวลาจะมีพอ่ สื่อ 2 คน ซึง่ จะต้ องไม่เป็ นญาติกบั เจ้ าบ่าว – เจ้ าสาว ท�ำหน้ าที่เป็ นผู้ตดิ ต่อ ระหว่างผู้ใหญ่ของทังสองฝ่ ้ าย พ่อสื่อจะน�ำถาดใส่ของเนื ้อหมูและเหล้ าไปยังบ้ านเจ้ าสาว เมื่อไป ถึงบ้ านเจ้ าสาว พ่อสื่อก็มอบถาดที่เตรี ยมมาให้ ญาติผใู่ หญ่และผู้อาวุโสของฝ่ ายหญิงและเริ่ มการ เจรจาเพื่อสูข่ อ ซึง่ จะเจรจาเชิงเปรี ยบเทียบ เมื่อได้ ข้อเสนอแล้ วก็กลับไปบอกฝ่ ายเจ้ าบ่าว พ่อสื่อ ต้ องเดินไปมาบ้ านเจ้ าบ่าว เจ้ าสาวเพื่อเจรจาต่อรองเช่นนี ้จนกว่าการตกลงจะลุลว่ ง ระหว่างการ เจรจา เจ้ าสาวจะต้ องหลบอยูใ่ นห้ องที่บ้านเจ้ าบ่าวจนกว่าการเจรจาเสร็ จสิ ้นจึงจะออกมาได้ ชาวลีซูมกั จะเรี ยกสินสอดค่อนข้ างสูง เพราะเชื่อว่าเป็ นการแสดงความจริ งใจและเป็ นหลัก ประกันว่าสามารถดูแลลูกสาวได้ 92
หลุมฝังศพของชาวลีซู ขวา พื้นที่หลุมฝังศพที่ถูกล้อมรั้วไว้ ของชาวบ้านน�้ำบ่อสะเป่ ที่มา: โครงการโบราณคดี บนพื้นที่สูง ในอ�ำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน
2.5
การท�ำศพ
ชาวลีซมู ีการท�ำศพ 2 รูปแบบ รูปแบบแรก คือ หากผู้ตายตายด้ วยกรณีปกติ เช่น เจ็บป่ วย แก่ตาย ถือว่าเป็ นการตายดี ชาวลีซจู ะท�ำศพโดยการฝัง ส่วนผู้ที่ตายด้ วยกรณีอื่น ๆ จะถือว่าตายไม่ดี จะท�ำศพโดยการเผา เว้ นเสียแต่ผ้ ตู ายตายในเดือน 9 ไม่วา่ จะตายดีหรื อตายไม่ดีก็จะต้ องเผาศพ เท่านัน้ แต่เมื่อผ่านเดือน 9 ไปแล้ ว หากผู้ตายคนนันตายดี ้ ก็สามารถเอากระดูกไปฝังต่อได้ การฝังศพของชาวลีซจู ะมีลกั ษณะเป็ นสี่เหลี่ยมผืนผ้ าขนาดใหญ่ มีการมูลดินขึ ้นมาสูง ด้ านปลาย เท้ าจะสูงกว่าด้ านศีรษะ มีการวางก้ อนหินไว้ 2 ก้ อนตรงด้ านปลายเท้ าเป็ นสัญลักษณ์แทนประตู ปากทางประตูดงั กล่าวนิยมให้ มีต้นไม้ เล็กๆ หญ้ า หรื อดอกไม้ เพื่อประดับหลุมศพ หลุมศพจะคง รูปร่างมูลดินสูงไปประมาณ 3 – 4 ปี หากไม่มีใครรบกวน นอกจากนี ้ ญาติผ้ ตู ายถางพื ้นที่รอบๆ หลุมศพและล้ อมคอกเอาไว้ เป็ นสัญลักษณ์วา่ เป็ นหลุมศพ เพื่อป้องกันไม่ให้ มีใครเข้ าไปรุกล� ้ำ เช่น ถางไร่แล้ วรุกเข้ าไปในบริ เวณหลุมศพ ซึง่ หากมีใครรบกวนบริ เวณหลุมศพ ญาติผ้ ตู ายจะต้ อง เจรจาให้ ผ้ บู กุ รุกหยุดและซ่อมแซมส่วนที่เสียหายไป แต่จะไม่มีการปรับเงินกับผู้ที่บกุ รุก เพราะ เชื่อว่าการปรับเงินคือการขายหลุมศพที่ดีนนไปแล้ ั้ ว ต่อไปความโชคดีหรื อความร�่ ำรวยที่เกิดมา จากหลุมศพนันจะหายไป ้ ส�ำหรับชาวลีซูที่นบั ถือศาสนาคริ สต์จะมีความแตกต่างกับชาวลีซูที่นบั ถือศาสนาพุทธเล็กน้ อย คือ มีการปั กไม้ กางเขนสลักชื่อผู้ตายและค�ำไว้ อาลัยตามประเพณีคริ สตศาสนิกชนไว้ ที่หลุมศพ ลีซู
93
3
การด�ำรงชีวิต
การด� ำ รงชี วิต ของชาวลีซูเป็ นไปตามตารางการผลิตของ แต่ละรอบปี และสภาพแวดล้ อมตามฤดูกาล เพราะอาชีพ หลัก ของชาวลี ซู ใ นอ� ำ เภอปางมะผ้ าส่ ว นใหญ่ คื อ ท� ำ เกษตรกรรม คนรุ่นใหม่บางส่วนก็ออกไปท�ำงานรับจ้ างใน จังหวัดเชียงใหม่ ชาวลีซสู ว่ นใหญ่ไม่มีบตั รประชาชน ส่วน ใหญ่ถือบัตรบุคคลต่างด้ าวทังบั ้ ตรสีฟ้าและสีเขียวขอบแดง ซึง่ บางส่วนก็ตงรกรากในประเทศไทยมานานแล้ ั้ ว แต่เนือ่ งจาก ไม่ เ ข้ า ใจภาษาไทยและไม่ มี ค วามรู้ ท� ำ ให้ ไ ม่ ท ราบความ ส�ำคัญของบัตรประชาชน เมื่อครั ง้ ที่ทางราชการเปิ ดให้ ท�ำบัต รประชาชนจึงไม่ไปท� ำ ส่งผลให้ ปั จ จุบัน ไม่มี บัตร ประชาชน และขาดสิทธิประโยชน์หลายๆ อย่างที่มากับการ ถือบัตรประชาชนของคนไทย เช่น การศึกษา การรักษา พยาบาล และการมีอิสระในการเคลื่อนย้ ายที่อยู่ เป็ นต้ น ชาวลีซทู �ำงานทุกวัน ยกเว้ น วันศีลและวันที่มีงานประเพณี พิธีกรรมส�ำคัญต่างๆ
3.1 การผลิต การผลิตของชาวลีซูเป็ นไปตามฤดูกาลและส่วนใหญ่ เป็ น การผลิตภาคเกษตรกรรม ได้ แก่ การปลูกพืช การเลี ้ยงสัตว์ และยังมีการเก็บของป่ าล่าสัตว์ การท�ำงานหัตถกรรม การ ผลิตมีทงที ั ้ ่ท�ำเพื่อใช้ เอและเพื่อจ�ำหน่าย
94
พื้นที่เกษตร ของชาวลีซูในฤดูแล้ง ลีซู
95
ภาพ: งานทอผ้าเป็นอาชีพเสริมที่มีรายได้ดีต่อหลายครัวเรือน ที่มา: โครงการโบราณคดีบนพื้นที่สูงในอ�ำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน
การทอผ้าของหญิงชาวลีซู 96
1) เกษตรกรรม
ท�ำกิจกรรมการเพาะปลูกในช่วงฤดูฝน ท�ำการเกษตรกันเป็ นครอบครัวบางครอบครัว ต้ องไปนอนค้ างที่ไร่เพื่อให้ สามารถท�ำไร่ได้ เต็มที่ ช่วงฤดูฝน ชาวบ้ านต้ องคอยดูแล พืชที่ปลูกไว้ ในไร่ พอถึงฤดูหนาว ผลผลิตในไร่เริ่ มออกก็ถงึ ช่วงเก็บเกี่ยว หลังจาก เก็บเกี่ยวแล้ วก็จะขนกลับมาไว้ ที่บ้าน ส่วนในฤดูร้อน ชาวลีซจู ะเผา ถาง และเก็บ กวาดไร่ ให้ พร้ อมที่จะลงเมล็ดพันธุ์เมื่อฤดูฝนมาถึง ส่วนใหญ่จะเริ่ มท�ำกันตังแต่ ้ ปลายฤดูหนาว ชาวบ้ านจะกวาดเศษหญ้ า เศษใบไหม้ และกิ่งไม้ แห้ งในไร่มากอง รวมกันแล้ วเผาจนเรี ยบสะอาดทีเดียวทังไร่ ้ เพื่อที่วา่ เมื่อเวลาหญ้ าขึ ้นมาใหม่ในหน้ า ฝนจะขึ ้นมาพร้ อมๆ กัน ท�ำให้ ถางง่ายกว่าขึ ้นเป็ นหย่อมๆ พืชที่นิยมปลูกกันมาก คือ ถัว่ แดง งาขาว ข้ าวโพด พืชไร่เหล่านี ้ ชาวลีซปู ลูกไว้ จ�ำหน่ายเป็ นหลัก ส่วน แตง ถัว่ ฝักยาว ฟั กทอง และผักสวนครัวอื่นๆ จะปลูกไว้ กินในครัวเรื อน
2) การเก็บของป่าล่าสัตว์
การเก็บของป่ าล่าสัตว์เป็ นกิจกรรมของผู้ชายเสียส่วนใหญ่ เว้ นแต่บางอย่าง เช่น การเก็บใบคามาท�ำหลังคาหรื อเก็บพืชอาหาร เช่น หน่อไม้ เห็ด เป็ นต้ น ส่วนผู้ชาย มักจะเข้ าป่ าไปล่าสัตว์ ลงไปตกปลาที่ล�ำธารเพื่อน�ำมาท�ำเป็ นอาหาร เป็ นต้ น
3) การเลี้ยงสัตว์
ชาวลีซไู ม่คอ่ ยเลี ้ยงสัตว์มากนัก ส่วนใหญ่เลี ้ยงไก่ หมูด�ำ ซึง่ เป็ นสัตว์ที่ใช้ ในพิธีกรรม บางบ้ านอาจเลี ้ยงม้ าส�ำหรับใช้ ในการต่างข้ าวของและเดินทาง เมื่อก่อน ชาวลีซู เลี ้ยงไก่ เลี ้ยงหมูแบบปล่อย แต่ภายหลังก็มีการสร้ างคอกให้ เพื่อกันไม่ให้ สตั ว์เลี ้ยง ไปท�ำลายผลผลิตทางการเกษตร นอกจากนี ้ชาวลีซนู ยิ มเลี ้ยงสุนขั ไว้ เป็ นเพือ่ นเดินป่ า และเฝ้าไร่อีกด้ วย ชาวลีซมู ีกฎในการเลี ้ยงสัตว์วา่ หากสัตว์ที่เลี ้ยงไว้ ออกไปท�ำข้ าว ของเสียหาย คนที่พบเห็นมีสทิ ธิ์ฆา่ ได้ เพราะถือว่าเจ้ าของไม่ดแู ลให้ ดีเอง
4) การท�ำงานหัตถกรรม
งานหัตถกรรมที่มีชื่อเสียง ได้ แก่ การทอผ้ าลีซู หญิงชาวลีซจู ะทอผ้ าส�ำหรับใช้ เอง และส�ำหรับการน�ำไปแปรรูปเป็ นกระเป๋ าและผลิตภัณฑ์จากผ้ าลีซอู ื่น ๆ บางคนก็ไม่ แปรรู ป แต่น�ำไปจ�ำหน่ายเป็ นผ้ าผืนที่ร้านในตัวอ�ำเภอปางมะผ้ า บ้ างก็ตดั เป็ น กระเป๋ าจ� ำหน่ายในตลาดอ� ำเภอปางมะผ้ าและในอ� ำเภอเมื องแม่ฮ่องสอนด้ วย ส่วนใหญ่ชาวบ้ านจะทอผ้ าและตัดเย็บเป็ นกระเป๋ าสะสมไว้ เมื่อได้ จ�ำนวนมาก พอแล้ วจึงน�ำลงไปขายให้ กบั นักท่องเที่ยวที่ตวั อ�ำเภอเมืองแม่ฮ่องสอน บางส่วนก็ ทอดผ้ าส่งให้ กบั แม่ค้าพ่อค้ าที่มาสัง่ ซื ้อ
ลีซู
97
3.2 อาหาร
อาหารหลักของชาวลีซเู ป็ นข้ าวไร่ เครื่ องปรุงประกอบไปด้ วยเกลือ ผงชูรส และพริ กแห้ ง ผักที่ นิยมกินกันมาก คือ ผักชี ผักกาดดอย ถัว่ แดง ชาวบ้ านมักปลูกผักไว้ กินในครัวเรื อนเอง ส�ำหรับ เนื ้อสัตว์สว่ นใหญ่จะรับประทานเนื ้อไก่ เนื ้อหมู ซึง่ จะกินในวันที่มีการเลี ้ยงผี เพราะในวันเลี ้ยง ผีมีการฆ่าไก่ ฆ่าหมู และปั นกันในหมูบ่ ้ าน ส่วนใหญ่จะรับประทานอาหารสด แต่หากมีอาหาร จ�ำนวนมากก็จะมีการถนอมอาหาร เช่น การดองผัก การตากแห้ ง การรมควัน และการทอดเนื ้อ สัตว์เพื่อให้ สามารถเก็บเอาไว้ ได้ นานขึ ้น อาหารที่เป็ นเอกลักษณ์ของชาวลีซู ได้ แก่
เป็ นยอดผักกาดใบเล็กเรี ยวน�ำมาดอง ในฤดูแล้ งชาวบ้ านจะน�ำผักกาด ดองมาตากแดดให้ แห้ ง เมื่อขาดแคลนอาหารจะน�ำผักกาดดองตากแห้ งมาต้ มกับน� ้ำหรื อแช่ น� ้ำร้ อน กลายเป็ นน� ้ำแกงซดกันกับข้ าว ผักกาดดองแบบลีซู
มักจะได้ กินในวันเลี ้ยงผีที่มีการฆ่าไก่ จะน�ำเอาเนื ้อไก่มาต้ มรวมกับ เส้ นขนมจีนแห้ ง ใส่เครื่ องซึง่ ประกอบด้ วยขิง กระเทียม และพริ ก บ้ างครัง้ ก็ใส่ถวั่ แดงด้ วย กินเป็ นกับข้ าว
เนื้อไก่ต้มเส้นขนมจีนแห้ง
3.3 การแต่งกาย
98
ชาวลีซใู นอ�ำเภอปางมะผ้ ายังคงแต่งกายชุดประจ�ำเผ่า โดยเฉพาะผู้หญิง ยังคงแต่งเต็มชุด คือ เสื ้อคลุมตัวยาว แขนเสื ้อยาวถึงข้ อมือ เย็บด้ วยผ้ าหลายชิ ้นต่อกัน คอเสื ้อเป็ นคอป้ายมีกระดุม เงินติดไว้ บริ เวณบ่า ชายเสื ้อยาวเลยเข่าลงมา บางชุดชายเสื ้อยาวปิ ดกางเกงด้ านล่าง และผ่า ด้ านข้ างขึ ้นมาถึงเอว สีเสื ้อมักใช้ สีชมพูและม่วง ประดับด้ วยเข็มขัดรัดเอง หากไปไร่นาก็จะ สวมสนับแข้ งเพื่อป้องกันหญ้ าและหนามเอาไว้ ด้วย ส�ำหรับกางเกงผู้หญิงลีซู มักนิยมใช้ สีด�ำ ยาวถึงครึ่งแข้ ง ขากว้ าง ปั จจุบนั ผู้หญิงลีซรู ุ่นใหม่ก็ยงั คงแต่งกายด้ วยชุดลีซู โดยเฉพาะในงาน ประเพณีและเมื่ออยูใ่ นหมูบ่ ้ าน บางคนก็อาจจะใส่กางเกงลีซกู บั เสื ้อยืด แต่หากมีงานประเพณี ส�ำคัญของชาวลีซู สาวลีซกู ็มกั จะแต่งชุดประจ�ำเผ่าที่มีการประดับประดาด้ วยเลื่อม กากเพชร และลวดลายที่ตกแต่งอย่างประณีตและโดดเด่นกว่าปกติ อาจมีเครื่ องประดับ เช่น ก�ำไล ต่างหู ซึ่งท� ำจากโลหะเงิ น นอกจากนี ้ ยัง มี ก ารสวมหมวกที่ ประดับประดาอย่า งสวยงามด้ ว ย ซึง่ ปั จจุบนั ในบางหมูบ่ ้ านก็ไม่ได้ ใส่หมวกแล้ ว แต่บางหมูบ่ ้ านก็ยงั ใส่อยู่
บนซ้าย ชายหนุ่มชาวลีซูจับกลุ่มจิบชา ในยามเช้าที่อากาศเย็น ที่มา: โครงการโบราณคดีบนพื้นที่สูงใน อ�ำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน
ส�ำหรับชายชาวลีซไู ม่คอ่ ยพบว่าแต่งชุดประจ�ำเผ่าแบบเต็มชุด เหลือแต่สวมกางเกงลีซู ซึง่ กางเกงผู้ชายจะเป็ นกางเกงขากว้ าง มีความยาวตังแต่ ้ ระดับเลยหัวเข่าลงมาเล็กน้ อยไป จนถึงระดับข้ อเท้ า กางเกงผู้ชายลีซมู กั เป็ นโทนสีเขียว สีฟา้ สวมท่อนบนเป็ นเสื ้อยืดหรื อ เสื ้อเชิ๊ต ส�ำหรับเชื่อผู้ชายลีซตู ามแบบบรรพบุรุษ จะเป็ นเสื ้อตัวยาวผ่าหน้ า สีด�ำ แต่ปัจจุบนั แทบไม่พบเห็นใส่กนั แล้ ว
บนขวา หญิงชาวลีซูบ้านน�้ำบ่อสะเป่ อ�ำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน ภาพ: โครงการโบราณคดีบนพื้นที่สูงใน อ�ำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน
ลีซู
99
3.4 ระบบเครือญาติ ชาวลีซมู กี ารแบ่งสายตระกูลทีช่ ดั เจน แต่ละตระกูลจะมีชอื่ เรียกและมีประเพณีบางอย่างแตกต่างกัน ในตระกูลเดียวกัน ก็อาจมีการแบ่งตระกูลย่อยออกไปได้ อีก ชาวลีซูมีเรื่ องเล่าเกี่ยวกับระบบ เครื อญาติวา่ สมัยที่ชาวลีซยู งั ไม่มีตระกูล มีครอบครัวหนึง่ ประกอบด้ วยพ่อแม่และลูก ๆ หลายคน วันหนึง่ พ่อแม่คดิ ว่ามีลกู หลายคนต่อไปต้ องมีคนสืบต่อ แต่คนในตระกูลเดียวกันแต่งงานกันเอง ไม่ได้ จึงบอกให้ ลกู แต่ละคนไปหาของกลับมาคนละอย่าง คนหนึง่ เอาผึ ้งกลับมาบ้ าน พ่อแม่ก็ตงชื ั ้ ่อ ตระกูลนี ้ว่าตระกูลผึ ้ง ซึง่ ก็คือตระกูลเลาหมี่ ตระกูลผึ ้งก็ยงั มีแยกย่อยออกไปอีก เป็ นผึ ้งใหญ่ ผึ ้งเล็ก และผึ ้งเห็น (เห็น หมายถึง แมวป่ า) เป็ นต้ น ถ้ าตระกูลหมูคือตระกูลลูเกีย นอกจากนี ้ยังมีตระกูลผะ ที่แปลว่าฝื นด้ วย เวลาชาวลีซูอพยพไปอยู่กับญาติพี่น้องที่ไม่รู้จักกันก็ต้องมานั่งเล่าให้ฟังว่าประวัติตระกูล ล�ำดับมาอย่างไร และตระกูลตัวเองมีที่มาจากอะไร เหมือนเล่านิทานของตระกูล
เวลาชาวลีซูอพยพไปอยู่กบั ญาติพี่น้องที่ไม่ร้ ูจกั กันก็ต้องมานัง่ เล่าให้ ฟังว่าประวัติตระกูลล�ำดับมา อย่างไร และตระกูลตัวเองมีที่มาจากอะไร เหมือนเล่านิทานของตระกูล เมื่อเล่าจบก็จะสามารถ บอกกันได้ วา่ เป็ นเครื อญาติตระกูลเดียวกันจริ งหรื อไม่ การล�ำดับตระกูลมีความส�ำคัญมาก ยิ่งใน การแต่งงานด้ วยแล้ ว เวลาที่ฝ่ายผู้ชายไปเจรจาขอผู้หญิงแต่งงานจะมีการสอบถามประวัตกิ นั ให้ แน่ใจก่อนว่าไม่ใช่คนในตระกูลเดียวกัน หากเป็ นคนในตระกูลเดียวกันแต่งงานกันจะถูกเนรเทศ ออกจากหมูบ่ ้ าน นอกจากนี ้ ชาวลีซยู งั ให้ ความส�ำคัญกับการล�ำดับชันอาวุ ้ โสอย่างมาก ซึง่ มีความเกี่ยวข้ องกับการ ล�ำดับญาติพี่น้อง ซึง่ สามารถเห็นได้ ชดั เจนจากการแต่งงาน คือ หากฝ่ ายชายกับฝ่ ายหญิงจะเป็ น คนละตระกูลกัน แต่ฝ่ายชายอยูใ่ นระดับหลานของฝ่ ายหญิง แม้ อายุฝ่ายชายจะมากกว่า แต่หาก ตามศักดิ์อยูใ่ นระดับต�่ำกว่าก็ไม่สามารถแต่งงานกันได้ อย่างไรก็ตาม หากฝ่ ายหญิงกับฝ่ ายชาย ไม่เคยรู้ จกั กันมาก่อนแล้ วมาแต่งงานกันแล้ วก็สามารถยืดหยุ่นได้ หลังจากการแต่งงานแล้ ว คูแ่ ต่งงานใหม่มกั แยกมาสร้ างครอบครัวเอง โดยผู้หญิงแต่งเข้ าตระกูล ฝ่ ายชาย เมื่อลงหลักปั กฐานแล้ ว ชาวลีซมู กั ไม่แยกหมูบ่ ้ านไปหากไม่จ�ำเป็ น แต่จะอยูใ่ นหมูบ่ ้ าน เดียวกันกับตระกูลตนเอง นอกเสียจากจะเกิดกรณีที่ท�ำกินไม่เพียงพอหรื อเกิดปั ญหา 100
4
ประเพณี ในรอบปี หนึง่ ชาวลีซมู ีประเพณีส�ำคัญ 3 ประเพณีด้วยกัน ได้ แก่ ประเพณีปีใหม่ลีซหู รื อประเพณีกินวอ จัดขึ ้นช่วง ปลายฤดูหนาว ประมาณเดือนกุมภาพันธ์หรื อเดือนมีนาคม ประเพณีกินข้ าวโพดใหม่ จัดขึ ้นประมาณเดือนกรกฎาคม หรื อสิงหาคม (เดือน 7) และประเพณีกินข้ าวใหม่ จัดช่วงต้ น ฤดูหนาว ประมาณเดือนตุลาคม
4.1 ประเพณีกินวอ ประเพณี กินวอจัดขึน้ ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ หรื อมี นาคม ของทุกปี โดยไม่ได้ ก�ำหนดวันแน่นอน แต่ละปี คนเฒ่าคนแก่ และหมอผีจะช่วยกันตัดสินใจและก�ำหนดกันคร่าวๆ ว่าจะ จัดในวันไหน มีชว่ งระยะเวลาในการจัดงานประมาณ 10 วัน แต่วนั ปี ใหม่ที่มีพิธีการจริ งๆจะประมาณ 2 วัน 4วันและ8วัน ขึ ้นอยูก่ บั ว่าในปี นนๆ ั ้ มีวนั ดีกี่วนั ส่วนใหญ่จะเลือกวันขื่อยี หรื อวันสุนขั เป็ นวันเริ่ มงานเพราะชาวลีซเู ชื่อว่าสุนขั เป็ นสัตว์ ที่สบาย ไม่ต้องท�ำงานก็มีข้าวกิน วันแรกของงาน บ้ านที่มีหิ ้งไหว้ ผีจะเอากิ่งไม้ สดมาปั กไว้ ที่ ลานบ้ าน และฆ่าหมู ไก่ ส�ำหรับเลี ้ยงผี ตอนกลางคืนจะมี การเต้ นร� ำที่ลานบ้ าน เริ่ มต้ นจากบ้ านหมอผี แล้ วชาวบ้ าน ก็จะเวียนไปเต้ นร� ำตามบ้ านต่าง ๆ ในหมู่บ้านไปเรื่ อย ๆ จนครบทุกหลัง ช่วง 2 – 3 คืนแรก เจ้ าของบ้ านจะต้ องมี อาหารมาเลี ย้ งรั บ รอบชาวบ้ า นที่ ม าเต้ น ร� ำ ที่ บ้ า นของตน หลังจากนันเมื ้ อ่ มีการเต้ นร�ำเวียนไปเรื่อยๆ อีกประมาณ10 วัน ก็ไม่จ�ำเป็ นต้ องเลี ้ยงอีกแล้ ว การเต้ นร� ำในคืนสุดท้ ายของ เทศกาลกินวอจะจบที่บ้านหมอผี เต้ นร� ำไปจนสว่าง ราว 8 นาฬิกาจึงแยกย้ ายกันกลับบ้ าน ซึง่ ในคืนสุดท้ ายนี ้ หมอผีจะ รับค�ำตักเตือนจากผีที่มีต่อชาวบ้ านแต่ละคน มาสัง่ สอน ตักเตือนชาวบ้ านว่าปี ที่ผ่านมาใครท�ำอะไรไม่ดีบ้าง และ ต้ องปรับปรุงตัวอย่างไร
หนุ่มสาวร่วมกันเต้นร�ำตามลานหมู่บ้าน ในหมู่บ้านตลอดคืน ในช่วงเทศกาลกินวอติดต่อกันเป็นเวลากว่า 10 วัน เต้นจะคึของชาวลีซู บ้านกึ๊ดสามสิบ ต.สบป่องอ.ปางมะผ้าจ.แม่ฮ่องสอน
4.2 ประเพณีกินข้าวโพดใหม่ ประเพณีกินข้ าวใหม่จดั ในช่วงเดือนตุลาคมหรื อต้ นฤดูหนาว เชื่อกันว่าจัดประเพณีนี ้แล้ วจะท�ำให้ ได้ ผลผลิตเพิ่มขึ ้น พิธีนี ้ ชาวบ้ านจะน�ำข้ าวที่เพิ่งเกี่ยวได้ มาสี และต�ำ น�ำมาท�ำเป็ น อาหาร และน�ำพืชที่ปลูกไว้ ในไร่ ประกอบกับการฆ่าหมู ไก่ เมื่อประกอบอาหารเสร็ จแล้ วก็จะเชิญผู้เฒ่าผู้แก่ในชุมชน มากินอาหารที่บ้าน โดยจะแบ่งให้ สนุ ขั ที่เลี ้ยงไว้ ในหมูบ่ ้ าน กินก่อน เพราะถือว่าสุนขั เป็ นสัตว์มีคณ ุ แก่มนุษย์ ประเพณีนี ้ บ้ านใครจะเลี ้ยงหรื อไม่ก็ได้ ไม่มีการบังคับ และไม่จ�ำเป็ นที่ คนทังหมู ้ ่บ้านต้ องท�ำพร้ อมๆ กัน แต่หากเลือกวันที่ตรงกับ วันสุนขั ก็จะถือว่าดีมาก ลีซู
101
102
ศิลปกรรมและ สถาปัตยกรรม
5 5.1 บ้านเรือน ชาวลีซสู ร้ างบ้ านด้ วยไม้ มี 2 รูปแบบ แบบหนึง่ คือแบบ ติดพื ้น อีกแบบหนึง่ เป็ นแบบยกพื ้นมีใต้ ถนุ ส่วนเสาและคาน บ้ านใช้ ไม้ สกั ใช้ ไม้ ไผ่ตีเป็ นฟากกันผนั ้ ง แต่บางคนก็ใช้ ไม้ แผ่น หรื อใช้ อิฐบล็อกก่อเป็ นผนังส่วนล่าง ก่อนจะกันผนั ้ ง ส่วนบนด้ วยไม้ ส่วนหลังคาบ้ าน แต่เดิมใช้ ใบคาที่ขึ ้นอยูต่ าม ไร่มามุงหลังคา โดยเก็บมาเย็บเป็ นตับ ตากให้ แห้ ง แล้ วน�ำ มาร้ อยยึดกับโครงหลังคาบ้ านด้ วยเส้ นตอก ชาวบ้ านจะเปลี่ยนหลังคาใหม่ทกุ 1 – 2 ปี แต่หากเย็บดีๆ ก็ สามารถใช้ ได้ นานถึง 3 ปี พื ้นบ้ านเป็ นดินอัด โดยขุดปรับดิน ให้ เรี ยบเสมอกัน รดน� ้ำแล้ วปล่อยให้ แห้ ง ท�ำซ� ้ำหลายๆ ครัง้ จนกว่าพื ้นดินจะแน่นและแข็ง ส่วนใหญ่จะปรับพื ้นบ้ านใน ช่วงฤดูฝน เพราะการอัดพื ้นบ้ านใช้ น� ้ำมาก ภาพ: แบบบ้านแบบดั้งเดิมของชาวลีซอ มีคอกเลี้ยงม้าอยู่ด้านหน้าบ้าน ที่มา: โครงการโบราณคดีบนพื้นที่สูงในอ�ำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน
ลีซู
103
แบ่งเป็นครัว แต่ในบางครั้ง เป็นที่เก็บผลผลิตหรือที่นอน ของสมาชิกในครอบครัว ในกรณีที่มีหลายครอบครัว
ยกพื้นเป็นที่นอน ของเจ้าของบ้าน
กองไฟให้ความอบอุ่น ในบางครั้งเป็นครัว
ยกพื้นหรือห้องส�ำหรับเก็บของ หรือเก็บผลผลิตที่ได้ในแต่ละปี
เตาไฟส่วนของครัว
ชายคาหน้าบ้านถูกปรับพื้นเป็นดินแน่นแข็ง มีหลังคาคลุมใช้เป็นที่พักผ่อนนอกบ้าน
คอกเลี้ยงม้าและไก่
ชาวลีซมู กั ท�ำบ้ านเป็ นสี่เหลี่ยมผืนผ้ า มีการกันห้ ้ องเพื่อแบ่งพื ้นที่ใช้ งานเป็ นส่วนพักอาศัย ห้ องครัว และที่เก็บเมล็ดพันธุ์พืช ตรงกลางบ้ านมักเป็ นห้ องนอนเจ้ าของบ้ าน ซึง่ มีตงั่ วางไว้ บางครัง้ บริ เวณดังกล่าวก็ใช้ รับแขกด้ วย และอาจมีการก่อไฟตรง พื ้นบ้ านใกล้ ๆ ที่นอนเพื่อให้ ความอบอุน่ ส�ำหรับห้ องครัว มักอยูต่ ดิ กับห้ องนอน โดยท�ำผนังกันเอาไว้ ้ ส่วนปี กอีกด้ านหนึง่ ของ บ้ านมักกันไว้ ้ เป็ นห้ องเก็บเมล็ดพันธุ์ บางครัง้ ก็ไม่มีการกันห้ ้ อง แต่ยกเป็ นชันสู ้ งจากพื ้นเพื่อป้องกันความชื ้นจากพื ้นดินที่ ท�ำให้ เมล็ดพืชเสียหายได้ และมีการกักเก็บน� ้ำเอาไว้ ในบ้ านส�ำหรับใช้ ดื่มกินด้ วย บริ เวณหน้ าบ้ าน มักท�ำชายคายื่นออกมาเพื่อกันแดดกันฝน เป็ นที่นงั่ พักผ่อน ท�ำงาน หรื อรับรองแขก พื ้นดินในชายคาหน้ า บ้ านนี ้จะมีการปรับดินและอัดแข็งเช่นเดียวกับภายในบ้ าน หากหน้ าบ้ านเป็ นพื ้นที่ระดับต�่ำกว่าตัวบ้ านก็มกั จะมีการกันคอก ้ มุงใบคาส�ำหรับเลี ้ยงสัตว์
104
ครัวของชาวลีซู ภาพ: พื้นที่ในบ้านเป็นทั้งห้องครัวบนพื้น ที่นอนบนแคร่ยกพื้น และยกพื้นที่เก็บผลผลิต ที่มา: โครงการโบราณคดีบนพื้นที่สูงในอ�ำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน
ลีซู
105
ภาษา วรรณกรรม แ ล ะ เ รื่ อ ง เ ล่ า เรื่องเล่าเกี่ยวกับข้าว ในอดีตเมื่อสมัยที่โลกมนุษย์ยงั ไม่มีการปลูกข้ าว วันหนึ่ง สุนขั หนีเทวดามาอยู่ในโลกมนุษย์ ที่หางของสุนขั ก็มีเมล็ดข้ าว ของเทวดาติดมาด้ วย แล้ วมนุษย์ก็น�ำเมล็ดนันมาเพาะปลู ้ กกันจนแพร่ หลายกลายเป็ นข้ าวในปั จจุบนั ดังนัน้ ในเทศกาล กินข้ าวใหม่จะน�ำอาหารที่ประกอบเสร็ จแล้ วแบ่งให้ สนุ ขั กินก่อน แล้ วจึงแบ่งให้ คนเฒ่าคนแก่กิน ด้ วยเหตุที่วา่ หากไม่มีสนุ ขั ก็อาจจะไม่มีข้าวในปั จจุบนั
106
ซ้ายล่าง ชาวบ้านร่วมกันเอามือ ตีข้าว ที่บ้าน (ศาลา) เมืองน้อย ต.เวียงเหนือ อ.ปาย ที่มา : โครงการสืบค้นและจัดการมรดกทางวัฒนธรรม อย่างยั่งยืนในอ�ำเภอปาย – ปางมะผ้า – ขุนยวม
เรื่ องเล่ า เกี่ ยวกับ ก�ำเนิด ของการกิน วอ ครั ง้ หนึ่งเมื่อยังไม่มีการกินวอ มีโขฝู ( พระ หรื อในความหมายคล้ ายเทวดา หรื อผู้สงั่ สอน ) องค์หนึ่งลงจากบนฟ้ามาสู่ โลกมนุษย์ (ผู้เขียนสันนิษฐานว่าคงหมายถึงสวรรค์ ) แล้ วมีแม่มา่ ยชาวลีซู 2 คน ก�ำลังจะไปหาฟื น ได้ เดินผ่านมาเห็นโขฝู องค์นี ้ยืนอยูใ่ ต้ ต้นสน แล้ วแม่มา่ ยจึงถามกับเทวดาว่า
แม่มา่ ย : เทวดาท่านมาอยูท่ ี่นี่ท�ำไม เทวดา : ลงมาให้ คนในบ้ านมีที่ท�ำบุญ แม่มา่ ย : เทวดาไม่ต้องไปไหนแล้ ว ข้ าจะกลับไปหมูบ่ ้ านแล้ วเรี ยกชาวบ้ านให้ มาบูชาเทวดา
หลังจากนันแม่ ้ มา่ ยทัง้ 2 ก็เดินกลับหมูบ่ ้ านเพื่อไปเรี ยกชาวบ้ าน พร้ อมกับเตรี ยมขนม อาหาร และผลไม้ ตา่ ง ๆ มาบูชาเทวดา ระหว่างที่แม่มา่ ยทัง้ 2 และชาวบ้ านก�ำลังเตรี ยมอาหารนัน้ ก็มีชาวไทยใหญ่กลุม่ หนึง่ เดินผ่านมาตรงที่โขฝูยืนรออยู่ คนไทย ใหญ่ได้ หกั เอากิ่งของต้ นสะเป่ มา 2 กิ่ง แล้ วก็เชิญโขฝูให้ ไปสถิตอยูท่ ี่กิ่งของต้ นสะเป่ พากลับหมูบ่ ้ าน ฝ่ ายแม่มา่ ยและชาวบ้ านชาวลีซเู ดินทางออกจากหมูบ่ ้ านพร้ อมกับร้ องร� ำท�ำเพลง เมื่อมาถึงต้ นสนที่โขฝูเคยอยู่ ชาวบ้ านก็ ช่วยกันหาโดยทังเต้ ้ นร� ำ เล่นดนตรี ไปด้ วยหาไปด้ วยรอบๆ ต้ นสน แต่หาเท่าไหร่ก็หาไม่เจอ ชาวบ้ านจึงกลับหมูบ่ ้ านไปด้ วย ความผิดหวัง และในทุกวันครบรอบที่ตามหาเทวดาในทุกปี ชาวลีซกู ็จะเอากิ่งไม้ มาปั กไว้ ที่ลานบ้ าน แล้ วเล่นดนตรี พร้ อมกับ เต้ นร� ำไปรอบๆ กิ่งไม้ จนกลายเป็ นประเพณีสืบทอดต่อมากลายเป็ นประเพณีปีใหม่หรื อกินวอ ส่วนชาวไทยใหญ่ที่อญ ั เชิญ โขฝูกลับหมูบ่ ้ านไปนันได้ ้ สร้ างวัดไว้ ให้ โขฝูอยู่ เป็ นเหตุผลทีท่ ำ� ให้ ชาวไทยใหญ่มสี ถานทีป่ ระกอบพิธีกรรมทางศาสนา พร้ อมกับ มีพระคอยประกอบพิธีกรรมให้ และชาวลีซจู งึ ไม่มีวดั หรื อพระที่คอยประกอบพิธีกรรม ยังมีเรื่ องเล่าต่อมาว่าอาหารต่างๆ ที่ชาวลีซนู �ำไปถวายให้ กบั โขฝู แต่เมื่อไม่พบก็ได้ ถกู กองทิ ้งไว้ ที่โคนต้ นไม้ เมื่อเวลาผ่านไป อาหารเหล่านันบู ้ ดเน่ากลายเป็ นขันตอนการหมั ้ กเหล้ าสัตว์อะไรมากินก็เมา นกมากินก็อารมณ์ดีร้อง ลีซู
107
ละว้า หรือ ลัวะ
บ้ านห้ วยน� ้ำโป่ งตังอยู ้ ห่ มูท่ ี่ 4 ต�ำบลนาปู่ ปอ้ ม อ�ำเภอปางมะผ้ า (บ้ านบริ วารบ้ านน� ้ำฮูผาเสื่อ) การตังถิ ้ ่นฐานของหมูบ่ ้ านห้ วยน� ้ำโป่ ง มีชาวละว้ า 2 ครอบครัว อพยพหนีการสู้รบมาจาก บ้ านห้ วยจิ ้กและบ้ านหนองแห้ ง ประเทศพม่า ในช่วงปี พ.ศ. 2518 เดิมเข้ ามาขออนุญาต ตังบ้ ้ านเรื อนบริ เวณไร่ ของชาวบ้ านจ่าโบ่ บริ เวณทิศตะวันออกห้ วยน�ำ้ โป่ ง ต่อมาได้ มี ครอบครัวอพยพมาตังบ้ ้ านเรื อนเพิ่มอีก 5 ครัวเรื อน และภายหลังเกิดไฟไหม้ บ้านเรื อน เสียหายจึงย้ ายหมู่บ้านมาตัง้ ทางทิศตะวันตกห้ วยน� ้ำโป่ งในปั จจุบนั มีผ้ นู �ำคือ นายซ�ำมุด แซแหนะ ประชากรส่วนใหญ่เป็ นเครื อญาติกนั ในระยะแรกของการตังชุ ้ มชนได้ มีมิชชันนารี ชาวฮอลแลนด์เข้ ามาเผยแพร่ศาสนาคริ สต์ ปั จจุบนั มีประชากรประกอบด้ วยไทใหญ่ ลาหู่ และละว้ า มีเพียงหมู่บ้านเดียวที่มีกลุ่มชาวละว้ าอาศัยอยู่ในอ�ำเภอปางมะผ้ า นอกจากนัน้ ส่วนใหญ่อาศัยอยูใ่ นอ�ำเภอแม่ลาน้ อย
108
บ้านห้วยน�้ำโป่ง
วั ฒ นธรรม ประเพณี ความเชื่ อ
การแต่งกาย การแต่ ง กายของชนเผ่ า นิ ย มใส่ ชุด ด� ำ และไม่ จ� ำ กัด สี อาจจะเป็ นสี ช มพู สีข าว สีแ ดง สีฟ้า แล้ วแต่ความนิ ย ม เครื่ องแต่งกายประดับด้ วยเครื่ องเงินตามฐานะ โดยส่วนใหญ่ จะตัดเย็บและทอผ้ าเอง มักจะใส่ในวันส�ำคัญทางประเพณี วันปกติวนั ท�ำงานนิยมใส่เสื ้อผ้ าตามสมัยนิยมปั จจุบนั
หญิงชาวเลอเวือะในชุดแต่งกายตามประเพณี
ภาพ ที่มา : http://www.sac.or.th
ละว้ า / ลัวะ
109
ประเพณีการเกิด สมัยก่อนท�ำคลอดโดยหมดต�ำแยหรื อช่วยกันระหว่างญาติ พี่น้องที่เป็ นผู้หญิ ง หลังคลอดจะอยู่ไฟประมาณ 1 เดือน พ่อ และแม่จ ะท� ำพิ ธีแ จ้ งเกิ ด โดยบอกกล่าวแก่ เจ้ าเมื อ ง ถ้ าเป็ นเด็กผู้ชายจะเซ่นไหว้ ด้วยไก่ 12 ตัว ถ้ าเป็ นเด็กผู้หญิง จะเซ่นไหว้ ด้วยไก่ 6 ตัว โดยจะตังชื ้ ่อเด็กในวันท�ำพิธี พิ ธีแต่งงานต้องใช้เงิ นโบราณเป็ นสิ นสอด ในมื อและในถาดสีด�ำเป็ นเงิ นพดด้วง และเงิ นกิ่ ง
ประเพณีการแต่งงาน สมัยก่อนมีความเชื่อว่าควรจะออกเรื อน ในช่วงอายุ 17-24 ปี ถ้ าเป็ นผู้ชาย ส่วนผู้หญิงควรออกเรื อนช่วงอายุ 16-21 ปี โดยเชื่ อ ว่าถ้ าเกิ นช่ว งเวลานี ถ้ ื อว่า เกิ นวัยและจะไม่ได้ รั บ ความสนใจจากเพศตรงข้ าม การท�ำพิธีแต่งงาน จะเริ่ มขึ ้น เมื่อฝ่ ายพ่อแม่ทงสองครอบครั ั้ วรู้วา่ คบหากัน เมื่อวันที่ฝ่าย ชายพร้ อมจะท�ำพิธีลกั สาว (ฉุดหรื อจับ) โดยเพื่อนฝ่ ายชาย ช่วยเหลือน�ำฝ่ ายหญิงไปซ่อนตัวที่บ้านของฝ่ ายชาย รุ่งเช้ า ฝ่ ายชายจะต้ องพาผู้ใหญ่ไปสูข่ อ เมื่อฝ่ ายหญิงรับทราบแล้ ว จะจัดพิธีเลี ้ยงในกลุม่ เครื อญาติ และก�ำหนดวันแต่งงานใน อีก 7 วัน เมื่อถึงวันพิธีแต่งงาน เจ้ าบ่าวเจ้ าสาวต้ องเตรี ยม ข้ าวของเครื่ องใช้ ที่จ�ำเป็ นในการครองเรื อน ญาติฝ่ายหญิง และฝ่ ายชายจะเตรี ยมเงินกีบม้ าหรื อเงินพดด้ วง หรื อเงิน แถบ ใส่พานเตรี ยมไว้ ก่อนจะท�ำพิธีประกาศและรวมเงินทัง้ สองฝ่ ายเข้ าด้ วยกัน เพื่อใช้ เป็ นทุนในการสร้ างครอบครัว จากนันก็ ้ จะเลี ้ยงอาหารแก่ผ้ รู ่วมงาน โดยมีอาหารส�ำคัญคือ โตะสะเปี๊ ยก (เนื ้อหมูหรื อเนื ้อวัวต้ มย�ำ) และสุรา 110
ภาพของ Dr. Peter Kundstadter เมื่อ พ.ศ.2507-09 ที่มา : http://www.sac.or.th
ประเพณีการเลี้ยงป่า เจ้าเมือง
ประเพณีการตาย เมื่อมีการเสียชีวิตของคนในหมูบ่ ้ าน ชาวบ้ านจะหยุดท�ำงาน เพือ่ มาช่วยจัดงานศพ โดยศพผู้เสียชีวติ จะถูกห่อด้ วยผ้ าใหม่ และครอบด้ วยไม้ ไผ่สานไว้ อีกชันหนึ ้ ่ง บนศพจะมีเสื ้อผ้ า กระดาษตัดเป็ นตุง ในพิธีการสวดศพ เรี ยกว่า “เกอว” จะท�ำ พิธีโดยผู้หญิงสูงอายุเป็ นผู้ร้องสาปแช่งและสดุดีความดีของ ผู้เสียชีวิต เรี ยกว่า “แซม” ที่ศาลาพิธีในหมูบ่ ้ าน และที่บ้าน ผู้อาวุโสฝ่ ายชายก็สวด “คุยก๊ อกเยิ ้ม” และจะท�ำพิธี “แซม” นี ้ เช่นเดียวกัน การท�ำพิธีฝังศพ จะเริ่ มเมื่อญาติผ้ ูเสียชีวิต สามารถหาโลงไม้ ขนาดสองเมตร ผ่าครึ่ งและขุดเป็ นร่ อง ตรงกลางเพื่อบรรจุศพ และจะถูกน�ำไปฝังในวันรุ่งขึ ้นโดยใช้ เส้ นทางที่ไม่ใช่เส้ นทางสัญจรตามปกติ และผู้หญิงกับเด็ก ห้ ามเข้ าร่วมพิธีเด็ดขาด
ชาวละว้ ามีพิธีเลี ้ยงศาลเจ้ าเมืองปี ละ 2 ครัง้ คือ ก่อนท�ำนา ท�ำไร่ เพื่อขอพรและก่อนการเก็บเกี่ยวพืชผล เพื่อเป็ นการ ขอบคุณสิง่ ศักดิ์สทิ ธิ์ ขันตอนการท� ้ ำพิธี ผู้น�ำทางศาสนาจะ เสี่ยงทายกระดูกไก่เพื่อดูว่าจะต้ องใช้ เครื่ องเซ่นอะไรในการ ท�ำพิธี เช่น วัว ควาย หรื อหมู โดยระดมเงินทุนในการซื ้อสัตว์ จากชาวบ้ านในชุมชน เครื่ องเซ่นไหว้ ประกอบด้ วย เทียน ขี ้ผึ ้ง 3 คู่ เงินแถบ ข้ าวสารที่เป็ นเชื ้อพันธุ์ ดอกไม้ เพื่อแสดง ถึงการเคารพบูชา การขอพรให้ ผลผลิตมีความอุดมสมบูรณ์ แต่ ถ้ าเป็ น การท� ำ พิ ธี ก่ อ นการเก็ บ เกี่ ย วจะมี ก ารเปลี่ ย น เครื่ อ งเซ่น ไหว้ จากเชื อ้ เมล็ดพัน ธุ์มาเป็ น ผลผลิต ที่ เ ริ่ ม ออกดอกผล ในวันท�ำพิธีห้ามคนในชุมชนออกนอกหมู่บ้านเพราะเชื่อว่า เป็ นการผิดผีอาจจะท�ำให้ เกิดเหตุร้ายแก่ชมุ ชนหรื อผู้ละเมิด ข้ อห้ ามอื่นๆ ในบริ เวณป่ าเจ้ าเมือง เช่น ห้ ามตัดต้ นไม้ โดย เฉพาะต้ นไม้ ใหญ่เพราะมีความเชื่อว่ามีผีสงิ สถิตอยู่ ห้ ามตัด เถาวัลย์ที่เลื ้อยบนต้ นไม้ ใหญ่ ห้ ามประพฤติสิ่งไม่ดีในป่ า เพื่อเป็ นการแสดงความเคารพ หากฝ่ าฝื นอาจจะเกิดโรคภัย ไข้ เจ็บหรื อเหตุร้ายต่อคนในบ้ าน ต่อมาภายหลังได้ เกิด โรคระบาดในชุมชนท�ำให้ มีคนเสียชีวิตบ่อยครัง้ ท�ำให้ ชมุ ชน ได้ หนั มานับถือศาสนาคริ สต์เพื่อรับการรักษาโรคและยึดถือ ในค�ำสอน การใช้ ชีวิตตามแบบศาสนาคริ สต์ ละว้ า / ลัวะ
111
ประเพณีทางศาสนาคริสต์ มกราคม
จะมีการน�ำเมล็ดพันธุ์พืชทุกชนิดมาขอพรจากพระเจ้ า ที่โบสถ์ ก่อนฤดูกาลเพาะปลูก
มีนาคม-เมษายน
จะมีการเฉลิมฉลองวันที่พระเยซูฟืน้ จากความตาย เรี ยกว่า วันอีสเตอร์
มิถุนายน
วันเพนเทคอสเป็ นวันที่พระวิญญาณเสด็จลงมาตาม ความเชื่อของศาสนาคริ สต์
ตุลาคม
งานปอยข้ าวใหม่เป็ นวันขอบคุณพระเจ้ าที่อวยพรให้ ผลผลิต และการถวายผลผลิตแด่พระเจ้ า
ธันวาคม
วันคริ สต์มาส เป็ นวันฉลองวันเกิดพระเยซูคริ สต์
พิธีบัพติสมา เป็ นพิธีรับผู้ที่พร้ อมเข้ าศาสนาคริ สต์และปฏิบตั ติ ามศาสนา พิธีรดน�้ำด�ำหัว พิธีรดน� ้ำด�ำหัวผู้ที่เคารพนับถือก่อนเข้ าปี ใหม่
112
อาหารเฉพาะถิ่น
ชาวละว้ านิยมรับประทานข้ าวต้ มที่เรี ยกว่า “เกลิ ้ม” และ ข้ าวปุก (ข้ าวเหนียวต�ำใส่งาด�ำ) ข้ าวหลาม
การละเล่นพื้นบ้าน
มีการเต้ นร� ำตามจังหวะดนตรี เครื่ องเป่ า เช่น แคนและขลุย่
สถานที่ท่องเที่ยวใน หมู่บ้าน
โป่ งน� ้ำร้ อน โป่ งนก และ วิถีชีวิตชนเผ่าละว้ า
ผู้น�ำพิธีทางศาสนา
ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ด้านจักสาน ตีเหล็ก
นายแซง พิพากษา นายทรายบู มุกดา
นายจัน่ ต่า นางซอย
ผู้น�ำการละเล่นพื้นบ้าน การเต้นร�ำ
ด้านจักสาน
นายด�ำ เท่ากร นายซ�ำหมุด แซแนะ
นายซ้ ง
ด้านหัตถกรรม เย็บผ้าชนเผ่า
นางหลง บุญหลัง นางแบะปาน
ละว้ า / ลัวะ
113
แหล่งที่มาของข้อมูล รัศมี ชูทรงเดช และคณะ รายงานการวิจยั ฉบับสมบูรณ์ “โครงการโบราณคดีบนพื ้นที่สงู ในอ�ำเภอปางมะผ้ า จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน” ระยะที่ 2 เล่มที่ 6 การศึกษาชาติพนั ธุ์วรรณาทางโบราณคดี , อุดมลักษณ์ ฮุน่ ตระกูล เสนอต่อส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั , พ.ศ.2550 รายงานวิจยั ฉบับสมบูรณ์ “โครงการสืบค้ นและจัดการมรดกทาง วัฒนธรรมอย่างยัง่ ยืนในอ�ำเภอปาย – ปางมะผ้ า – ขุนยวม” เล่มที่ 4 ด้ านประวัตศิ าสตร์ , นุชนภางค์ ชุมดี เสนอต่อส�ำนักงาน กองทุนสนับสนุนการวิจยั , พ.ศ.2552.
คณะวิจัยโครงการจัดท�ำสื่อจากผลงานวิจัยเพื่อพัฒนา หลักสูตรท้องถิ่น ในอ�ำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน (Innovative Media from Academic Research)
ศุภร ชูทรงเดช หัวหน้ าโครงการวิจยั และบรรณาธิการ ทรงศักดิ์ ปั ญญา นักวิจยั ด้ านกระบวนการน�ำไปใช้ และประเมินสื่อ จตุพร ปิ ยสุรประทีป วรรณธวัช พูนพาณิชย์ เลขานุการ เสาวลักษณ์ เขียนนอก วัชริ นทร์ มณีวงษ์ จุฑามาส เรื องยศจันทนา ผู้ชว่ ยนักวิจยั กราฟิ ค และภาพประกอบ : นีรนรา อนุศิลป์ ภาพหน้ าปก : ภูเขา โดย Chrisgel Ryan Cruz via Flickr
114
เอกสารฉบับนี้สามารถดาวน์โหลด และอ่านออนไลน์ได้ที่
imarmhs.wixsite.com/home