เอกสารฉบับนี ้ จัดท�ำ ดัดแปลง และเผยแพร่ภายใต้ การด�ำเนินงานโครงการจัดท�ำสื่อจากผลงานวิจยั เพื่อ พัฒนาหลักสูตรท้ องถิ่น ในอ�ำเภอปางมะผ้ า จังหวัด แม่ฮอ่ งสอน โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อใช้ เป็ นสื่อส่งเสริ ม ประสบการณ์การเรี ยนรู้ โดยน�ำความรู้จากงานวิจยั ทางโบราณคดี โครงการโบราณคดีบนพื ้นที่สงู ใน อ� ำ เภอปางมะผ้ า จังหวัด แม่ฮ่อ งสอน , โครงการ โบราณคดีบนพื ้นที่สงู ในอ�ำเภอปางมะผ้ า จังหวัด แม่ฮอ่ งสอน และโครงการวิจยั เรื่อง การปฏิสมั พันธ์ ระหว่างมนุษย์ก่อนประวัติศาสตร์ กบั สิ่งแวดล้ อมบน พื ้นทีส่ งู ในอ�ำเภอปางมะผ้ า จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน ซึง่ มี รองศาสตราจารย์ ดร.รัศมี ชูทรงเดช หัวหน้ าโครงการ ซึง่ เป็ นประสบการณ์ตรงจากนักวิจยั ของโครงการจัด ท�ำสื่อจากงานวิจยั การจัดกิจกรรมร่วมกับชุมชนใน อ�ำเภอปางมะผ้ า จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน โดยความร่วมมือ จากวิทยาลัยชุมชนแม่ฮอ่ งสอน ได้ รับทุนสนับสนุน การท�ำวิจยั จากส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั (สกว.)
เอกสารฉบับนี้สามารถดาวน์โหลดและอ่านออนไลน์ได้ที่
imarmhs.wixsite.com/home
2
ภูมิปัญญาท้ องถิ่น - อ�ำเภอปางมะผ้ า จังหวัดแม่ฮ่องสอน
ค �ำ น �ำ คูม่ ือการเรี ยนรู้ ภูมปิ ั ญญาท้ องถิ่น ในอ�ำเภอปางมะผ้ า จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน ทางโครงการจัดท�ำสือ่ จากผลงานวิจยั เพื่อการพัฒนาหลักสูตรท้ องถิ่นในอ�ำเภอปางมะผ้ า จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน ได้ จดั ท�ำ คูม่ อื ประกอบการเรียนในหน่วยการเรียนรู้หน่วยที่ 3 4 และ 5 ได้ แก่ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : พัฒนาการ ทางประวัติศาสตร์ และมรดกทางวัฒนธรรม มีเนื ้อหาทางประวัติศาสตร์ โบราณคดี และบุคคล ส�ำคัญทางประวัตศิ าสตร์ หน่วยการเรี ยนรู้ที่ 4 ประวัตศิ าสตร์ และวิถีชนเผ่า : ในส่วนเนื ้อหาด้ าน ศิลปกรรม ภาษา และวรรณกรรม คติชน การละเล่นพื ้นบ้ านและการแสดงดนตรี และหน่วยการ เรี ยนรู้ที่ 5 เรื่ องภูมิปัญญาท้ องถิ่น ส�ำหรับการจัดท�ำคูม่ ือนี ้เป็ นแนวทางหนึง่ ซึง่ เสมือนเครื่ องมือ ในการช่วยในการท�ำกิจกรรมการเรี ยนรู้ชมุ ชนในประเด็นเบื ้องต้ นที่หลากหลาย ภูมิปัญญาท้ องถิ่น ได้ มาจากการเก็บข้ อมูลภาคสนาม การเข้ าไปศึกษาหรื อท�ำความเข้ าใจใน ชุมชนของนักวิจยั จากโครงการวิจยั ทางประวัตศิ าสตร์ และโบราณคดี ของ รศ. ดร. รัศมี ชูทรงเดช อันเป็ นข้ อมูลงานวิจยั ที่บนั ทึกไว้ ในการศึกษาชุมชนในพื ้นที่อ�ำเภอปางมะผ้ าในช่วงกว่าทศวรรษ ทีผ่ า่ นมา ทีมนักวิจยั โครงการจัดท�ำสือ่ จากผลงานวิจยั ฯ น�ำข้ อมูลมาสังเคราะห์ รวมถึงการวิเคราะห์ แยกแยะข้ อมูล และจัดท�ำข้ อมูลบางส่วนใหม่ให้ สอดคล้ อง เหมาะสมกับการเรี ยนรู้ตามหลักสูตร จังหวัดศึกษา อย่างไรก็ดยี งั คงมีภมู ปิ ัญญาท้ องถิน่ อีกมากมายทีก่ �ำลังพัฒนาต่อยอดทางความคิด ปรับประยุกต์ใช้ ให้ เหมาะสมกับบริ บทและวิถีชีวิตแต่ละท้ องถิ่นที่มีการเปลี่ยนแปลงในปั จจุบนั โครงการจัดท�ำสื่อจากผลงานวิจยั เพื่อการพัฒนาหลักสูตรท้ องถิ่น ในอ�ำเภอปางมะผ้ า จังหวัด แม่ฮ่องสอน หวังอย่างยิ่งว่า การสร้ างความเข้ าใจในอัตลักษณ์ สร้ างภูมิค้ มุ กันทางวัฒนธรรม คือ การเรี ยนรู้ ความเป็ นมา ทางประวัติศาสตร์ และวิถีชีวิตอันเป็ นที่ มาของตนเอง เรี ยนรู้ ภูมิปัญญาท้ องถิ่นอันหลากหลาย จะท�ำให้ เกิดความภาคภูมิใจกับท้ องถิ่นตน น�ำไปสูก่ ารปรับ ใช้ ประโยชน์ตอ่ การพัฒนาความรู้ในชุมชน ชาติพนั ธุ์ของตนเอง และชุมชนชาติพนั ธุ์อื่น ตลอดจน ปกป้องรักษาวัฒนธรรมให้ เหมาะสม รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงจากโลกภายนอก ที่ก�ำลังเกิดขึ ้น ในปั จจุบนั และในอนาคต
โครงการจัดท�ำสื่อจากผลงานวิจยั เพื่อพัฒนาหลักสูตรท้ องถิ่น ในอ�ำเภอปางมะผ้ า จังหวัดแม่ ฮ่องสอน โครงการจัดท�ำสื่อจากผลงานวิจยั เพื่อพัฒนาหลักสูตรท้ องถิ่น
3
กิตติกรรมประกาศ ผลผลิตสื่อต่าง ๆ ของโครงการจัดท�ำสื่อจากผลงานวิจัยเพื่อพัฒนาหลักสูตรท้ องถิ่น ใน อ�ำเภอปางมะผ้ า จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน (Innovative Media from Academic Research) ตลอดระยะเวลาที่ผา่ นมาได้ รับความอนุเคราะห์ ได้ รับความร่วมมือ สนับสนุนจากบุคคล องค์กรในหลากหลายสาขา ผู้วจิ ยั ได้ รับประสบการณ์มากมาย ทังปั ้ ญหาและอุปสรรคทีผ่ า่ นมา อาจไม่ลลุ ว่ งได้ หากปราศจากบุคคลต่าง ๆ ดังต่อไปนี ้ ผู้วิจยั ขอขอบคุณ ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั (สกว.) ที่ให้ ทนุ สนับสนุนการท�ำงาน วิจยั ที่ปรึกษาโครงการฯ รศ.ดร.รัศมี ชูทรงเดช ให้ โอกาส และชี ้แนะความคิดเห็นต่าง ๆ มากมายตลอดระยะเวลาที่ผา่ นมา ขอบคุณ อาจารย์ประเสริ ฐ ประดิษฐ์ อาจารย์คมสัน คูสนิ ทรัพย์ อาจารย์โยธิน บุญเฉลย และ อาจารย์วีระพรรณ เล่าเรี ยนดี ต่อค�ำชี ้แนะในเวที การประชุม และข้ อแนะน�ำและวิจารณ์ ที่ได้ ชว่ ยสร้ างแนวทาง หรื อมุมมองให้ กบั ผู้วิจยั ตลอดมา รวมถึงคณาจารย์จากวิทยาลัยชุมชนจังหวัดแม่ฮอ่ งสอนทีใ่ ห้ ความร่วมมือสนับสนุน ต่อข้ อวิจารณ์และแนวทางที่มีให้ เป็ นระยะ ข้ อมูลของงานวิจยั ที่ส�ำคัญหลายส่วน จะไม่สามารถเกิดขึ ้นได้ ถ้ าหากปราศจากชาวบ้ าน หมูบ่ ้ านถ� ้ำลอดที่ให้ ความรู้ ในการเล่าเรื่ องราว ชาวบ้ านหมูบ่ ้ านแม่ละนาที่ให้ ความรู้ ร่วมถึง การดูแลเอาใส่คณะผู้อบรม และคณะวิจยั ที่ลงพื ้นที่ระหว่างท�ำงาน ชาวบ้ านหมูบ่ ้ านจ่าโบ่ ต่อความมีน� ้ำใจให้ ความร่วมมือกับคณะวิจยั ในทุก ๆ ด้ าน ชาวบ้ านหมูบ่ ้ านบ้ านไร่ที่ให้ การ ช่วยเหลือ ร่วมท�ำงานไม่วา่ จะเป็ นการสัมภาษณ์ การถ่ายบันทึกวีดีโอ การส�ำรวจแหล่ง โบราณคดี และอีกหลายหมูบ่ ้ านที่ไม่อาจกล่าวในที่นี่ได้ ทงหมด ั้ ผลงานสือ่ ต่างๆ ทีเ่ กิดขึ ้นด้ วยความร่วมมือมากมาย ผู้วจิ ยั ไม่สามารถท�ำส�ำเร็จด้ วยตัวคนเดียว ผู้วิจยั อยากกล่าวขอบคุณทีมงานคณะวิจยั ที่มีความอดทน ความเสียสละ ความทุม่ เทในการ ท�ำงานร่วมกัน อาจารย์ทรงศักดิ์ ปั ญญา นักวิจยั ด้ านกระบวนการน�ำไปใช้ และประเมินสื่อ เลขานุการ นางสาวจตุพร ปิ ยสุรประทีป ผู้ช่วยนักวิจยั เสาวลักษณ์ เขียนนอก และ ครอบครัวที่น่ารัก วรรณธวัช พูนพาณิชย์ วัชริ นทร์ มณีวงษ์ จุฑามาส เรื องยศจันทนา ที่เป็ นทังเพื ้ ่อนร่วมงาน เป็ นพี่เป็ นน้ อง เป็ นที่ปรึกษาช่วยกันสร้ างผลงานจนส�ำเร็ จ
4
ภูมิปัญญาท้ องถิ่น - อ�ำเภอปางมะผ้ า จังหวัดแม่ฮ่องสอน
ขอขอบคุณช่างภาพอาชีพอาสามาผลิตผลงาน อุกฤษฎ์ จอมยิม้ ยิ่งพงศ์ มั่นทรั พย์ รวมถึงช่างภาพสมัครเล่น ศรชัย ไพรเนติธรรม ที่น�ำพาภาพสวยๆให้ แก่โครงการการ จัดท�ำสื่อฯ และอาจารย์ปรี ยาชนก เกษสุวรรณ ผู้มาช่วยงานอบรมและเรี ยนรู้มากมายร่วมกัน ดร. ภาสกร อินทุมาน ที่ให้ ค�ำปรึกษาแนะน�ำในเรื่ องมุมมองต่างๆ นีรนรา อนุศลิ ป์ และ ขวัญประภา อุนารัตน์ ฝ่ ายศิลป์ ออกแบบสือ่ สิง่ พิมพ์ทสี่ วยงามมีกระบวนการออกแบบและ ผลิตอันละเอียดอ่อน ความรู้ตา่ ง ๆ มากมาย ที่น�ำมาผลิตเป็ นสื่อเพื่อการเรี ยนรู้ ได้ มาจากความละเอียดและ รอบคอบของทีมงานนักวิจยั ทางโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากรที่เป็ นเสมือนพี่เลี ้ยงที่คอย เกื ้อกูลสนับสนุน แนะน�ำตลอดระยะเวลาที่ผา่ นมา อุดมลักษณ์ ฮุน่ ตระกูล นักมานุษยวิทยา เจ้ าของข้ อมูลด้ านการศึกษาชาติพนั ธุ์ นัทธมน ภูร่ ี พฒ ั น์พงศ์ คงคาสุริยฉาย ผู้เชี่ยวชาญด้ าน โครงกระดูกคน ศิริลกั ษณ์ กัณฑศรี ผู้เป็ นที่ปรึกษาในทุกเรื่ อง นุชจรี ใจเก่ง มือเขียนบทที่ รอบรู้ และ วอกัญญา ณ หนองคาย สมถวิล สุขเลี ้ยง ชนม์ขนก สัมฤทธิ์ ธนัชญา เทียนดี ทีมหญิงแกร่งนักโบราณคดี ที่ให้ การช่วยเหลือ ร่วมความล�ำบากตลอดระยะการท�ำงานใน พื ้นที่ รวมถึงน้ องๆนักศึกษาโบราณคดีที่เข้ าร่วมอบรมที่บ้านถ� ้ำลอด ศศิประภา กิตติปัญญา กมล ทองไชย เมลดา มณีโชติ แก้ วสิริ เทวัญวโรปกรณ์ ธราภาสพงศุ์ เกตุกนั กานต์ภพ ภิญโญ สมคิด แสงจันทร์ ผู้ร่วมการอบรม ติดตามผลงานและน�ำไปทดลองใช้ เกิดผลมากมาย ส่วนสุดท้ ายนี ้ผู้วิจยั อยากจะขอกราบขอบพระคุณ ครอบครัว พ่อ แม่ พี่สาวทังสอง ้ น้ องชาย และครอบครัวที่น่ารักของผู้วิจยั ในการให้ การสนับสนุน และเป็ นก�ำลังใจตลอดระยะทาง อันยาวนานของการเดินทางในการผลิตผลงานที่ส�ำคัญนี ้ ผู้วิจยั หวังเป็ นอย่างยิ่งว่าผลผลิต จากงานวิจยั ชุดนี ้จะก่อให้ เกิดความรู้ อันเป็ นประโยชน์ตอ่ คน ต่อชุมชนต่อประเทศในการ พัฒนาอย่างยัง่ ยืนสืบไป ศุภร ชูทรงเดช 1 มีนาคม 2561
โครงการจัดท�ำสื่อจากผลงานวิจยั เพื่อพัฒนาหลักสูตรท้ องถิ่น
5
6
ภูมิปัญญาท้ องถิ่น - อ�ำเภอปางมะผ้ า จังหวัดแม่ฮ่องสอน
สารบัญ 1
ภูมิปัญญาท้ องถิ่นด้ านเกษตรกรรม
8
2
ภูมิปัญญาด้ านอุตสาหกรรมและหัตถกรรม
14
3
ภูมิปัญญาด้ านแพทย์แผนไทย
24
4
ภูมิปัญญาด้ านการจัดการทรัพยากรทางธรรมชาติและสิง่ แวดล้ อม
26
5
ภูมิปัญญาท้ องถิ่นด้ านกองทุนและธุรกิจชุมชน
28
6
ภูมิปัญญาท้ องถิ่นด้ านศิลปกรรม
30
7
ภูมิปัญญาท้ องถิ่นด้ านภาษาและวรรณกรรม
36
8
ภูมิปัญญาท้ องถิ่นด้ านปรัชญาศาสนาและประเพณี
40
9
ภูมิปัญญาท้ องถิ่นด้ านโภชนาการ
44
แหล่งที่มาของข้ อมูล
46
โครงการจัดท�ำสื่อจากผลงานวิจยั เพื่อพัฒนาหลักสูตรท้ องถิ่น
7
1
แม้ พื ้นที่อ�ำเภอปางมะผ้ า จังหวัดแม่ฮ่องสอนจะเป็ นอ�ำเภอที่มี พื ้นที่การเกษตรไม่มากนัก แต่ประชาชนส่วนใหญ่ก็ด�ำรงชีวติ ได้ ด้ วยการท�ำเกษตรกรรม ได้ แก่ การปลูกข้ าว การปลูกพืชไร่ การปลูกผัก และการเลี ้ยงสัตว์ ชาวบ้ านที่ท�ำเกษตรกรรมยังคง ท�ำงานตามฤดูกาล เนื่องจากพื ้นที่เพาะปลูกส่วนใหญ่เป็ นพื ้นที่ สูง ห่างไกลน� ้ำ ดังนัน้ ในช่วงฤดูแล้ งคือตังแต่ ้ ราวปลายมีนาคม ถึ ง พฤษภาคม ชาวบ้ า นจะหยุด พัก การท� ำ เกษตร และท� ำ อาชีพเสริ มอื่นๆ ภูมิปัญญาท้ องถิ่นที่ส�ำคัญในด้ านเกษตรกรรมที่พบในพืน้ ที่ ปางมะผ้ า ได้ แก่
ขวา ภาพ: การท�ำการเกษตรแบบขัน้ บันได บ้านแม่ละนา อ. ปางมะผ้า จ.แม่ฮ่องสอน ทีม่ า: โครงการจัดท�ำสือ่ จากผลงานวิ จยั เพือ่ พัฒนาหลักสูตร ท้องถิ่ นในอ�ำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน 8
ภูมิปัญญาท้ องถิ่น - อ�ำเภอปางมะผ้ า จังหวัดแม่ฮ่องสอน
โครงการจัดท�ำสื่อจากผลงานวิจยั เพื่อพัฒนาหลักสูตรท้ องถิ่น
9
1.2 ระบบแลกเปลี่ ยนแรงงาน : การเอามือ “การเอามือ” เป็ นภูมปิ ั ญญาในการแลกเปลีย่ นแรงงานทีใ่ ช้ กนั มาในสังคมเกษตรกรรมหลายพื ้นที่ เช่น ในภาคกลาง เรี ยกกันว่า การลงแขก เป็ นต้ น เป็ นระบบการแลกเปลี่ยนแรงงานที่ท�ำกันใน ชุมชนโดยมีการจัดคิวการท�ำงานในไร่นาของชาวบ้ านแต่ละครัวเรื อน ส่วนใหญ่มกั จะเอามือช่วง การเก็บเกี่ยวผลผลิตเพราะจะเป็ นงานหนักมากกว่าช่วงอืน่ ๆ เจ้ าของไร่นาจะนัดวันให้ ญาติพนี่ ้ อง และเพื่อนบ้ านในชุมชนไปช่วยงานในไร่นา และเมื่อเพื่อนบ้ านต้ องการแรงงานบ้ านก็จะบอกเพื่อ ให้ คนที่ตนเคยไปช่วยก็จะมาช่วยตอบแทน ถ้ ามาไม่ได้ ก็อาจจะจ้ างคนงานให้ ไปแทน เช่น นาง ก. จะเกี่ยวข้ าววันจันทร์ นาง ก. ก็จะไปบอกกับญาติพี่น้องและเพื่อนบ้ านอาจจะในชุมชน เดียวกันหรื อชุมชนใกล้ เคียงด้ วยก็ได้ เมื่อทราบแล้ วญาติพี่น้องและเพื่อนบ้ านก็จะไปเอามือที่นา ของนาง ก. โดยนาง ก. จะเลี ้ยงอาหารแก่คนที่มาช่วยงาน และเมื่อคนที่มาช่วยงานจะเก็บเกี่ยว บ้ าง นาง ก. ก็จะไปช่วยเป็ นการตอบแทน ส่วนใหญ่ชมุ ชนที่ยงั มีการเอามือกันอยูม่ กั จะตกลงกัน ทังหมู ้ บ่ ้ านว่าใครจะเอามือวันไหนบ้ าง และจะช่วยกันจนกว่าจะเก็บเกี่ยวครบกันทังหมู ้ บ่ ้ าน การเอามือเป็ นสัญลักษณ์ของความเข้ มแข็งทางเครื อข่ายสังคมของชุมชน ทังในเรื ้ ่ องจ�ำนวนคน ที่ท�ำมาหากินอยู่ในพื ้นที่ชมุ ชน และความสัมพันธ์ที่ดีพอที่จะร่ วมมือร่ วมใจกันท�ำกิจกรรมต่างๆ อย่างไรก็ตาม ปั จจุบนั นี ้ สภาพสังคมเปลี่ยนไป ชาวบ้ านต้ องออกไปท�ำงานนอกชุมชนมากขึ ้น ท�ำการเกษตรน้ อยลง ท�ำให้ การเอามือลดน้ อยลงไปตามจ�ำนวนคนทีท่ ำ� เกษตรทีล่ ดลง และเปลีย่ น เป็ นระบบการจ้ างคนงานภาคการเกษตร หากเป็ นการจ้ างเกี่ยวข้ าวก็จะให้ คา่ จ้ างเป็ นข้ าวเปลือก ประมาณ 1 ควาย แต่หากเป็ นการเก็บเกี่ยวผลผลิตอื่นๆ ก็มกั จะจ่ายค่าจ้ างเป็ นเงิน ประมาณ 150 บาทต่อวัน
10
ภูมิปัญญาท้ องถิ่น - อ�ำเภอปางมะผ้ า จังหวัดแม่ฮ่องสอน
ขวา ภาพ: ล�ำเหมื องอยู่ริมพืน้ ที ่ การท�ำการเกษตร บ้านไร่ ต�ำบลสบป่ อง อ�ำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน ทีม่ า: โครงการโบราณคดีบน พืน้ ทีส่ ูงในอ�ำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน
1.3 ระบบการจัด การน�้ำเพื่อ การเกษตร แก่เหมือ งvอง สิง่ ส�ำคัญในการท�ำการเกษตรคือน� ้ำ ในชุมชนที่มีการท�ำเกษตร จึงต้ องให้ ความส�ำคัญกับการจัดการน�ำ้ เป็ นอย่างมาก เพราะ หากจัดการน� ้ำไม่ดี จะท�ำให้ เกิดการได้ เปรี ยบเสียเปรี ยบกันใน เรื่ องน�ำ้ น�ำมาซึ่งการทะเลาะเบาะแว้ งกันในชุมชนได้ ดังนัน้ นอกจากจะมีการท�ำเหมืองฝายเพื่อส่งน� ้ำไปยังพื ้นที่เกษตรให้ ทัว่ ถึงแล้ ว ก็ยงั มีการตังต� ้ ำแหน่ง “แก่เหมือง” ขึ ้นมาเพื่อให้ ดแู ล ล�ำเหมืองแต่ละเส้ น โดยแก่เหมืองจะดูแลทังเรื ้ ่ องพิธีกรรมและ การจัดสรรน� ้ำให้ ผ้ ใู ช้ น� ้ำจากล�ำเหมือง ยกตัวอย่าง เช่น ที่บ้านไร่ ต�ำบลสบป่ อง อ�ำเภอปางมะผ้ า มีลกั ษณะพื ้นทีก่ ารเกษตรทีเ่ รียง ตัวกันไปตามริ มล�ำเหมือง มีล�ำเหมือง 2 เส้ น แต่ละเส้ นจะมีแก่ เหมืองดูแลเส้ นละหนึ่งคน โดยเลือกจากคนที่มีที่ท�ำเกษตรอยู่ ด้ านท้ ายของล�ำเหมืองแต่ละเส้ นและ/หรื อเป็ นคนที่สมาชิกใน ชุมชนให้ ความยอมรับนับถือ ต้ นฤดูกาลเพาะปลูก แก่เหมืองจะ เป็ นคนท�ำพิธีไหว้ ผีเหมือง เพื่อขอให้ น� ้ำดี มีเพียงพอในการผลิต โดยแก่เหมืองจะรวบรวมเงินและของเซ่นไหว้ จากสมาชิก และ
ท�ำพิธี โดยอาจจะท�ำเองหรื อให้ ปจารย์ ู่ ในชุมชนเป็ นคนท�ำพิธี และในช่วงเพาะปลูกก็ต้องคอยสอดส่องดูแลการปล่อยน� ้ำเข้ า พื ้นที่เกษตรของแต่ละคนให้ เรี ยบร้ อย ไม่ให้ เปิ ดน� ้ำเข้ าที่ตนเอง มากจนคนอื่นไม่มีน� ้ำ หรื อปล่อยไปท่วมที่คนอื่น และแก่เหมือง ยังต้ องเป็ นตัวตังตั ้ วตีในการพัฒนาล�ำเหมือง เช่น การขุดลอก การรักษาความสะอาด โดยระดมความร่วมมือจากสมาชิกที่ใช้ น� ้ำจากล�ำเหมืองเส้ นเดียวกันให้ มาร่วมกันพัฒนา และหากมีข้อ พิพาทเรื่ องการใช้ น� ้ำ แก่เหมืองก็จะต้ องเข้ าไปช่วยไกล่เกลี่ย ร่วมกับผู้ใหญ่บ้าน และอาจจะมีแก่ฝายร่วมด้ วย แล้ วแต่กรณี ส�ำหรับในบางพื ้นที่ที่มีแก่ฝาย แก่ฝายจะท�ำหน้ าที่เป็ นผู้น�ำใน การดูแลการซ่อมแซมฝาย เป็ นผู้น�ำในพิธีกรรมการไหว้ ผีฝาย ซึง่ ท�ำเพือ่ ขอพรให้ มนี � ้ำท่าบริบรู ณ์พร้ อมในการท�ำเกษตร ไม่มาก ไปจนท่วม ไม่น้อยไปจนเพาะปลูกไม่ได้ คนที่เป็ นแก่ฝายก็มกั จะเป็ นคนที่ท�ำเกษตรในชุมชนนัน้ และเป็ นผู้อาวุโสที่ชาวบ้ าน ยอมรับนับถือ แม้ ในปั จจุบนั เหมืองฝายจะได้ รับการดูแลจาก ส่วนราชการ คือ กรมชลประทาน แต่แก่เหมืองและแก่ฝายก็ยงั มีอยูใ่ นหลายพื ้นที่ โครงการจัดท�ำสื่อจากผลงานวิจยั เพื่อพัฒนาหลักสูตรท้ องถิ่น
11
1.4.1
1.4.2
เครื ่องมื อในการเกษตร เรี ยงล�ำดับจากซ้ายไปขวา จอบ มี ดงอ เคียว มี ดงง และมี ดก๊ ด
1.4.1 จอบ ลักษณะเหมือนจอบทัว่ ไปทีใ่ ช้ ในการท�ำนาท�ำไร่จอบไม่สามารถ ผลิตเองได้ ในอดีตส่วนใหญ่จงึ มักไปหาซื ้อจากชุมชนใหญ่ เช่น ประชาชนในอ�ำเภอปางมะผ้ าท�ำอาชีพการเกษตรเป็ นหลัก ท�ำให้ แม่ฮอ่ งสอน และปาย มีการผลิตเครื่ องมือเครื่ องใช้ ทางการเกษตรขึ ้นมาเพื่อใช้ ทำ� งาน กลุม่ ชนทีม่ คี วามโดดเด่นด้ านการผลิตเครื่องมือเครื่องใช้ ทางการ 1.4.2 มีดงอ เกษตรได้ แก่ ชาวลาหูย่ ี (ลาหูแ่ ดง) ลาหูน่ ะ (ลาหูด่ ำ� ) และชาวม้ ง ใช้ ในการดายหญ้ า ปลายของใบมีดงดโค้ งออกคล้ ายมีดพร้ า ในบางพื ้นที่ที่มีการท�ำเกษตรกันมาก เช่น บ้ านไร่ พบว่ามีการ แยกเครื่ องมือเครื่ องใช้ ในการท�ำเกษตรระหว่างใช้ ท�ำนากับใช้ 1.4.3 เคียว ใช้ เกี่ยวข้ าว ลักษณะเป็ นแบบเดียวกับเคียวที่ใช้ กนั ในภาคอื่น ท�ำไร่ไว้ ด้ วย เครื่ องมือเครื่ องใช้ ทางการเกษตร มีดงั นี ้
1.4 เครื่อ งมือเครื่อ งใช ้ทางการเกษตร
12
ภูมิปัญญาท้ องถิ่น - อ�ำเภอปางมะผ้ า จังหวัดแม่ฮ่องสอน
1.4.3
1.4.4 มีดงง ใช้ ตดั หญ้ าในนาเช่นกัน แต่มีด้ามยาวกว่ามีดงอ ปลายของใบ มีดที่โค้ งงอ ออกนันมี ้ ประโยชน์มากเวลาที่ดายหญ้ าแล้ วไปถูก ก้ อนหินเข้ า ถ้ าหากเป็ นมีดอื่นซึง่ ปลายมีดตัดตรงตามปกติคม ของใบมีดที่ถกู หินจะสึกไปจนหมด ส่วนมีดงอ และมีดงงจะมี เพียงปลายที่โค้ งงอเท่านันที ้ ่ถกู ก้ อนหิน และเป็ นการเตือนให้ ร้ ู ด้ วยว่าบริ เวณนันมี ้ ก้อนหินที่ตรงไหน
1.4.4
1.4.5
1.4.6 งอง ใช้ ถางหญ้ าถ้ าเป็ นงองแบบดังเดิ ้ มจะมีใบมีดไม่กว้ างมาก และ ถูกดัดให้ บิดออกด้ านข้ างคล้ ายกับมีดก๊ ด เพียงแต่ด้ามของมีด จะสันเพี ้ ยงเท่าเสียมมือเท่านัน้
1.4.7 เสียม เป็ นเสียมแบบเก่าใบมีดจะออกรูปทรงกลมและมีบ้องส�ำหรับใส่ ด้ ามไม้ มี 2 แบบ ถ้ าหากใบมีดกลมจะมีด้ามจับสัน้ ส่วนเสียม 1.4.5 มีดก๊ ด (หรื อมีดคด) ที่มีใบมีดยาวตัดตรงใบมีดจะหนากว่าค่อนข้ างหนัก มีด้ามจับ มีด้ามยาวปลายของมีดดัดให้ งอออกไปด้ านข้ างเหมาะส�ำหรับ ยาวมากใช้ ในการขุดเผือกขุดมันได้ ดี บางทีก็เอาไปนาเพื่อไป ถากหญ้ าที่เพิ่งขึ ้นบริ เวณผิวดินและผู้ใช้ ไม่ต้องก้ มตัวนาน ๆ ขุดคันนา ปั จจุบนั ยังพอเห็นได้ ในบางบ้ าน
โครงการจัดท�ำสื่อจากผลงานวิจยั เพื่อพัฒนาหลักสูตรท้ องถิ่น
13
2
อุตสาหกรรมและหัตถกรรมที่โดดเด่นในพืน้ ที่ปางมะผ้ า มีความสอดคล้ องกับทรั พยากรใน ท้ องถิ่น กล่าวคือ เป็ นการน�ำเอาทรัพยากรในท้ องถิ่นมาแปรรูปทังในแบบของการท� ้ ำงานฝี มอื หรือ หัตถกรรมและอุตสาหกรรม อย่างไรก็ตาม การท�ำอุตสาหกรรมในปางมะผ้ ายังเป็ นอุตสาหกรรม ขนาดเล็ก ในลักษณะของวิสาหกิจชุมชนหรื ออุตสาหกรรมในครัวเรื อน แหล่งจ�ำหน่ายก็ยงั คงอยู่ ในอ�ำเภอปางมะผ้ าเป็นหลัก นอกเหนือจากนันก็ ้ เป็นภายในจังหวัดแม่ฮอ่ งสอน ส่วนงานอุตสาหกรรม หรื อหัตถกรรมที่น�ำไปจ�ำหน่ายในตลาดระดับประเทศหรื อต่างประเทศยังไม่คอ่ ยพบนัก
ขวา พ่อเฒ่าลาหู่นะจักสานไม้ไผ่ บ้านจ่าโบ่ บ้านจ่าโบ่ อ.ปางมะผ้า จ.แม่ฮ่องสอน ทีม่ า: โครงการสืบค้นและจัดการ มรดกทางวัฒนธรรมอย่างยัง่ ยืนใน อ�ำเภอปาย-ปางมะผ้า-ขุนยวม จังหวัดแม่ฮ่องสอน
14
ภูมิปัญญาท้ องถิ่น - อ�ำเภอปางมะผ้ า จังหวัดแม่ฮ่องสอน
โครงการจัดท�ำสื่อจากผลงานวิจยั เพื่อพัฒนาหลักสูตรท้ องถิ่น
15
ภูมิปัญญาท้ องถิ่นด้ านอุตสาหกรรมและหัตถกรรมที่ส�ำคัญ ในอ�ำเภอปางมะผ้ า ได้ แก่
2.1 งานหั ตถกรรมจักสาน อ�ำเภอปางมะผ้ ามีไม้ ไผ่อยู่ค่อนข้ างมาก เครื่ องใช้ ในบ้ านหรื อ แม้ แต่ตวั บ้ านของชาวปางมะผ้ าเองก็ท�ำมาจากไม้ ไผ่ ดังนัน้ งานจัก สานจึง เป็ นงานหัต ถกรรมที่ มี ค วามส�ำคัญ และชาย ชาวบ้ าน โดยเฉพาะผู้เฒ่าผู้แก่มกั จะท�ำกันในเวลาว่างจากการ ท�ำไร่ นา เครื่ องจักสานส่วนใหญ่ท�ำใช้ กนั ในครัวเรื อนเป็ นหลัก แต่บางครัง้ ก็รับจ้ าง ท�ำให้ กบั ชาวบ้ านทังในและนอกหมู ้ ่บ้าน ที่มาสัง่ ท�ำเครื่ องใช้ จักสานต่างๆ ส�ำหรั บเครื่ องใช้ ที่เป็ นงาน หัตถกรรมจักสานที่ส�ำคัญ ได้ แก่ ตาแหลว ตะกร้ า เครื่ องใช้ ในการหาปลา เป็ นต้ น ตะกร้าใส่เสือ้ ผ้าทีน่ บั วันก็หาคนท�ำได้ยาก ทีม่ า: โครงการโบราณคดีบนพืน้ ทีส่ ูง ในอ�ำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน
16
ภูมิปัญญาท้ องถิ่น - อ�ำเภอปางมะผ้ า จังหวัดแม่ฮ่องสอน
ควายตวงข้าว ตะกร้าจักสานแบบมี ฝาปิ ด
โครงการจัดท�ำสื่อจากผลงานวิจยั เพื่อพัฒนาหลักสูตรท้ องถิ่น
17
18
ภูมิปัญญาท้ องถิ่น - อ�ำเภอปางมะผ้ า จังหวัดแม่ฮ่องสอน
ซ้ าย ลวดลายผ้าทอแบบลาหู่ยี ล่ าง บรรยากาศการจ� ำหน่ายผ้าทอ ของชาวกะเหรี ่ยงบ้านเมื องแพม ทีม่ า: โครงการโบราณคดีบนพืน้ ทีส่ ูงใน อ�ำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน
2.2 งานหั ตถกรรมผ ้ า งานหัตถกรรมผ้ าที่พบในอ�ำเภอปางมะผ้ า มีทงการทอผ้ ั้ า การตัดเย็บเสื ้อผ้ าที่เป็ นเอกลักษณ์ของ ชนเผ่า ส่วนใหญ่ทำ� เพื่อใช้ เองในครัวเรื อน บางส่วนก็จดั จ�ำหน่ายให้ กบั นักท่องเที่ยวที่เข้ ามาเที่ยว ในชุมชน บริ เวณตลาดสบป่ อง และน�ำไปจ�ำหน่ายในอ�ำเภอเมืองแม่ฮอ่ งสอน ผู้ท�ำงานหัตถกรรม ผ้ ามักเป็ นผู้หญิงในครัวเรื อน โดยเฉพาะกลุม่ แม่บ้านที่ทำ� เพื่อให้ คนในครอบครัวใช้ และหารายได้ เสริ มเพิ่มจากการท�ำเกษตรกรรม ชนเผ่าทีโ่ ดดเด่นเรื่ องการทอผ้ ามี 4 เผ่า คือ ชาวกะเหรี่ ยง ชาวลาหูน่ ะ ชาวลาหูย่ ี และชาวลีซู ส่วน การปั กผ้ าและตัดต่อผ้ าเป็ นลวดลายนัน้ เป็ นงานที่เป็ นเอกลักษณ์ ของชาวลาหู่นะและชาวม้ ง อย่างไรก็ตาม กลุม่ ที่ท�ำงานผ้ าค้ าขายค่อนข้ างมาก คือ ชาวกะเหรี่ ยงและชาวลีซู โดยจ�ำหน่าย ให้ กลุ่มทัวร์ เดินป่ าที่เข้ าไปในหมู่บ้าน ฝากร้ านค้ าจ�ำหน่าย ตลอดจนน�ำไปจ�ำหน่ายในตัวเมือง แม่ฮอ่ งสอนด้ วย โครงการจัดท�ำสื่อจากผลงานวิจยั เพื่อพัฒนาหลักสูตรท้ องถิ่น
19
20
ภูมิปัญญาท้ องถิ่น - อ�ำเภอปางมะผ้ า จังหวัดแม่ฮ่องสอน
แม่บา้ นชาวกะเหรี ่ยง ก�ำลังทอผ้า ทีม่ า: โครงการโบราณคดีบนพืน้ ทีส่ ูงใน อ�ำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน
โครงการจัดท�ำสื่อจากผลงานวิจยั เพื่อพัฒนาหลักสูตรท้ องถิ่น
21
2.3 งานช่ า งโลหะ ส�ำหรับชนเผ่าในอ�ำเภอปางมะผ้ า ได้ แก่ ชาวลาหูย่ ีและลาหูน่ ะ จะให้ ก ารยกย่อ ง ผู้มี ค วามสามารถด้ า นงานช่ า งโลหะเป็ น อย่างมาก โดยมีต�ำแหน่งช่าง ซึง่ ถือว่าเป็ นคนส�ำคัญของชุมชน ชาวลาหูย่ ีเรี ยก “แก่ลปุ ่ า” ส่วนชาวลาหูน่ ะเรี ยก “จะริ กป่ า” ซึง่ ต�ำแหน่งดังกล่าวนอกจากจะท�ำงานช่างโลหะได้ แล้ วก็มกั จะ ท�ำงานช่างอื่นๆ ได้ ด้วย เช่น ช่างไม้ จักสาน นอกจากนี ้แล้ ว กลุม่ ที่มีการท�ำเครื่ องใช้ จากเหล็กค่อนข้ างมาก คือ กลุม่ ชาวม้ ง มีการตีเหล็กเป็ นเครื่องใช้ ในการเกษตรเป็ นหลัก ส่วนใหญ่ตีใช้ เอง บางส่วนก็รับจ้ างตีเครื่ องใช้ ให้ กบั คนที่มาจ้ าง การตีเหล็กเป็ นเครื่ องใช้ ในการเกษตรหรื อเครื่ องใช้ ในครัวเรื อน นิยมใช้ เหล็กแหนบรถยนต์ที่มีความแข็งแรงและราคาไม่แพง มากนัก ส่วนการตีเครื่ องประดับ สมัยก่อนนิยมใช้ โลหะเงิน แต่ ปั จจุบนั โลหะเงินมีราคาแพงมาก ประกอบกับสามารถหาซื ้อใน เมืองใหญ่ๆ เช่น ในอ�ำเภอเมืองแม่ฮ่องสอน อ�ำเภอปาย และ จังหวัดเชียงใหม่ได้ งา่ ย จึงท�ำให้ ไม่คอ่ ยตีเครื่องประดับจากโลหะ เงินมากนัก แต่มกั จะตีเครื่ องประดับจากเหรี ยญเงินที่ชาวบ้ าน สะสมกันเอาไว้ เช่น เหรี ยญเงินเก่า เหรี ยญรูปี เป็ นต้ น บน ซ้ ายล่ าง ขวาล่ าง
22
ภูมิปัญญาท้ องถิ่น - อ�ำเภอปางมะผ้ า จังหวัดแม่ฮ่องสอน
พ่อเฒ่า ปละเยะ แซ่จงั้ ชาวม้งก�ำลังตีมีด ด้วยวิ ธีดงั้ เดิ ม เครื ่องประดับเงิ นฝี มื อช่างชาวลาหู่นะ การตีเหล็กแบบชาวม้ง
2.4 งานอุตสาหกรรมสุ ราพื้นบ ้ า น ปั จจุบนั มีกฎหมายที่ออกมารองรับการต้ มสุราพื ้นเมืองโดยให้ ผ้ ตู ้ มจ่ายอากรแสตมป์ สุราให้ กบั รัฐ มีการตรวจสอบคุณภาพของเหล้ าให้ ได้ ตามมาตรฐาน ประกอบกับในพื ้นทีม่ พี ธิ ีกรรมต่างๆ ทีต่ ้ อง ใช้ สรุ าในการประกอบพิธีและเลี ้ยงกันค่อนข้ างบ่อยครัง้ ท�ำให้ ชาวบ้ านหันมาท�ำอุตสาหกรรมใน ครัวเรื อน ในการผลิตสุราพื ้นบ้ านเพื่อจ�ำหน่าย ส่วนใหญ่จะส่งขายในตลาดสบป่ อง และตาม หมูบ่ ้ านอื่นๆ ในอ�ำเภอปางมะผ้ า ส�ำหรับหมูบ่ ้ านที่มีโรงต้ มเหล้ า เช่น บ้ านไร่ และบ้ านวนาหลวง
บน ภาพ: เจ้าของกิ จการโรงกลัน่ สุรา พืน้ เมื องภายในชุมชน ถ่ายคู่กบั หม้อกลัน่ สุราสมัยใหม่ ทีบ่ า้ นไร่ ต.สบป่ อง อ.ปางมะผ้า ทีม่ า: โครงการโบราณคดีบน พืน้ ทีส่ ูง ในอ�ำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน
โครงการจัดท�ำสื่อจากผลงานวิจยั เพื่อพัฒนาหลักสูตรท้ องถิ่น
23
3
ส�ำหรับภูมิปัญญาด้ านแพทย์แผนไทยหรื อแพทย์ทางเลือกนี ้ยัง เป็ นส่วนที่ทางโครงการวิจยั ไม่มีข้อมูลมากนัก แต่พบว่าในพื ้นที่ มีการใช้ สมุนไพรท้ องถิ่นในการรักษาโรคกันอยู่ โดยส่วนใหญ่ แล้ ว ผู้ที่มีความรู้ เรื่ องสมุนไพร มักเป็ นผู้ที่บวชเป็ นพระหรื อ แม่ชี และศึกษาต�ำรายาสมุนไพรที่มีการสืบทอดกันมาทางพระ ที่ตนได้ ไปบวชเรี ยนด้ วย และน�ำมารักษา บ้ างก็บอกสูตรยาให้ ลูกหลานไปหาส่วนผสมมาต้ มเอาน� ้ำดื่มเพื่อรักษาโรค ท�ำให้ มี การสืบทอดสูตรยาสมุนไพรเหล่านันต่ ้ อๆ ไป นอกจากนี ้ ยังมี การรักษาโรคด้ วยการใช้ พิธีกรรม ได้ แก่ ล่ าง ตาแหลว : เครื ่องรางสานด้วยไม้ไผ่ติดไหว้ เพือ่ ป้องกันผี มักใช้ในพิ ธีเลีย้ งผี
24
ภูมิปัญญาท้ องถิ่น - อ�ำเภอปางมะผ้ า จังหวัดแม่ฮ่องสอน
3.1 การเสี่ ยงทายด้ว ยการตั้งไข่ การเสีย่ งทายด้ วยการตังไข่ ้ บนข้ าวสารนี ้ เป็ นการเสีย่ งทายแบบ คนพื ้นเมือง พบทังในพื ้ ้นทีอ่ ำ� เภอปางมะผ้ า อ�ำเภอปาย พิธีกรรม นี ้ท�ำเพือ่ เสีย่ งทายว่าผู้ทมี่ าเสีย่ งทายเจ็บป่ วยเพราะท�ำผิดผีอะไร เช่น ผิดผีน� ้ำ ผีฝาย ผีป่า หรือผีอะไร บริเวณไหนหรือทิศไหน หาก ทราบว่าท�ำผิดผีอะไรก็จะถามต่อไปว่าจะให้ ขอขมาอย่างไร หมอผี ที่ท�ำพิธีเสี่ยงทายจะมีวิธีดู เมื่อดูแล้ วจะบอกว่าให้ ไป ไหว้ ผีที่ไหน ไหว้ ด้วยเครื่ องเซ่นอะไรบ้ าง ผู้เจ็บป่ วยก็จะไปหา เครื่ องเซ่นไหว้ ไปท�ำพิธี หากเจ็บป่ วยจนลุกไม่ไหวก็จะให้ ญาติ พี่น้องเป็ นธุระให้ และให้ หมอผีที่ท�ำพิธีเสี่ยงทายไปท�ำพิธีไหว้ ผี เพื่อขอขมาให้ หายเจ็บป่ วย
3.2 การเสี่ ยงทายด้ว ยกระดู กไก่ การเสีย่ งทายด้ วยกระดูกไก่แบบชาวลีซู การเสีย่ งทายด้ วยกระดูก ไก่เป็ นการเสีย่ งทายเพือ่ หาว่าผู้ป่วยเจ็บไข้ ได้ ป่วยมาจากสาเหตุ อะไร ท�ำผิดผีตรงไหนเอาไว้ หรื อไม่ ในพื ้นที่ปางมะผ้ า มีการ เสี่ยงทายด้ วยพิธีกรรมคล้ ายๆ กัน คือ ใช้ การดูกระดูกไก่เพื่อ เสี่ยงทายอยู่หลายชนเผ่า เช่น ลาหู่นะ ลีซู กะเหรี่ ยง เป็ นต้ น ผู้ท�ำพิธีจะเป็ นหมอผี จะเอาไก่ที่ผ้ ปู ่ วยให้ มาฆ่า แล้ วเอากระดูก ขาไก่ มาดูบริ เวณรู ใกล้ ๆ กับข้ อขาไก่ เพื่ อท� ำนายว่าอาการ เจ็บป่ วยที่เกิดขึ ้นเป็ นเพราะท�ำผิดผีอะไร ต้ องเลี ้ยงด้ วยอะไร ส่วนใหญ่ก็จะเลี ้ยงด้ วยไก่ที่ฆ่า แต่หากยังไม่หายก็อาจจะต้ อง มีการฆ่าหมู เพื่อให้ เพียงพอต่อการเสียผีให้ หายเจ็บไข้ ได้ ป่วย นอกจากจะเสี่ยงทายเพื่อดูเรื่ องเจ็บป่ วยแล้ วก็ยงั สามารถใช้ ท�ำนายเรื่ องอื่นๆ ได้ อีกด้ วย บน การเสีย่ งทายด้วยกระดูกไก่ ภาพจากโครงการวิ จยั พหุสมั พันธ์ คนกับไก่ อันเนือ่ งมาจาก พระราชด�ำริ ในเจ้าชายอากิ ชิโนมิ ยะ ฟูมิฮิโตะ แห่งประเทศญี ป่ นุ่ ภายใต้พระราชูปถัมภ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
3.3 การเรียกขวัญและการไหว้ผเี พื่อให้หายจาก อาการป ว่ ยไข ้ การเรี ยกขวัญและการไหว้ ผีเป็ นการท�ำพิธีเพื่อให้ หายเจ็บป่ วย ซึ่งบางครัง้ ก็ท�ำร่ วมกับพิธีกรรมการเสี่ยงทายด้ วยกระดูกไก่ กล่าวคือเมื่อเสีย่ งทายแล้ วก็อาจจะมีการเรี ยกขวัญด้ วย ส�ำหรับ ในบางหมูบ่ ้ านที่มีร่างทรง ซึง่ สามารถท�ำนายได้ โดยที่ไม่ต้องใช้ การดูก ระดูก ไก่ เมื่ อ ท� ำ นายแล้ ว ว่ า เจ็ บ ป่ วยเพราะท� ำ ผิ ด ผี ตรงไหน ก็จะไปเซ่นไหว้ เพื่อให้ หายเจ็บป่ วย และมีการท�ำพิธี เรียกขวัญให้ กบั ผู้ป่วยทีบ่ ้ าน ส�ำหรับการเลี ้ยงผีนนั ้ การน�ำเครื่อง เซ่นไหว้ ไปเลี ้ยงผีก็เป็ นส่วนหนึง่ ของพิธีกรรม แต่อกี ส่วนหนึง่ คือ เป็ น การท� ำ ทาน คื อ เลี ย้ งข้ า วปลาอาหาร แก่ ห มอผี แ ละ เพื่อนบ้ านด้ วย เพื่อให้ หายเจ็บไข้ ได้ ป่วย ซึ่งแต่ละชนเผ่าก็มี ความแตกต่างในเรื่ องการท�ำพิธีกรรมเลี ้ยงผีตา่ งกันไป บางครัง้ การไหว้ ผีก็ไม่ได้ จ�ำกัดแค่การฆ่าหมูฆ่าไก่เลี ้ยงคนในหมู่บ้าน เท่านัน้ บางกรณี เช่น กรณีของชาวลาหูน่ ะ คนทีเ่ ป็ นฝี ทก่ี ้ น หาก ต้ องการหายก็จะต้ องบนบานว่าจะท�ำทีน่ งั่ เอาไว้ ในบริเวณทีเ่ ป็ น สาธารณะ เมื่อหาย คนป่ วยก็จะไปท�ำที่นั่งเพื่อวางไว้ ตามที่ สาธารณะเพือ่ เป็ นการบูชาผีและเป็ นการท�ำทานไปด้ วย เป็ นต้ น
โครงการจัดท�ำสื่อจากผลงานวิจยั เพื่อพัฒนาหลักสูตรท้ องถิ่น
25
4
อ� ำ เภอปางมะผ้ ายัง ถื อ ได้ ว่ามี ทรั พ ยากรธรรมชาติค่อนข้ า ง อุดมสมบูรณ์ ทัง้ ในส่วนของป่ าไม้ แม่น�ำ้ ล�ำธารและอากาศ เป็ นต้ น สิง่ แวดล้ อมก็ยงั อยูใ่ นสภาพดีพอสมควร เนื่องจากการ ขยายตัวของประชากรไม่รวดเร็วจนเกินไป และค่อนข้ างกระจาย ตัวกันไปตามหมูบ่ ้ านต่างๆ ประกอบกับทางหน่วยงานราชการ เช่น กรมป่ าไม้ ทหาร โครงการหลวง และหน่วยงานด้ านการ ปกครองก็ได้ เข้ ามาจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้ อม อย่างค่อนข้ างใกล้ ชิดด้ วยการใช้ กฎหมาย การใช้ มาตรการใน ด้ านจัดสรรที่ดิน การให้ ความรู้ ด้านการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติ ต่างๆ นอกจากนี ้ยังมีองค์กรเอกชน เช่น โครงการไทย – เยอรมัน
26
ภูมิปัญญาท้ องถิ่น - อ�ำเภอปางมะผ้ า จังหวัดแม่ฮ่องสอน
ที่เข้ ามาให้ ความรู้เกี่ยวกับการจัดการสิง่ แวดล้ อมในชุมชน เช่น การท�ำคอกหมูรวม เพือ่ ให้ เกิดสุขอนามัยทีด่ ตี อ่ ชาวบ้ าน เป็ นต้ น และอีกส่วนหนึง่ ทีม่ คี วามส�ำคัญต่อการรักษาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้ อมคือภูมิปัญญาท้ องถิ่นที่สืบทอดกันมา ได้ แก่ ความเชือ่ ข้ อห้ าม และพิธีกรรมทีเ่ กีย่ วข้ องกับป่ า น� ้ำ ดิน ทีช่ มุ ชน เกี่ยวข้ องสัมพันธ์ด้วย ในปั จจุบนั ประชาชนในอ�ำเภอปางมะผ้ ายังคงมีความเชื่อด้ าน จิตวิญญาณที่เกี่ยวข้ องกับทรัพยากรธรรมชาติ ได้ แก่ ความเชื่อ เรื่ องผีป่า ผีน� ้ำ เป็ นต้ น ซึง่ ความเชื่อเหล่านี ้ท�ำให้ ชาวบ้ านเกิด
ความย�ำเกรงในการธรรมชาติ เกิ ดการรั กษาธรรมชาติ เช่น ชาวกะเหรี่ ยงเชื่อว่าหากท�ำให้ ต้นน� ้ำสกปรกจะเป็ นลบหลู่ผีน� ้ำ หรื อที่ชาวไทใหญ่เชื่อว่าห้ ามตังที ้ ่อยู่อาศัยบริ เวณที่เป็ นน� ้ำผุด ตามธรรมชาติ ซึง่ บริ เวณเหล่านันมั ้ กจะเป็ นแหล่งน� ้ำที่สะอาด หากไปตังที ้ ่อยู่อาศัยก็อาจจะท�ำให้ แหล่งน�ำ้ ดังกล่าวสกปรก ไม่สามารถใช้ ประโยชน์ ได้ เป็ นต้ น นอกจากนี ้ ชาวบ้ านที่มี ความเชื่อเกี่ยวกับผีป่า ผีน�ำ้ แล้ ว ยังมีความเชื่อเกี่ยวกับผีถ�ำ้ บ้ างก็เชื่อว่าในถ� ้ำมีผีแมนอยู่ บ้ างก็เชื่อว่ามีเจ้ าถ� ้ำ การจะเข้ าไป ในถ� ้ำ ชาวบ้ านจึงมักร้ องบอกด้ านในถ� ้ำก่อนว่าจะมีคนเข้ าไป และไม่ท�ำให้ ถ�ำ้ สกปรก เพื่อเป็ นการแสดงความเคารพต่อถ� ำ้ ในแง่หนึง่ ก็เป็ นการอนุรักษ์ ถ� ้ำไปด้ วย บน หมอผีชาวลาหู่ยีก�ำลังท�ำพิ ธีไหว้ผี หรื อเลีย้ งผี ซ้ าย การท�ำบุญถ�้ำลอด ของชาวบ้านถ�้ำลอด
สืบเนื่องจากมีความเชื่อเรื่ องผีในธรรมชาติแล้ ว ชาวบ้ านใน อ�ำเภอปางมะผ้ าจึงยังคงมีพธิ ีกรรมทีเ่ กี่ยวข้ องกับการไหว้ ผี เช่น การเลี ้ยงผีป่า เลี ้ยงผีน� ้ำ ในวันส�ำคัญต่างๆ จะต้ องมีการเลี ้ยงผี หรือเมือ่ เจ็บไข้ ได้ ป่วยก็จะมีการเลี ้ยงผีเพือ่ ให้ หายเจ็บป่ วย เป็ นต้ น สิง่ ส�ำคัญของภูมปิ ัญญาท้ องถิน่ ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ คือ เรื่ องความเชื่อในการจัดการพื ้นที่ เช่น การตังถิ ้ ่นฐาน การ จัดพื ้นที่หมู่บ้าน ซึง่ ส่วนใหญ่จะมีความเชื่อในการจัดการให้ มี พื ้นที่ป่า พื ้นที่หมูบ่ ้ าน พื ้นที่ป่าช้ าอย่างเป็ นสัดส่วน รวมถึงการ ใช้ น� ้ำของหมูบ่ ้ าน เช่น การเว้ นพื ้นที่ป่าบริเวณรอบศาลเจ้ าเมือง ไม่ให้ มกี ารตัดไม้ ทำ� ลายป่ าและล่าสัตว์บริเวณนัน้ หรือการก�ำหนด บริ เวณพื ้นที่ป่าช้ า ท�ำให้ พื ้นที่ป่าช้ าเป็ นพื ้นที่ป่าที่ยงั สมบูรณ์ เพราะชาวบ้ านจะไม่เข้ าไปรบกวนเขตของคนตาย เป็ นต้ น โครงการจัดท�ำสื่อจากผลงานวิจยั เพื่อพัฒนาหลักสูตรท้ องถิ่น
27
5
ธุรกิจชุมชนที่คอ่ นข้ างมีชื่อเสียงและท�ำกันอย่างแพร่หลายในอ�ำเภอปางมะผ้ า คือ ธุรกิจการท่องเที่ยว ซึง่ มีการด�ำเนินการกันในหลายลักษณะ ได้ แก่
การท่องเทีย่ วโดยกลุ่มแพและ กลุ่มตะเกี ยงบ้านถ�้ำลอด ทีม่ า: โครงการจัดท�ำสือ่ จาก ผลงานวิ จยั เพือ่ พัฒนาหลักสูตร ท้องถิ่ นในอ�ำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน
5.1 การท�ำธุ ร กิ จท่อ งเที่ ยวแบบเอกชน เป็ นการท�ำธุรกิจท่องเที่ยวโดยเอกชน ตังเป็ ้ นบริ ษัททัวร์ เกสต์เฮ้ าส์ ทัวร์ เดินป่ า หรื อ รี สอร์ ท มีอยู่ เป็ นจ�ำนวนมากในอ�ำเภอปางมะผ้ า ผลประโยชน์จากการท่องเทีย่ วจะเป็ นของเอกชนผู้เป็ นเจ้ าของ กิจการเท่านัน้ การด�ำเนินกิจการอาจมีการประสานงานกับชุมชนเป็ นรายกรณีไป แต่ไม่ได้ เกีย่ วข้ อง กับชุมชนในเชิงโครงสร้ างองค์กรเลย แต่จะมีการจ้ างงาน และมีความพยายามที่จะกระจาย รายได้ สู่ชุมชน โดยการสร้ างงานจากตัวกิจการเองให้ คนในชุมชนได้ เข้ ามาร่ วมท�ำด้ วย เช่น รับนวดไทย รับซื ้อผลผลิตมาจ�ำหน่ายที่รีสอร์ ท เป็ นต้ น 28
ภูมิปัญญาท้ องถิ่น - อ�ำเภอปางมะผ้ า จังหวัดแม่ฮ่องสอน
5.2 การรวมกลุ ่ม กั บธุ ร กิ จท่อ งเที่ ยวของกลุ ่มชาวบ ้ า น ในลั ก ษณะธุ ร กิ จชุมชน มีการรวมตัวกัน 2 ลักษณะ ลักษณะแรก คือ การรวมเป็ นกลุม่ ผลประโยชน์ที่ท�ำงานด้ านธุรกิจ ท่องเที่ยวร่วมกัน เช่น กลุม่ แพและกลุม่ ตะเกียงบ้ านถ� ้ำลอด การรวมตัวลักษณะนี ้จะเป็ นการท�ำ ท่องเที่ยวเฉพาะกลุม่ ชาวบ้ านตามที่ชมุ ชนตกลงร่วมกันว่าใครมีสทิ ธิเข้ าร่วมกลุม่ รวมถึงกฎกติกา ต่างๆ ผลประโยชน์จากการด�ำเนินกิจการจะถูกจัดสรรไว้ เพื่อน�ำมาพัฒนาชุมชนส่วนหนึ่ง และ เป็ นสวัสดิการให้ สมาชิกกลุม่ ด้ วย มีคณะกรรมการบริหารชัดเจน ส่วนในลักษณะทีส่ อง คือ ชุมชน ด�ำเนินการท่องเทีย่ วเชิงอนุรักษ์ หรือทีร่ ้ ูจกั กันในนามหมูบ่ ้ าน CBT (Community based tourism) ซึ่งในปางมะผ้ าก็มีอยู่หลายหมู่บ้าน เช่น บ้ านจ่าโบ่ บ้ านแม่ละนา เป็ นต้ น เป็ นการท�ำการ ท่องเที่ยวในนามชุมชน มีคณะกรรมการชัดเจน มีการจัดสรรผลประโยชน์ที่ได้ รับกลับคืนสูช่ มุ ชน ชัดเจน แต่จะเน้ นไปที่การอนุรักษ์ ทรั พยากรและวัฒนธรรมโดยรวมของชุมชนค่อนข้ างมาก ส่วนในแบบแรก การอนุรักษ์ จะเน้ นไปที่แหล่งท่องเที่ยวที่กลุม่ ท�ำงานอยู่ ได้ แก่ ถ� ้ำลอด เป็ นหลัก โครงการจัดท�ำสื่อจากผลงานวิจยั เพื่อพัฒนาหลักสูตรท้ องถิ่น
29
6
ภาพ: วัดแม่ละนา ชุมชนบ้านแม่ละนา ต.ปางมะผ้า อ.ปางมะผ้า จ.แม่ฮ่องสอน ทีม่ า: คุณอุกฤษฎ์ จอมยิ้ ม
30
แต่เดิมปางมะผ้ าเป็ นส่วนหนึ่งของอ�ำเภอเมือง และเป็ นเมือง ทางผ่า น จุด พัก ชั่ว คราวของผู้เ ดิ น ทางระหว่า งแม่ฮ่อ งสอน กับปาย หรือแม่ฮอ่ งสอนกับเชียงใหม่ ดังนัน้ ศิลปกรรมทีพ่ บเห็น ในอ� ำ เภอปางมะผ้ า จึ ง เป็ น ศิ ล ปกรรมของชาวบ้ า น เช่ น สถาปั ตยกรรมของบ้ านเรื อน วัด พุทธศิลป์ ต่างๆ และจุดเด่นอีก อย่างหนึง่ คือ “โลงผีแมน” ทีม่ อี ยูใ่ นพื ้นทีป่ างมะผ้าเป็นจ�ำนวนมาก
โครงการจัดท�ำสื่อจากผลงานวิจยั เพื่อพัฒนาหลักสูตรท้ องถิ่น
31
บน ภาพพุทธศิ ลป์ พุทธประวัติ ณ วัดแม่ละนา บ้านแม่ละนา ต�ำบลปางมะผ้า ซ้ ายล่ าง วัดแม่ละนา ทีม่ า: คุณอุกฤษฎ์ จอมยิ้ ม
6.1 พุทธศิลป ์และสถานที่ส�ำคัญทางพระพุทธศาสนา ภาพพุทธศิลป์ ข้ างต้ นจะเห็นได้ วา่ เป็ นการถ่ายทอดเกี่ยวกับพุทธประวัติ แต่ภาพทีป่ รากฎแต่งกาย แบบไทใหญ่ แสดงให้ เห็นถึงการประยุกต์ภาพพุทธศิลป์ ให้ เหมาะกับวัฒนธรรมของคนในพื ้นที่ บ้ านแม่ละนา ถือเป็ นเอกลักษณ์ที่ปรากฎอยู่ ณ วัดบ้ านแม่ละนาเพียงแห่งเดียวเท่านัน้ ส�ำหรับสถานที่ส�ำคัญทางพระพุทธศาสนาในอ�ำเภอปางมะผ้ า ได้ แก่ วัดแม่ละนา เนื่องจากมี ความเก่าแก่ถึงประมาณ 126 ปี มาแล้ ว และยังคงความงามของสถาปั ตยกรรมแบบไทใหญ่ เอาไว้ ได้ มากที่สดุ แห่งหนึง่ ในอ�ำเภอปางมะผ้ า
32
ภูมิปัญญาท้ องถิ่น - อ�ำเภอปางมะผ้ า จังหวัดแม่ฮ่องสอน
6.2 สถาป ัตยกรรมบ ้ า นเรือ นชนเผ่ า ในอ�ำเภอปางมะผ้ ายังมีบ้านเรื อนแบบดังเดิ ้ มของพี่น้องชนเผ่าต่างๆ อยู่ ไม่ว่าจะเป็ นบ้ านแบบ ไทใหญ่ บ้ านแบบลาหู่ บ้ านแบบกะเหรี่ ยง และบ้ านแบบลีซู ซึง่ ส่วนใหญ่แล้ ว บ้ านแบบดังเดิ ้ ม จะเป็ นบ้ านที่ท�ำด้ วยไม้ เนื ้อแข็งและไม้ ไผ่ มุงด้ วยใบตองก๊ อ ใบตองตึง หรื อใบหญ้ าคาที่ชาวบ้ าน เก็บมาเย็บเป็ นตับและมุงเอง บ้ านลักษณะนี ้จะมีการเปลี่ยนหลังคาทุก 1 – 3 ปี ในตัวบ้ านแบบ ดังเดิ ้ มนี ้มักท�ำเตาไฟไว้ ในตัวบ้ าน เพือ่ ให้ ความอบอุน่ ไล่ความชื ้น ใช้ ทำ� อาหาร และรมควันอาหาร ตลอดจนเมล็ดพันธุ์ที่ใส่หิ ้งลอยตัวไว้ เหนือกองไฟ และรอบๆ เตาไฟนี ้เองเป็ นพื ้นที่สงั สรรค์ของ สมาชิกในครัวเรื อน และเป็ นที่นอนในช่วงฤดูหนาวด้ วย ปั จจุบนั บ้ านแบบดังเดิ ้ มเหล่านี ้หาดูได้ ยากแล้ ว เพราะบ้ านแบบดังเดิ ้ มเป็ นบ้ านแบบ ไม่ถาวร สร้ างเพื่อสะดวกต่อการย้ ายถิ่นฐาน แต่ปัจจุบนั ไม่มีการย้ ายถิ่นฐานบ่อยครัง้ เหมือนเมื่อราว 30 ปี ที่แล้ ว จึงท�ำให้ ชาวบ้ านท�ำบ้ านแบบถาวรมากขึ ้น เช่น ใช้ ปนู ใช้ อฐิ แบบบ้ านสมัยใหม่ และมีการ มุงหลังคาด้ วยกระเบื ้องหรื อสังกะสีแทนที่ใบไม้ ภาพ: บ้านแบบดัง้ เดิ มของชาวกะเหรี ่ยง บ้านเมื องแพม ทีม่ า: โครงการโบราณคดีบนพืน้ ทีส่ ูง ในอ�ำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน
โครงการจัดท�ำสื่อจากผลงานวิจยั เพื่อพัฒนาหลักสูตรท้ องถิ่น
33
บนซ้ าย บ้านแบบดัง้ เดิ มของชาวลาหู่นะ ล่ าง บ้านแบบดัง้ เดิ มของชาวลี ซู
บ้านจ่าโบ่ บ้านบ่อน�้ำสะเป่ ทีม่ า: โครงการโบราณคดีบนพืน้ ทีส่ ูงใน อ�ำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน
34
ภูมิปัญญาท้ องถิ่น - อ�ำเภอปางมะผ้ า จังหวัดแม่ฮ่องสอน
โลงไม้ผีแมนท�ำมาจากไม้สัก มีการแกะสลักหัวโลง เป็นรูปแบบที่ต่างกัน บน โลงไม้ผีแมน ศิ ลปกรรมสะท้อนอารยธรรม ก่อนประวัติศาสตร์ แหล่งโบราณคดีเพิ งผาบ้านไร่ บ้านไร่ ต.สบป่ อง อ.ปางมะผ้า ทีม่ า: โครงการโบราณคดี บนพืน้ ทีส่ ูงในอ�ำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน
6.3 แหล่ งอารยธรรมก่อ นประวัติ ศ าสตร ์ โลงไม ้ผีแมน โลงไม้ ผีแมน ศิลปกรรมสะท้ อนอารยธรรมก่อนประวัติศาสตร์ ในอ�ำเภอปางมะผ้ า โลงไม้ ผีแมน เป็ นหลักฐานทางโบราณคดีในยุคก่อนประวัตศิ าสตร์ คือราว 2,600 – 1,100 ปี มาแล้ ว พบในถ� ้ำ และเพิงผาแถบอ�ำเภอปางมะผ้ า จังหวัดแม่ฮอ่ งสอนเป็ นจ�ำนวนมาก และหลายถ� ้ำก็ได้ ถกู พัฒนา ให้ เป็ นแหล่งท่องเที่ยวที่น่าสนใจ เช่น ถ� ้ำน� ้ำลอด (ถ� ้ำ 3) เพิงผาบ้ านไร่ ถ� ้ำลางจันทร์ ถ� ้ำจ่าโบ่ ถ� ้ำบ่อไคร้ เป็ นต้ น โลงไม้ ผีแมนได้ ชื่อว่าโลงไม้ ผีแมน เพราะโลงไม้ ที่ค้นพบมีลกั ษณะใหญ่และยาว ตังอยู ้ ่ในถ� ้ำ ซึง่ ตามความเชือ่ ท้ องถิน่ ถือว่าเป็ นทีอ่ ยูข่ องผีแมน คือ ผีทมี่ ลี กั ษณะคล้ ายมนุษย์ แต่ตวั สูงใหญ่ อาศัย อยูใ่ นถ� ้ำ จากการศึกษาของนักโบราณคดีพบว่าโลงไม้ ผีแมนท�ำมาจากไม้ สกั มีการแกะสลักหัว โลงเป็ นรู ปแบบที่ต่างกัน แต่หลักฐานที่ค้นพบยังไม่เพียงพอที่จะหาความหมายของหัวโลงที่ แตกต่างกันได้ แต่โลงไม้ ผีแมนก็ถือเป็ นจุดเด่นที่ส�ำคัญของอ�ำเภอปางมะผ้ าในด้ านความเก่าแก่ ของตังถิ ้ ่นฐานของกลุม่ คนบนพื ้นที่สงู
โครงการจัดท�ำสื่อจากผลงานวิจยั เพื่อพัฒนาหลักสูตรท้ องถิ่น
35
7
ส�ำหรับด้ านภาษาและวรรณกรรมนี ้ ปางมะผ้ ามีความโดดเด่น ในเรื่ องที่เกี่ยวกับเรื่ องเล่าแบบพื ้นบ้ าน เช่น เรื่ องเล่าเกี่ยวกับผี แมน นอกจากนี ้ยังมีเรื่ องเล่าของชนเผ่าต่างๆ ที่มีการเล่าสืบต่อ กันในชนเผ่าของตน
7.1 เรื่อ งเล่ าเกี่ ยวกั บผีแมน ชาวกะเหรี่ ยงในอ�ำเภอปางมะผ้ าเชื่อว่า “ผีแมน” หรื อที่ชาวกะเหรี่ ยงเรี ยกว่า “ปอมีปอเทอ” เป็ น เจ้ าของโลงไม้ ที่พบอยู่ตามถ� ้ำ เช่นเดียวกันกับชาวไทใหญ่และชาวลาหู่ ผีแมนมีรูปร่ างหน้ าตา ทีเ่ หมือนกับมนุษย์เรา เพียงแต่ผแี มนจะมีรูปร่างสูงใหญ่เหมือนฝรั่ง เรื่องเล่าของบางชนเผ่าก็บอก ว่าผีแมนมีเขี ้ยวยาว และชอบกินเนื ้อสดๆ ผีแมนมักจะท�ำตัวผลุบๆ โผล่ๆ ไม่ออกมาให้ คนพบเห็น แต่ชาวบ้ านในอ�ำเภอปางมะผ้ าเล่ากันว่า สมัยเมือ่ 20 – 30 ปี ทผี่ า่ นมา ยังเห็นผีแมน ชาวกะเหรี่ยง ที่เมืองแพมเล่าว่าผีแมนจะปรากฎกายให้ เห็นในวันที่คนในหมูบ่ ้ านท�ำผิดกฎ เช่น ตัดไม้ ในวันศีล ส่วนที่บ้านไร่ คนเฒ่าคนแก่เล่าให้ ฟังว่าได้ ยินเสียงกลอง เสียงฆ้ องดังมาจากภูเขาด้ านตะวันตก ของหมูบ่ ้ าน ซึง่ เป็ นทีต่ งของเพิ ั้ งผาผีแมน ลักษณะนิสยั อย่างหนึง่ ของผีแมนทีช่ าวบ้ านหลายๆ คน จากหลายๆ หมู่บ้านเล่าให้ ฟังคือ ผีแมนมักจะมาขโมยข้ าวในยุ้งฉาง แต่ผีแมนกลัวลูกเดือย เพื่อป้องกันไม่ให้ ผีแมนมาขโมยข้ าว ชาวบ้ านสมัยก่อนจะน� ำลูกเดือยไปใส่เอาไว้ ในยุ้งข้ าว หรื อถังข้ าวสาร
ผีแมนจะปรากฎกายให ้เห็ น ในวั นที่คนในหมู ่บ ้ า นท�ำ ผิด กฎ
36
ภูมิปัญญาท้ องถิ่น - อ�ำเภอปางมะผ้ า จังหวัดแม่ฮ่องสอน
7.2 เรื่อ งเล่ าของชนเผ่ าต่ า งๆ
...จะต้อ งไม่แบมือ มิ ฉ ะนั้น เขาจะมอง ไม่เห็ นผีแมนอี ก
นอกจากนี ้ยังมีนิทานเกี่ยวกับผีแมนเรื่ องหนึง่ ที่เล่าต่อๆ กันในปางมะผ้ า คือ สมัยบรรพบุรุษของ คนปางมะผ้ า มีชายคนหนึ่งไปเดินป่ าแล้ วได้ ยินเสียงผู้หญิงร้ องครวญครางด้ วยความเจ็บปวด ดังมาจากถ�ำ้ จึงเดินเข้ าไปดู แต่ก็ไม่เห็นใคร แล้ วเขาก็ได้ ยินเสียงผู้หญิงคนนันบอกว่ ้ าเธอคือ ผีแมน ก�ำลังปวดท้ องจะคลอดลูก ขอให้ ไปตามสามีของเธอมาให้ หน่อย ชายคนนันสงสารจึ ้ ง รับปากว่าจะไปตามมาให้ แต่ก็ถามว่าแล้ วจะรู้ได้ อย่างไรว่าหน้ าตาเป็ นอย่างไร ผีแมนผู้หญิงจึง ให้ แก้ ววิเศษมาดวงหนึ่ง บอกว่าถ้ าก�ำไว้ แล้ วจะเห็นผีแมน แล้ วจะหายตัวไปยังที่ที่ผีแมนผู้ชาย อยู่ แต่มีข้อแม้ ว่าผู้ชายคนนันจะต้ ้ องไม่แบมือ มิฉะนัน้ เขาจะมองไม่เห็นผีแมนอีกและจะกลับ บ้ านไม่ได้ ชายคนนันรั ้ บแก้ ววิเศษก�ำไว้ แล้ วหายตัวไปยังกลางตลาดของเมืองเมืองหนึง่ แล้ วก็ เห็นชายรูปร่างสูงใหญ่ผดิ มนุษย์ก�ำลังขโมยเนื ้อสดอยูใ่ นตลาด และคนรอบข้ างก็ดเู หมือนจะมอง ไม่เห็น ชายหนุม่ มนุษย์จงึ เดินเข้ าไปถามว่าเขาเป็ นผีแมนหรื อเปล่า เมียของเขาก�ำลังจะคลอดลูก ให้ รีบไป ผีแมนผู้ชายตกใจทีช่ ายหนุม่ มนุษย์มองเห็นเขา จึงถามว่าเห็นได้ อย่างไร ชายหนุม่ มนุษย์ บอกว่าได้ แก้ ววิเศษมา ผีแมนจึงหลอกล่อให้ ชายหนุ่มมนุษย์แบมือให้ ดแู ล้ วก็เก็บเอาแก้ ววิเศษ กลับไป ชายหนุม่ มนุษย์คนนันจึ ้ งติดอยูท่ เี่ มืองนัน้ และกลายเป็ นเจ้ าเมืองทีเ่ มืองนัน้ ส่วนผีแมนก็ไม่ ปรากฎตัวให้ มนุษย์เห็นอีกเลย อีกเรื่ องเล่าหนึ่งก็เล่าว่ามี่ชายชาวมนุษย์ไปเดินป่ า ได้ ยินเสียงร้ องไห้ พอเข้ าไปดูในถ� ำ้ ก็ไม่เห็น ใคร แต่มเี สียงบอกว่าตนเป็ นผีแมน มีลกู ลูกหายตัวไป ให้ ชว่ ยตามหาลูกให้ หน่อย ชายชาวมนุษย์ บอกว่าอยากจะช่วยเหมือนกัน แต่ไม่เคยเห็นผีแมนมาก่อน ไม่ร้ ูวา่ หน้ าตาเป็ นอย่างไร ผีแมนจึง ปรากฎตัวให้ เห็น แต่ด้วยรู ปร่ างสูงใหญ่และมีเขี ้ยวน่ากลัว ท�ำให้ ชายชาวมนุษย์ตกใจวิ่งหนีไป ท�ำให้ หลังจากนันมา ้ ผีแมนเกิดความอับอาย จึงไม่ยอมปรากฎกายให้ มนุษย์ได้ เห็นอีก
เรื่อ งเล่ าเกี่ ยวกั บวั นศีลของชาวลาหู ่นะ
ชาวลาหูน่ ะจะมีสตั ว์ประจ�ำวัน เช่น เสือ กระต่าย นาค งู ม้ า และ เป็ ด เป็ นต้ น และวันศีลจะตรง กับวันเสือ มีเรื่ องเล่ากันว่าสมัยก่อนเมื่อมนุษย์ยงั ไม่มีศาสนาและไม่มีวนั ศีล พระเจ้ าได้ เรี ยกให้ คนจากที่ตา่ ง ๆ ส่งตัวแทนขึ ้นไปรับศาสนากับพระเจ้ า ชาวลาหู่นะส่งตัวแทนไป 2 คน แต่ทงั ้ 2 คนนี ้มัวแต่ดมื่ เหล้ าเลยไปถึงช้ ากว่าคนอื่น ๆ พระเจ้ าจึงไม่ได้ อยูร่ อให้ โอวาท แต่ได้ ฝากเรื่ องไว้ กบั เสือ เมื่อไปถึงแล้ วเสือก็จ�ำไม่ได้ วา่ พระเจ้ าสัง่ อะไรไว้ บ้าง จ�ำได้ แต่วา่ พระเจ้ าได้ ให้ ก�ำหนดวันศีล กับมนุษย์ทงปวงไว้ ั้ เพื่อเป็ นวันหยุด เสือจึงบอกตัวแทนชาวลาหูน่ ะทัง้ 2 คนนันไปว่ ้ า พระเจ้ าให้ หยุดท�ำงานในวันศีล คือ วันเสือ ซึง่ 12 วันจึงจะเวียนมา 1 ครัง้
โครงการจัดท�ำสื่อจากผลงานวิจยั เพื่อพัฒนาหลักสูตรท้ องถิ่น
37
เรื่อ งเล่ าเกี่ ยวกั บชีวิต หลั งความตายของชาวลาหู ่ยี
ชาวลาหู่ยี มี ค วามเชื่ อ เรื่ อ งชี วิ ต หลัง ความตาย เชื่ อ ว่า คนตายจะเดิ น ทางไปอยู่ยัง โลกหลัง ความตายหรื อสวรรค์ที่ชาวลาหู่ยีเรี ยกว่า “ซือมือ” โดยมีเรื่ องเล่าเกี่ยวกับซือมือว่าเมื่อก่อนโลก มนุษย์กบั ซือมือสามารถมองเห็นกันได้ แต่เหมือนมีกระจกกันไว้ ้ ไม่สามารถพูดคุยกันได้ ท�ำให้ คนตายที่อยู่ในซือมือ กับญาติพี่น้องในโลกมนุษย์ต่างก็มีความทุกข์ ร้ องไห้ หากันอยู่ไม่หยุด ในที่สดุ “ฮือชา” หรื อ เทวดาจึงบันดาลให้ มองกันไม่เห็นอีกเลย เพื่อจะได้ ไม่ต้องทุกข์ทรมานใจ ชาวลาหูย่ ีเชื่อว่าคนตายจะเดินทางไปซือมือในวันที่ 12 หลังจากฝังศพ หากไปถึงก่อนหน้ านันจะ ้ เข้ าไปอยูบ่ ้ านในซือมือไม่ได้ เพราะญาติพี่น้องในซือมือเหม็นขี ้ดิน
เมื่อ ก่อ นโลกมนุษ ย ก์ ั บซือมือสามารถ มองเห็ นกั นได้แต่เหมือ นมี ก ระจกกั้ นไว้
เล่ าเกี่ ยวกั บ ก�ำเนิดของการกิ นวอของชาวลี ซู
เมือ่ ยังไม่มกี ารกินวอเกิดขึ ้น มี “โขฝู” (พระ หรือในความหมายคล้ ายเทวดาหรือผู้สงั่ สอน) องค์หนึง่ ลงจากบนฟ้ามาสู่โลกมนุษย์ (ผู้เขียนสันนิษฐานว่าคงหมายถึงสวรรค์) แล้ วมีแม่ม่ายชาวลีซู 2 คน ก� ำ ลัง จะไปหาฟื น ได้ เ ดิ น ผ่า นมาเห็ น โขฝูอ งค์ นี ย้ ื น อยู่ใ ต้ ต้ น สน แล้ ว แม่ม่า ยจึง ถาม กับเทวดาว่า แม่มา่ ย : เทวดาท่านมาอยูท่ ี่นี่ท�ำไม เทวดา : ลงมาให้ คนในบ้ านมีที่ท�ำบุญ แม่ม่าย : เทวดาไม่ต้องไปไหนแล้ ว ข้ าจะกลับไปหมู่บ้านแล้ วเรี ยกชาวบ้ านให้ มา บูชาเทวดา หลังจากนันแม่ ้ ม่ายทัง้ 2 ก็เดินกลับหมู่บ้านเพื่อไปเรี ยกชาวบ้ าน พร้ อมกับเตรี ยมขนม อาหาร และผลไม้ ตา่ ง ๆ มาบูชาเทวดา ระหว่างที่แม่มา่ ยทัง้ 2 และชาวบ้ านก�ำลังเตรี ยมอาหารนัน้ ก็มี ชาวไทยใหญ่กลุม่ หนึง่ เดินผ่านมาตรงที่โขฝูยืนรออยู่ คนไทยใหญ่ได้ หกั เอากิ่งของต้ นสะเป่ มา 2 กิ่ง แล้ วก็เชิญโขฝูให้ ไปสถิตอยูท่ ี่กิ่งของต้ นสะเป่ พากลับหมูบ่ ้ าน ฝ่ ายแม่มา่ ยและชาวบ้ านชาวลีซเู ดินทางออกจากหมูบ่ ้ านพร้ อมกับร้ องร� ำท�ำเพลง เมือ่ มาถึงต้ นสน 38
ภูมิปัญญาท้ องถิ่น - อ�ำเภอปางมะผ้ า จังหวัดแม่ฮ่องสอน
ที่โขฝูเคยอยู่ ชาวบ้ านก็ชว่ ยกันหาโดยทังเต้ ้ นร� ำ เล่นดนตรี ไปด้ วยหาไปด้ วยรอบ ๆ ต้ นสน แต่หา เท่าไหร่ก็หาไม่เจอ ชาวบ้ านจึงกลับหมูบ่ ้ านไปด้ วยความผิดหวัง และในทุกวันครบรอบที่ตามหา เทวดาในทุกปี ชาวลีซูก็จะเอากิ่งไม้ มาปั กไว้ ที่ลานบ้ าน แล้ วเล่นดนตรี พร้ อมกับเต้ นร� ำไปรอบ ๆ กิ่งไม้ จนกลายเป็ นประเพณีสบื ทอดต่อมากลายเป็ นประเพณีปีใหม่หรื อกินวอ ส่วนชาวไทยใหญ่ ที่ อัญเชิ ญโขฝูกลับหมู่บ้านไปนัน้ ได้ สร้ างวัดไว้ ให้ โขฝูอยู่ เป็ นเหตุผลที่ ท�ำให้ ชาวไทยใหญ่ มี สถานที่ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา พร้ อมกับมีพระคอยประกอบพิธีกรรมให้ และชาวลีซจู งึ ไม่มี วัดหรื อพระที่คอยประกอบพิธีกรรม ยังมีเรื่ องเล่าต่อมาว่าอาหารต่าง ๆ ที่ชาวลีซนู �ำไปถวายให้ กบั โขฝู แต่เมื่อไม่พบก็ได้ ถกู กองทิ ้งไว้ ที่โคนต้ นไม้ เมื่อเวลาผ่านไปอาหารเหล่านันบู ้ ดเน่ากลายเป็ นขันตอนการหมั ้ กเหล้ า สัตว์อะไร มากินก็เมา นกมากินก็อารมณ์ดีร้องเพลงได้ เพราะ ดังนันพอคนเห็ ้ นก็เลยไปเอามากินบ้ างจึงเกิด การท�ำเหล้ าขึ ้นตังแต่ ้ นนมา ั้
เรื่อ งเล่ าเกี่ ยวกั บ ย ้ า ยถิ่นฐานของชาวม้ง
ชาวม้ งมีเรื่ องเล่าว่าสมัยที่ม้งยังอยูใ่ นประเทศจีน มีการรบพุง่ กันระหว่างชนเผ่า ท�ำให้ ชาวม้ งต้ อง มีการย้ ายถิ่นฐานไปเรื่ อยๆ จนครัง้ หนึง่ ย้ ายไปอยูใ่ นพื ้นที่กนั ดาร แห้ งแล้ ง กลางคืนก็หนาวเหน็บ ดอกหญ้ าสักดอกก็ไม่มี ต้ องเอาเศษหญ้ าแห้ งมามัดเป็ นเสาเรื อน กระทัง่ วันหนึง่ มีสนุ ขั หลงเข้ ามา ในหมูบ่ ้ าน ที่ปลายหางของมันมีดอกหญ้ าติดมาด้ วย ท�ำให้ บรรพบุรุษม้ งเกิดความคิดว่าถ้ าออก เดินทางตามสุนขั ไป อาจได้ พบกับที่ที่อดุ มสมบูรณ์กว่าที่อยูใ่ นปั จจุบนั จึงได้ อพยพตามสุนขั ตัว นันไปเรื ้ ่ อยๆ เพื่อแสวงหาที่ท�ำกินที่ดีกว่าเดิม
ถ้ าออกเดินทางตามสุ นัขไป อาจได้พบกั บที่ที่อุดมสมบู ร ณ ์ กว่ า ที่อ ยู ่ ในป ัจจุบัน
โครงการจัดท�ำสื่อจากผลงานวิจยั เพื่อพัฒนาหลักสูตรท้ องถิ่น
39
8
ภาพ: ขบวนแห่ปอยส่างลอง วัดป่ าขาม ต�ำบลเวียงใต้ อ.ปาย จ.แม่ฮ่องสอน ทีม่ า: โครงการโบราณคดีบนพืน้ ทีส่ ูงใน อ�ำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน
ประชาชนในอ�ำเภอปางมะผ้ านับถือศาสนาหลักๆ อยู่ 2 ศาสนา คือ พุทธและคริสต์ แต่ไม่วา่ จะเป็ นชาวพุทธหรือชาวคริสต์กล็ ้ วน แล้ วแต่มีความเชื่อเรื่ องผีทงสิ ั ้ ้น ไม่ว่าจะเป็ นผีบรรพบุรุษ ผีป่า ผีน� ้ำ และยังมีพี่น้องบนพื ้นที่สงู อีกจ�ำนวนมากที่ยงั คงนับถือผื หรือความเชือ่ ดังเดิ ้ มของชนเผ่าตน ปรัชญาศาสนาและประเพณี ที่ส�ำคัญในอ�ำเภอปางมะผ้ า มีดงั นี ้
40
มกราคม
ช่วงเดือนมกราคม มีงานปี ใหม่สากล และมีการจัดกิ จกรรม ปี ใหม่ม้งในช่วงส่งท้ ายปี เก่าต้ อนรับปี ใหม่
กุม ภาพันธ์
ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ การเก็บเกี่ ยวเสร็ จสิ ้นก็จะมีการจัดงาน กินวอ หรื องานปี ใหม่ของพี่น้องลาหูแ่ ละลีซู ในบางปี อาจจะจัด ในช่วงเดือนมีนาคม แล้ วแต่วา่ วันดีทที่ างหมอผีของแต่ละหมูบ่ ้ าน จะก�ำหนด ส�ำหรับพี่น้องไทใหญ่ในเดือนกุมภาพันธ์จะมีการจัด ประเพณีหลูข่ ้ าวหย่ากุ๊ คือ ถวายข้ าวหย่ากุ๊ (ข้ าวเหนียวกวนใส่ น� ้ำอ้ อย งา มะพร้ าวอ่อน น� ้ำมันงาหรื อน� ้ำมันพืช และกะทิ) หลัง จากถวายข้ าวหย่ า กุ๊ แล้ ว จะมี ก ารถวายหลัว (ไม้ ฟื น) แก่ พระพุทธเจ้ า หรื อ ปอยกองโหล คือชาวบ้ านจะน�ำไม้ ฟืนมากอง รวมกันแล้ วจุดถวายเป็ นทานแก่พระพุทธเจ้ า
มี นาคม
ช่วงเดือนมีนาคม จริ งๆ แล้ วตามต�ำนานที่สืบต่อกันมาจะต้ องมี การจัดปอยส่างลองในเดือนมีนาคม ซึง่ ตรงกับเดือนสีข่ องไทใหญ่ ชาวไทใหญ่ คือ การบวชเณรโดยมีคหบดีในชุมชนเป็ นเจ้ าภาพ ช่ว ยจัดงาน แต่เ นื่ องจากปั จจุบันเหตุที่ปอยส่างลองจัด ช่วง เมษายนเพราะปั จจุบนั ลูกหลานชาวไทใหญ่ไปเรี ยนหนังสือ ช่วง เดือนเมษายนเป็ นช่วงปิ ดเทอมสามารถบวชได้ หลายวัน จึงอาศัย ช่วงนี ้ในการบวชและการฉลองปอยส่างลอง
ภูมิปัญญาท้ องถิ่น - อ�ำเภอปางมะผ้ า จังหวัดแม่ฮ่องสอน
โครงการจัดท�ำสื่อจากผลงานวิจยั เพื่อพัฒนาหลักสูตรท้ องถิ่น
41
42
เมษายน
ช่วงเดือนเมษายน ต รงกับ ช่ ว งสงกรานต์ ห รื อ ปี ใ หม่ ไ ทย ชาว ไทใหญ่จะมีประเพณีกนั๋ ตอคือการขอขมาและขอพรจากพ่อแม่ ญาติพี่น้อง และผู้อาวุโสที่ตนเคารพนับถือ โดยจะมีการน�ำธูป เทียนดอกไม้ ขนมผลไม้ และน� ้ำผสมส้ มป่ อยไปกราบขอขมา เมื่อขอขมาพ่อแม่เสร็ จแล้ วจึงจะไปขอขมาพระสงฆ์บนวัดเพื่อ ให้ เกิดสิริมงคลในการด�ำเนินชีวิต
พฤษภาคม
ช่วงเดือนพฤษภาคม เป็ นเดือนที่ชาวลาหู่ยีท�ำประเพณีสร้ าง ศาลา ประเพณีสร้ างศาลาจัดขึ ้นตรงกับวันศีล (วันพระ) ช่วง เดื อ นพฤษภาคมของทุก ปี เป็ น งานสาธารณะประโยชน์ ที่ ชาวบ้ านในชุมชนจะมาร่วมมือกันสร้ างศาลา โดยไม่จำ� กัดว่าจะ ต้ องสร้ างบริเวณไหน แต่จะเลือกบริเวณทีส่ ร้ างแล้ วเกิดประโยชน์ มากที่สดุ ส่วนพี่น้องไทใหญ่จะมีงานปอยจ่าตี่ หรื อการท�ำบุญ ก่อเจดีย์ทราย เพือ่ เป็ นการสะเดาะเคราะห์ ด้ วยการขนทรายเข้ า วัดและก่อกองทรายถวายเป็ นพุทธบูชา
มิ ถุนายน
ช่วงเดือนมิถนุ ายน เป็ นช่วงของการท�ำพิธีวานปะลีกและพิธีกรรม เลี ้ยงเมือง คือ การเซ่นไหว้ เลี ้ยงผีเจ้ าเมืองตามหมูบ่ ้ าน เพื่อให้ ผี เจ้ าเมืองคุ้มครองดูแลชาวบ้ านในหมูบ่ ้ าน ส่วนพิธีวานปะลีกคือ พิธีปอ้ งกันสิง่ ชัว่ ร้ ายไม่ให้ เข้ ามาในหมูบ่ ้ าน
ภูมิปัญญาท้ องถิ่น - อ�ำเภอปางมะผ้ า จังหวัดแม่ฮ่องสอน
กรกฎาคม สิ งหาคม กั นยายน
ตุ ลาคม
ช่วงเดือนกรกฎาคม – สิงหาคม - กันยายน ชาวลีซจู ะจัดงาน กินข้ าวโพดใหม่ และในช่วงนี ้มักตรงกับวันเข้ าพรรษาตามปฏิทนิ พระพุทธศาสนา ผู้เฒ่าผู้แก่ชาวไทใหญ่จะเข้ าวัดไปถือศีลปฏิบตั ิ ธรรมในทุกวันพระ ในส่วนชาวลาหูย่ จี ะมีการไปท�ำบุญทีว่ ดั และ ขอพรผู้เฒ่าผู้แก่
ช่วงเดือนตุลาคม ชาวไทใหญ่จดั ประเพณีตา่ งซอมซ่อโหลง คือ งานน�ำผลผลิตที่เพิ่งออกใหม่ไปท�ำบุญถวายแด่พระพุทธเจ้ า มี การกวนข้ าวมธุปายาสเลียนแบบนางสุชาดาท�ำถวายพระพุทธเจ้ า ก่อนที่พระองค์จะบรรลุเป็ นพระอรหันต์ และ “แฮนซอมโก่จา” คือการ ท�ำบุญเป็ นครัง้ ที่ 2 (การท�ำบุญอุทิศส่วนกุศลให้ ผ้ ตู าย ครั ง้ แรกในวันฌาปนกิ จศพ หรื อหลังจากนัน้ 7 วัน เรี ยกว่า “แฮนซอมใจ๋ขาด”) ในระหว่างวันขึ ้น 1 ค�ำ่ เดือน 11 ของปี ทตี่ าย หากตายระหว่างเดือนสิบเอ็ดจะต้ องเลื่อนการแฮนซอมโก่จา ออกไปอี ก 1 ปี คื อ เลื่ อ นไปท� ำ บุ ญ ในปี ต่ อ ไป เมื่ อ มี ก าร แฮนซอมโก่จาแล้ ว ถื อได้ ว่าได้ อุทิศส่วนกุศล ให้ กับผู้ที่ตาย ครบถ้ วนตามประเพณีเรี ยบร้ อยแล้ ว ต่อจากนี ้ไปก็จะไม่มีการ ท�ำบุญใดๆอีก ส�ำหรับชาวลีซแู ละชาวลาหูก่ ็มีประเพณีในช่วงนี ้ เหมือนกัน คือการจัดงานกินข้ าวใหม่ เป็ นพิธีกรรมการน�ำแกน ต้ นข้ าวที่ก�ำลังงอกงามมากินเพื่อเป็ นเคล็ดให้ เพาะปลูกได้ ผลดี ส�ำหรับวันออกพรรษา ชาวลาหูย่ จี ะมีการท�ำบุญและขอพรผู้เฒ่า ผู้แก่ด้วยพืชผลที่ออกใหม่
พฤศจิกายน
ช่วงเดือนพฤศจิกายน ชาวไทใหญ่จะมีประเพณีการแห่จองพารา (จองเข่งต่างส่างปุ๊ ด) มีขึ ้นในวันขึ ้น 13 หรื อ 14 ค�่ำ เดือน 11 และงานตักบาตรเทโว
ธันวาคม
ช่วงเดือนธันวาคม ชาวไทใหญ่มีการจัดงานปี ใหม่ไทใหญ่ ซึง่ เริ่ มก่อนปี ใหม่สากล ชาวไทใหญ่ในฝั่ งประเทศไทยบางส่วนจะ เดินทางไปฉลองกับญาติพี่น้องหรื อเพื่อนฝูงในเขตพม่า แต่ ส�ำหรับในฝั่ งไทย ยังเป็ นช่วงเวลาเก็บเกี่ยวผลผลิตกันอยูจ่ งึ ยัง ไม่มงี านอะไร นอกจากพีน่ ้ องทีน่ บั ถือศาสนาคริสต์กจ็ ะมีการจัด งานประเพณีคริ สต์มาส
ซ้ ายบน งานปอยส่างลอง วัดป่ าเป้า ถ่ายโดย อุกฤกษ์ จอมยิ้ ม
โครงการจัดท�ำสื่อจากผลงานวิจยั เพื่อพัฒนาหลักสูตรท้ องถิ่น
43
9
อาหารการกินของชาวบ้ านในอ�ำเภอปางมะผ้ าอิงอยู่กบั อาหารที่หาได้ ในพื ้นที่เป็ นหลัก แต่ละ ชนเผ่าก็อาจจะมีความแตกต่างกันบ้ างเล็กน้ อย แต่สว่ นมากแล้ วก็มคี วามคล้ ายคลึงกัน โดยเฉพาะ ในเรื่ องการใช้ เครื่ องเทศ เครื่ องปรุงต่างๆ เช่น การใช้ ถวั่ เน่า พริ ก ตะไคร้ กระเทียม หอมแดง ข่า ขิง ในการปรุงอาหาร ส่วนวัตถุดบิ อาหารส่วนใหญ่ใช้ ผกั เป็ นส่วนประกอบหลัก เนื่องจากสามารถ หาได้ ง่ายในชุมชน เช่น ยอดผักที่เก็บมาจากป่ าแถบหมู่บ้าน คนที่มีไร่ นาก็นิยมปลูกผักส�ำหรับ บริ โภคในครัวเรื อนเอาไว้ ในพื ้นที่ท�ำเกษตรของตนเองด้ วย เช่น ฟั กทอง ถัว่ ฝั กยาว ผักกาดขม ผักกวางตุ้ง พริ ก มะเขือ เป็ นต้ น ส�ำหรับเนื ้อสัตว์ที่บริ โภคกันมากก็เป็ น เนื ้อหมู เนื ้อไก่ ไข่ไก่ ซึง่ เหล่านี ้หาซื ้อได้ งา่ ยในตลาดและร้ านค้ าในชุมชน พี่น้องชนเผ่าบนพื ้นที่สงู ก็นิยมเลี ้ยงหมูเลี ้ยงไก่ เพื่อใช้ ในงานพิธีกรรมด้ วย ส่วนปลาที่บริ โภคกันมักเป็ นปลาที่หาได้ ตามแหล่งน� ้ำธรรมชาติแถบ ชุมชน แต่ปัจจุบนั ก็ไม่มีมากนัก ส่วนใหญ่ชาวบ้ านก็ต้องซื ้อมาจากตลาดเช่นกัน ทังในรู ้ ปแบบ ของปลาสดและปลาแห้ ง ขวา เลาพวงทอด แกงผัดเขี ยว น�้ำพริ กซาและย�ำผักดอง แบบลีซอ / ม้ง
ที่มา: อุดมลักษณ์ ฮุ่นตระกูล
44
ภูมิปัญญาท้ องถิ่น - อ�ำเภอปางมะผ้ า จังหวัดแม่ฮ่องสอน
ซ้ายบน จิ้นส้ม อาหารไทใหญ่ ที่มา: อุกฤกษ์ จอมยิ้ม ขวาบน ข้าวเส้นน�้ำงิ้ว อาหารไทใหญ่ ที่มา: อุดมลักษณ์ ฮุ่นตระกูล
อาหารขึ ้นชือ่ ของอ�ำเภอปางมะผ้ ามีความคล้ ายคลึงกับพื ้นทีอ่ นื่ ๆ ในจังหวัดแม่ฮอ่ งสอน คือ อาหาร ไทใหญ่ เช่น อุ๊บ (แกงเนื ้อสัตว์ใส่เครื่ องเทศมีน� ้ำขลุกขลิก รสชาดเผ็ดร้ อน) ปลาเต๊ ด (ปลาหมัก เกลือทอดใส่เครื่ องเทศ ได้ แก่ พริ ก ขมิ ้น ตะไคร้ ) น� ้ำพริ กคัว่ ทราย น� ้ำพริ กจ่อ (น� ้ำพริ กคัว่ แห้ ง) นอกจากนี ้ยังมีอาหารชนเผ่าอื่นๆ ที่มีรสชาดเป็ นเอกลักษณ์ เช่น น� ้ำพริ กลาหู่ ต้ มม้ ง (ต้ มจืดหมู สามชันใส่ ้ ขิง) แกงเส้ นขนมจีนแห้ งใส่หน่อไม้ แห้ งขอ งชาวลีซู เป็ นต้ น นอกจากนี ้แล้ ว พื ้นที่ปางมะผ้ ายังมีกาแฟอะราบิก้าอินทรี ย์ปลูกแทรกพื ้นที่ป่าในชุมชน สามารถ หาดืม่ ได้ ตามเกสต์เฮ้ าส์และรี สอร์ ทหลายแห่งในพื ้นที่ในราคาย่อมเยา มีการปลูกและจ�ำหน่ายชา ที่บ้านแม่ละนา และมีการปลูกพืชเมืองหนาวจ�ำหน่ายที่บ้านผาเจริ ญ ต�ำบลปางมะผ้ า เช่น แมค คาเดเมีย ลูกท้ อ เป็ นต้ น
โครงการจัดท�ำสื่อจากผลงานวิจยั เพื่อพัฒนาหลักสูตรท้ องถิ่น
45
แหล่งที่มาของข้อมูล กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ รายงานการวิจยั “ภูมิปัญญาท้ องถิ่นกับการพัฒนาหลักสูตรและ การจัดการเรี ยนการสอน”. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ครุ ุสภาลาดพร้ าว, 2542. รัศมี ชูทรงเดช และคณะ รายงานการวิจยั ฉบับสมบูรณ์ “โครงการโบราณคดีบนพื ้นที่สงู ใน อ�ำเภอปางมะผ้ า จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน” ระยะทีส่ อง เล่มที่ 6 การศึกษา ชาติพนั ธุ์วรรณาทางโบราณคดี อุดมลักษณ์ ฮุ่นตระกูล เสนอต่อ ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั , พ.ศ.2550 รายงานวิจยั ฉบับสมบูรณ์ “โครงการสืบค้ นและจัดการมรดกทาง วัฒนธรรมอย่างยัง่ ยืนในอ�ำเภอปาย – ปางมะผ้ า – ขุนยวม” เล่มที่ 4 ด้ านประวัติศาสตร์ , นุชนภางค์ ชุมดี เสนอต่อส�ำนักงานกองทุน สนับสนุนการวิจยั , พ.ศ.2552.
เอกสารฉบับนี้สามารถดาวน์โหลด และอ่านออนไลน์ได้ที่
imarmhs.wixsite.com/home
ศูนย์ ไทใหญ่ ศกึ ษา ประเพณี 12 เดือน, http://www.taiyai.org/index.php?name=cultures&file=readcultures&id=1, (ออนไลน์), 2552, เข้ าถึง เว็บไซต์เมื่อวันที่ 18 มกราคม พ.ศ.2557. คณะวิจยั โครงการจัดท�ำสื่อจากผลงานวิจยั เพื่อพัฒนา หลักสูตรท้ องถิ่น ในอ�ำเภอปางมะผ้ า จังหวัดแม่ ฮ่องสอน (Innovative Media from Academic Research) ศุภร ชูทรงเดช หัวหน้ าโครงการวิจยั และบรรณาธิการ ทรงศักดิ์ ปั ญญา นักวิจยั ด้ านกระบวนการน�ำไปใช้ และประเมินสือ่ จตุพร ปิ ยสุรประทีป วรรณธวัช พูนพาณิชย์ เลขานุการ เสาวลักษณ์ เขียนนอก วัชรินทร์ มณีวงษ์ จุฑามาส เรืองยศจันทนา ผู้ชว่ ยนักวิจยั
46
ภูมิปัญญาท้ องถิ่น - อ�ำเภอปางมะผ้ า จังหวัดแม่ฮ่องสอน
ภาพหน้ าปก 88studio via Bigstock Patiwat Sariya via Bigstock กราฟิ ค ขวัญประภา อุนารัตน์ นีรนรา อนุศลิ ป์