วารสารอุตสาหกรรมสาร พ.ค.-มิ.ย. 2560

Page 1

วารสารของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม พิมพ์เป็นปีที่ 59 ฉบับเดือนพฤษภาคม - มิถุนายน 2560

จับตามองเทรนด์ผ้าอ้อมผู้สูงอายุ ธุรกิจอาหารผู้สูงวัยติดโผดาวรุ่ง แฟชั่นผู้สูงอายุตอบโจทย์ก�ำไรงาม ที่พักผู้สูงอายุโกยรายได้เข้าประเทศ หุ่นยนต์สัญชาติไทย ยิ้มได้ พูดเก่ง เอาใจคนแก่


หน้าแรก

เกีย่ วกับ กสอ.

งานบริการ

ข้อมูลน่ารู้

ข่าว กสอ

รับเรือ่ งร้องเรียน

ถามตอบ

ผังเว็บไซต์

http://www.dip.go.th แหล่ ง รวบรวมข่ า วสาร ข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ วิ ส าหกิ จ ขนาดกลางและขนาดย่ อ ม และงานบริ ก ารต่ า งๆ ของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม รวมถึงฐานข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น บรรณานุกรมเครื่องจักร, ฐานข้อมูล วัตถุดิบ, ฐานข้อมูลเทคโนโลยีการผลิต, ฐานข้อมูลการออกแบบ, ฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ เป็นต้น เพื่อให้บริการ สำ�หรับ SMEs และผู้สนใจทั่วไป

http://elearning.dip.go.th ระบบฝึกอบรมผ่านอินเทอร์เน็ต แหล่ ง รวบรวมความรู้ท่ีผู้ป ระกอบการวิ ส าหกรรมขนาดกลาง และขนาดย่ อ ม รวมทั้ ง ผู้ ส นใจทั่ ว ไป สามารถเข้ า ไป เรี ย น รู้ เพื่ อ ค ว า ม เข้ า ใจ ใน ส า ข า วิ ช า ต่ า ง ๆ ที่ จำ � เป็ นต่ อ การประกอบธุ ร กิ จ เช่ น เทคนิ ค การผลิ ต การตลาด การบริหารจัดการ บัญชี และการเงิน ตลอดจนเทปบันทึกรายการ คลินิกอุตสาหกรรม ที่ผู้สนใจสามารถลงทะเบียนเรียนได้ตลอด เวลา โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย

http://bsc.dip.go.th

ศูนย์บริการธุรกิจอุตสาหกรรม • Business Start Up เริ่มต้นธุรกิจ • Business Information ข้อมูลทางธุรกิจ • Business Advisory ให้คำ�ปรึกษาทางธุรกิจ • Business Opportunity โอกาสใหม่ทางธุรกิจ • Business Improvement พัฒนาศักยภาพของธุรกิจ • Japan Desk การทำ�ธุรกิจกับญี่ปุ่น

http://strategy.dip.go.th ยุทธศาสตร์และแผนงาน • ข้อมูลอุตสาหกรรม • ข้อมูลเศรษฐกิจมหภาค • ข้อมูลระหว่างประเทศ • โครงการ AEC

กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม

ถนนพระรามที่ 6 (เยือ้ งโรงพยาบาลรามาธิบดี) เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400


Contents วารสารอุตสาหกรรมสาร ฉบับเดือนพฤษภาคม - มิถุนายน 2560

20

Showcase

ดินสอโรบอท หุ่นยนต์สัญชาติไทย ยิ้มได้ พูดเก่ง เอาไว้บริการคนแก่

05 Information

สังคมผู้สูงอายุและโอกาสทางธุรกิจในประเทศไทย

24

AEC Hub

InterCare Asia งานแสดงนวัตกรรมผู้สูงอายุ รับสังคมสูงอายุขยายตัว ปักธงประเทศไทยเป็นฮับ

09 SMEs Focus

Long Stay บริการที่พักระยะยาวส�ำหรับผู้สูงอายุ โกยรายได้เข้าประเทศ

28 Opportunity ทิศทางการลงทุนธุรกิจผ้าอ้อมส�ำเร็จรูปส�ำหรับผู้สูงอายุ

12 Biz Focus แสนสุข สมาร์ท ซิตี้ ใช้นวัตกรรมน�ำร่อง สร้างสุขผู้สูงวัย 15 Special Report ธุรกิจอาหารผู้สูงวัย ติดโผดาวรุ่งรับสังคมอนาคต 32 Mแฟชัarket & Trend ่นผู้สูงอายุ ตอบโจทย์ไลฟ์สไตล์ ได้ก�ำไรงาม 35 Biz Project เจาะตลาดธุรกิจน�ำเที่ยวผู้สูงวัย Slow Tourism 38 News กระทรวงอุตสาหกรรม ผุดแปลนบ้านผู้สูงอายุ

และคนพิการพร้อมบริการให้ค�ำปรึกษา

39 Good Governance จงเปลี่ยนศัตรูให้เป็นมิตรแล้วจะพบชัยชนะที่ยั่งยืน 41 Book Corner


Editor Talk

วารสารอุตสาหกรรมตีพิมพ์ต่อเนื่องมายาวนาน นับถึงปัจจุบันเป็นปีที่ 59

โอกาสของสังคมผูส ้ งู วัย โลกก�ำลังเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ประเทศในกลุ่มอาเซียน มีประชากรที่อายุมากกว่า 65 ปีขึ้นไป มีถึง 36.9 ล้านคน คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 5.89 ของประชากรทั้งหมดในอาเซียน ส�ำหรับประเทศไทยมีประชากรกว่า 66 ล้านคน มีจ�ำนวน ผู้สูงอายุที่อายุมากกว่า 65 ปี ประมาณ 6.5 ล้านคน คิดเป็น ร้อยละ 9.9 ของประชากรทั้งหมดของประเทศ ซึ่งถือเป็น ประเทศที่มีสัดส่วนประชากรผู้สูงอายุมากเป็นอันดับสองของ อาเซียนรองจากสิงคโปร์ ถือได้ว่าประเทศไทยก�ำลังก้าวเข้า สูส่ งั คมสูงวัย (Aging Society) แล้ว และในปี พ.ศ. 2563 คาดว่า ประเทศไทยจะมีผู้สูงอายุเพิ่มเป็นร้อยละ 14.4 ซึ่งจะก้าวเข้าสู่ สังคมสูงวัยโดยสมบูรณ์ ผู้บริโภคกลุ่มผู้สูงอายุนี้ ถือได้ว่าเป็นกลุ่มประชากรที่มี อ�ำนาจต่อรองในการซือ้ และมีก�ำลังซื้อสูง เนื่องจากมีเงินเก็บ จากการท�ำงานหนักมาทั้งชีวติ จึงมีศักยภาพสูงในการบริโภค สะท้อนให้เห็นถึงโอกาสทางธุรกิจของผู้ประกอบการ ได้แก่ ธุรกิจบริการด้านสุขภาพ, ธุรกิจอาหาร/แปรรูปอาหารที่เน้น ไขมันต�่ำ ไม่มีคอเลสเตอรอล น�้ำตาลน้อยหรือไม่มีน�้ำตาลเลย ฯลฯ, ธุรกิจผลิตเครื่องส�ำอาง ประเภทออร์แกนิกผลิตจาก ธรรมชาติหรือสมุนไพร ก�ำลังได้รับความสนใจจากผู้สูงอายุ โดยเฉพาะผลิตภัณฑ์ทมี่ สี รรพคุณต่อต้านริ้วรอย (Anti-Ageing) ยกกระชับลดรอยกระจุดด่างด�ำ, ธุรกิจท่องเทีย่ วส�ำหรับผูส้ งู วัย, เฟอร์นเิ จอร์ส�ำหรับกลุม่ ผูส้ งู อายุซงึ่ มีขอ้ จ�ำกัดในการด�ำเนินชีวติ เนื่องจากสภาพร่างกายเริ่มเสื่อมถอย และสถานพักฟื้นหรือ สถานดูแลผู้สูงอายุ ซึ่งเป็นธุรกิจอันดับต้นๆ ที่ได้รับประโยชน์ จากการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ โดยคาดว่าในระยะแรกจะเป็น โอกาสของธุรกิจที่ให้บริการดูแลผู้สูงอายุเป็นระยะสั้นๆ และ ขยายเป็นการพักฟื้นระยะยาว (Longstay) เป็นต้น วารสารอุตสาหกรรมสาร ได้น�ำเรื่องราวของธุรกิจที่ เกี่ ย วข้ อ งกั บ ผู ้ สู ง วั ย ซึ่ ง เป็ น โอกาสในการด�ำเนิ น ธุ ร กิ จ อุตสาหกรรมให้สอดคล้องกับสภาพสังคมที่ก�ำลังเปลี่ยนไป น�ำมาตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารฉบับนี้ บรรณาธิการบริหาร

“บทความ บทสัมภาษณ์ หรืองานเขียนที่ตีพิมพ์ในวารสารเล่มนี้ เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่าน ทางวารสารไม่จำ�เป็น ต้องเห็นด้วยเสมอไป หากประสงค์จะนำ�บทความใดๆ ในวารสาร ไปตีพิมพ์เผยแพร่ ควรแจ้งเป็นลายลักษณ์อักษรต่อกองบรรณาธิการ”

เจ้าของ

กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม

ถนนพระรามที่ 6 เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ 0 2202 4511

ที่ปรึกษา

นายพสุ โลหารชุน อธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม นายพรเทพ การศัพท์ รองอธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม นายภานุวัฒน์ ตริยางกูรศรี รองอธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม นางแน่งน้อย เวทยพงษ์ รองอธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม นายเจตนิพิฐ รอดภัย ผู้อำ�นวยการสำ�นักบริหารกลาง นายวีระพล ผ่องสุภา ผู้อำ�นวยการกลุ่มประชาสัมพันธ์

บรรณาธิการบริหาร

นางสาวปาณทิพย์ เปลี่ยนโมฬี

กองบรรณาธิการ

นางสมจิตต์ เตียวสุนทรวงศ์, นางวิพาณี อวยพรรุ่งรัตน์, นายชเนศ ศรีพิทักษ์, นางสาวนฤมล ผึ้งเนียม, นายไพฑูรย์ มะเมียเมือง, นางเกสรา ภู่แดง, นายธานินทร์ กล่ำ�พัก, นางสุรางค์ งามวงศ์, นายสุรินทร์ ม่วงน้อย, นางสาวกัญศิญา ชุมศรี, นางสาวกนกรักษ์ นุกูลโรจน์, นางสาวศิริธร ชัยรัตน์, นายธวัชชัย มะกลํ่าทอง

จัดพิมพ์

บริษัท ซี แอด โปรโมชั่น (1997) จำ�กัด 77/14 หมู่บ้านชลลดา ซอย 2 ถนนสายไหม แขวงสายไหม เขตสายไหม กรุงเทพฯ 10220 โทรศัพท์ 0 2991 3031-3 โทรสาร 0 2991 3066

สมัครสมาชิกวารสาร กรอกใบสมัครซึ่งอยู่หน้าสุดท้ายของเล่ม จากนั้นส่งใบสมัครได้ 3 ทาง ได้แก่ 1. สมัครทางไปรษณีย์ จ่าหน้าซองถึง บรรณาธิการวารสารอุตสาหกรรมสาร กลุ่มประชาสัมพันธ์ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ถนนพระรามที่ 6 เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 2. สมัครทางเครื่องโทรสาร หมายเลข 0 2354 3299 3. สมัครทางอีเมล : e-journal@hotmail.com


Information

สังคมผู้สูงอายุ

• เรื่อง : ฉัฐพร โยเหลา

และโอกาสทางธุรกิจในประเทศไทย

ประเทศไทย ได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2547- 2548 โดยจ�ำนวนประชากรที่ มีอายุ 60 ปีขน้ึ ไปคิดเป็นร้อยละ 10.2-10.4 ของ ประชากรไทยทัง้ ประเทศ และคาดว่าจะเข้าสูส่ งั คม ผูส้ งู อายุโดยสมบูรณ์ ประมาณปี พ.ศ. 25672569 ดังนัน้ เพือ่ ประโยชน์สงู สุดแก่ผปู้ ระกอบการ ทั้งรายเก่าและใหม่ ควรเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร เพื่อน�ำไปวิเคราะห์และวางแผนพัฒนาทั้งด้าน ผลิตภัณฑ์และบริการ รวมถึงการตลาดเพื่อ รองรับสังคมผู้สูงอายุที่มีการขยายตัวเพิ่มขึ้น ให้มคี ณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ บี นปัจจัยพืน้ ฐานทีจ่ �ำเป็น ต่อการด�ำเนินชีวิต ซึ่งก่อนการวางกลยุทธ์ ผลิตภัณฑ์หรือบริการ การมองโอกาสสร้าง ธุรกิจผูป้ ระกอบการจึงมีความจ�ำเป็นทีจ่ ะต้อง เข้าใจคนสูงวัยอย่างถ่องแท้กอ่ น

นิยามผูส้ งู วัย

ผู้สูงวัยหรือบางครั้งเรียก ผู้สูงอายุ เป็นวัยซึ่งมีความ แตกต่ า งจากวั ย อื่ น เป็ น วั ย บั้ น ปลายของชี วิ ต ดั ง นั้ น ปั ญ หาของผู ้ สู ง อายุ ใ นทุ ก ด้ า นโดยเฉพาะด้ า นสั ง คมและ สาธารณสุข จึงแตกต่างจากคนในวัยอื่น ปัจจุบันจ�ำนวน ผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องทั้งในประเทศไทยและทั่วโลก ซึ่งรัฐบาลไทยและทั่วโลกได้ตระหนักถึงความส�ำคัญในเรื่องนี้ จึงมีความพยายามให้ข้อมูลเพื่อการรณรงค์อย่างต่อเนื่อง ให้ทุกคนเข้าใจ และพร้อมดูแลผู้สูงอายุให้ทัดเทียมเช่นเดียว กับการดูแลประชากรในกลุ่มวัยอายุต่างๆ อุตสาหกรรมสาร 5


ผู้สูงอายุ หรือบางคนเรียกว่า ผู้สูงวัย โดยพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ให้ความหมายของค�ำว่า คนแก่ คือ มีอายุมาก หรืออยู่ในวัยชรา และให้ความหมาย ของค�ำว่า ชรา คือ แก่ด้วยอายุ ช�ำรุดทรุดโทรม นอกจากนั้น ยังมีการเรียกผู้สูงอายุว่า ราษฎรอาวุโส (Senior Citizen) ส่วนองค์การอนามัยโลก (World Health Organization, WHO) และองค์การสหประชาชาติ (United Nations, UN) ใช้ค�ำใน ภาษาอังกฤษของผู้สูงอายุ ว่า Older Person or Elderly Person ซึง่ ส่วนใหญ่ มักใช้ค�ำว่า Older Person มากกว่า Elderly Person องค์การสหประชาชาติ ได้ให้นิยามว่า “ผู้สูงอายุ” คือ ประชากรทั้งเพศชายและเพศหญิง ซึ่งมีอายุมากกว่า 60 ปีขึ้น ไป (60+) โดยเป็นการนิยามนับตั้งแต่อายุเกิด ส่วนองค์การ อนามัยโลกยังไม่มีการให้นิยามผู้สูงอายุ โดยมีเหตุผลว่า ประเทศต่างๆ ทั่วโลกมีการนิยามผู้สูงอายุต่างกัน ทั้งนิยาม ตามอายุเกิด ตามสังคม (Social) วัฒนธรรม (Culture) และ สภาพร่างกาย (Functional Markers) เช่น ในประเทศที่เจริญ แล้ว มักจัดผู้สูงอายุ นับจากอายุ 65 ปีข้นึ ไป หรือบางประเทศ อาจนิยามผู้สูงอายุ ตามอายุก�ำหนดให้เกษียณงาน (อายุ 50 หรือ 60 หรือ 65 ปี) หรือนิยามตามสภาพของร่างกาย โดย ผู้หญิงสูงอายุอยู่ในช่วง 45-55 ปี ส่วนชายสูงอายุ อยู่ในช่วง 55-75 ปี ส�ำหรับประเทศไทย “ผู้สูงอายุ” ตามพระราชบัญญัติ ผู้สูงอายุ พ.ศ.2546 หมายถึง “บุคคล” ซึ่งมีอายุเกินกว่า หกสิบปีบริบูรณ์ข้นึ ไปและมีสัญชาติไทย ส่วนค�ำว่า “สังคมผู้สูงอายุ” องค์การสหประชาชาติ แบ่ ง เป็ น 3 ระดั บ คื อ ระดั บ การก้ า วเข้ า สู ่ สั ง คมผู ้ สู ง อายุ (Ageing Society หรือ Aging Society) ระดับสังคม ผู ้ สู ง อายุ โ ดยสมบู ร ณ์ (Aged Society) และระดั บ สั ง คม

ผู้สูงอายุอย่างเต็มที่ (Super-Aged Society) โดยให้นิยาม ของระดับต่ า งๆ ซึ่ง ทั้ง ประเทศไทย รวมทั้ง ประเทศต่า งๆ ทัว่ โลก ใช้ความหมายเดียวกันในนิยามของทุกระดับของสังคม ผู้สูงอายุ ดังนี้ การก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ คือ การมีประชากรอายุ 60 ปี ขึ้ น ไปรวมทั้ ง เพศชายและเพศหญิ ง มากกว่ า 10% ของประชากรทั้งประเทศ หรือมีประชากรอายุตั้งแต่ 65 ปี เกิน 7% ของประชากรทั้งประเทศ สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ คือ เมื่อประชากรอายุ 60 ปี ขึ้นไป เพิ่มขึ้นเป็น 20% หรือ ประชากรอายุ 65 ปี เพิ่มเป็น 14% ของประชากรโดยรวมทัง้ หมดของทัง้ ประเทศ Super-Aged Society คือ สังคมที่มีประชากรอายุ 65 ปีขึ้นไปมากกว่า 20% ของประชากรทั้งประเทศ อย่างไรก็ตามทุกประเทศทั่วโลกมี การก้าวเข้าสู่สงั คมผู้สูงอายุในช่วงเวลาแตกต่างกันตามความ เจริญมัง่ คัง่ ซึง่ มีผลต่อสุขภาพและการมีอายุยนื ของประชาชน

สิทธิการคุม้ ครองและสวัสดิการผูส้ งู วัย

รัฐออกกฎหมายพระราชบัญ ญัติผู้ สูง อายุ ประกาศ ในราชกิ จ จานุ เ บกษา เล่ ม ที่ 120 ตอนที่ 130 วั น ที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2546 และมีผลบังคับใช้เมื่อ 1 มกราคม 2547 พระราชบัญญัตินี้มีทั้งหมด 24 มาตรา โดยสรุป คือ คุ้มครอง ส่งเสริม และสนับสนุน ผู้มีอายุ 60 ปีขึ้นไปและมีสัญชาติไทย ในด้านต่างๆ ที่ส�ำคัญคือ การแพทย์และการสาธารณสุข การ ศาสนา ข้อมูลข่าวสาร การประกอบอาชีพ การพัฒนาตนเอง

www.scbeic.com

6 อุตสาหกรรมสาร


www.openmindthailand.com

www.reformvoice.com

การศึกษา การอ�ำนวยความสะดวก ความปลอดภัย การช่วยเหลือ การยกเว้น การลดหย่อนค่าธรรมเนียมและภาษีอากร เบีย้ เลีย้ งชีพ ที่อยู่อาศัย การสงเคราะห์การจัดงานศพตามประเพณี และ อื่ น ๆ ตามประกาศของคณะกรรมการผู ้ สู ง อายุ แ ห่ ง ชาติ (กผส.) ซึ่งมีนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน และมีผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักส่งเสริมและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ และผูส้ งู อายุกระทรวงพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์ เป็นกรรมการและเลขานุการ ต่อมาได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553 ในวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2553 และ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อ 15 กันยายน พ.ศ. 2553 โดยสรุปที่เพิ่มเติม คือ ให้มีการจ่ายเงินเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุท่ี ไม่มีรายได้เพียงพอแก่การยังชีพ ให้มีสิทธิได้รับเบี้ยยังชีพเป็น รายเดือนอย่างทัว่ ถึงและเป็นธรรม และให้มสี ทิ ธิได้รบั สวัสดิการ สิ่ ง อ�ำนวยความสะดวกอั น เป็ น สาธารณะอย่ า งสมศั ก ดิ์ ศ รี และความช่วยเหลือที่เหมาะสมจากรัฐ ปัจจุบนั แบ่งผูส้ งู อายุออกเป็น 2 กลุม่ คือ ผูส้ งู อายุตอนต้น ได้แก่ ผู้สูงอายุซึ่งมีอายุอยู่ในช่วง 60 - 69 ปี และผู้สูงอายุ ตอนปลาย ได้แก่ ผู้มีอายุในช่วงตั้งแต่ 70 ปีขึ้นไป ซึ่งปัญหา ทางสังคมจะพบได้สูงมากขึ้นในผู้สูงอายุตอนปลาย ประชากรโลกรวมทั้งในประเทศไทย มีจ�ำนวนผู้สูงอายุ เพิม่ ขึน้ ตามล�ำดับ ซึง่ น่าจะมาจาก 3 สาเหตุส�ำคัญ ได้แก่ อัตรา เจริญพันธุ์หรืออัตราเกิด อัตราเสียชีวิตหรืออัตราตาย และ อายุขัยของประชากร

สาเหตุจากอัตราเกิดของประชากรลดลงหรือคงที่ โดย อัตราเกิด หรือ อัตราเจริญพันธุ์รวม (Total Fertility Rate หมายถึง เฉลี่ยแล้วหนึ่งครอบครัวโดยรวมมีลูกกี่คน) ของ ประชากรโลก ลดจาก 4.7 คน ในช่วงปี พ.ศ. 2513 - 2518 เป็น 2.6 คนในช่วง 2548 - 2553 ส่วนของประเทศไทย ลดจาก 6.3 คนในช่วงปี 2507 - 2508 เป็น 1.53 คน ในช่วงปี 2553 – 2558

ท�ำไมต้องเฉพาะผูส้ งู อายุ ?

ผู ้ สู ง อายุ เ ป็ น ประชากรซึ่ ง มี ลั ก ษณะพิ เ ศษเฉพาะตั ว ด้วยประสบการณ์ชีวิตในช่วงวัยที่ผ่านมาจึงกลายเป็น ศู น ย์ ร วมแหล่ ง ความรู ้ ความช�ำนาญที่ มี คุ ณ ค่ า เป็ น ผู ้ ท รงไว้ ซึ่ ง ประเพณี วั ฒ นธรรม และเป็ น สายใยแห่ ง ครอบครั ว เชื่ อ มต่ อ ระหว่ า งบุ ค คลในช่ ว งวั ย ต่ า งๆ แต่ ข ณะเดี ย วกั น มี ป ั ญ หาในด้ า นสุ ข ภาพสุ ข อนามั ย เนื่องจากวัยชรา เซลล์ เนื้อเยื่อ อวัยวะต่างๆ เสื่อมลง ตามธรรมชาติ ท�ำให้เกิดโรคการเสื่อมของอวัยวะต่างๆ เกิดภาวะสมรรถภาพถดถอย ไร้แรงงาน หรือไร้สมรรถภาพ (Disability) เช่ น โรคกระดู ก เสื่ อ ม โรคข้ อ เสื่ อ ม หรื อ ความจ�ำ สติปญ ั ญาเสือ่ มถอย สับสนง่าย เกิดการทรงตัวไม่ดี เชือ่ งช้า ล้มได้งา่ ย กระดูกหักง่าย เกิดโรคขาดอาหารได้งา่ ย จากการเสือ่ มสภาพของเหงือกและฟัน รวมทัง้ ภูมติ า้ นทาน คุ้มกันโรคลดลง มีการติดเชื้อได้ง่าย และมักเป็นการ ติ ด เชื้ อ รุ น แรง มี โ อกาสเกิ ด โรคมะเร็ ง สู ง กว่ า วั ย อื่ น ต้องได้รับการดูแลช่วยเหลือจากบุคคลอื่น รวมทั้งในด้าน การรักษาพยาบาล มีภาระด้านค่ารักษาพยาบาลสูงกว่าใน วัยอื่น เป็นปัญหาสาธารณสุขในระดับชาติ รวมถึงปัญหา ด้านสังคม และด้านเศรษฐกิจเพิ่มมากขึ้นกว่าวัยอื่นๆ อุตสาหกรรมสาร 7


เทรนด์ธรุ กิจผูส้ งู อายุ ส�ำหรับสังคมผูส้ งู วัย

โอกาสธุรกิจที่ผู้ประกอบการจับจองพื้นที่นั่งในใจผู้สูงอายุ ได้ก่อน ย่อมได้เปรียบ จากอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้นของ ผู้สูงอายุจึงเป็นแรงจูงใจให้มีผู้ประกอบการจ�ำนวนไม่น้อย พยายามเข้ามาจับกลุ่มตลาดผู้สงู อายุและด�ำเนินธุรกิจเกีย่ วเนือ่ ง ทั้งนี้สามารถจัดแบ่งประเภทธุรกิจตามพฤติกรรมผู้สูงวัยโดย ศึกษาจากฐานการขยายตัวที่เพิ่มขึ้น กอปรกับสมมุติฐาน จากพฤติกรรมการด�ำเนินชีวิตไลฟ์สไตล์ ครอบครัว สุขภาพ เพื่อตั้งธงและสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์หรือบริการที่ตอบโจทย์ ลูกค้าผู้สูงอายุ ซึ่งแบ่งกรอบใหญ่เป็น 2 ประเภทดังนี้ • ประเภทธุรกิจ “ป้องกัน” เพื่อลดความเสี่ยงในการใช้ ชีวิต เสริมสุขภาพให้ผู้สูงอายุชีวิตยืนยาวมีคุณภาพชีวิตที่ดี • ประเภทธุรกิจ “รักษา” เพื่อซ่อมแซม ส่งเสริมสุขภาพ ให้ผู้สูงอายุมีชีวิตยืนยาวมากขึ้น จากการแยกประเภทธุรกิจที่ “ป้องกัน” และ “รักษา” ท�ำให้เกิดศาสตร์ชะลอวัยและธุรกิจต้นน�้ำเพื่อสร้างสมดุลชีวิต อาทิ ธุรกิจสุขภาพ Wellness, ธุรกิจ Holistic Care เป็นต้น วันนี้ชัดเจนว่าผู้สูงอายุเป็นตลาดที่จะขยายตัวมากขึ้น ในอนาคต การบ้านส�ำหรับผู้ประกอบการและนักธุรกิจคง เป็นเรื่องของการท�ำความเข้าใจความต้องการที่แท้จริงของ ผูส้ งู อายุ ซึง่ ปัจจุบนั ฐานกลุม่ ผูส้ งู อายุทเี่ พิม่ ขึน้ มีทง้ั คนไทยและ ต่างชาติที่มาท่องเที่ยวหรืออยู่ในประเทศไทยแบบระยะยาว (Long Stay) ดังนั้นผู้ประกอบการจึงควรตีโจทย์ให้แตกเพื่อที่ จะไม่พลาดโอกาสทางธุรกิจส�ำคัญในอนาคต ปิดท้ายด้วย เทรนด์ธรุ กิจผู้สูงอายุที่ก�ำลังมาแรงคือ 1. ธุรกิจอาหารและเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ 2. ธุรกิจผลิตภัณฑ์เสริมความงามชะลอวัย มีธรุ กิจหลาย รายได้น�ำเอาสมุนไพรท้องถิ่นมาผสานกับเทคโนโลยีทางการ แพทย์และสุขภาพก่อให้เกิดสินค้าหรือนวัตกรรมสุขภาพใหม่ๆ เช่น เครือ่ งส�ำอางสมุนไพร ในการดูแลผิว และชะลอวัย เป็นต้น 3. ธุรกิจอุปกรณ์ทางการแพทย์ ช่วยในการเคลื่อนไหว เช่น ไม้เท้าส�ำหรับผู้สูงอายุ รถเข็นส�ำหรับผู้สูงอายุท่มี ีปัญหา ในการเคลื่อนไหวหรือมีปัญหาการเดิน เป็นต้น 8 อุตสาหกรรมสาร

4. ธุรกิจเฟอร์นเิ จอร์ตกแต่งบ้าน ซึง่ มุง่ พัฒนาการออกแบบ โดยนักออกแบบสร้างชิ้นงานที่ตอบสนองความต้องการและ ไลฟ์สไตล์การใช้ชวี ิตของผู้สูงอายุ ที่กล่าวมา 4 เทรนด์นี้เป็นเพียงธุรกิจที่เริ่มต้นการก้าว สู่สังคมผู้สูงอายุ เชื่อว่าในอีกไม่ช้าจะมีธุรกิจเอสเอ็มอีทั้ง ภาคผลิตและบริการ ที่ก�ำลังเตรียมตัวเข้ามาท�ำตลาดเพื่อ เจาะกลุม่ ผูส้ งู อายุมากขึน้ เนือ่ งจากปัจจุบนั ผูส้ งู อายุมเี งินออม มีก�ำลังซื้อและไลฟ์สไตล์การใช้ชวี ิตที่ทันสมัยมากขึ้น ธุรกิจใด ที่เห็นช่องว่างทางการตลาด หากเข้ามาจับจองพื้นที่ในใจของ ผู้สูงอายุได้ก่อน ย่อมมีความได้เปรียบในการท�ำธุรกิจและ มีโอกาสเติบโตอย่างต่อเนื่องไปพร้อมกับสังคมผู้สูงวัยที่ไม่ได้ จ�ำกัดเพียงแค่คนไทยในประเทศไทยแต่ยงั รวมถึงนักท่องเทีย่ ว ที่มาประเทศไทยและมีโอกาสขยายไปถึงประชากรโลกและ สังคมโลกด้วยเช่นกัน.

ขอขอบคุณข้อมูลจาก • กุศล สุนทรธาดา สิทธิผู้สูงอายุตามกฎหมาย สถาบันประชากรและ สังคม มหาวิทยาลัยมหิดล • EIC Insight (เมษายน 2010) “โครงสร้างประชากรเปลี่ยนแปลงท�ำให้ การบริโภคของไทยเปลี่ยนอย่างไร” “ธุรกิจบริการผู้สูงอายุ…กับโอกาส ของผู้ประกอบการไทย”


SMEs Focus

• เรื่อง : นันทนาพร อรินทมาโน

เมื่อสังคมก�ำลังก้าวเข้าสู่ยุคของผู้สูงอายุ อัตราการเกิดต�ำ่ วัยเเรงงานลดลงเเละผูค้ น มีอายุยืนยาวมากขึ้น จึงเป็นเหตุให้หลาย ประเทศในโลกก�ำลังเข้าสูส่ งั คมผูส้ งู อายุ ทีม่ ี รูปแบบหลากหลายเเละแตกต่างกันไปตาม สภาพแวดล้อม ซึ่งประเทศไทยก็เป็นหนึ่ง ในประเทศเหล่านั้นเช่นกัน โดยคาดว่าใน ปี 2573 จะมีจ�ำนวนผู้สูงอายุ 17.6 ล้านคน และปี 2583 จะมีจ�ำนวนถึง 20.5 ล้านคน ช่ ว งเวลาระหว่ า งการเดิ น เข้ า สู ่ สั ง คม ผู ้ สู ง อายุ น้ี จึงก่อให้เกิดธุรกิจใหม่เข้ามา รองรับเเละตอบสนองความเปลี่ยนเเปลงนี้ คือธุรกิจ ‘Long Stay’ หรือการท่องเที่ยว เเบบพ�ำนักระยะยาว

Long Stay

บริการที่พักระยะยาวส�ำหรับผู้สูงอายุ โกยรายได้เข้าประเทศ

แนวคิดเกีย่ วกับธุรกิจ Long Stay

การท่องเที่ยวแบบ Long Stay เกิดขึ้นจาก ประชากรในประเทศตะวั น ตกและประชากร ในประเทศที่เรียกตัวเองว่าประเทศพัฒนาแล้ว ประชากรผู้มีรายได้ดีเหล่านี้จะแสวงหาความสุข ให้ ตั ว เองด้ ว ยการไปท่ อ งเที่ ย วต่ า งถิ่ น ทั้ ง ใน ประเทศตนเองและต่างประเทศ โดยใช้ระยะเวลา ยาวนานและนิยมไปกันเป็นกลุ่ม โดยจัดรูปแบบ เป็นชมรมขึ้น แต่ในระยะหลังนี้ความหมายของ Long Stay ได้มกี ารพัฒนาไปสูก่ ารท่องเทีย่ วหลาก หลายรูปแบบที่เป็นการพักอาศัยนานวันแต่ก็ยัง คงยึดแนวคิดหลักอันเดิม คือ การมีวตั ถุประสงค์ที่ ชัดเจน โดยสามารถแบ่งออกเป็น 4 กลุม่ หลัก ดังนี้ อุตสาหกรรมสาร 9


1. กลุ ่ ม ที่ ต ้ อ งการเข้ า มาใช้ บั้ น ปลายชี วิ ต ในการ ท่องเทีย่ ว ได้แก่ ผูเ้ กษียณอายุการท�ำงาน ผูส้ งู อายุทขี่ าดผูด้ แู ล 2. กลุ่มที่เข้ามาเพื่อรักษาสุขภาพ ได้แก่ ผู้ที่เข้ามา รักษาพยาบาลและพักฟื้น ผู้ที่ต้องการหลบสภาพอากาศที่ รุนแรงในประเทศของตนบางช่วง 3. กลุ่มที่เข้ามาเพื่อการศึกษา ได้แก่ ผู้ที่เข้ามาศึกษา ในระดับต่างๆ นักเรียนแลกเปลี่ยน 4. กลุ่มที่เข้ามาเพื่อฝึกซ้อมกีฬา ได้แก่ นักกีฬาที่เข้า เก็บตัวฝึกซ้อมก่อนการแข่งขัน กลุ่มเยาวชนที่เข้ามาเรียนและ ฝึกหัดกีฬาบางประเภท จนกระแสได้ข้ามผ่านมาถึงประเทศไทยในปี พ.ศ. 2544 รั ฐ บาลได้ มี ม ติ จั ด ตั้ ง โครงการส่ ง เสริ ม และการท่ อ งเที่ ย ว แบบพ�ำนักระยะยาวภายใต้การดูแลของการท่องเที่ยวแห่ง ประเทศไทย เพื่อส่งเสริมให้นักท่องเที่ยวเดินทางมาพ�ำนัก ในประเทศเกิน 30 วันขึ้นไป โดยระยะแรกของการด�ำเนินการ มุ่งเป้าหมายกลุ่มที่มีอายุ 55 ปีขึ้นไป และคัดเลือกจังหวัด น�ำร่อง 5 จังหวัดที่มีศักยภาพและความพร้อมในด้านที่พัก มี ส ภาพแวดล้ อ มที่ ดี มี ค วามปลอดภั ย และมี กิ จ กรรม รองรับนักท่องเที่ยวกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ เชียงใหม่ สุโขทัย ประจวบคีรขี ันธ์ กาญจนบุรี และหนองคาย โดยการท่องเที่ยว แห่งประเทศไทยวางหมากส�ำคัญของการกระตุ้นเศรษฐกิจนี้ ไว้ท่ีนักท่องเที่ยวกลุ่มเกษียณอายุการท�ำงานแล้ว เพราะจาก สถิตินักท่องเที่ยวสูงอายุที่เดินทางมาประเทศไทยในช่วง 5 ปี ที่ผ่านมา พบว่ามีอัตราการขยายตัวอย่างต่อเนื่องโดยเฉลี่ย ร้อยละ 6 ต่อปี ในส่วนของผูท้ เี่ กษียณอายุการท�ำงานทีเ่ ดินทาง เข้ามาท่องเที่ยวในประเทศไทยนั้นพบว่ามีอัตราการ ขยายตัว ทีด่ เี ช่นเดียวกัน โดยเฉลีย่ ร้อยละ 5.33 ต่อปี ทัง้ นีก้ ารท่องเทีย่ วของ ผู้สูงอายุส่วนใหญ่จะมีค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อคนวันละประมาณ 44 เหรียญสหรัฐ ซึ่งแม้จะเป็นอัตราที่ต�่ำกว่าค่าใช้จ่ายเฉลี่ย ของนักท่องเทีย่ วโดยทัว่ ๆ ไป แต่การพักทีน่ านวันกว่าก็สามารถ น�ำรายได้เข้ามาเป็นจ�ำนวนมาก 10 อุตสาหกรรมสาร

นิยามของ Long Stay โดย คณะกรรมการส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยว พ�ำนักระยะยาวแห่งชาติ นักท่องเที่ยวที่มีวันพักตั้งแต่ 1 เดือนขึ้นไป โดยในระยะแรกจะเน้นกลุ่มนักท่องเที่ยวที่เกษียณอายุ การท�ำงานแล้วที่ต้องการเดินทางมาใช้ชวี ิต เป็นแหล่งท่องเที่ยวเป็นกิจกรรมเสริม


ผลักดันโครงการอย่างต่อเนือ่ งให้เชียงใหม่เป็น ‘นครแห่งลองสเตย์’ รองรับผู้สูงอายุนานาชาติ วัยเกษียณทุกประเทศที่ให้ความ สนใจเข้ามาพ�ำนักระยะยาว พร้อมเสนอน�ำเร่งรัดน�ำแผนแม่บท พัฒนาธุรกิจ Long Stay 5 ปีกลุม่ จังหวัดภาคเหนือ (กลุม่ จังหวัด ภาคเหนือตอนบน 1 ครอบคลุมเชียงใหม่ ล�ำพูน ล�ำปาง และ แม่ฮ่องสอน) พ.ศ. 2560-2564 มาใช้ โดยตั้งเป้าต้องการให้เกิด การกระตุน้ ให้เกิดการขยายตัวของรายได้จากภาคอุตสาหกรรม การท่องเที่ยวในจังหวัดในอนาคต รวมถึงผู้ประกอบการภาค ธุรกิจเองก็จะได้ลงทุน คิดสร้างสรรค์ พัฒนาสินค้าและบริการ ให้สอดคล้องกับความต้องการของกลุ่มนักท่องเที่ยวพ�ำนัก ระยะยาว ทั้งกลุ่มเป้าหมายเดิมและกลุ่มเป้าหมายใหม่ และ จะได้แสดงความพร้อมและความมั่นใจว่าเชียงใหม่มีจุดเด่น และความเหมาะสมแบบพ�ำนักระยะยาว ด้านนายมาร์ค เฮนรี่ ดูมวั ร์ เจ้าของกิจการ ‘วีโว่ เบเน่ วิลเลจ’ ลองสเตย์ เ พื่อผู ้ สูง อายุครบวงจร ที่ใ หญ่ ที่สุดในเชีย งใหม่ ซึ่งด�ำเนินกิจการมาตั้งแต่ปี 2557 มองว่า ธุรกิจลองสเตย์ ส�ำหรับผูส้ งู อายุคอื ธุรกิจแห่งอนาคต เนือ่ งจากโลกของเราก�ำลัง เข้าสูส่ งั คมผูส้ งู อายุในไม่ชา้ อีกทัง้ โลเคชัน่ ของจังหวัดเชียงใหม่ นั้นเป็นเมืองท่องเที่ยวที่มีนักท่องเที่ยวมาเยือนตลอดปี สภาพ อากาศก็ดีเหมาะแก่การดูแลสุขภาพ บรรยากาศก็สงบ ความ ทันสมัยก็ครบครัน จึงเป็นเมืองทีเ่ หมาะสมกับการพักผ่อนระยะ ยาว โดยกลุ่มลูกค้าจะเป็นกลุ่มผู้สูงอายุที่แข็งแรง ต้องการ มาพักผ่อนและใช้ชวี ิตอย่างสงบและเรียบง่าย อีกส่วนจะเป็น ผู้สูงอายุท่มี ีปัญหาสุขภาพ เช่น อัลไซเมอร์ ก็จะมีผู้เชี่ยวชาญ และพยาบาลวิชาชีพคอยดูแลอย่างใกล้ชิด เน้นให้เขาได้ท�ำ ทุกอย่างด้วยตนเอง จะได้เกิดความภูมิใจและดูแลตัวเองได้ โดยที่นี่จะแตกต่างกับบ้านพักคนชราเพราะที่นี่ไม่มีข้อจ�ำกัด ทางอายุ พวกเขาจะรู้สึกเหมือนอยู่บ้าน ไม่ได้มารักษาตัว แต่มาพักร้อน อีกทั้งธุรกิจลองสเตย์จะมาคู่กับนักท่องเที่ยว ที่มีคุณภาพ ไม่ท�ำลายธรรมชาติ ที่ส�ำคัญคือเป็นกลุ่มที่มี ก�ำลังเงิน ใช้เงินจับจ่ายสูง เป็นช่องทางที่จะน�ำเม็ดเงินเข้า สู่ไทยได้มากทั้งปัจจุบันและในอนาคต.

เชียงใหม่ ‘นครแห่งลองสเตย์’

จากข้อมูลในกิจกรรมสัมมนา ‘เจาะประเด็นข้อก�ำหนด หรือเงื่อนไขเพื่อสนับสนุนการท่องเที่ยวเพื่อพ�ำนักระยะยาว (Long Stay)’ โดยท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดเชียงใหม่ พบว่า เชียงใหม่ถือเป็นหนึ่งในจังหวัดที่มีนักท่องเที่ยวเข้ามาเพื่อ ปักหลักพ�ำนักอาศัยในระยะยาวมากที่สุดในประเทศไทย โดย ล่าสุดเชียงใหม่ได้รับรางวัลถึง 2 รางวัล คือ ได้รับการโหวต ให้เป็นเมืองอันดับ 1 Top City in Asia จากนิตยสาร Travel and Leisure เป็นปีที่สองต่อเนื่อง โดยภาคเอกชนพร้อม

ขอขอบคุณข้อมูลและรูปภาพจาก longstayatthailand.com tatic.tourismthailand.org tatnewsthai.org www.suansawanresort.com www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1467025308 www.chiangmainews.co.th/page/archives/500543 อุตสาหกรรมสาร 11


Biz Focus

• เรื่อง : นันทนาพร อรินทมาโน

แสนสุข สมาร์ท ซิตี้

ใช้นวัตกรรมน�ำร่อง สร้างสุขผู้สูงวัย ปฏิเสธไม่ได้เลยกับความส�ำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ ทีป่ จั จุบนั มีสว่ นช่วยในการพัฒนาชีวติ ให้สะดวก สบายยิง่ ขึน้ หากกล่าวถึงเทคโนโลยีทถี่ กู น�ำมาพัฒนาการบริหารจัดการเมือง หรือทีเ่ รียกกันว่า ‘สมาร์ท ซิต’ี้ (Smart City) โดยเมืองอัจฉริยะนี้ไม่ใช่แค่เพียงตอบโจทย์ให้กบั คนหนุม่ สาว หรือคนในวัยท�ำงานเพียงเท่านัน้ แต่หากยังกล่าวไปถึงเรือ่ งของการดูแลผูส้ งู อายุอกี ด้วย

ปูทางสูก่ ารเป็นเมืองอัจฉริยะ

สมาร์ท ซิตี้ (Smart City) เป็นรูปแบบการประยุกต์เทคโนโลยี ดิจทิ ลั หรือข้อมูลสารสนเทศและการสือ่ สารในการเพิม่ ประสิทธิภาพ และคุณภาพของบริการชุมชน เพื่อช่วยในการลดต้นทุนและลดการ บริโภคของประชากร โดยยังคงเพิม่ ประสิทธิภาพให้ประชาชนสามารถ อยูอ่ าศัยได้ในคุณภาพชีวติ ทีด่ ขี นึ้ โดยมีการพัฒนาในหลายภาคส่วน รวมถึงหน่วยงานราชการ การจราจรและขนส่ง พลังงาน สาธารณสุข สาธารณูปโภค โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาการจัดการเมืองและ ชุมชน และการตอบสนองแบบทันท่วงที ดังเช่นโครงการของเทศบาล เมืองแสนสุข จ.ชลบุรี ซึ่งถือเป็นชุมชนน�ำร่องการเป็นสมาร์ท ซิตี้ แห่งแรกของประเทศไทย

12 อุตสาหกรรมสาร


ย้อนกลับไปเมื่อปี 2557 โครงการแสนสุข สมาร์ท ซิตี้ เป็นโครงการน�ำร่องที่ใช้เวลา 3 ปี โดยเริ่มต้น จากโครงการเทคโนโลยีชีวิตแสนสุขเมื่อ 7 ปีก่อน ที่ ท างเทศบาลได้ ร ่ ว มมือ กับ คณะวิศ วกรรมศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ และศูนย์เทคโนโลยีอเิ ล็กทรอนิกส์ และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) ติดตั้งไซเรนเพื่อ ขอความช่วยเหลือไว้หน้าบ้านทีม่ ผี สู้ งู อายุอยูบ่ า้ นคนเดียว และผู้ป่วยติดเตียง โดยมีรีโมตติดตัวส�ำหรับกดปุ่ม ส่งสัญญาณ ซึ่งประสบความส�ำเร็จเป็นอย่างดี ต่อมา นายณรงค์ชยั คุณปลื้ม นายกเทศมนตรีเมืองแสนสุข ต้ อ งการสร้ า งสิ่ ง อ�ำนวยความสะดวกที่ เ ป็ น ระบบ อัจฉริยะแก่ชมุ ชนด้วยการใช้แอปพลิเคชัน่ ทีม่ นี วัตกรรม และเชื่อถือได้จริง ก่อนน�ำมาใช้ในการดูแลผู้สูงอายุ ซึ่งมีอยู่ประมาณ 15% จากจ�ำนวนประชากรในพื้นที่ 46,000 คน โดยหน่วยงานภาครัฐท้องถิ่นได้ตระหนัก ถึงความจ�ำเป็นในการดูแลผู้สูงอายุได้มีประสิทธิภาพ ยิ่งขึ้น ซึ่งส่วนใหญ่ผู้สูงอายุเหล่านี้มักจะอยู่บ้านคน เดียวในช่วงระหว่างวัน มีผู้ดูแลน้อยหรือมีสิ่งอ�ำนวย ความสะดวกในการพยาบาลอยูน่ อ้ ย โครงการน�ำร่องนี้ จึงเกิดขึน้ เมือ่ เดือน มกราคม ปี 2559 และตัง้ เป้าจะดูแล ครอบคลุม 140 ครัวเรือน ภายใน 3 ปี โดยเริ่มน�ำร่อง ปีแรกเป็นครอบครัวที่มีสมาชิกผู้สูงอายุจ�ำนวน 30 ครัวเรือน พร้อมมุง่ เน้นทีก่ ารตรวจตราดูแลคนไข้พร้อม ให้ข้อมูลเชิงลึกเพื่อช่วยให้รัฐบาลจัดสรรทรัพยากร ในการพยาบาลและด�ำเนินการเรื่องการบริการดูแล สุขภาพได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ด้วยเทคโนโลยี Internet of Things (IoT) ที่ช่วยด้าน การตรวจดูสุขภาพ ให้การแจ้งเตือนฉุกเฉิน ตรวจจับ สภาพแวดล้อม สอดส่องที่พักอาศัยและติดตามดูแล เพื่อความปลอดภัย

IoT นวัตกรรมอัจฉริยะยกระดับการดูแล

ผศ. อภิเนตร อูนากูล ที่ปรึกษาคณะกรรมการ ศูนย์นวัตกรรมเมืองอัจฉริยะ กล่าวว่า “เนื่องจาก ประเทศไทยต้องก้าวสู่วิสัยทัศน์ในการพัฒนาสู่ความ เป็ น ประเทศดิ จิ ทั ล ส�ำหรั บ แสนสุ ข สมาร์ ท ซิ ตี้ การสนับสนุนด้านเทคนิคจากเดลล์ (Dell) และ อินเทล (Intel) ช่วยให้การติดตั้งแพลตฟอร์มที่เป็นต้นแบบ ส�ำหรับสมาร์ท ซิตี้ ประสบความส�ำเร็จ ซึ่งจะเป็น ใบเบิกทางไปสู่การน�ำ IoT ที่ล�้ำหน้ามาใช้ได้มากขึ้น ครอบคลุมหลากหลายแง่มุมของการใช้ชีวิตส�ำหรับ ทั้งผู้พักอาศัยในชุมชนและนักท่องเที่ยว สิ่งนี้นับเป็น ย่างก้าวครั้งส�ำคัญต่อไปในการบรรลุเป้าหมายของ

การเปลีย่ นประเทศไทยเป็นสมาร์ท เนชัน่ หรือประเทศ อัจฉริยะในที่สุด” IoT หรือ Internet of Things หมายถึงการที่สิ่ง ต่างๆ ถูกเชื่อมโยงเข้าสู่โลกอินเทอร์เน็ต ท�ำให้มนุษย์ สามารถสั่งการควบคุมการใช้งานอุปกรณ์ต่างๆ ผ่าน ทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เช่น การเปิด-ปิด อุปกรณ์ เครือ่ งใช้ไฟฟ้า รถยนต์ โทรศัพท์มอื ถือ เครือ่ งมือสือ่ สาร เครื่องมือทางการเกษตร อาคาร บ้านเรือน เครื่อง ใช้ในชีวิตประจ�ำวันต่างๆ ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เป็นต้น โดยเทคโนโลยี IoT มีความจ�ำเป็นต้องท�ำงาน ร่วมกับอุปกรณ์ประเภท RFID และ Sensors ซึ่งเปรียบ เสมือนการเติมสมองให้กบั อุปกรณ์ตา่ งๆ โดยต้องเชือ่ ม ต่ออินเทอร์เน็ตเพื่อให้อุปกรณ์สามารถรับส่งข้อมูลถึง กันได้ ยกตัวอย่างการประยุกต์ใช้ระบบ IoT ที่ผู้คน ค่อนข้างคุ้นเคยกัน คือ Smart Home (บ้านอัจฉริยะ) เกิ ด ขึ้ น เพื่ อ ตอบสนองชี วิ ต ความเป็ น อยู ่ ใ ห้ ดี ยิ่ ง ขึ้ น โดยวางรูปแบบไว้เป็นบ้านประหยัดพลังงาน เปิด/ปิด ไฟตามความเหมาะสมของแสง ควบคุมการท�ำงาน ของอุ ป กรณ์ เ ครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า ภายในบ้ า น เป็ น ต้ น อุตสาหกรรมสาร 13


Wearables (อุปกรณ์สวมใส่อัจฉริยะ) นาฬิกาเพื่อ สุขภาพที่สามารถวัดอัตราการเต้นของหัวใจ วัดระดับ การท�ำกิจกรรมต่างๆ ในแต่ละวัน แล้วน�ำข้อมูลทีบ่ นั ทึก ไว้ไปประมวลผลสรุป ซึ่งระบบที่ยกตัวอย่างขึ้นมานี้ ถือเป็นหัวใจส�ำคัญในการพัฒนาชุมชนให้แสนสุขกลาย เป็นสมาร์ท ซิตี้อย่างสมบูรณ์

เบิกทางสร้างสุขสังคมผูส้ งู อายุ

สืบเนื่องจากเทศบาลต�ำบลแสนสุข โดยปกติจะ มีพยาบาลในเขตเทศบาลเข้าไปเยีย่ มผู้พกั อาศัยทีเ่ ป็น ผู้สูงอายุอยู่เป็นประจ�ำ อย่างไรก็ตามพยาบาลยังคง ไม่สามารถด�ำเนินการตอบสนองได้อย่างรวดเร็วและ เหมาะสมในระหว่างเกิดเหตุฉกุ เฉิน เนือ่ งจากพยาบาล ไม่สามารถบอกได้ว่าเกิดเหตุฉุกเฉินขึ้นเมื่อไหร่ หรือ ต้องดูแลทางการแพทย์ต่อด้วยวิธีใด ปัจจุบันโครงการ น�ำร่องนี้ ช่วยให้พยาบาลสามารถดูแลสอดส่องสุขภาพ ของคนไข้สูงอายุได้จากระยะไกลผ่านระบบคลาวด์ และระบบวิเคราะห์ข้อมูล รวมถึงการเชื่อมต่อบลูทูธ

ระยะแรกของโครงการน�ำร่ อ งนี้ ผู ้ ป ่ ว ยที่ เ ป็ น ผู้สูงอายุจะสวมใส่อุปกรณ์อัจฉริยะขนาดเล็กที่รับส่ง สัญญาณบลูทูธได้ เช่น ก�ำไลสวมข้อมือหรือสร้อยคอ โดยอุปกรณ์จะท�ำการสอดส่องจ�ำนวนก้าว การเคลือ่ นไหว ระยะทางในการเดิ น และรู ป แบบการนอนหลั บ อีกทัง้ สามารถแจ้งเตือนมายังผูด้ แู ลในศูนย์ดแู ลสุขภาพ เมือ่ ระบบตรวจจับกิจกรรมทีไ่ ม่ปกติ เช่น การลืน่ หกล้ม หรือมีการกดปุม่ ฉุกเฉินขึน้ โดยหลังจากโครงการน�ำร่อง เสร็จสิ้น จะสามารถน�ำกระบวนการดังกล่าวไปใช้กับ แอปพลิเคชั่นสมาร์ท ซิตี้ อื่นๆ ต่อไปได้ เช่น กิจกรรม 14 อุตสาหกรรมสาร

ในการบ�ำรุงรักษาและปรับปรุงด้านความปลอดภัยในที่ สาธารณะ ท้ายที่สุดก็จะท�ำให้เทศบาลต�ำบลแสนสุขกลาย เป็นสถานที่ดึงดูดนักท่องเที่ยวเพื่อเป็นแหล่งการเรียนรู้ท่ี ส�ำคัญอีกแห่ง และเมื่อกลางปีท่ผี ่านมาโครงการแสนสุข สมาร์ท ซิตี้ ก็คว้ารางวัลจาก IDC Asia Pacific ในหัวข้อ 2016 Smart City Asia Pacific Awards หรือ SCAPA ซึ่งรางวัลที่ได้รับคือ รางวัลโครงการริเริ่มที่มีความโดดเด่นด้านการให้บริการ เพื่อสังคม (Social Services) ถือเป็นการพิสูจน์ว่าเทคโนโลยี ใหม่ ส ามารถหลอมรวมเข้ า กั บ วิ ถี ชี วิ ต ของผู ้ ที่ พั ก อาศั ย ในชุมชมได้อย่างกลมกลืน ให้ประโยชน์แก่ทั้งเมืองและ ชุมชน ซึ่งจะกลายเป็นต้นแบบในอุดมคติส�ำหรับโปรแกรม สมาร์ท ซิตี้อื่นๆ ไม่ใช่แค่ แสนสุข แต่รวมถึงสมาร์ท ซิตี้ ในประเทศไทยและทั่วโลก.

ขอขอบคุณข้อมูลและรูปภาพจาก http://www.saensukcity.go.th/news/1259-160726-smart-city.html http://www.thaiquote.org/content/3595 http://www.bangkokbiznews.com/news/detail/709166 http://ssanetwork.co.th http://www.eworldmag.com https://www.blognone.com/node/83866 เทศบาลเมืองแสนสุข จ.ชลบุรี ถ.บางแสนสาย 2 ต.แสนสุข อ.เมือง จ.ชลบุรี 20130 โทร. 0 3819 3500-2 เว็บไซต์ www.saensukcity.go.th


Special Report

• เรื่อง : นุชเนตร จักรกลม

ปั จ จุ บั น ประชากรทั่ ว โลกก� ำ ลั ง ทยอย มุง่ หน้าเข้าสูส่ งั คมสูงวัย และภายในอีก 8 ปี ข้างหน้าคาดว่าผูส้ งู วัยทัว่ โลกจะมีมากกว่า 800 ล้านคน Special Report ฉบับนี้ จึงปูพรมให้เห็นโอกาสในการสร้างธุรกิจ ที่ ส นองตอบความต้ อ งการของตลาด ผู้สูงวัยจากประเทศต่า งๆ เพื่อต้อนรับ การเปลี่ยนผ่านของกลุ่มลูกค้าที่จะเข้ามา มีอิทธิพลและก�ำลังซื้อสูงเป็นอันดับต้นๆ ในไม่ช้า ดังนั้นการศึกษาพฤติกรรม และ ความต้องการของลูกค้ากลุ่มนี้ถือเป็น กุ ญ แจส� ำ คั ญ ในการสร้ า งธุ ร กิ จ ให้ ตอบโจทย์ ค วบคู ่ ไ ปพร้ อ มสั ง คมสู ง วั ย ที่ขยายตัวอย่างรวดเร็ว และหนึ่งในธุรกิจ เป้าหมายที่กลุ่มลูกค้าสูงวัยต้องการมาก ทีส่ ดุ ก็คอื ธุรกิจอาหาร

ธุรกิจอาหารผู้สูงวัย ติดโผดาวรุ่งรับสังคมอนาคต

จากข้อมูลทางสถิตขิ องสหประชาชาติ เห็นได้ชดั เจนว่าปัจจุบนั ประชากรโลกได้เปลี่ยนผ่านเข้าสู่ยุคประชากรสูงวัยเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ โดยทัว่ โลกจะมีประชากรอายุมากกว่า 65 ปี มากกว่าร้อยละ 20 ของ ประชากรทัง้ หมด ไม่วา่ จะเป็นกลุม่ ประเทศพัฒนาแล้วอย่างประเทศ สมาชิกในยุโรปหรืออเมริกา ซึ่งเข้าสู่สังคมผู้สูงวัยอย่างสมบูรณ์แล้ว (Population Reference Bureau, 2012) ขณะทีท่ วีปเอเชีย ประเทศญีป่ นุ่ แตะเชือกเข้าสู่สังคมสูงวัยระดับสุดยอดไปเรียบร้อย หรือเพื่อนบ้าน อย่างกลุม่ ประเทศอาเซียน สิงคโปร์ยงั ครองแชมป์สงั คมสูงวัย ตามด้วย ประเทศไทยทีม่ กี ารขยายตัวเป็นอันดับสอง* ซึง่ สาเหตุหลักๆ ทีท่ �ำให้ สัดส่วนประชากรสูงอายุเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วก็คือ ปริมาณการเกิดที่ ลดลงและปัจจัยต่างๆ ทีช่ ว่ ยให้ประชากรทีอ่ ายุยนื ยาวขึน้ อุตสาหกรรมสาร 15


ธุรกิจอาหารในเมืองไทย โอกาสทองทีผ่ ปู้ ระกอบการ ไม่ควรมองข้าม

จากการเปลี่ยนแปลงในข้างต้นส่งผลให้ประชากร วัยเด็กลดลงอย่างรวดเร็ว น�ำมาสู่การเพิ่มขึ้นของสัดส่วน ประชากรสูงอายุ ซึ่งมีแนวโน้มที่จะสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง และส�ำหรั บ ประเทศไทยเองประมาณการประชากรใน ปี 2563 จะมีผสู้ งู วัยมากกว่าร้อยละ 14.4 ของประชากรทัง้ ประเทศ และเข้าสู่สังคมสูงวัยอย่างสมบูรณ์ (Completed Aged Society) ดั ง นั้ น โอกาสของการท�ำธุ ร กิ จ อาหาร ผู้สูงวัยในเมืองไทยจึงสามารถท�ำได้ทั้งรูปแบบของอาหาร เครื่องดื่ม และอาหารเสริม โดยต้องมีคุณสมบัติเด่นด้าน คุณค่าทางโภชนาการที่ครบถ้วน มีส่วนช่วยชะลอความ เสือ่ มของร่างกาย ย่อยง่าย สามารถดูดซึมได้ดี ไขมันต�ำ่ ปราศจากคอเลสเตอรอล หลีกเลีย่ งน�ำ้ ตาล และมีสว่ นผสม ที่ช ่ ว ยลดความเสี่ย งหรือ ป้ อ งกัน การเกิด โรคในผู ้ สู ง วัย โดยเฉพาะ 3 โรคยอดนิยมอย่าง มะเร็ง หัวใจ และเบาหวาน ขณะที่บรรจุภัณฑ์ส�ำหรับบรรจุจะต้องง่ายต่อความเข้าใจ และใช้งานสะดวก มีรายละเอียดครบถ้วน และได้รบั การ รองรั บ มาตรฐานคุ ณ ภาพและความปลอดภั ย รวมถึ ง ควรมีช่องทางการซื้อสินค้าที่สะดวก หรือบริการจัดส่งที่ สอดรั บ กั บ ไลฟ์ ส ไตล์ ข องกลุ ่ ม ลู ก ค้ า ที่ เ ปลี่ ย นแปลงไป อนาคต โดยสินค้าอาหารทีค่ าดว่าจะได้รบั ความนิยมสูงก็คอื 16 อุตสาหกรรมสาร


ญีป่ นุ่ แม่แบบธุรกิจอาหารผูส้ งู วัย

อาหารแปรรูปส�ำหรับผู้สูงวัย และ อาหารเพื่อสุขภาพ ซึ่งสอดรับกับกระแสการดูแลสุขภาพที่ก�ำลังมาแรงอยู่ใน ปัจจุบนั และกลุม่ ผูส้ งู วัยก็เป็นฐานลูกค้าหลักทีข่ บั เคลือ่ น ให้กระแสอาหารสุขภาพมีแนวโน้มการเติบโตต่อเนือ่ งอย่าง เห็นได้ชดั โดยเฉพาะผู้สงู วัยทีร่ ่างกายเริม่ มีการเสือ่ มถอย จะให้ ค วามส�ำคัญกับการดูแลรัก ษาสุขภาพมากยิ่ง ขึ้น จากรายงานของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยระบุวา่ มูลค่าการ บริโภคอาหารสุขภาพของคนไทยสูงถึง 1 แสนล้านบาทต่อปี โดยอาหารสุขภาพทีไ่ ด้รบั ความนิยมสูงสุดก็คอื กลุม่ อาหาร และเครื่องดื่ม รองลงมาคือ อาหารที่ผลิตจากธรรมชาติ รวมถึงวิตามินและผลิตภัณฑ์อาหารเสริม ซึ่งเป็นกลุ่มที่มี แนวโน้มเติบโตมากขึน้ เช่นกัน

ขณะที่ประเทศญี่ปุ่น ซึ่งเป็นประเทศผู้น�ำด้านสังคม ผูส้ งู วัยโดยสมบูรณ์ประเทศแรกๆ ในโลก และเป็นต้นแบบ ในการผลิตสินค้าและบริการส�ำหรับผู้สูงวัยให้กับนานา ประเทศ จากผลส�ำรวจของส�ำนักงานรัฐสภาญีป่ นุ่ (Japan Cabinet Offfiice) พบว่า ร้อยละ 66 ของผูท้ มี่ อี ายุ 60 ปีขนึ้ ไป พึงพอใจกับความสุขทางใจ (Mental Happiness) ผู้ประกอบ การในญี่ ปุ ่ น จึ ง ให้ ค วามส�ำคั ญ กั บ การผลิ ต และพั ฒ นา สิ น ค้ า และบริ ก ารที่ ต รงกั บ ความต้ อ งการของผู ้ บ ริ โ ภค อย่างต่อเนือ่ ง โดยให้ความส�ำคัญกับ 4 ประเด็นหลัก คือ ความปลอดภัย สุขภาพ ประโยชน์ และความสะดวก จากภาพรวมของธุรกิจดูแลผู้สูงอายุในญี่ปุ่นปี 2556 นั้น มีมลู ค่าสูงถึง 8 ล้านล้านเยน หรือประมาณ 2.56 ล้านล้านบาท มีการเติบโตเฉลีย่ 5 ปี ย้อนหลังถึง 10% รายได้เฉลีย่ ต่อปี 4.54 ล้านล้านเยน หรือประมาณ 1.452 ล้านล้านบาท ก�ำไรเพิม่ ขึน้ 5.1% และหนึง่ ในธุรกิจผูส้ งู วัยทีท่ �ำก�ำไรได้ดี ก็คือ ธุรกิจอาหารเสริมสุขภาพและโภชนาการ ซึ่งเติบโต เพิม่ ถึงร้อยละ 70 ตัวอย่างการพัฒนานวัตกรรมอาหารส�ำหรับ ผู้สูงวัยโดยเฉพาะมีชื่อเรียกว่า Care Food ซึ่งคุณสมบัติ เด่นของอาหารประเภทนี้จะมีหน้าตา กลิ่น รสชาติ และ สารอาหารยั ง คงเหมื อ นอาหารทั่ ว ไปแต่ แ ฝงไว้ ด ้ ว ย คุณสมบัติเฉพาะตัวและน�ำนวัตกรรมมาใช้เพื่อเลี่ยงหรือ ลดส่วนผสมที่อาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพ อาทิ มีความ อ่อนนุ่ม สามารถกลืนหรือละลายในปาก เพื่อให้ง่ายต่อ

ด้ า นหน่ ว ยงานต่ า งๆ ทั้ ง ภาครั ฐ และเอกชนใน ประเทศไทยก็มกี ารบูรณาการความร่วมมือกันเพือ่ ผลักดัน และก�ำหนดทิศทางการวิจัยพัฒนานวัตกรรมอาหารด้วย เทคโนโลยีและการออกแบบเพือ่ รองรับสังคมผู้สงู วัย ผ่าน การตั้งเครือข่าย Care Food ที่มุ่งเน้นเดินหน้างานวิจัย เชิงพาณิชย์และท�ำการทดสอบจริง เพื่อให้ผู้ประกอบการ สามารถน�ำไปสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ที่เหมาะสมกับผู้สูงวัย แต่ละกลุ่ม แต่ละช่วงวัย และกลุ่มผู้สูงอายุที่มีโรค เพื่อ รองรับตลาดสังคมสูงวัยทีจ่ ะเป็นตลาดใหญ่ในอนาคตอย่าง สมบูรณ์แบบโดยทีก่ ลุม่ ลูกค้าจะได้รบั ผลิตภัณฑ์อาหารและ ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่ปลอดภัยมีคุณประโยชน์ในการ ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคควบคูก่ บั ความพอใจสูงสุด อุตสาหกรรมสาร 17


การรับประทานและลดการส�ำลัก หรือการลดฟอสฟอรัสใน บะหมี่กึ่งส�ำเร็จรูป เป็นต้น ทั้งนี้ก็เพื่อให้ผู้สูงวัยมีความสุข กับ การรับ ประทานอาหารโดยสามารถรัก ษาสมดุลที่ดี ในร่างกายได้ อีกหนึง่ ตัวอย่างน่าสนใจของผูน้ �ำด้านการผลิตอาหาร เด็กและมายองเนสชือ่ ดังระดับโลกอย่างคิวพีกป็ รับกลยุทธ์ มาเจาะตลาดผูส้ งู วัยเพิม่ ขึน้ โดยใช้เทคโนโลยีเดียวกับการ ผลิตอาหารเด็กมาผลิตอาหารให้กบั ผูส้ งู วัย ท�ำให้ปจั จุบนั คิวพีมีอาหารส�ำหรับผู้สูงวัยจ�ำหน่ายทั้งแบบปรุงสด อาทิ สลัดมันฝรัง่ ผักตุน๋ สไตล์ญปี่ นุ่ ซึง่ ได้รบั ความนิยมสูง และ แบบส�ำเร็จรูปที่มีรายละเอียดระบุบนซองชัดเจน อาทิ ชนิดเคีย้ วง่าย ชนิดใช้ลนิ้ บดได้ หรือชนิดกลืนได้เลย โดย ผู้สูงวัยในญี่ปุ่นสามารถหาซื้อได้ทางซูเปอร์มาร์เก็ตทั่วไป และบริการส่งถึงบ้าน ซึ่งทางรัฐบาลญี่ปุ่นเองก็ให้ความส�ำคัญและเล็งเห็น การเติบโตของธุรกิจนี้ จึงมอบหมายให้กระทรวงเกษตร จัดการประชุมขึน้ ทุกเดือนเพือ่ ให้การสนับสนุนส่งเสริมและ ควบคุมดูแลธุรกิจในตลาดอาหารผูส้ งู วัยแบบครบมิติ โดย มีการหารือกันอย่างต่อเนือ่ งระหว่างแพทย์ นักโภชนาการ และบริษัทผู้ผลิตอาหาร เพื่อร่วมมือกันผลิตอาหารที่มี คุณภาพทีไ่ ด้มาตรฐานตามความต้องการของผูส้ งู อายุ

ธุรกิจอาหารผู้สูงวัยในไต้หวัน ปูพรมการเติบโต สูอ่ นาคตสดใส

ด้านธุรกิจอาหารผูส้ งู วัยในประเทศไต้หวันก็มแี นวโน้ม ทีส่ ดใสในอนาคตเช่นกัน เนือ่ งจากภาพรวมตลาดอาหารใน ไต้หวันเติบโตเพิ่มขึ้นจากปัจจัยทั้งภายในและภายนอกที่ เกือ้ หนุนให้ตลาดอาหารในไต้หวันขยายตัว ประกอบกับชาว ไต้หวันเองนิยมรับประทานอาหารนอกบ้านและมีพฤติกรรม เปิ ด รั บ อาหารแปลกใหม่ อ ยู ่ เ สมอ ส่ ง ผลให้ ใ นไต้ ห วั น มีรา้ นอาหารหลากหลายประเภทเกิดขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง และ หากเจาะลึกสถานการณ์ตลาดอาหารเพือ่ ผูส้ งู วัยของไต้หวัน ในขณะนี้ พบว่าไต้หวันเป็นประเทศที่มีอัตราเด็กเกิดใหม่ ต�ำ่ ทีส่ ดุ ในโลก ขณะทีจ่ �ำนวนผูส้ งู วัย (อายุมากกว่า 65 ปี) เพิม่ จ�ำนวนขึน้ อย่างรวดเร็ว ซึง่ การเปลีย่ นแปลงโครงสร้าง ประชากรอย่างชัดเจนนี้ท�ำให้หลายฝ่ายที่เกี่ยวข้องเห็น ตรงกันว่า สินค้าส�ำหรับผู้สูงวัยกลายเป็นดาวรุ่งดวงใหม่ ทีอ่ ยูใ่ นกระแสความต้องการของกลุม่ ผูบ้ ริโภค โดยเฉพาะ สินค้าอาหารส�ำหรับผูส้ งู วัยในไต้หวัน ทีถ่ อดรหัสได้จากการ วิเคราะห์พฤติกรรมผูบ้ ริโภคส่วนใหญ่ทมี่ กี ารศึกษาดี เอาใจใส่ เรื่องสุขภาพและให้ความส�ำคัญกับการเลือกสรรสินค้า และบริการมากขึน้ ท�ำให้แนวทางการพัฒนาสินค้าอาหาร ส�ำหรับผูส้ งู วัยในไต้หวันแบ่งออกเป็น สินค้าอาหารส�ำหรับ 18 อุตสาหกรรมสาร

ผูส้ งู วัยทัว่ ไป ซึง่ เป็นอาหารชนิดเดียวกับผูบ้ ริโภคทัว่ ไป แต่ เพิม่ คุณสมบัตบิ างอย่างทีเ่ หมาะสมกับผูส้ งู วัย รวมถึงด้าน บรรจุภณ ั ฑ์ทใี่ ช้งานง่าย เปิดสะดวก มีขนาดและปริมาณที่ เหมาะสม เนือ่ งจากผูส้ งู วัยมักรับประทานอาหารต่อมือ้ น้อย กว่าคนทัว่ ไป สินค้าอาหารส�ำหรับผูส้ งู วัยทีต่ อ้ งการ การดูแล สุขภาพเป็นพิเศษ สินค้าประเภทนี้เหมาะส�ำหรับผู้สูงวัย ที่ต้องการดูแลสุขภาพเป็นพิเศษหรือมีปัญหาด้านสุขภาพ ดังนัน้ อาหารประเภทนีจ้ งึ ถูกคิดค้นให้มคี ณ ุ สมบัตเิ พิม่ เติม เช่น อาหารโซเดียมต�่ำส�ำหรับผู้สูงวัยที่เป็นความดันสูง เนยเทียมทีช่ ว่ ยลดคอเลสเตอรอล เป็นต้น


จีนเร่งวิเคราะห์พฤติกรรม ปั้นผลิตภัณฑ์สอดรับ ความต้องการผูส้ งู วัย

ส่วนพฤติกรรมของผู้สูงอายุในเขตเศรษฐกิจจีนที่มีความ เจริญอย่าง เซี่ยงไฮ้ เจ้อเจียง และเจียงซูนั้น พบว่ามีความ ต้องการด้านสุขภาพและความบันเทิงเป็นหลัก รับกับข้อมูล จากเว็บไซต์วิทยาศาสตร์และสังคมที่แจงว่า ผู้สูงวัยชาวจีน ประมาณร้อยละ 59 ออกก�ำลังกายเป็นประจ�ำ ดังนัน้ สินค้าที่ ช่วยเสริมสร้างให้สุขภาพแข็งแรงเป็นสิ่งจ�ำเป็นและตอบโจทย์ ผูส้ งู วัยเป็นอย่างมาก อาทิ อุปกรณ์ออกก�ำลังกาย เครือ่ งช่วย วัดความดันหรือน�ำ้ ในเลือด และอาหารเพือ่ สุขภาพทีส่ ะดวกต่อ การรับประทานหรือน�ำมาปรุงต่อได้งา่ ย. และนี่คือส่วนหนึ่งที่แสดงให้เห็นถึงโอกาสทางธุรกิจจาก ประเทศต่างๆ ทีส่ อดรับกับการถ่ายโอนของขนาดกลุม่ ผูบ้ ริโภค หลักไปสูผ่ สู้ งู วัย ตลาดใหญ่ทมี่ ศี กั ยภาพในอนาคตอันใกล้ ทัง้ นี้ การเตรียมความพร้อมและปรับกลยุทธ์ให้กับธุรกิจอาหารถือ เป็นเรือ่ งจ�ำเพือ่ สร้างความได้เปรียบให้กบั ธุรกิจในระยะยาว.

ขอขอบคุณข้อมูลและรูปภาพจาก *ปราโมทย์ ปราสาทกุล “สถานการณ์ผู้สูงอายุ แนวโน้ม และผลกระทบจากการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน, 2556 **การส�ำรวจการเปลี่ยนแปลงของประชากร ส�ำนักงานสถิติแห่งชาติ, 2556 ศูนย์ข้อมูลเพื่อธุรกิจไทยในจีน ประจ�ำสถานกงสุลใหญ่ ณ นครเซี่ยงไฮ้ www.smeleader.com www.ditp.go.th www.bangkokbiznews.com www2.ipsr.mahidol.ac.th http://oknation.nationtv.tv/blog/surasakc www.prachachat.net อุตสาหกรรมสาร 19


Showcase

• เรื่อง : ดา นานาวัน

คุณเฉลิมพล ปุณโณทก ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ซีที เอเชีย โรโบติกส์ จ�ำกัด ผู้อยู่เบื้องหลัง ความส�ำเร็จของ “หุ่นยนต์ดินสอ” หุ่นยนต์สร้างสรรค์ ทีก่ ลัน่ กรองจากสมองและสองมือคนไทยล้วนๆ ผูผ้ ลิต สินค้าที่เรียกว่า หุ่นยนต์บริการ (Service Robot) เพื่ อ เติ ม เต็ ม ตลาดที่ ยั ง มี ช ่ อ งว่ า ง โดยใส่ ฟ ั ง ก์ ชั่ น การใช้งานทีจ่ ำ� เป็น ตรงจุด และตรงใจ กลายเป็นสินค้า ไฮเทคที่ มี Emotional และใส่ เ สน่ ห ์ ค วามเป็ น ไทย จนสามารถครองตลาดผู้ ใช้งานทั้งในประเทศไทยและ ต่างประเทศ

ดินสอโรบอท

หุ่นยนต์สัญชาติไทย ยิ้มได้ พูดเก่ง เอาไว้บริการคนแก่ ก�ำเนิดหุน่ ยนต์สญ ั ชาติ ไทย

ย้อนกลับไป 20 ปีทผี่ ่านมา เฉลิมพล ปุณโณทก ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร บริษทั ซีที เอเชีย โรโบติกส์ จ�ำกัด เชื่อมั่นว่าประสบการณ์ในฐานะนักกิจกรรมใน รั้วมหาวิทยาลัยนั้นช่วยบ่มเพาะ และสร้างให้เขามี อุดมการณ์ทจี่ ะแปลงธุรกิจให้สามารถสร้างสรรค์สงั คม และให้คุณค่าแก่ประเทศได้ แต่ก่อนที่เขาจะกระโดด เข้ามาเป็นผูป้ ระกอบการเต็มตัว เฉลิมพลได้สงั เคราะห์ และสกัดความคิดออกมาว่า “ผมจะท�ำของเจ๋งๆ ฝีมือ คนไทยที่ ส ามารถขายได้ ทั่ ว โลก” โดยอาศั ย พลั ง ใจที่มุ่ ง มั่น เต็ม เปี ่ ย ม และขวนขวายเรีย นรู ้ จ ากผู ้ ที่ เชี่ยวชาญระดับโลก อย่าง จีอี แคปิทัล แคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา 20 อุตสาหกรรมสาร


www.Postjung.com

“ผมไม่เชื่อง่ายๆ ว่าท�ำตามเขาไปแล้วจะดีเสมอ และตั้งค�ำถามว่าถ้าทุกคนคิดอย่างนั้น ประเทศของ เราจะมีการพัฒนาสู่ความเป็นผู้น�ำได้อย่างไร เลย ท�ำให้เป็นคนคิดนอกกรอบและมุ่งมั่นที่จะท�ำธุรกิจใน อุตสาหกรรมเทคโนโลยี ผมตัดสินใจว่าจะต้องออกมา ท�ำธุรกิจในกลุ่มอุตสาหกรรมเทคโนโลยีซอฟท์แวร์และ การผลิตหุ่นยนต์โดยฝีมอื คนไทยให้ได้ ซึง่ กระบวนการ จะเป็ น ผู ้ ป ระกอบการล้ ว นมี ที่ ม าของความคิ ด และ แผนการทั้งนั้น ไม่ใช่ความบังเอิญ” กุญแจดอกส�ำคัญทีท่ �ำให้ซที ี เอเชีย โรโบติกส์เป็น ผู้บุกเบิก เติบโตและยังเป็นผู้น�ำในกลุ่มอุตสาหกรรม เทคโนโลยีซอฟท์แวร์และการผลิตหุ่นยนต์ประเภท Service Robot มาจนถึงปัจจุบัน นอกจากบุคลากรที่มี ศักยภาพครบทุกด้าน ไม่ใช่เพียงด้านวิศวกรรมเท่านั้น ยังต้องอาศัยหลักกลยุทธ์การตลาดฉบับผู้น�ำเข้ามา เป็นแกนหลักในการบริหารด้วย โดยผู้บริหารต้องเป็น ผู้ก�ำหนดวิสัยทัศน์ อ่านความต้องการของตลาดได้ และมีความสามารถในการ “ประกอบคนเก่ง” เชือ้ เชิญ ผู้ที่มีศักยภาพในด้านต่างๆ เข้ามาท�ำงานในองค์กร สร้างเวทีให้วิศวกรท�ำงานและเชื่อมโยงทักษะความ รู้จากหลากหลายศาสตร์มาตอบโจทย์ความต้องการ ผู้บริโภคได้ “ผู้ประกอบการต้องมีทักษะหลักๆ 2 ด้าน หนึ่ง ต้องฝึกอ่านคนให้เป็น โดยเฉพาะการสร้างแรงจูงใจ ให้คนเก่งมาท�ำงานร่วมกับเรา เพือ่ สนับสนุนให้เขาเป็น ก�ำลังส�ำคัญในการสร้างผลิตภัณฑ์ ซึง่ ผมใช้หลักง่ายๆ คือเซ็ตเป้าหมายให้ชัดเจนว่า “ผมจะท�ำซอฟท์แวร์ เจ๋งๆ ฝืมือคนไทยขายไปทั่วโลก” เมื่อพูดกับตัวเอง อุตสาหกรรมสาร 21


ชัดเจนแล้วก็ต้องสือ่ สารให้เป็น โดยเริม่ พูดกับคนเก่งที่ มีอดุ มการณ์เดียวกัน ชักชวนให้มาเดินทางร่วมกัน และ สอง ผู้ประกอบการสินค้าไฮเทคยังต้องอ่านอนาคตให้ เป็นด้วย”

ปัน้ หุน่ ยนต์ ไว้บริการคนแก่

ถึ ง แม้ ซี ที เอเชี ย โรโบติ ก ส์ จะเป็ น ผู ้ ผ ลิ ต หุน่ ยนต์เจ้าแรกของไทยท�ำให้ปราศจากคูแ่ ข่งในประเทศ ก็ ต าม แต่ เ ฉลิ ม พลมองว่ า การเป็ น ผู ้ บุ ก เบิ ก ตลาด ยังจ�ำเป็นต้องอาศัยทักษะ “อ่านตลาดอนาคต” ร่วมกับ “วิเคราะห์คู่แข่งที่มีอยู่ทั่วโลก” เพื่อดูว่าเซ็กเม้นต์ใด เป็นที่ต้องการของตลาดหรือยังไม่มีผู้ผลิตตอบสนอง ความต้องการนั้นได้ ซึ่งในตอนนั้นกลุ่มผู้สูงอายุเป็น กลุ่มเป้าหมาย และต้องแยกให้ชัดเจนต่อไปว่าความ ต้องการของผู้สูงอายุแต่ละประเภทคืออะไร แล้วสกัด เป็นโจทย์เพื่อส่งต่อให้ทีมวิศวกรสร้างหุ่นยนต์ กลาย เป็นที่มาของ “หุ่นยนต์ดินสอ” หุ่นยนต์เชิงพาณิชย์ ตัวแรกของประเทศไทย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อท�ำ หน้าที่ให้บริการมนุษย์ สามารถสื่อสารโต้ตอบกับ มนุษย์ได้ โดยใช้เทคโนโลยีทางด้าน Computational Intelligent ให้ หุ ่ น ยนต์ จ ดจ�ำภาษามื อ ที่ เ ป็ น ภาพ เคลื่อนไหว ส�ำหรับใช้สื่อสารกับผู้พิการทางการได้ยิน โดยไม่จ�ำเป็นต้องใช้อุปกรณ์ช่วย “เป็นทีร่ กู้ นั ว่าในเอเชีย ตลาดญีป่ นุ่ เป็นเจ้าตลาด หุ่นยนต์ ผมก็ไปส�ำรวจตลาด ไปดูศูนย์วิจัยและงาน แสดงสินค้าที่เกี่ยวกับหุ่นยนต์ และพบว่ายังไม่มีใคร ท�ำหุ่นยนต์ Service Robot จึงเป็นที่มาให้เราพัฒนา หุ่นยนต์ดินสอรุ่นแรก ขึ้น โดยคิดจากความต้องการ ผู้บริโภค (Customer Need) โดยไปเฝ้าดู เฝ้าสังเกต สอบถามแล้วก็ตีโจทย์ให้แตกว่า จะท�ำอย่างไรให้คน ตัดสินใจซื้อหุ่นยนต์พร้อมฟังก์ชั่นที่ท�ำงานได้ตามที่ ลูกค้าต้องการ และใส่อีโมชั่น ให้ยิ้มได้ ให้ช่างเจรจา ซึ่งดินสอสามารถตอบโจทย์ได้ทั้งเหตุผลและอารมณ์ ความรูส้ กึ ผ่านดีไซน์และรูปแบบการใช้งานครอบคลุม ความต้องการของกลุม่ ผูส้ งู อายุจริงๆ ซึง่ หุน่ ยนต์ดนิ สอ รุ่นต่างๆ จะถูกผลิตด้วยแนวคิดนี้ทั้งสิ้น” ต่อมา ซีที เอเชีย โรโบติกส์ ได้พัฒนาหุ่นยนต์ ดินสอ รุ่น 2 เพื่อให้มีประโยชน์ใช้สอยในการดูแล ผูส้ งู อายุโดยเฉพาะ โดยมีแขนกลทีอ่ อกแบบให้เลียนแบบ กล้ามเนื้อแขนของมนุษย์ ใช้เส้นสลิงก์ในการควบคุม การเคลื่อนที่ซึ่งสามารถพับงอหมุนได้ 7 จุดต่อ 1 แขน สามารถท�ำการเสิร์ฟอาหาร หยิบสิ่งของ รวมถึงไหว้ และโบกมือ สามารถบันทึกรายชื่อผู้ที่ต้องการติดต่อ

22 อุตสาหกรรมสาร

ไว้ ใ นระบบฐานข้ อ มู ล และโทรออกไปยั ง ผู ้ ที่ ต ้ อ งการ ติดต่อได้ พร้อมทั้งติดตั้งนวัตกรรมใหม่ DinsowSpond ซึ่งเป็นระบบเรียกให้โทรกลับ ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อเรียกให้ แพทย์หรือลูกหลาน ติดต่อกลับหาผูส้ งู อายุได้อย่างรวดเร็ว จากนั้นจึงลดขนาดตัวหุ่นยนต์ให้เหมาะสมกับไลฟ์สไตล์ คนเมือง กลายเป็น หุน่ ยนต์ดนิ สอมินิ (Dinsaw Mini) ผลิต ด้วยวัสดุพลาสติกแข็ง โครงสร้างภายในเป็นเหล็กยึด โดย พุ่งเป้าไปที่การดูแลผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ตามล�ำพัง และ มีความสามารถในการแจ้งแพทย์ฉกุ เฉินได้ จนกระทัง่ ปัจจุบนั ได้พฒ ั นาเป็น หุน่ ยนต์ดนิ สอ รุน่ 3 ทีม่ ปี ระสิทธิภาพแบบ Full Option ตีตลาดไทยและต่างประเทศ อาทิ ญี่ปุ่น เยอรมนี สวีเดน และสหรัฐอเมริกา เป็นต้น

อนาคตของโรบอทตระกูลดินสอ

ทีซี เอเชีย โรโบติกส์ ผู้พัฒนาหุ่นยนต์เชิงพาณิชย์ รายแรกและรายเดี ย วของประเทศไทย ยั ง คงมุ ่ ง เน้ น มาตรฐานของบริษัทของคนไทย 100% และช่วงชิงเป็น


ความเป็นเลิศด้าน Service Robot เพื่อให้อุตสาหกรรม เทคโนโลยีในประเทศไทยขยายตัวและทะยานขึ้นไปอยู่ใน ระดับโลกได้ โดยจะพึ่งพาทักษะด้านบริการและต่อยอด ศักยภาพด้านการบริการตามขีดความสามารถของหุน่ ยนต์ เช่น ทักษะด้านการเสิร์ฟอาหารให้คนชราก็สามารถน�ำมา ปรับใช้กับการเสิร์ฟอาหารคนทั่วไป แต่ต้องใส่ฟังก์ชั่น พิเศษเพิ่มขึ้น เป็นต้น และให้ความส�ำคัญกับการพัฒนา หุน่ ยนต์ Service Robot เพือ่ ให้บริการผูส้ งู อายุ โดยพัฒนาจาก ระบบการท�ำงานง่ายๆ ซ�้ำๆ เป็นการประมวลผลได้เอง แบบปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence)

www.Postjung.com

“ผมเลือกตอบสนองหลากหลายธุรกิจ แต่ที่ให้ความ สนใจเป็นพิเศษคือกลุ่มการแพทย์ หลังจากที่เราพัฒนา หุ่นยนต์เชิงพาณิชย์เพื่อดูแลผู้สูงอายุได้แล้ว ก็สามารถ พัฒนาให้ดูแลผู้ป่วยทั้งที่อยู่ในโรงพยาบาลและที่บ้านได้ อีกด้วย ซึง่ ผมและทีมงานพร้อม วิวฒ ั นาการแนวทางการ พัฒนาสินค้าของเราให้เป็นหุ่นยนต์แพทย์ให้ได้ โดย อาศัยแนวคิด ความร่วมมือและมองให้ออกว่าขณะนีก้ ระแส หรือเทรนด์ใดก�ำลังมาแล้วเรามีศักยภาพที่จะตอบสนอง ด้านใดก็ลงมือท�ำให้ตรงจุดเลย โดยตั้งเป้าตัวเองให้เป็น Global Player มองตลาดให้ไกลกว่าในประเทศ เพราะผม เชื่อว่าชีวิตความเป็นอยู่ของมนุษยชาติดีขึ้นได้ ขึ้นอยู่กับ ผู้ประกอบการมีโอกาสสร้างสรรค์สิ่งดีๆ ออกมานั่นเอง” คุ ณ เฉลิ ม พล กล่ า วถึ ง แนวทางในอนาคตของบริ ษั ท และการเติบโตของหุ่นยนต์สญ ั ชาติไทยในตลาดโลก

แนะวิธสี ร้างโอกาสให้หนุ่ ยนต์ ไทย

ส่วนกระบวนการส�ำคัญถัดไปนั้น ผู้ประกอบการต้อง มีความเข้าใจใน Rules of the Game ว่าการเป็นผู้สร้าง สินค้านวัตกรรมนั้น ต้องสร้างและเล่นในเกมของตัวเอง ในเมื่อไทยเรายังมีจุดอ่อน ไม่สามารถสู้ความแข็งแกร่ง ทางเทคโนโลยีกับประเทศผู้น�ำของโลกได้ ก็ต้องค้นให้พบ ความสามารถหรือช่องว่างของโอกาสของตัวเองทีจ่ ะแทรก ตัวเข้าไปในตลาดได้ และเลือกที่จะจับมือกับพันธมิตร ที่ส่งเสริมซึ่งกันและกันและมีเป้าหมายไปในทางเดียวกัน

ด้านภาครัฐเองควรมองหา ‘ช้างเผือก’ หรือผูป้ ระกอบการ ที่มีศักยภาพผู้น�ำด้านเทคโนโลยี โดยเข้ามาสนับสนุนและ ส่งเสริมให้เป็นทัพหน้า เป็นต้นไม้ยืนต้นที่แข็งแกร่ง เพื่อ ส่งสัญญาณว่าผูป้ ระกอบการไทยมีความสามารถเทียบชัน้ ระดับโลก จึงจะท�ำให้เกิดการสร้างตลาดและโอกาสเติบโต อย่างถาวรให้กบั เศรษฐกิจไทยได้อย่างแท้จริง.

อุตสาหกรรมสาร 23


AEC Hub

• เรื่อง : นุชเนตร จักรกลม

จากการขยายตั ว ของสั ง คมผู ้ สู ง อายุ ทั่ ว โลก ในปัจจุบนั ท�ำให้ธรุ กิจทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับการผลิตภัณฑ์ เทคโนโลยี และการบริการที่ช่วยดูแลผู้สูงอายุเป็น ที่ต้องการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง บริษัท เอ็น.ซี.ซี. เอ็กซิบชิ นั่ ส์ ออกาไนเซอร์ จ�ำกัด ได้เล็งเห็นถึงความ ส�ำคัญของตลาดกลุ่มนี้และเตรียมความพร้อมใน การเป็นหนึ่งในกลไกที่ช่วยผลักดันให้ประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการลงทุนด้านตลาดผู้สูงอายุในกลุ่ม ประเทศอาเซียนต่อไปในอนาคต จึงผนึกก�ำลังกับ ผู้ประกอบการธุรกิจเพื่อผู้สูงอายุ เปิดตัว InterCare Asia งานแสดงนวัตกรรมสินค้า บริการ และเทคโนโลยี ด้านสุขภาพส�ำหรับผูส้ งู อายุมาตรฐานระดับสากลเพือ่ ยกระดับคุณภาพชีวติ ให้สมบูรณ์แบบ เอือ้ ประโยชน์ ทั้งด้านผู้บริโภค ผู้ประกอบการ และสังคมโดยรวม

24 อุตสาหกรรมสาร

InterCare Asia

งานแสดงนวัตกรรมผู้สูงอายุ รับสังคมสูงอายุขยายตัว ปักธงประเทศไทยเป็นฮับ


ซึง่ จัดขึน้ เป็นครัง้ แรก ณ ศูนย์การประชุมแห่งชาติสริ กิ ติ ิ์ กรุงเทพฯ เมื่อปีที่ผ่านมา ภายในงานมีการเปิดพื้นที่ จัดแสดงสินค้าจากหลายประเทศ งานสัมมนาและ กิจกรรมเวิร์คช็อปหัวข้อต่างๆ ส�ำหรับผู้สูงอายุจากกูรู ผูเ้ ชีย่ วชาญในด้านต่างๆ ทัว่ เอเชีย และการจับคูท่ างธุรกิจ ทีต่ อบโจทย์ความต้องการของผูส้ งู อายุได้อย่างครอบคลุม 5 กลุ่มหลัก ได้แก่ 1. Home Care 2. Rehabilitation 3. Medical Tourism 4. Services 5. Nutritional Food โดย มีสนิ ค้านวัตกรรมทีน่ า่ สนใจ เช่น ไลบราเตอร์ (Liberator) จากประเทศออสเตรเลีย น�ำซอฟต์แวร์ส�ำหรับช่วยพูดคุย สือ่ สารกับผูส้ งู อายุทมี่ ปี ญ ั หาเรือ่ งการฟัง รวมถึงผูพ้ กิ าร ทีม่ คี วามบกพร่องทางการฟัง, แลป รีแฮบ (Lab Rehab) จากประเทศสิงคโปร์ น�ำอุปกรณ์ชว่ ยบ�ำบัดร่างกายมา จัดแสดง เป็นต้น คุ ณ สื บ พงษ์ สมิ ต ทั น ต์ ผู ้ อ�ำนวยการ กลุม่ โครงการ บริษทั เอ็น.ซี.ซี. เอ็กซิบชิ นั่ ส์ ออกาไนเซอร์ จ�ำกัด ผูจ้ ดั งาน อินเตอร์แคร์ เอเชีย 2016 (InterCare Asia 2016) เปิดเผยว่า InterCare Asia จัดขึน้ เพือ่ แสดง ความพร้อมให้กบั ประเทศไทยในการก้าวผ่านไปสูส่ งั คม ผู้สูงอายุได้อย่างมีประสิทธิภาพ ด้วยการรวบรวมเอา นวัตกรรมสินค้าและบริการทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ่ ผูส้ งู อายุ ในหลายมิตเิ อาไว้ได้อย่างครอบคลุม สนองตอบลูกค้า

อุตสาหกรรมสาร 25


กลุ่มผู้สูงอายุที่ต้องการเตรียมตัวหรือมองหาสินค้า และบริการทีช่ ว่ ยให้การด�ำเนินชีวติ สะดวกสบายยิง่ ขึน้ อีกทั้งยังเสริมสาระส�ำคัญในมิติต่างๆ อาทิ มิติธุรกิจ การค้าการลงทุน มิตขิ องการวิจยั พัฒนาเทคโนโลยีและ นวัตกรรมเกีย่ วข้อง ตลอดจนมิตทิ างสังคมทีค่ รอบคลุม ผู้สูงอายุและคนพิการ เป็นพื้นที่ในการต่อยอดโอกาส ให้กับผู้ประกอบการและนักลงทุนไทยที่จะได้ส�ำรวจ นวัตกรรมและแนวโน้มความต้องการของตลาด เทรนด์ ของสินค้าและบริการทีเ่ กีย่ วข้อง เพือ่ น�ำไปพัฒนาธุรกิจ เกี่ยวกับผู้สูงอายุให้มีศักยภาพมากยิ่งขึ้น อีกทั้งยัง มุ่งหวังให้เป็นสื่อกลางในการส่งเสริมการลงทุนธุรกิจ เกี่ยวกับผู้สูงอายุในภูมิภาคอาเซียนอีกด้วย ซึ่งสอดรับกับมาตรฐานด้านธุรกิจบริการรวมถึง อุตสาหกรรมการท่องเทีย่ วทีเ่ ข้มแข็งและเป็นเอกลักษณ์ ซึ่งสามารถดึงดูดให้ชาวต่างชาติเดินทางมาท่องเที่ยว ตลอดจนเป็ น จุ ด หมายปลายทางยอดนิ ย มที่ ช าว ต่างชาติต้องการมาพักผ่อนใช้ชวี ติ หลังเกษียณ อีกทัง้ ประเทศไทยเองก็เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ โดยประมาณ การณ์ปี 2050 ผู้สูงอายุจะเพิ่มเป็น 18 ล้านคนหรือ ร้ อ ยละ 27 ของประชากรทั้ ง ประเทศ ส่ ง ผลให้ ธุรกิจบริ ก ารผู ้ สู ง อายุ ใ นเมื อ งไทยมี สั ด ส่ ว นมากขึ้ น แต่เนือ่ งจากปัจจุบนั ตลาดยังมีขอ้ จ�ำกัดในการขยายตัว 26 อุตสาหกรรมสาร

ท�ำให้ธุรกิจผู้สูงอายุในประเทศไทยส่วนใหญ่เป็นธุรกิจ บริการดูแลระยะสัน้ รวมถึงธุรกิจบริการผู้สงู อายุแบบ เนอร์สซิ่งโฮม (Nursing Home) ในปัจจุบันที่มีจ�ำนวน ผูใ้ ช้บริการเต็มความสามารถในการรองรับ และมีแนวโน้ม ความต้องการใช้บริการเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ งและเติบโต อีกเท่าตัวในช่วง 2-3 ปีขา้ งหน้า อีกทัง้ ธุรกิจการจัดหา ที่พักระยะยาวก็เริ่มมีสัดส่วนการเติบโตมากขึ้นตาม แนวโน้มของนักท่องเที่ยวสูงอายุต่างชาติท่ีเดินทาง มาเที่ยวเมืองไทยเพิ่มขึ้นโดยเฉลี่ยถึงร้อยละ 8 ต่อปี ประกอบกับข้อมูลจาก International Living Magazine ที่ จั ด อั น ดั บ ประเทศไทยเป็ น 1 ใน 10 ประเทศ ที่ มี ค วามเหมาะสมในการอยู ่ อ าศั ย ยามเกษี ย ณ เนื่ อ งจากค่ า ครองชี พ ถู ก และมี บ ริ ก ารด้ า นการ รักษาพยาบาลที่มีประสิทธิภาพในราคาที่เหมาะสม เมื่อเทียบกับประเทศอื่น ท�ำให้ปัจจุบันเมืองท่องเที่ยว


หลายแห่ ง เริ่ ม ลงทุ น สร้ า งโครงการบ้ า นพั ก คนชรา เพื่อรองรับชาวต่างชาติอย่าง เชียงใหม่ หัวหิน สมุย 3 เมื อ งท่ อ งเที่ ย วยอดนิ ย มของผู ้ สู ง อายุ ต ่ า งชาติ เนื่องจากแวดล้อมไปด้วยธรรมชาติและมีบรรยากาศ ที่สงบ ไม่พลุกพล่าน โดยจังหวัดเชียงใหม่ พบว่า มี จ�ำนวนชาวญี่ ปุ ่ น ที่ ล งทะเบี ย นอย่ า งเป็ น ทางการ เพื่อเข้ามาอาศัยระยะยาวถึง 4,000 คน เพิ่มขึ้นจาก ปี 2013 ประมาณ 500 คน และเข้ามาอยูอ่ าศัยอย่าง ไม่เป็นทางการอีกกว่า 2,000 คน ซึง่ ประมาณค่าใช้จา่ ย ต่อคนต่อปีอยูท่ ี่ 300,000 บาท และคาดการณ์วา่ จะมี มูลค่าตลาดไม่ตำ�่ กว่า 1,000 ล้านบาท โดยอีกไม่เกิน 10 ปีข้างหน้า ตลาดกลุ่มนี้จะสามารถเติบโตมากว่า ร้อยละ 50 และมีศกั ยภาพเพียงพอทีจ่ ะก้าวสูก่ ารเป็น ผู้น�ำธุรกิจบริการเกี่ยวกับผู้สูงอายุที่ครบวงจรและเป็น ทีย่ อมรับในนานาประเทศต่อไป ซึ่ ง ภายในการจั ด งาน InterCare Asia ก็ เ ป็ น ทางลัดของค�ำตอบให้กับผู้ประกอบการที่มองหาช่อง ทางลงทุนในธุรกิจผูส้ งู อายุจะได้เปิดมุมมองใหม่ๆ และ แสดงให้เห็นถึงช่องว่างของสินค้าบริการเพื่อผู้สูงอายุ ที่ท้าทายต่อโอกาสในการสร้างสินค้าและบริการที่ตรง ความต้องการของกลุ่มผู้บริโภคได้อย่างตรงจุด และ เนือ่ งจากการจัดงานในปีทผี่ า่ นมามีผลตอบรับทีด่ ที �ำให้ เกิด InterCare Asia 2017 ขึน้ ต่อเนือ่ ง ระหว่างวันที่ 6-8 กรกฎาคม 2560 ณ ไบเทค บางนา โดยปีนมี้ กี จิ กรรม เด่นภายในงาน อาทิ เทคโนโลยีสู่สังคมผู้สูงอายุ, 4 เทคโนโลยีทันสมัยเพื่อผู้สูงอายุจากฝีมือนักศึกษา, การรวบรวมเอากลุ่มสินค้าจากตลาดผู้สูงอายุในไทยอาเซียนมาจัดแสดง และธุรกิจเพือ่ ผูส้ งู อายุ เป็นต้น.

ติดตามรายละเอียดเพิ่มเติมที่ http://intercare-asia.com/ ขอขอบคุณข้อมูลและรูปภาพจาก http://intercare-asia.com/ www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1469443469 www.matichon.co.th/news/126114 อุตสาหกรรมสาร 27


Opportunity

• เรื่อง : อรุณวดี ปานมณี

ทิศทางการลงทุนธุรกิจ ผ้าอ้อมส�ำเร็จรูปส�ำหรับผู้สูงอายุ

28 อุตสาหกรรมสาร


เมือ่ เห็นจ�ำนวนประชากรสูงอายุในประเทศทีม่ แี นวโน้ม เพิ่มขึ้นในทุกๆ ปี ก็ปฏิเสธไม่ได้เลยว่าประเทศไทย ได้ก้าวเข้าสู่สังคมสูงอายุอย่างเต็มรูปแบบแล้ว โดย อัตราการเพิม่ จ�ำนวนของผูส้ งู อายุ ท�ำให้ตลาดเกิด ความต้องการผลิตภัณฑ์ที่สามารถอ�ำนวยความ สะดวกส�ำหรับผูส้ งู อายุเพิม่ ขึน้ เช่นเดียวกัน โดยเฉพาะ ผู ้ สู ง อายุ ที่ ไ ม่ ส ามารถช่ ว ยเหลื อ ตั ว เองได้ อาทิ ผู้สูงอายุที่มีอาการป่วย ไม่สามารถรับประทาน อาหาร แม้กระทั่งการเข้าห้องน�้ำด้วยตัวเอง ดังนั้น ผลิตภัณฑ์ทเี่ ข้ามามีบทบาทส�ำคัญก็คอื ผลิตภัณฑ์ ที่ จ� ำ เป็ น และสามารถตอบโจทย์ ก ารด� ำ เนิ น ชี วิ ต ในปัจจุบันของผู้สูงวัยอายุให้มีความสะดวกสบาย มากขึน้ นัน่ เอง และหนึ่ ง ในธุ ร กิ จ ผู ้ สู ง อายุ ที่ น ่ า จั บ ตามอง มากเป็นพิเศษ คือ ธุรกิจผ้าอ้อมส�ำหรับผู้สูงอายุ ทีม่ อี ตั ราการขยายตัวสอดรับกับสถานการณ์แข่งขัน ที่เพิ่มขึ้น และส่งผลให้มีนักลงทุนและผู้ประกอบการ รายใหม่ๆ เล็งเห็นความส�ำคัญและเข้ามาแชร์สว่ นแบ่ง ตลาด สร้างพืน้ ทีย่ นื ในธุรกิจผ้าอ้อมส�ำหรับผูส้ งู อายุ โดยใช้กลยุทธ์ตา่ งๆ เพือ่ น�ำเสนอผลิตภัณฑ์ของตนให้ กลุม่ ลูกค้ารูจ้ กั และเกิดการทดลองใช้ ในทีส่ ดุ

ธุรกิจผ้าอ้อมส�ำเร็จรูปส�ำหรับผู้สูงอายุ ประเทศไทยโตต่อเนือ่ ง

ปัจจุบนั ตลาดของธุรกิจผ้าอ้อมส�ำเร็จรูปส�ำหรับ ผู้สูงอายุในประเทศไทย มีมูลค่าตลาดประมาณ 300 ล้านบาท และมีการการขยายตัวเติบโตเพิ่ม สูงขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง โดยคาดการณ์วา่ จะเติบโตขึน้ อีก ประมาณ 20 เปอร์เซ็นต์ หรือมีมูลค่ารวมกว่า 400 ล้านบาท เป็นตลาดใหม่ที่น่าจับตามอง และเนื่อง ด้วยประเทศไทยเป็นประเทศที่มีประชากรผู้สูงอายุ เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยปัจจุบันมีจ�ำนวนผู้สูงอายุ ราว 10.9 ล้านคน และคาดว่าจะเพิ่มเป็น 17.6 ล้าน คนในปี 2573 ซึ่งคิดเป็น 26.3 เปอร์เซ็นต์ของจ�ำนวน ประชากรทั้งหมดในประเทศ ต่างจากภาพรวมของ ตลาดผ้าอ้อมส�ำเร็จรูปส�ำหรับผู้สูงอายุทั่วโลกที่มี มูลค่ากว่า 1,250 ล้านบาท แต่ชะลอการเติบโตลง ประมาณ 10 เปอร์เซ็นต์ อุตสาหกรรมสาร 29


โดยสามารถแบ่งสัดส่วนของธุรกิจตลาดผ้าอ้อม ส�ำเร็จรูปส�ำหรับผู้สงู อายุได้เป็น 2 กลุ่ม กลุ่มแรก คือ กลุ่มพรีเมียม มีสัดส่วนการตลาดราว 15 เปอร์เซ็นต์ โดยผ้าอ้อมส�ำเร็จรูปส�ำหรับผูส้ งู อายุกลุม่ นีจ้ ะมีราคา ค่อนข้างสูง และมีผเู้ ล่นในตลาดไม่มากนัก ส่วนใหญ่ เป็นแบรนด์น�ำเข้าจากต่างประเทศ ซึ่งมีคุณภาพ ดีและมีคุณสมบัติในการซึมซับ ป้องกันการรั่วซึม มีสารป้องกันแบคทีเรีย โดยราคาต่อชิ้นจะสูงกว่า 20 บาทขึ้นไป ส่วนกลุ่มที่ 2 คือ กลุ่มอีโคโนมี ซึ่งมีกระแสการแข่งขันที่ดุเดือดกว่า เป็นตลาดใหญ่ ที่เติบโตอย่างต่อเนื่อง และมีราคาต่อชิ้นโดยเฉลี่ย ประมาณ 15-20 บาท โดยปัจจุบนั มีสดั ส่วนการตลาด อยู่ที่ 85 เปอร์เซ็นต์

ลูกค้าชี้ คุณสมบัติ และ คุณภาพ สองปัจจัย หลักประกอบการตัดสินใจซือ้

ปัจจุบันผู้บริโภคส่วนใหญ่มีการค้นคว้าข้อมูล ก่ อ นที่จ ะตัด สิน ใจซื้อ ผลิต ภัณ ฑ์ ผ ้ า อ้ อ มส�ำเร็จ รู ป ส�ำหรับผูส้ งู อายุ โดยสองปัจจัยหลักทีใ่ ห้ความส�ำคัญ ก่อนการตัดสินใจซื้อก็คือเรื่องของ คุณภาพ และ คุณสมบัติ ของผลิตภัณฑ์ที่สามารถตอบโจทย์ได้ อย่างลงตัว ประกอบกับปัจจัยทางการตลาดอื่นๆ ที่เพิ่มเข้ามาเพื่อเป็นตัวเลือกในการตัดสินใจ ได้แก่ 1. รูปลักษณ์ของผลิตภัณฑ์ 2. คุณสมบัติเด่นของ ผลิตภัณฑ์โดยเฉพาะเรือ่ งการซึมซับ 3. ส่วนประกอบ ของผลิตภัณฑ์ท่ไี ด้มาตรฐาน 4. ราคา โดยผู้บริโภค ส่วนมากจะยอมจ่ายให้กับสินค้าที่มีคุณภาพเหมาะ สมกับราคา 5. ช่องทางการจ�ำหน่าย ซึ่งเป็นอีก หนึ่งปัจจัยส�ำคัญที่ส่งผลต่อการซื้อ เพราะผ้าอ้อม ส�ำเร็จรูปส�ำหรับผู้สูงอายุเป็นสินค้าที่มีช่องทางการ จ�ำหน่ายทีย่ งั ไม่ขยายตัวกว้างขวางนัก โดยส่วนใหญ่ จะจ�ำหน่ า ยตามโรงพยาบาล ร้ า นขายยาขนาด ใหญ่ และห้างสรรพสินค้า และ 6. โปรโมชั่นส่งเสริม การขาย อย่างการลดแลกแจกแถม หรือแม้แต่การ โฆษณาสินค้าตามโรงพยาบาลก็มีส่วนช่วยกระตุ้น การตัดสินใจซื้อได้เช่นเดียวกัน

การแข่ ง ขั น ของตลาดผ้ า อ้ อ มส�ำเร็ จ รู ป ส�ำหรับผูส้ งู อายุ

จะเห็นได้ว่าตลาดของผลิตภัณฑ์ส�ำหรับผู้สูงอายุ อย่างผ้าอ้อมส�ำเร็จรูปนั้น เป็นเทรนด์ที่ก�ำลังมา 30 อุตสาหกรรมสาร


แรงส�ำหรับ Aging Society แต่อย่างไรก็ดี ก็ยังไม่ สามารถท�ำการตลาดได้ แ พร่ ห ลายเท่ า กั บ ตลาด ของผ้าอ้อมส�ำเร็จรูปส�ำหรับเด็ก เนื่องจากผ้าอ้อม ส�ำเร็จรูปส�ำหรับผู้สูงอายุถูกบรรจุในหมวดเครื่องมือ แพทย์ ควบคุมโดยคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) จึงไม่สามารถโฆษณาคุณสมบัติสินค้าเพื่อดึงดูด ผู้บริโภคได้อย่างแพร่หลายผ่านช่องทางสื่อทั่วไปได้ (Mass Media) ท�ำได้เพียงการน�ำเสนอความรู้ให้แก่ ผู้บริโภคเท่านั้น ด้วยเหตุน้กี ลุ่มผู้ผลิตจึงวางกลยุทธ์ การขายด้ ว ยการเพิ่ม ช่ อ งทางการจัด จ�ำหน่ า ยให้ หลากหลายสอดรับกับพฤติกรรมของผูบ้ ริโภคมากขึน้ อาทิเช่น โมเดิร์นเทรด ซึ่งเป็นช่องทางที่มีการแข่งขัน สูงที่สุดและมีคู่แข่งมากที่สุด เพราะทุกแบรนด์ล้วน ใช้โมเดิร์นเทรดเป็นพื้นที่แสดงสินค้าเพื่อให้เข้าถึง กลุ่มผู้บริโภค ร่วมด้วย โรงพยาบาล ซึ่งเป็นอีกหนึ่ง ตัวเลือกทีไ่ ม่ควรมองข้ามเช่นกัน เพราะสามารถเข้าถึง ผู้บริโภคและสร้างการจ�ำจดตลอดจนความภักดีต่อ แบรนด์ได้เป็นอย่างดี เพียงแต่การจัดจ�ำหน่ายใน โรงพยาบาลนั้นมักจะมีข้อจ�ำกัดบางประการหรือ อาจต้ อ งมี ก ารประมู ล เพื่ อ ให้ ไ ด้ พื้ น ที่ แ สดงสิ น ค้ า แต่ ห ากมองในแง่ ข องการแข่ ง ขั น นั้ น ถื อ ว่ า ไม่ มี แนวโน้มที่รุนแรงเหมือนช่องทางแรก

อย่ า งไรก็ ต ามเห็ น ได้ ว ่ า ตลาดของผ้ า อ้ อ ม ส�ำเร็จรูปส�ำหรับผู้สูงอายุนั้น มีแนวโน้มการเติบโตที่ ดีขึ้นเรื่อยๆ วัดจากประชากรสูงอายุที่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ทุกๆ ปี ประกอบกับเทรนด์ของธุรกิจทีผ่ ้ปู ระกอบการ หลายๆ คน หันมาท�ำธุรกิจเกี่ยวกับผู้สูงอายุ ท�ำให้ ตลาดขยายกว้างและเติบโตอย่างรวดเร็วภายใน ระยะเวลาเพียงไม่กี่ปี โดย Global Market Insights คาดการณ์ว่าธุรกิจที่เกี่ยวกับผู้สูงอายุทั่วโลกจะมี มูลค่าการเติบโตสูงถึง 1.1 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ ในปี 2023 โดยเติบโตจาก 6 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐ ในปี 2015 ดังนั้นการแสวงหาความรู้ใหม่ๆ และ ถอดรหัสช่องทางธุรกิจด้านผู้สูงอายุจากประเทศ ทีป่ ระสบความส�ำเร็จอย่าง อิตาลี ญีป่ นุ่ หรือเยอรมนี ก็เป็นการเพิม่ โอกาสและเตรียมความพร้อมทัง้ เชิงรุก และเชิงรับในการประกอบธุรกิจแห่งอนาคตอันใกล้ ได้เป็นอย่างดี.

ขอขอบคุณข้อมูลและรูปภาพจาก http://info.gotomanager.com/news/details.aspx?id=46068 www.manager.co.th www.prachachat.net www.thunhoon.com http://thaiejournal.com/journal/2554volumes2/patcharaporn.pdf http://positioningmag.com/1100674 อุตสาหกรรมสาร 31


Market & Trend • เรื่อง : บัณฑิตา ศิริพันธ์

แฟชั่นผู้สูงอายุ ตอบโจทย์ไลฟ์สไตล์ ได้ก�ำไรงาม ปัจจุบันมีจ�ำนวนผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้น ท�ำให้ปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจเปลี่ยนแปลงไป ส่งผลท�ำให้ธุรกิจ ที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุมีการขยายตัวอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะในประเทศที่พัฒนาแล้วอย่าง ญี่ปุ่น และสหรัฐอเมริกา เนื่องจากประเทศเหล่านี้มีเทคโนโลยีทางการแพทย์ที่มีประสิทธิภาพ ท�ำให้อัตรา การเสียชีวติ มีนอ้ ยอายุขยั ของประชากรในประเทศจึงเพิม่ ขึน้ ขณะเดียวกันประเทศไทยมีจำ� นวนประชากร ผู้สูงอายุประมาณ 10 ล้านคน ซึ่งมีการคาดการณ์กันว่าในอีก 10 ปีข้างหน้าจะเพิ่มจ�ำนวนสูงขึ้น ถึง 70 ล้านคน ซึง่ สัดส่วนผูส้ งู อายุทเี่ พิม่ มากขึน้ สวนทางกับวัยท�ำงานและวัยเด็กทีล่ ดลง และในอนาคต อันใกล้ประเทศไทยจะก้าวเข้าสูส่ งั คมผูส้ งู อายุอย่างสมบูรณ์ ท�ำให้ผปู้ ระกอบการหรือนักธุรกิจเริม่ หันมา สนใจตลาดสินค้าผูส้ งู อายุกนั มากขึน้ เนือ่ งจากเป็นช่องทางการประกอบธุรกิจแนวใหม่ อีกทัง้ ยังมีตลาด รองรับแน่นอนและผูส้ งู อายุสว่ นใหญ่เป็นกลุม่ ผูบ้ ริโภคทีม่ กี ำ� ลังการใช้จา่ ยสูง สามารถใช้เงินได้อย่างอิสระ ก่อให้เกิดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็ว

32 อุตสาหกรรมสาร


ควรออกแบบสินค้าแฟชัน่ อย่างไรให้ตอบโจทย์การ ใช้ชวี ติ ของผูส้ งู อายุ?

ธุ ร กิ จ แฟชั่ น ผู ้ สู ง อายุ เป็ น อี ก หนึ่ ง ธุ ร กิ จ ที่ น่าจับตามอง เพราะเป็นสิ่งที่ต้องใช้ในชีวิตประจ�ำวัน แต่ สิ่ ง จ�ำเป็ น ที่ ผู ้ ป ระกอบการที่ ส นใจจะจั บ ธุ ร กิ จ นี้ ควรให้ความส�ำคัญคือ การปรับกระบวนการผลิตให้ สอดคล้องกับความต้องการเฉพาะด้านของกลุม่ ผูส้ งู อายุ ควบคูไ่ ปกับความสามารถในการเจาะตลาดเฉพาะกลุม่ โดยปรับการออกแบบให้ใช้งานง่าย ไม่ซบั ซ้อน สะดวก สบายต่อการใช้ชีวิต แต่มีดีไซน์ที่สวยงาม ทันสมัย เสริมให้ดูเยาว์วัยเมื่อหยิบมาใช้ อีกทั้งจะต้องมีความ หลากหลายสามารถหยิบใช้ได้ในหลายๆ โอกาส เน้น การออกแบบให้มคี วามอารยสถาปัตย์ ซึง่ เหมาะสมกับ ทุกชนชาติสามารถเปิดตลาดได้ง่าย นอกจากนี้กลุ่ม ผูส้ งู อายุยงั มักเลือกซือ้ สินค้าทีม่ คี ณ ุ ภาพ ฝีมอื ประณีต เน้นการซือ้ ด้วยเหตุผลไม่ใช่อารมณ์ ให้ความส�ำคัญกับ ความพึงพอใจเป็นหลักและสิ่งที่น่าสนใจคือเป็นกลุ่ม ที่มีก�ำลังซื้อสูงเหมาะแก่การลงทุนท�ำธุรกิจ

กลุ ่ ม ผู ้ สู ง อายุ ใ นปั จ จุ บั น จะมี ลั ก ษณะทาง กายภาพที่ดีกว่าผู้สูงอายุในยุคเก่า เดิมทีผู้สูงอายุ มักจะแต่งตัวให้น้อยลงตามวัยที่เพิ่มขึ้น แต่ปัจจุบัน โลกของผู ้ สู ง อายุ ก�ำลั ง สวนทางกั บ แนวความคิ ด ในอดี ต เพราะผู ้ สู ง อายุ มั ก จะไม่ ช อบหากถู ก มอง ว่ า เป็ น คนแก่ ท�ำให้ ก ารเจาะตลาดสิ น ค้ า แฟ่ ชั่ น กลุ ่ ม นี้ ต ้ อ งใช้ ค วามละเอี ย ดอ่ อ นอย่ า งมากในการ ออกแบบ เพือ่ ให้ตอบสนองความต้องการของผูบ้ ริโภค ซึ่งพฤติกรรมของผู้สูงอายุในยุคนี้จะไม่แตกต่างจาก กลุม่ วัยท�ำงานช่วงปลายมากนัก คือ ยังสามารถท�ำงาน ได้ เข้าถึงเทคโนโลยี รวมถึงสังคมได้อย่างรวดเร็ว ต้องการพบปะเพื่อนฝูง สามารถเดินทางท่องเที่ยว ได้เป็นอย่างดี ดังนั้นการประกอบธุรกิจนี้จึงจ�ำเป็นที่ จะต้องมีการวางแผนอย่างรอบคอบ การปรับเปลี่ยน หาช่องว่างของธุรกิจเป็นอีกหนึ่งสิ่งที่ต้องท�ำ สังเกต ไลฟ์ ส ไตล์ แ ละพฤติ ก รรมที่ เ ปลี่ ย นไปของผู ้ สู ง อายุ เพือ่ ทีจ่ ะสามารถก�ำหนดกลยุทธ์ได้อย่างชัดเจน โดยจะ แบ่งผู้สูงอายุปัจจุบันออกเป็น 4 รูปแบบ คือ 1. ก�ำลัง ซื้อสูง เนื่องจากแนวโน้มสังคมที่เป็นครอบครัวเดี่ยว เพิ่มมากขึ้น ผู้สูงอายุใหม่จึงมีภาระค่าใช้จ่ายน้อยลง ก�ำลังการบริโภคสูงขึน้ 2. ไม่ยดึ ติดกับสินค้าแบรนด์เนม เพราะเทคโนโลยีที่ใช้ได้ง่ายขึ้น ท�ำให้กลุ่มผู้สูงอายุ สามารถศึกษาสินค้าแบรนด์ใหม่ๆ ได้เอง 3. ชอบความ รวดเร็ว และเน้นความสะดวกสบาย เป็นอีกหนึง่ ปัจจัย ทีด่ งึ ดูดกลุม่ ผูส้ งู อายุ ต้องมีความรวดเร็วและใช้งานง่าย เมื่ อ อายุ เ ริ่ ม มากขึ้ น คนส่ ว นใหญ่ จ ะให้ ค วาม ส�ำคั ญ กั บ ความคล่ อ งตั ว มากกว่ า ความสวยงาม แต่จะดี แ ค่ ไ หนถ้ า สามารถออกแบบสิ น ค้ า ให้ มี ทั้ ง อุตสาหกรรมสาร 33


ความคล่องตัวและความสวยงามได้ และ 4. ใส่ใจดูแลสุขภาพ เพราะกลุ่มผู้สูงอายุยุคใหม่เป็นกลุ่มที่มีทั้งความรู้และก�ำลัง ทรัพย์ จึงให้ความส�ำคัญกับการดูแลสุขภาพมากขึ้น สินค้า ที่เน้นสุขภาพจึงมีโอกาสเปิดตลาดได้ง่าย ส�ำหรับสินค้าแฟชั่นของผู้สูงอายุ สิ่งแรกที่นึกถึงคงหนี ไม่พ้น เสื้อผ้า เพราะเป็นสิ่งที่เห็นได้ชัดเจน โดยการออกแบบ ส�ำหรับผู้สูงอายุ ควรเน้นความคลาสสิก แต่ทันสมัย ดูดีมี รสนิยมและต้องไม่ดูสูงอายุจนเกินไป ค�ำนึงถึงความสะดวก สบายในการส่วมใส่ เช่น ง่ายต่อการสวมถอด คล่องตัวเมื่อ ต้องใช้การเคลื่อนไหวมากๆ มีขนาดชุดที่พอดีตัวไม่รัดรูป จนเกินไป มีสีสันสดใสแต่ต้องเป็นโทนที่มองแล้วสบายตา จะท�ำให้ผทู้ ใี่ ส่ดนู า่ เชือ่ ถือมากยิง่ ขึน้ ชุดออกก�ำลังกายก็เป็นอีก สินค้าทีน่ า่ ลงทุนเพราะผูส้ งู อายุยคุ ใหม่จะให้ความสนใจในเรือ่ ง ของสุขภาพเป็นอย่างมาก ควรผลิตชุดออกก�ำลังที่รองรับ การออกก�ำลังกายได้ดี ช่วยป้องกันการบาดเจ็บจะท�ำให้นา่ สนใจ มากขึน้ สินค้าประเภทเครือ่ งแต่งกาย เช่น รองเท้า กระเป๋า ก็เป็นอีกสิ่งที่ได้รับความนิยมควรเน้นเป็นผลิตภัณฑ์ที่ท�ำมา จากหนัง เพราะนอกจากจะดูภูมิฐานแล้วยังมีอายุการใช้งาน ที่น าน คงทน เครื่ อ งประดั บ ควรเน้ น ที่มีค วามเรีย บหรู ใส่ แ ล้ ว เสริ ม บุ ค ลิ ก หรื อ จะฉี ก แนวโดยการปรั บ เอาเครื่อง ประดับมาใส่รวมกับเทคโนโลยีเพิ่มความปลอดภัยให้ผู้สูง อายุ ก็ ดู ดี ไ ม่ น ้ อ ย ซึ่ ง ปั จ จุ บั น ก็ เ ริ่ ม มี ใ นท้ อ งตลาดแล้ ว เช่ น กั น อาทิ บริษัท Cuff ที่ไ ด้ออกแบบผลิต ภัณฑ์เครื่อ งประดับ ที่ ม าพร้ อ มกั บ ฟั ง ก์ ชั่ น ช่ ว ยเพิ่ ม ความปลอดภั ย ให้ กั บ เหล่ า ผู้สูงอายุ โดยการน�ำเอาชิป (CuffLinc) ขนาดเล็กฝังเข้าไปใน เครื่องประดับ เช่น ก�ำไล สร้อยคอ ฯลฯ ซึ่งชิปดังกล่าวจะซิงค์ กั บ แอปพลิ เ คชั่ น ในมื อ ถื อ หากผู ้ ส วมใส่ ต ้ อ งการความ ช่วยเหลือเพียงกดที่ตัว CuffLinc ระบบก็จะส่งสัญญาณเตือน ไปยังคนในครอบครัวทันที พร้อมทั้งบอกต�ำแหน่งที่อยู่ของ ผู้ที่ต้องการความช่วยเหลือ และที่ส�ำคัญชิปนี้ถูกออกแบบมา ให้ใช้งานได้โดยไม่ต้องชาร์จไฟนานถึง 1 ปี เรียกได้ว่าเป็น การประยุกต์แฟชั่นให้เข้ากับการใช้ชีวิตได้อย่างน่าสนใจ และ 34 อุตสาหกรรมสาร

อีกหนึ่งสินค้าเกี่ยวกับแฟชั่นที่ก�ำลังเพิ่มความนิยมอย่างต่อ เนื่องคือ สินค้าความสวยความงาม โดยเฉพาะผลิตภัณฑ์ เครือ่ งส�ำอาง ซึง่ ประเทศไทยมีเครือ่ งส�ำอางประเภทออร์แกนิก ที่ ผ ลิ ต จากธรรมชาติ ห รื อ สมุ น ไพรอยู ่ เ ป็ น จ�ำนวนมาก รวมถึงได้รบั ความสนใจอย่างแพร่หลายเนือ่ งจากผูบ้ ริโภคมัน่ ใจ ว่าปลอดภัยกว่าการใช้สารเคมี ซึ่งนอกจากความปลอดภัย แล้วการออกแบบแพคเกจจิ้งให้ดูทันสมัย เรียบง่ายเหมาะ แก่ ก ารพกพาก็ จ ะท�ำให้ ผู ้ สู ง อายุ หั น มาซื้ อ สิ น ค้ า ประเภทนี้ มากขึน้ อีก เพราะนอกจากจะน�ำมาใช้เสริมความงามให้รา่ งกายแล้ว ยังสามารถน�ำมาพกติดตัวเป็นเครื่องประดับได้อกี ด้วย การเข้าสู่สงั คมผู้สงู อายุนบั เป็นโอกาสของผู้ประกอบการ เอสเอ็มอีในไทย ที่จะสามารถขยายตลาดไปรองรับความ ต้องการของผู้สูงอายุทั้งในประเทศและต่างประเทศ เพราะยัง มีตลาดผูส้ งู อายุขนาดใหญ่ทมี่ คี วามต้องการสินค้าและบริการ เฉพาะด้านอีกมากมาย ซึ่งสินค้าจ�ำพวกแฟชั่นก็เป็นอีกตลาด ทีน่ า่ จับตามอง และลงมือประกอบธุรกิจ หรือแม้แต่ผทู้ ปี่ ระกอบ ธุรกิจเกีย่ วกับแฟชัน่ อยูแ่ ล้วก็ควรเตรียมความพร้อมเพือ่ โอกาส ในการเติบโตของภาคธุรกิจผู้สูงอายุ เพื่อเป็นการขยายฐาน กลุม่ ลูกค้า รวมถึงรองรับการปรับเปลีย่ นของโลกทีก่ �ำลังเปลีย่ น ไปจากในอดีต เพื่อให้ธุรกิจสามารถเดินหน้าต่อได้ในอนาคต.

ขอขอบคุณข้อมูลและรูปภาพจาก www.scbsme.scb.co.th www.smartsme.tv www.thaismescenter.com www.admissionpremium.com www.60plusthailand.com/th www.admissionpremium.com www.scbsme.scb.co.th


Biz Project

• เรื่อง : บัณฑิตา ศิริพันธ์

เจาะตลาด

ธุรกิจน�ำเที่ยวผู้สูงวัย Slow Tourism ปฏิเสธไม่ได้ว่าปัจจุบันโครงสร้างทางสังคมได้ เปลี่ยนแปลงไป กลุ่มผู้สูงวัยก�ำลังเพิ่มขึ้นอย่าง ต่อเนือ่ ง ท�ำให้ประเทศไทยก�ำลังก้าวเข้าสูก่ ารเป็น สังคมผู้สูงอายุอย่างเต็มตัวในปี 2568 โดยจะมี คนอายุ 60 ปีขน้ึ ไปมากกว่า 10 ล้านคน และมีการ คาดการณ์ตอ่ ไปอีกว่าใน 15 ปีขา้ งหน้าประเทศไทย จะกลายเป็นสังคมผูส้ งู อายุยงิ่ ยวด คือมีประชากร ทีเ่ ป็นผูส้ งู อายุรอ้ ยละ 20% ของจ�ำนวนประชากร ทั้งหมด ดังนั้นสังคมไทยจึงต้องหันมาให้ความ สนใจกับตลาดผูส้ งู อายุทมี่ กี ารเจริญเติบโตอย่าง ก้าวกระโดด ซึง่ หนึง่ ในธุรกิจทีไ่ ด้รบั ความสนใจเป็น อย่างมากคือ ธุรกิจน�ำเทีย่ วผูส้ งู วัย

ธุรกิจน�ำเที่ยวมีมาเป็นเวลานานแล้วในประเทศไทย แต่ปัจจุบันถือว่าซบเซาลงไปอย่างมาก เพราะคนหันมา ท่ อ งเที่ ย วด้ ว ยตั ว เองเป็ น หลั ก ท�ำให้ ธุร กิ จ น�ำเที่ ย ว ต้ อ งปรั บ เปลี่ ย นวิ ธีก ารน�ำเสนอเพื่ อ หากลุ ่ ม เป้ า หมาย ใหม่ ซึ่งกลุ่มเป้าหมายที่น่าสนใจคงหนีไม่พ้น กลุ่มผู้สูงอายุ เพราะผู ้ สู ง อายุ ยั ง ต้ อ งการสั ง คมเพื่ อ เป็ น ช่ อ งทางการ พบปะสังสรรค์ พูดคุยแลกเปลี่ยนความสนใจ ซึ่งการท่อง เที่ ย วก็ เ ป็ น อี ก ทางหนึ่ ง ที่ จ ะให้ ทั้ ง ความผ่ อ นคลายและ สั ง คม มุ ่ ง เน้ น ไปที่ ก ลุ ่ ม ผู ้ สู ง อายุ ที่ ต ้ อ งตรากตร�ำท�ำงาน อย่ า งหนัก ตลอดเวลาที่ผ ่ า นมา หลัง จากได้ พัก จึง อยาก เริ่มต้นท่องเที่ยว จัดเป็นทริปไปเที่ยวตามสถานที่ต่างๆ แต่ ปรับเปลี่ยนให้ สถานที่ห รือโปรแกรมการท่องเที่ยวไม่ หักโหมจนเกินไป โดยผูส้ งู อายุจะมีรสนิยมท่องเทีย่ วแบบเชิง ศิลปวัฒนธรรม ท�ำบุญไหว้พระ ได้สมั ผัสบรรยากาศในสถานที่ อุตสาหกรรมสาร 35


ที่ได้ไปเป็นเวลานาน มากกว่าการเดินทางไปหลายๆ ที่ ภายในวันเดียว ทั้งนี้อย่าลืมว่าพฤติกรรมผู้สูงอายุมักจะ เลือกซือ้ สินค้าทีม่ คี ณ ุ ภาพ มีความประณีต จะไตร่ตรองอย่าง ละเอียดก่อนการซื้อทุกครั้ง ยึดหลักความพอใจเป็นที่ตั้ง ขณะเดี ย วกั น ก็ ค�ำนึ ง ถึ ง ความปลอดภั ย ความมั่ น ใจ ด้านบริการ ใส่ใจดูแลสุขภาพทีด่ ี เลือกกิจกรรมทีเ่ หมาะกับวัย และสุ ข ภาพ กลุ ่ ม ผู ้ สู ง วั ย ส่ ว นใหญ่ ไ ม่ ต ้ อ งกั ง วลต่ อ ค่ า ใช้ จ ่ า ยในการเดิ น ทาง แต่ จ ะละเอี ย ดรอบคอบ ในการเลื อ กซื้ อ สิ น ค้ า และบริ ก าร เพราะมี ข ้ อ จ�ำกั ด ในการเดิ น ทางมากกว่ า วั ย หนุ ่ ม สาว ผู ้ ป ระกอบการ จึงจ�ำเป็นที่จะต้องสื่อสารไปยังกลุ่มเป้าหมายให้ชัดเจน เน้นการโฆษณาที่สื่อถึงความอบอุ่น ผ่อนคลาย การได้มี ส่วนร่วมของคนในครอบครัว รวมถึงการย้อนอดีตให้นกึ ถึง บรรยากาศเก่าๆ ก็จะยิ่งท�ำให้เข้าถึงกลุ่มผู้สูงอายุได้ง่าย การขยายฐานลูกค้าไปยังผู้สูงอายุมีอีกหลายปัจจัย ทีต่ อ้ งให้ความส�ำคัญ อาจจะยังไม่ละทิง้ กลุม่ เป้าหมายเดิม คือคนรุ่นใหม่ แต่เพิ่มแนวคิดการท่องเที่ยวแบบครอบครัว เข้าไป โดยให้คนรุ่นใหม่ในครอบครัวเป็นผู้ซื้อทัวร์ให้กับ ผู้สูงอายุภายในบ้านของตนเอง เพราะที่ผ่านมากลุ่มคนที่ 36 อุตสาหกรรมสาร


ซื้อทัวร์จะเป็นกลุ่มวัยรุ่นที่มีความรู้ ความเข้าใจในระบบ การซื้อขายทัวร์มากกว่าที่จะเป็นผู้สูงวัย อาจเพราะไม่ สามารถที่จะศึกษาหรือค้นหาทัวร์ที่เหมาะสมกับตนเองได้ อีกทั้งยังต้องค�ำนึงถึงกิจกรรมในทัวร์ด้วย จะต้องศึกษา ทั้งความสนใจ รวมถึงพฤติกรรมของผู้สูงอายุเพื่อเลือก กิจกรรมให้เหมาะสม ซึ่งอาจจะแบ่งกิจกรรมออกเป็น 4 แบบ คือ 1. Well Traveled แพ็คเกจทัวร์แบบต่างๆ อาทิ ทัวร์ธรรมะ นั่งสมาธิ, ทัวร์ท่องเที่ยวธรรมชาติ, ทัวร์ศกึ ษา ศิลปวัฒนธรรม, ทัวร์ย้อนวัย-ย้อนรอยอดีต, ทัวร์กินของ อร่อยยอดนิยม, ทัวร์เสริมดวงตามราศี เป็นต้น ซึ่งการจัด ทัวร์ในรูปแบบนี้จะเป็นการให้ผู้ซื้อเลือกตามความสนใจ ของตนเอง จะดีกว่าการซื้อทัวร์ที่รวมทุกอย่างไว้เพราะ จะได้ ท ่ อ งเที่ ย วตามสิ่ ง ที่ ต นเองชื่ น ชอบได้ อ ย่ า งเต็ ม ที่ 2. Well Balanced กิจกรรมเพื่อการผ่อนคลายและฝึกฝน อารมณ์ให้มนั่ คงด้วยการศึกษางานศิลปะตามสถานทีต่ า่ งๆ รวมถึงการได้ท�ำงานศิลปะทีห่ ลากหลาย เช่น การระบายสี บนกระเบื้อง, ร้อยลูกปัด, ท�ำตุ๊กตา เป็นต้น 3. Well Hello Good Looking กิจกรรมที่จะช่วยปรับบุคลิกภาพให้ผู้สูงวัย ดูสดใส กระปรี้กระเปร่า อ่อนวัยกว่าเคย ด้วยการพาไปยัง สถานที่ซื้อเครื่องแต่งกาย เครื่องส�ำอางยอดนิยม รวมถึง การจัด Make Up & Dress Up To Travel ที่จะช่วยแนะน�ำ วิธีการแต่งหน้า แต่งกายให้เหมาะสมกับการเดินทาง และ 4. Well Being ทัวร์เพือ่ สุขภาพ ท่องเทีย่ วและศึกษาในสถานที่ ผ่อนคลาย จัดอบรมให้มกี ารตรวจสุขภาพ การฝึกนวดด้วย ตนเอง เล่นเกมฝึกสมอง เพื่อรักษาสมองให้แข็งแรง สิ่ ง ต่ อ มาที่ ผู ้ ป ระกอบการธุ ร กิ จ น�ำเที่ ย วผู ้ สู ง อายุ ต้องท�ำ คือ การเพิ่มแรงจูงใจและกระตุ้นให้ผู้สูงอายุ

เดินทางท่องเที่ยวมากขึ้น จริงอยู่ว่าผู้สูงอายุหันมาสนใจ การท่องเทีย่ วแต่กย็ งั ถือว่าเป็นจ�ำนวนทีไ่ ม่มาก ผูป้ ระกอบการ จะต้องก�ำหนดแผนและนโยบายท่องเทีย่ วส�ำหรับผู้สงู อายุ ให้ชัดเจน และท�ำอย่างต่อเนื่อง พัฒนา ปรับปรุง แก้ไข โครงสร้างพืน้ ฐานหรือสิง่ อ�ำนวยความสะดวก รวมถึงบริการ ต่างๆ ให้มคี วามพร้อมทีจ่ ะรองรับนักท่องเทีย่ วกลุม่ นี้ เช่น ศูนย์บริการนักท่องเที่ยว การปรับปรุงแหล่งท่องเที่ยว ส�ำหรั บ นั ก ท่ อ งเที่ ย วผู ้ สู ง อายุ การจั ด โปรแกรมแบบ Slow Tourism ที่เป็นการท่องเที่ยวในลักษณะไม่เร่งรีบ เรียบง่าย ใกล้ชิดธรรมชาติ ปลอดมลพิษ ไม่สร้างมลพิษ เน้นอาหารสะอาดเพื่อสุขภาพ การเตรียมความพร้อม บริการด้านความปลอดภัย จัดให้มีเจ้าหน้าที่น�ำเที่ยวที่ มีความรู้ด้านการปฐมพยาบาล จัดเตรียมยานพาหนะ เดินทางที่เน้นการขึ้นลงสะดวก (พื้นไม่สูง ประตูกว้าง เป็นต้น) ตลอดจนเพิ่มสิ่งอ�ำนวยความสะดวกต่างๆ เช่น บริการรับส่งจากที่พัก สนามบิน การดูแลยกกระเป๋า รวม ถึงบริการตรวจร่างกายที่จ�ำเป็นในการเดินทาง เพื่อสร้าง หลักประกันด้านความปลอดภัย เพิ่มความเชื่อมั่นและ สร้างความมั่นใจให้กบั ผู้สูงอายุ.

ขอขอบคุณข้อมูลและรูปภาพจาก new.itd.or.th การท่องเทีย่ วแห่งประเทศไทย www.thaipost.net www.marketeer.co.th www.50plusholiday.co.th www.thaiseniormarket.com www.thaiseniormarket.com อุตสาหกรรมสาร 37


News

• เรื่อง : นุชเนตร จักรกลม

กระทรวงอุตสาหกรรม

ผุดแปลนบ้านผู้สูงอายุและคนพิการพร้อมบริการให้ค�ำปรึกษา เมื่ อ ปลายปี ที่ ผ ่ า นมา กระทรวงอุ ต สาหกรรม เปิดตัวแปลนบ้านเพื่อผู้สูงอายุและคนพิการในงาน มหกรรมอารยสถาปัตย์ เพือ่ เตรียมมอบให้แก่ประชาชน เนื่องในเทศกาลปีใหม่ รวมถึงเป็นการรองรับการเข้า สู่สังคมสูงอายุของประเทศไทยและช่วยดูแลผู้พิการ ให้มคี ณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ขี นึ้ โดยมีรายละเอียดแปลนบ้าน ทัง้ หมด 10 รูปแบบ มีพนื้ ทีใ่ ช้สอยตัง้ แต่ 40 ตารางวา ขึน้ ไป เริม่ ต้นทีร่ าคา 400,000 บาท ซึง่ สามารถน�ำแปลน บ้านดังกล่าวไปก่อสร้างได้เลยหรือน�ำไปเป็นต้นแบบ ในการปรับปรุงทีพ่ กั อาศัย ทัง้ นีย้ งั มีบริการให้ค�ำปรึกษา แนะน�ำในการน�ำไปก่อนสร้างหรือปรับปรุงโดยไม่คิด ค่าใช้จา่ ย นายสมชาย หาญหิ รั ญ ปลั ด กระทรวง อุตสาหกรรมเปิดเผยว่า “ขณะนีท้ างกระทรวงฯ ก�ำลัง จัดพิมพ์แบบแปลนดังกล่าวอยู่ และจะส่งให้ผู้ที่ขอ แบบแปลนในงานอารยสถาปัตย์และผู้ที่สนใจทั่วไป 38 อุตสาหกรรมสาร

ตามล�ำดับ ส�ำหรับแบบแปลนบ้านเพื่อผู้สูงอายุและคน พิการนี้ จะระบุโครงสร้างและวัสดุทใี่ ช้ในการก่อสร้างรวมถึง การติดตัง้ อุปกรณ์เฉพาะอย่างชัดเจน อาทิ ราวจับ ทางลาด เป็นต้น เพื่อให้น�ำไปใช้หรือประยุกต์ใช้ได้ตามความเหมาะ สมและช่วยอ�ำนวยความสะดวกสบายในการด�ำเนินชีวติ กับ ผูส้ งู อายุและคนพิการได้อย่างมีประสิทธิภาพ” ผู ้ ที่ ส นใจแปลนบ้ า นส�ำหรั บ ผู ้ สู ง อายุ แ ละคนพิ ก าร ก็สามารถติดต่อขอรับแบบแปลนบ้านได้ที่ สถาบันการก่อสร้าง แห่งประเทศไทย หรือโทร. 0 2282 0501

ขอขอบคุณข้อมูลและรูปภาพจาก www.industry.go.th/center_mng/index.php/2016-04-24-18-06-24/201604-24-18-07-10/item/9700-3


Good Governance

• เรื่อง : ปาณทิพย์ เปลี่ยนโมฬี

จงเปลี่ยนศัตรูให้เป็นมิตร แล้วจะพบชัยชนะที่ยั่งยืน

เรือ่ งนีถ้ กู โพสต์ลงเฟซบุก๊ จ�ำนวนมาก และถูกก๊อปปีส้ ง่ ต่อๆ กันในไลน์อย่างไม่รจู้ บ เรือ่ งราวพลิกล็อกทีถ่ กู อกถูกใจคนบนโลกโซเชียล เรือ่ งหนึง่ เปลีย่ นอันธพาลให้เป็นเพือ่ นซี้ อีกเรือ่ งพูดความจริงเปลีย่ นโจรเป็นเพือ่ นได้ เรือ่ งนีม้ ปี ระโยคเด็ดกระแทกใจอยู่ 2 ตอน คือ * ชนะใจเขาด้วยการยืน่ ไมตรีให้แทนทีจ่ ะตัง้ ตัวเป็นศัตรู หรือยอมจ�ำนนต่ออ�ำนาจบาตรใหญ่ * น�ำ้ ใจไมตรีและความดีนนั้ มีพลัง ทีส่ ามารถเปลีย่ นร้ายให้กลายเป็นดี และเปลีย่ นภัยคุกคามให้เป็นสะพานสานมิตรภาพได้ อ่านจบบรรทัดสุดท้ายเพิง่ ถึงบางอ้อ อ๋อ...พระดังเป็นผูเ้ ขียนเรือ่ งนีเ้ อง

สตีเวน สปีลเบิร์ก ผู้ก�ำกับและนักสร้างหนังชื่อดัง แห่งฮอลลีวู้ด เล่าว่าเมื่ออายุ 13 ปีชีวิตของเขาเหมือนตก อยู่ในนรก เพราะที่โรงเรียนมีอันธพาลวัย 15 คนหนึ่งชอบ ท�ำร้ายเขา ทัง้ ทุบตีและขว้างปาระเบิดไข่เน่าใส่เขา เขาทน สภาพนี้อยู่นาน แล้ววันหนึ่งเขาก็เข้าไปหาอันธพาลคนนั้น และพูดว่า “เธอรู ้ ไ หม ฉั น ก�ำลั ง ถ่ า ยท�ำหนั ง เรื่ อ งสู ้ กั บ นาซี เธออยากเล่นบทพระเอกไหม?” ที แ รกอั น ธพาลหั ว เราะใส่ เ ขา แต่ ใ นที่ สุ ด ก็ ต กลง สปีลเบิร์กเล่าว่า หลังจากถ่ายท�ำวีดีโอเสร็จ อันธพาลคน นั้นได้กลายมาเป็นเพื่อนสนิทของเขา การที่สปีลเบิร์กให้การยอมรับเขาและเปิดโอกาส ให้เขาได้เป็นพระเอก มีส่วนส�ำคัญในการเปลี่ยนเขาจาก “ศัตรู” ให้กลายเป็นมิตรได้ เพราะลึกๆ วัยรุน่ คนนัน้ ก็ไม่ได้ ต้องการอะไรมากไปกว่าการได้รบั ความยอมรับ สปีลเบิร์ก ชนะใจเขาด้วยการยื่นไมตรีให้แทนที่จะตั้งตัวเป็นศัตรูหรือ ยอมจ�ำนนต่ออ�ำนาจบาตรใหญ่ของเขา น�้ ำ ใจไมตรี ไ ม่ เ พี ย งแปรเปลี่ ย นความขั ด แย้ ง ให้ คลีค่ ลายไปในทางทีด่ เี ท่านัน้ หากยังสามารถเปลีย่ นวิกฤต ให้เป็นโอกาสได้ด้วย อุตสาหกรรมสาร 39


นักธุรกิจไทยผูห้ นึง่ ได้เล่าถึงประสบการณ์เมือ่ ครัง้ ไปเรียน หนังสือในเมืองบอสตันว่า เธอเคยถูกคนผิวด�ำล็อกคอและ เอามีดจี้ขณะรอสัญญาณไฟเขียวบนเกาะหน้ามหาวิทยาลัย เมือ่ โจรพบว่าในกระเป๋าของเธอมีเงินแค่ 20 ดอลลาร์ ก็ไม่พอใจ เขาขุน่ เคืองหนักขึน้ เมือ่ พบว่าเธอไม่มนี าฬิกา แหวน และก�ำไล เลยสักอย่าง เขาจึงถามเธอว่า “เป็นคนเอเชียมาเรียนที่นี่ได้ก็ต้องรวยไม่ใช่หรือ?” เธอตอบว่า “ส�ำหรับฉันน่ะไม่ใช่ เพราะได้ทนุ มา” แล้วโจรก็ยอ้ นถามถึงเงิน 20 ดอลลาร์วา่ จะเอาไปท�ำอะไร เธอตอบว่า เอาไปซื้อไข่ เขาถามเธอว่าเอาไข่ไปท�ำอะไร “เอาไปต้มกินได้ทงั้ อาทิตย์” เธอตอบตามความจริงเพราะ ตอนนั้นการเงินฝืดเคือง ระหว่างที่โต้ตอบกันอยู่นั้น ยามหน้ามหาวิทยาลัยเห็น ผิดสังเกต จึงยกหูโทรศัพท์เรียกต�ำรวจ เธอมองเห็นพอดีก็เลย โบกมือว่า “ไม่ต้องๆ เราเป็นเพื่อนกัน” โจรได้ยินเช่นนั้นก็งง ถามว่า “คุณรู้จักกับผมตั้งแต่ เมื่อไหร่?” “ก็เมื่อกี้ไง” เธอตอบ โจรเปลี่ ย นท่ า ที ไ ปทั น ที หลั ง จากสนทนาพั ก ใหญ่ โจรไม่เพียงแต่จะคืนเงินให้เธอ หากยังพาเธอไปซื้อไข่และ ซื้ออาหาร 3 ถุงใหญ่ พร้อมทั้งหิ้วมาส่งถึงหน้ามหาวิทยาลัย แล้วยังแถมเงินอีก 50 ดอลลาร์ เรื่องนี้ยังไม่จบ เพราะวันรุ่งขึ้น เธอน�ำเงิน 50 ดอลลาร์นั้นไปซื้อเครื่องปรุงอาหารไทย แล้วไป เยี่ยมบ้านเขาเพื่อท�ำต้มย�ำกุ้งให้กินกันทั้งครอบครัว นับแต่นั้น 40 อุตสาหกรรมสาร

ทั้งสองฝ่ายก็ไปมาหาสู่กัน เธอเล่าว่าทุกวันนี้หากมีธุระ ไปบอสตันก็จะไปแวะเยี่ยมครอบครัวนี้ทุกครั้ง น�้ำใจไมตรีและความดีนั้นมีพลังที่สามารถเปลี่ยน ร้ายให้กลายเป็นดี และเปลี่ยนภัยคุกคามให้เป็นสะพาน สานมิตรภาพได้ ใช่หรือไม่วา่ การก�ำจัดศัตรูทดี่ ที สี่ ดุ ก็คอื การเปลีย่ นเขา มาเป็นมิตรนั่นเอง นี่คือชัยชนะที่ให้ผลยั่งยืนกว่าชัยชนะ ด้วยก�ำลังที่เหนือกว่า พลังของน�้ำใจไมตรีและความดีนั้นอยู่ที่การดึงเอา คุณธรรมและความเป็นมนุษย์ของอีกฝ่ายหนึ่งออกมาแม้ จะซ่อนเร้นหรืออยู่ลึกเพียงใดก็ตาม ในทางตรงกันข้ามการใช้พละก�ำลังและความรุนแรง มีแต่จะดึงเอาความโกรธ เกลียด และคุณสมบัติทางลบ ของคู่กรณีออกมาปะทะกัน ผลก็คือความขัดแย้งลุกลาม จนกลายเป็นความรุนแรง หรือท�ำให้ความรุนแรงไต่ระดับ จนยากแก่การระงับ เวรไม่อาจระงับด้วยการจองเวรก็เพราะเหตุนี้ พระไพศาล วิสาโล จาก : FB Page โรงเรียนพ่อแม่


Book Corner

• เรื่อง : สุพรรษา พุทธะสุภะ

โครงการสานฝันผู้สูงอายุ

ผู้เขียน : คพอ.รุ่น129 ก�ำแพงเพชร รหัส : IV กสอ20 น129 เนือ้ หาเกีย่ วกับโครงการสานฝันผูส้ งู อายุ แนะน�ำการดูแลตัวเอง รักษาสุขภาพและ ออกก�ำลังกายให้เหมาะสมกับวัย ซึ่งจะ ท�ำให้ผสู้ งู อายุใช้ชวี ติ อย่างสุขกาย สุขใจ มีอายุยาวอย่างมีคุณภาพได้

ท�ำกินได้ท�ำขายรวย อาหารจานเด็ดเพื่อสุขภาพ

ผู้เขียน : เพชรกะรัต รหัส : IB 17 อ384 หนังสือเล่มนี่ได้รวบรวมสูตรอาหารและ ขั้นตอนวิธีการท�ำอาหารไว้หลายชนิด ทั้งแกงจืด แกงเผ็ด ผัด ทอด ย�ำ อาทิ เช่น ปลาจะละเม็ดทอดกระเทียม ไก่ตุ๋น งาด�ำ แกงเลียง พะแนงเห็ด ย�ำหัวปลี น�้ำพริกปลาสลิด

จานอร่อยจากปูย่ า่ สูตรโบราณ 100 ปี

ผู้เขียน : สุมล ว่องวงศ์ศรี สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย รหัส : IB 17 ส57 หนังสือ “จานอร่อยจากปู่ย่า สูตรโบราณ 100 ปี” เล่มนี้ ได้รวบรวม 60 สูตรอาหาร ประจ�ำตระกูล ประจ�ำบ้าน ทีส่ บื ทอดจดจ�ำท�ำกันมาจากรุน่ สูร่ นุ่ และ ยังท�ำกินกันในปัจจุบัน เป็นต�ำรับเก่าขนานแท้ตามแบบดั้งเดิม ที่คนสมัยปู่ย่า พ่อแม่ของเรา เคยกินกันในชีวิตประจ�ำวัน ทุกเมนู ล้วนท�ำได้จริงและอร่อย ที่น่าสนใจคือ อาหารแต่ละจานล้วนมี เรือ่ งราวเล่าขาน และยังท�ำให้เราเห็นถึงความมหัศจรรย์ของมนุษย์ ในการคิดสร้างสรรค์ปรุงแต่งรสอาหารที่แตกต่างกันในแต่ละสังคม แต่ละวัฒนธรรม รวมถึงยังสะท้อนวิถีชีวิตของคนไทยสมัยก่อนได้ อย่างน่าสนใจ

กินดีสุขภาพดี

ผู้เขียน : ทวีทอง หงษ์ววิ ัฒน์ รหัส : IB 17 ท46 น�ำเสนอเรื่องราวโภชนาการทางเลือกและ ซูเปอร์อาหารสุขภาพ ได้แก่ อาหาร มังสวิรตั ิ กินตามธาตุ อาหารในวิถีแห่งเต๋า จาก แมคโครไบโอติ ก ส์ ถึ ง ชี ว จิ ต พลั ง สด ข้าวกล้อง ข้าวสุขภาพ ธัญพืช ธัญญาอาหาร รักผลไม้ รักสุขภาพ ผัก ให้พลังชีวิต อาหารสมุนไพร เต้าหู้ ถั่วงอก มันฝรั่ง มันเทศ มันพื้นบ้าน

เมนูอร่อบเพิ่มภูมิต้านโรค

ผู้เขียน : ปอ ชุมจันทร์ รหัส : IB 17 อ559 น�ำเสนอ 50 เมนู เ สริ ม สร้ า งสุ ข ภาพดี เริ่มต้นง่ายด้วยครัวที่บ้านคุณ น�ำอาหาร หลัก 5 หมูม่ าปรุงเป็นจานอร่อยทีค่ รบถ้วน ด้วยคุณค่าทางอาหารตามวิถีแบบดั้งเดิม และแบบใหม่ท�ำให้มั่นใจได้ว่า นอกจาก จะสุขภาพดีแล้วทุกสูตรยังอร่อยถูกปาก อย่างแน่นอน

ฝึกโยคะเป็นใน 1 ชั่วโมง

ผู้เขียน : สรสิทธิ์ ไชยสิทธิ์ รหัส : IB 17 อ384 หนังสือเล่มนี้ เป็นการออกก�ำลังกาย เพือ่ สุขภาพด้วยโยคะบ�ำบัดโรค เพือ่ เป็น คู่มือฝึกโยคะ บ�ำบัดโรค และอาการ เจ็บป่วยทั้งผู้สูงวัยและบุคคลทั่วไป.

โยคะหน้าเด็ก ตอน เคล็ดลับสะกดวัย

ผู้เขียน : ฉัตริษา ศรีสานติวงศ์ รหัส : G 39 ฉ59 หนั ง สื อ เล่ ม นี่ ไ ด้ ร วบรวมเคล็ ด ลั บ การ ออกก�ำลั ง กายเพื่ อ สุ ข ภาพด้ ว ยโยคะ การยกกระชั บ แบบเห็ น ผลจริ ง ! จาก ประสบการณ์ ก ารอบรมโยคะหน้ า เด็ ก กว่ า พั น คน สะกดวั ย ให้ ทุ ก คนดู อ ่ อ น เยาว์ไร้กาลเวลา ซึ่งผู้เขียน “คุณหนูเล็ก ฉัตริษา” ได้พัฒนาปรับปรุงขึ้นไปอีกขึ้น เพื่อให้เห็นผลเร็วได้ผลจริง โดยแบ่งการ ฝึกออกเป็นการกระชับแต่ละส่วนอย่างเป็นขั้นตอน ตั้งแต่ส่วน บนของใบหน้า ส่วนล่างของใบหน้า ท่าเน้นเฉพาะบริเวณกราม คอ และอื่นๆ อีกมากมาย พร้อมมีภาพประกอบแต่ละท่าอย่าง ละเอียด ปฏิบตั ติ ามได้งา่ ย เพือ่ ให้คณ ุ สะกดวัยได้จริงๆ ส�ำหรับ ผู้ที่รักสุขภาพทุกท่าน

สถานที่สอบถามรายละเอียดและข้อมูลเพิ่มเติม ห้องสมุดกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม โทร. 0 2202 4425, 0 2202 4417 หรือ 0 2354 3237 เว็บไซต์ http://library.dip.go.th อุตสาหกรรมสาร 41


ใบสมัครสมาชิก

วารสารอุตสาหกรรมสาร 2560 สมาชิกเก่า

สมาชิกใหม่

วันที่สมัคร................................................ ชื่อ / นามสกุล........................................................................................................บริษัท/หน่วยงาน.......................................... ที่อยู่................................................................................................................................................................................... จังหวัด........................................................ รหัสไปรษณีย์.......................................... เว็บไซต์บริษัท......................................... โทรศัพท์................................................ โทรสาร..................................................ต�ำแหน่ง...................................................... อีเมล...................................................................

แบบสอบถาม 1. ผลิตภัณฑ์หลักที่ท่านผลิตคือ………………………………………………………………………………………...............................……………. 2. ท่านรู้จักวารสารนี้จาก…………………………………………………………………………………………………………………………………....... 3. ข้อมูลที่ท่านต้องการคือ……………………………………………………………………………………………………………………………….....… 4. ประโยชน์ที่ท่านได้จากวารสารคือ……………………………………………………………………………….………………………..............……... 5. ท่านคิดว่าเนื้อหาสาระของวารสารอุตสาหกรรมสารอยู่ในระดับใด เมื่อเทียบกับวารสารราชการทั่วไป

ดีที่สุด

ดีมาก

ดี

พอใช้

ต้องปรับปรุง

ดี

พอใช้

ต้องปรับปรุง

6. การออกแบบปกและรูปเล่มอยู่ในระดับใด ดีที่สุด

ดีมาก

7. ข้อมูลที่ท่านต้องการให้มีในวารสารนี้มากที่สุดคือ (ใส่หมายเลข 1...2...3... ตามล�ำดับ)

การตลาด

การให้บริการของรัฐ

สัมภาษณ์ผู้ประกอบการ

ข้อมูลอุตสาหกรรม

อื่นๆ ระบุ...................................

8. คอลัมน์ที่ท่านชอบมากที่สุด (ใส่หมายเลข 1...2...3... ตามล�ำดับความชอบ)

Interview (สัมภาษณ์ผู้บริหาร)

Product Design (ออกแบบผลิตภัณฑ์)

Good Governance (ธรรมาภิบาล)

SMEs Profile (ความส�ำเร็จของผู้ประกอบการ)

Report (รายงาน / ข้อมูล)

Innovation (นวัตกรรมใหม่)

Market & Trend (การตลาด / แนวโน้ม)

Book Corner (แนะน�ำหนังสือ)

อื่นๆ ระบุ......................................

9. ท่านได้รับประโยชน์จากวารสารอุตสาหกรรมสารมากน้อยแค่ไหน

ได้ประโยชน์มาก

ได้ประโยชน์พอสมควร

ได้ประโยชน์น้อย

ไม่ได้ใช้ประโยชน์

10. เทียบกับวารสารราชการทั่วไป ความพึงพอใจของท่านที่ได้รับจากวารสารเล่มนี้ เทียบเป็นคะแนนได้เท่ากับ 91-100 คะแนน

81-90 คะแนน

สมัครสมาชิกวารสาร

71-80 คะแนน

61-70 คะแนน

ต�่ำกว่า 60 คะแนน

กรอกใบสมัครซึ่งอยู่หน้าสุดท้ายของเล่มจากนั้นส่งใบสมัครได้ 3 ทาง ได้แก่ 1. สมัครทางไปรษณีย์ จ่าหน้าซองถึง บรรณาธิการวารสารอุตสาหกรรมสาร กลุ่มประชาสัมพันธ์ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ถนนพระรามที่ 6 เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 2. สมัครทางเครื่องโทรสาร หมายเลข 0 2354 3299 3. สมัครทางอีเมล : e-journal@hotmail.com


หน่วยงานเครือข่าย กรมส่งเสริมอุตสาหกรรมในส่วนภูมภิ าค

2 3

1

ศูนย์สง่ เสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1

(เชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน ลำ�พูน ลำ�ปาง พะเยา แพร่ น่าน) 158 ถนนทุ่งโฮเต็ล ต.วัดเกต อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50000 โทรศัพท์ (053) 245 361-2, 243 494, 242 226 โทรสาร (053) 248 315 e-mail: ipc1@dip.go.th

4

(อุดรธานี หนองบัวลำ�ภู หนองคาย เลย) 399 ม.11 ถนนมิตรภาพ ต.โนนสูง อ.เมือง จ.อุดรธานี 41330 โทรศัพท์ (042) 207 232-6, 207-238 โทรสาร (042) 207 241 e-mail: ipc4@dip.go.th

5 7 6

ศูนย์สง่ เสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 5

ศูนย์สง่ เสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 2

(ขอนแก่น กาฬสินธุ์ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด มุกดาหาร สกลนคร ) 86 ถนนมิตรภาพ ต.สำ�ราญ อ.เมือง จ.ขอนแก่น 40000 โทรศัพท์ (043) 379 296-9 โทรสาร (043) 379 302 e-mail: ipc5@dip.go.th

(พิษณุโลก สุโขทัย อุตรดิตถ์ เพชรบูรณ์ ตาก) 292 ถนนเลี่ยงเมือง-นครสวรรค์ ต.บ้านกร่าง อ.เมือง จ.พิษณุโลก 65000 โทรศัพท์ (055) 282 957-9 โทรสาร (055) 283 021 e-mail: ipc2@dip.go.th

ศูนย์สง่ เสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 7

ศูนย์สง่ เสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 3

(อุบลราชธานี ยโสธร อำ�นาจเจริญ ศรีสะเกษ) 222 หมู่ที่ 24 ถนนคลังอาวุธ ต.ขามใหญ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี 34000 โทรศัพท์ (045) 313 772, (045) 313 945, (045) 314 216, (045) 314 217 โทรสาร (045) 312 378, (045) 312 493 e-mail: ipc7@dip.go.th

(พิจิตร กำ�แพงเพชร นครสวรรค์ อุทัยธานี ชัยนาท สิงห์บุรี ลพบุรี) 200 ม.8 ถนนเลี่ยงเมือง ต.ท่าหลวง อ.เมือง จ.พิจิตร 66000 โทรศัพท์ (056) 613 161-5 โทรสาร (056) 613 559 e-mail: ipc3@dip.go.th

8

ศูนย์สง่ เสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 8

(สุพรรณบุรี กาญจนบุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา นครปฐม นนทบุรี ราชบุรี สมุทรสาคร สมุทรสงคราม เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์) 117 หมู่ 1 ถนนมาลัยแมน ต.ดอนกำ�ยาน อ.เมือง จ.สุพรรณบุรี 72000 โทรศัพท์ (035) 441 027, 441 029, 441 031 โทรสาร (035) 441 030 e-mail: ipc8@dip.go.th

ศูนย์สง่ เสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 6

9

หน่วยงานส่วนกลาง

(กรุงเทพมหานคร สมุทรปราการ นนทบุรี ปทุมธานี) ถนนพระรามที่ 6 ราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ 0 2202 4422-3 โทรสาร 0 2354 3152

ศูนย์สง่ เสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 10

ศูนย์สง่ เสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 4

(นครราชสีมา ชัยภูมิ บุรีรัมย์ สุรินทร์) 333 ถนนมิตรภาพ ต.สูงเนิน อ.สูงเนิน จ.นครราชสีมา 30170 โทรศัพท์ (044) 419 622 โทรสาร (044) 419 089 e-mail: ipc6@dip.go.th

ศูนย์สง่ เสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 9

(ชลบุรี ฉะเชิงเทรา ระยอง จันทบุรี สระบุรี ตราด นครนายก ปราจีนบุรี สระแก้ว) 67 ม.1 ถนนสุขุมวิท ต.เสม็ด อ.เมือง จ.ชลบุรี 20000 โทรศัพท์ (038) 261-203, 273-702, 784 654-5 โทรสาร (038) 273 701 e-mail: ipc9@dip.go.th

11

ศูนย์สง่ เสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 11

10

(นครศรีธรรมราช สุราษฎร์ธานี กระบี่ ภูเก็ต พังงา ระนอง ชุมพร) 131 ม.2 ถนนเทพรัตนกวี ต.วัดประดู่ อ.เมือง จ.สุราษฎร์ธานี 84000 โทรศัพท์ (077) 200 395-8 โทรสาร (077) 200 449 e-mail:cre-pic10@dip.go.th

(สงขลา ตรัง พัทลุง สตูล ยะลา ปัตตานี นราธิวาส) 165 ถนนกาญจนวนิช ต.นํ้าน้อย อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 90110 โทรศัพท์ (074) 211 905-8 โทรสาร (074) 211 904 e-mail: ipc11@dip.go.th


อุตสาหกรรมสารออนไลน์ http://e-journal.dip.go.th

วารสารเพื่อผู้ประกอบการ SMEs และ OTOP เว็บวารสารปรับโฉมใหม่ ! อุตสาหกรรมสารออนไลน์ http://e-journal.dip.go.th ฐานข้อมูลส่งเสริมความรูด้ า้ นอุตสาหกรรม และ แนวโน้มของอุตสาหกรรม กระบวนการผลิต การตลาด การบริหารการจัดการ การพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ การให้บริการต่างๆ ตลอดจนตัวอย่างผู้ประกอบการที่ประสบความส�ำเร็จ อยากรู้ข้อมูลคลิกอ่านได้เลย อยากเก็บข้อมูลดาวน์โหลดได้เลย

สมัครเป็นสมาชิกได้ที่

วารสารอุตสาหกรรมสาร กลุม่ ประชาสัมพันธ์ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ถนนพระรามที่ 6 เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 สมัครผ่านโทรสารที่หมายเลข 0 2354 3299 หรือ สมัครผ่านอีเมล : e-journal@hotmail.com


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.