OIE Share, Vol 66, Sep 2560

Page 1

การพัฒนาอุตสาหกรรม ในรูปแบบคลัสเตอร กลไกยกระดับความสามารถ ในการแขงขันภาคอุตสาหกรรมไทย

Sharing

กองทุนเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน สําหรับกลุมอุตสาหกรรมเปาหมาย... กลไกการยกระดับขีดความสามารถในการแขงขัน ของผูประกอบการยุค 4.0

เก็บมาเลา

One Belt One Road : นโยบายยอโลก เชื่อมโยงเครือขายอุตสาหกรรมอีสานเหนือของไทยและจีน


Co n t e n t s »ÃШí Ò à´× Í ¹¡Ñ ¹ ÂÒ¹ 2560

Econ Focus

การพัฒนาอุตสาหกรรมในรูปแบบคลัสเตอร กลไกยกระดับความสามารถในการแขงขันภาคอุตสาหกรรมไทย

3

Econ Review

สรุปสถานการณการผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือนกรกฎาคมป 2560

7

Sharing

กองทุนเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันสําหรับกลุมอุตสาหกรรม เปาหมาย...กลไกการยกระดับขีดความสามารถในการแขงขัน ของผูประกอบการยุค 4.0

9

เก็บมาเลา

One Belt One Road : นโยบายยอโลกเชื่อมโยงเครือขาย อุตสาหกรรมอีสานเหนือของไทยและจีน

Movement

Editor’s Note สวัสดีคุณผูอาน OIE SHARE มาถึงฉบับเดือนกันยายน ฉบับนี้ มีบทความดี ๆ มาฝาก และยังมีภาพเรื่องราวดี ๆ ของชาว สศอ. เข า ร ว มจั ด เตรี ย มอาหารบริ ก ารประชาชนที่ ม าร ว มถวายสั ก การะ พระบรมศพพระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช ณ บริเวณมณฑลพิธีทองสนามหลวง เริ่มจาก Econ Focus การพัฒนาอุตสาหกรรมในรูปแบบคลัสเตอร กลไกยกระดั บ ความสามารถในการแข ง ขั น ภาคอุ ต สาหกรรมไทย คอลัมน Sharing พบกับเรื่องกองทุนเพิ่มขีดความสามารถในการ แขงขันสําหรับกลุมอุตสาหกรรมเปาหมายฯ ปดทายดวย One Belt One Road : นโยบายยอโลก เชื่อมโยงเครือขายอุตสาหกรรมอีสาน เหนือของไทยและจีน รอเพื่อพบกันใหมในฉบับหนานะคะ ดวยความปรารถนาดี

12 15

ที่ปรึกษา ศิริรุจ จุลกะรัตน ผูอํานวยการ สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม วีรศักดิ์ ศุภประเสริฐ รองผูอํานวยการ สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม อิทธิชัย ปทมสิริวัฒน รองผูอํานวยการ สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม บรรณาธิการบริหาร สมจิตต เอี่ยมวรชัย ผูอ าํ นวยการสํานักบริหารกลาง กองบรรณาธิการ นาฏนดา จันทรสุข, ชาลี ขันศิร,ิ สมพิศ นาคสุข, ปญชาน ศรีสงั ข, เจษฎา อุดมกิจมงคล, ประวีรา โพธิสวุ รรณ, จักรพันธ เดนดวงบริพันธ, บุญอนันต เศวตสิทธิ์, ภคอร ประสิทธิ์สุข, สิริรักษ ชูเชิด

OIE SHARE ยิ น ดี รั บ ฟ ง ความคิ ด เห็ น คํ า ชี้ แ นะ และข า วประชาสั ม พั น ธ ต  า ง ๆ ติ ด ต อ ได ที่ กองบรรณาธิ ก าร OIE SHARE กลุ  ม ประชาสั ม พั น ธ แ ละบริ ก ารห อ งสมุ ด สํ า นั ก บริ ห ารกลาง สํ า นั ก งานเศรษฐกิ จ อุ ต สาหกรรม ถนนพระรามที่ 6 แขวงทุ  ง พญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 อีเมล : oieprnews@gmail.com ขอความที่ปรากฏใน OIE SHARE เปนทัศนะสวนตัวของผูเขียน

2

หากตองการนําขอเขียนหรือบทความในฉบับ ไปตีพิมพ เผยแพร หรือเพื่อประโยชนอื่นใดกรุณาอางอิงแหลงที่มา


ECON

F CUS

การพัฒนาอุตสาหกรรม ในรูปแบบคลัสเตอร กลไกยกระดับความสามารถ ในการแขงขันภาคอุตสาหกรรมไทย สํานักขับเคลื่อนอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพของประเทศ

การ

พัฒนาอุตสาหกรรมในรูปแบบคลัสเตอร ถือเปนกลไกที่มี ประสิ ท ธิ ภ าพในการช ว ยยกระดั บ ความสามารถในการ แขงขันของประเทศ โดยแนวคิดการพัฒนาคลัสเตอรเปนที่รูจักกันใน หมู  นั ก วิ ช าการและนั ก วิ เ คราะห น โยบายตั้ ง แต ศ าสตราจารย ไมเคิล อี. พอรเตอร (Michael E. Porter) แหงมหาวิทยาลัยฮารวารด ประเทศสหรัฐอเมริกา ไดตพี มิ พลงในหนังสือชือ่ “The Competitive Advantage of Nations” เมื่อป ค.ศ. 1990 (พ.ศ. 2533) โดยให คําจํากัดความของ “คลัสเตอร” ไววา คลัสเตอร คือ กลุมของธุรกิจ และสถาบันที่เกี่ยวของมารวมตัวดําเนินกิจการอยูในพื้นที่ใกลเคียง กัน (Geographical Proximity) มีความรวมมือเกื้อหนุน เชื่อมโยง และเสริ ม กิ จ การซึ่ ง กั น และกั น อย า งครบวงจร (Commonality & Complimentarily) ทั้งในแนวตั้งและแนวนอน โดยความเชื่อมโยง ในแนวตัง้ (Vertical Linkages) เปนความเชือ่ มโยงของผูป ระกอบการ ธุรกิจ ตั้งแตตนนํ้าจนถึงปลายนํ้า และความเชื่อมโยงในแนวนอน (Horizontal Linkages) เป น ความเชื่ อ มโยงของอุ ต สาหกรรม สนับสนุนตาง ๆ รวมทั้งธุรกิจใหบริการ สมาคมการคา สถาบันการ ศึกษาและฝกอบรม สถาบันวิจัยและพัฒนา ตลอดจนหนวยงานภาค รัฐตาง ๆ ทีเ่ กีย่ วของ เพือ่ บรรลุเปาหมายรวมกัน คือ การเพิม่ ผลิตภาพ (Productivity) ซึ่งถือเปนปจจัยหลักในการเพิ่มขีดความสามารถใน การแขงขันที่ยั่งยืน สําหรับในประเทศไทย แนวคิดดังกลาวไดรับการ กลาวถึงอยางกวางขวางในชวงป 2546 โดยรัฐบาลในขณะนั้นไดนํา แนวคิดการพัฒนาในรูปแบบคลัสเตอรมาใชเปนเครื่องมือในการยก ระดั บ ความสามารถในการแข ง ขั น ของประเทศ โดยเล็ ง เห็ น ว า แนวคิดดังกลาว นอกจากจะเปนกลไกชวยยกระดับความสามารถ ในการแข ง ขั น ของภาคเศรษฐกิ จ แล ว ยั ง ช ว ยส ง เสริ ม การพั ฒ นา ศักยภาพของผูผลิตรายยอยและลดความเหลื่อมลํ้าในสังคมไดดวย

นโยบายคลัสเตอรเปนหนึ่งในนโยบายสําคัญที่ประเทศตางๆ นํามาใชเปนเครื่องมือในการยกระดับความสามารถในการแขงขัน ของภาคอุตสาหกรรมอยางแพรหลาย โดยจากการศึกษาขอมูลที่ เกี่ยวของของประเทศตางๆ พบประเด็นที่นาสนใจหลายประเด็น อาทิ ประเทศในสหภาพยุโรป พบวา นโยบายคลัสเตอรมีบทบาท สําคัญในฐานะกรอบการดําเนินงานสําหรับนโยบายดานวิทยาศาสตร และการศึกษา โดย 2 ใน 3 ของประเทศทั้งหมดในสหภาพยุโรปมีการ ประกาศนโยบายคลัสเตอรในระดับประเทศ โดยเปนสวนหนึ่งของ นโยบายนวัตกรรม ประเทศฝรั่งเศส เริ่มมีนโยบายที่มุงเนนการพัฒนา ในรูปแบบของคลัสเตอรแหงการแขงขัน ในป 2548 โดยเปนการรวม กลุ  ม ของรั ฐ บาลท อ งถิ่ น ผู  ป ระกอบการ สถาบั น การศึ ก ษา และ ศูนยวิจัยตาง ๆ เพื่อใหเกิดการแบงปนความรูและทรัพยากร และสง เสริมการพัฒนานวัตกรรมโดยภาคเอกชนผานการใหสิทธิประโยชน ทางภาษี จุดเดนในการพัฒนาศักยภาพของคลัสเตอร คือการมุงเนน ให เ กิ ด ความร ว มมื อ ด า นนวั ต กรรมและการสร า งเครื อ ข า ยด ว ย นโยบายสนับสนุนงานวิจัยและพัฒนาผานระบบภาษีที่มีความโดด เดนและจูงใจ ควบคูกับการปรับกลไกการทํางานของภาครัฐใหเอื้อ อํ า นวย โดยเพิ่ ม อํ า นาจให กั บ การปกครองระดั บ ท อ งถิ่ น เพื่ อ ให รัฐบาลในแตละภูมิภาคมีอิสระในการตัดสินใจและสามารถมุงเนน การพัฒนาที่ตรงกับความตองการของผูประกอบการในเขตนั้นมาก ขึ้น ประเทศอิตาลี กรณีการพัฒนาคลัสเตอรสิ่งทอที่เมืองปราโต พบ วา ปจจัยความสําเร็จที่สําคัญประการหนึ่ง คือ มาตรการสนับสนุน จากภาคสวนที่เกี่ยวของ เชน สถาบันการศึกษาเขามาสนับสนุนโดย ใหการฝกอบรมความรูดานตาง ๆ เพื่อเพิ่มศักยภาพและเปนฐาน ความรูในการพัฒนา ธนาคารทองถิ่นทําหนาที่จัดหาสินเชื่อระยะสั้น ใหกับธุรกิจขนาดเล็ก

3


อี ก ทั้ ง ยั ง มี ก ฎหมายแห ง ชาติ ที่ ใ ห ก ารส ง เสริ ม และกระตุ  น การลงทุ น โดยมี ก องทุ น พิ เ ศษเพื่ อ ลดภาระค า ใช จ  า ยให กั บ บริ ษั ท ขนาดเล็ ก ประเทศสหรั ฐ อเมริ ก า กรณี ค ลั ส เตอร เ ทคโนโลยี คอมพิวเตอรที่ซิลิคอนวัลเลย พบวา มีปจจัยความสําเร็จในลักษณะ เดียวกับคลัสเตอรสิ่งทอของอิตาลี คือ การมีสถาบันการศึกษาชั้นนํา และสถาบันวิจัยที่มีศักยภาพเปนปจจัยสําคัญที่สุดตอการบมเพาะ อุ ต สาหกรรม เสริ ม ด ว ยระบบเครื อ ข า ยที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพของ สถาบันวิจัยซึ่งทําใหเกิดการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารระหวางกัน อยางใกลชิด การมีแรงงานที่มีฝมือและไดรับการอบรม รวมทั้งมีการ รวมลงทุนและใหการสนับสนุนดานเงินทุนแกวิสาหกิจ ประเทศญี่ปุน จากกรณี ศึ ก ษาคลั ส เตอร วิ ท ยาศาสตร ที่ โ ยโกฮามา มี ป ระเด็ น ที่นาสนใจคือ การจัดตั้งหนวยงานสงเสริมอุตสาหกรรมเทคโนโลยี ชีวภาพ (Bio-Technology Industry Promotion) เพื่อทําหนาที่ ประสานงานการพัฒนาและสนับสนุนงานวิจัยทั้งหลาย มีโครงสราง พื้ น ฐานที่ สํ า คั ญ ได แ ก Yogohama Joint Research Center และ Leading Venture Plaza ซึ่ ง มี บ ทบาทในการผลั ก ดั น และบมเพาะบริษัทตาง ๆ นอกจากนี้ ยังมีการสนับสนุนจากภาครัฐ โดยการผอนคลายขอกําหนด/ใหสิทธิพิเศษตาง ๆ เพื่อจูงใจบริษัท ชั้นนําของโลกจากตางประเทศ/นักวิจัยตางชาติใหเขามาดําเนินงาน ดานการศึกษาวิจัยในประเทศอยางตอเนื่อง ประเทศจีน จากกรณี ศึกษาการพัฒนาคลัสเตอรอุตสาหกรรม IT ในเขต Zhongguancun ที่ภาครัฐและสถาบันการศึกษารวมกันพัฒนาอุตสาหกรรมดังกลาว ขึ้น รวมถึงการมุงคนควาและวิจัยเทคโนโลยีแกนนําเพื่อยกระดับ ความสามารถในการแข ง ขั น ของคลั ส เตอร ร องรั บ อุ ต สาหกรรม อนาคต หรือในกรณีที่เมืองตาง ๆ ในมณฑลภาคตะวันออกของจีน กําหนดนโยบายดึงดูดการลงทุนจากตางประเทศในอุตสาหกรรม เป า หมายต า ง ๆ และมุ  ง ผลิ ต บุ ค ลากร เพื่ อ รองรั บ การพั ฒ นา คลัสเตอรอุตสาหกรรมเปาหมาย เปนตน จะเห็นไดวา ประเทศตาง ๆ ได เ ล็ ง เห็ น ถึ ง ความสํ า คั ญ ของการพั ฒ นาคลั ส เตอร และมี ก าร ดําเนินนโยบาย/มาตรการตาง ๆ เพื่อสนับสนุนการพัฒนาคลัสเตอร ใหเกิดขึ้นอยางเปนรูปธรรม สําหรับกรณีของภาคอุตสาหกรรมไทย แนวคิดการพัฒนา อุตสาหกรรมในรูปแบบคลัสเตอรไดเริ่มกลับมาเปนวาระที่อยูใน ความสนใจของภาคเศรษฐกิ จ อุ ต สาหกรรมไทยอี ก ครั้ ง ในช ว ง ประมาณปลายไตรมาสที่ 3 ของป 2558 จากแนวนโยบายของ นายกรั ฐ มนตรี พลเอกประยุ ท ธ จั น ทร โ อชา ที่ ไ ด ม อบแนวทาง การดําเนินนโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษของไทย ใหประกอบดวย 2 สวน คือ (1) เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษบริเวณชายแดน สําหรับ ธุรกิจที่ใชแรงงานจํานวนมาก ธุรกิจที่ใชวัตถุดิบจากทองถิ่นบริเวณ ชายแดนหรื อ ประเทศเพื่ อ นบ า นและธุ ร กิ จ ด า นโลจิ ส ติ ก ส และ (2) เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษในรูปแบบคลัสเตอร ซึ่งจะอยูบริเวณ พื้นที่ตอนใน สําหรับธุรกิจที่ไมเหมาะกับชายแดนและธุรกิจที่เปน อุตสาหกรรมแหงอนาคต เชน กิจการวิจัยและพัฒนา กิจการที่ใช เทคโนโลยีขั้นสูงและใชแรงงานนอย แนวนโยบายดังกลาว จึงเปน ที่มาของ “นโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษในรูปแบบคลัสเตอร”

4

ที่ ไ ด รั บ ความเห็ น ชอบจากที่ ป ระชุ ม คณะรั ฐ มนตรี เมื่ อ วั น ที่ 22 กันยายน 2558 นโยบายนี้มีวัตถุประสงคหลักเพื่อสรางความเขมแข็ง ของหวงโซมูลคาและนําไปสูการสรางอุตสาหกรรมแหงอนาคต อีกทั้ง ยังเปนการกระจายความเจริญไปสูภูมิภาค และสรางโอกาสทางธุรกิจ ใหกับผูประกอบการ SMEs ผานมาตรการสนับสนุน 5 ดานหลัก ไดแก การใหสิทธิประโยชน การพัฒนาคนและเทคโนโลยี การพัฒนา โครงสรางพื้นฐาน การแกไขกฎระเบียบที่เปนอุปสรรค และการ สนับสนุนเงินทุน ซึ่งดําเนินการโดยหนวยงานตาง ๆ ที่เกี่ยวของ ทั้งนี้ เพื่อใหเกิดความรวมมือในการพัฒนาตามแนวทางคลัสเตอรอยาง แท จ ริ ง และการดํ า เนิ น งานเกิ ด ผลเป น รู ป ธรรมโดยเร็ ว จึ ง มี ก าร กําหนดเงื่อนไขบังคับใหทุกโครงการที่ไดรับการสงเสริมการลงทุน ตามนโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษในรูปแบบคลัสเตอรจะตอง ร ว มมื อ กั บ สถาบั น การศึ ก ษา สถาบั น วิ จั ย หรื อ Center of Excellence ที่มีอยูในคลัสเตอร รวมทั้งตองยื่นขอรับการสงเสริม ภายในสิ้นป 2559 และตองเริ่มดําเนินการภายในสิ้นป 2560 ในส ว นของการขั บ เคลื่ อ นการดํ า เนิ น งานตามนโยบายฯ คณะรัฐมนตรีไดมีมติมอบหมายใหกระทรวงอุตสาหกรรม เปนหนวย งานหลักรับผิดชอบการขับเคลื่อนนโยบายดังกลาวใหเปนรูปธรรม และทํ า หน า ที่ เ ป น ศู น ย ก ลางประสานงานการพั ฒ นาในแต ล ะ คลัสเตอร ในการนี้ กระทรวงอุตสาหกรรมจึงไดมีคําสั่งแตงตั้งคณะ กรรมการเร ง รั ด นโยบายเขตพั ฒ นาเศรษฐกิ จ พิ เ ศษในรู ป แบบ คลัสเตอร โดยมีรัฐมนตรีวาการกระทรวงอุตสาหกรรม เปนประธาน กรรมการ มีผูทรงคุณวุฒิ และผูบริหารหนวยงานภาครัฐและเอกชน ร ว มเป น คณะกรรมการ โดยมี สํ า นั ก งานเศรษฐกิ จ อุ ต สาหกรรม (สศอ.) สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหง ชาติ (สศช.) และสํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน (BOI) เปนฝายเลขานุการรวม และภายใตคณะกรรมการดังกลาว ไดมีการ แตงตั้งคณะอนุกรรมการฯ เพื่อทําหนาที่พิจารณากําหนดแนวทาง การดําเนินงาน ผลิตภัณฑ/นักลงทุนเปาหมาย รวมทั้งแนวทาง/ มาตรการเพื่อเพิ่มขีดความสามารถและแกไขปญหาเรงดวนในแตละ คลัสเตอร รวม 9 คณะ ซึ่งสอดคลองกับคลัสเตอรอุตสาหกรรม เปาหมายตามนโยบายของรัฐบาลและขอเสนอ 10 อุตสาหกรรม เปาหมาย (S-Curve) ไดแก (1) ยานยนตและชิ้นสวน (2) เครื่องใช ไฟฟา อิเล็กทรอนิกสและอุปกรณโทรคมนาคม (3) ปโตรเคมีและ


เคมีภัณฑที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม (4) ดิจิทัล (5) เกษตรแปรรูป (6) สิ่งทอและเครื่องนุงหม (7) หุนยนต (8) การแพทยครบวงจร และ (9) อากาศยานและชิ้นสวน ที่ผานมา คณะกรรมการฯ/คณะอนุกรรมการฯ ในแตละคลัสเตอร ไดมีการประชุมอยางตอเนื่อง ตั้งแต เดื อ นพฤศจิก ายน 2558 โดยมี ก ารกํ า หนดผลิ ต ภั ณ ฑ เป า หมาย ประเทศเป า หมาย และมาตรการสํ า คั ญ ในแตละคลัสเตอร ซึ่งครอบคลุมประเด็นสําคัญในดาน ตางๆ ทั้งในเรื่องการใชมาตรการทางภาษี การจัดเตรียม โครงสรางพืน้ ฐานทีจ่ าํ เปน การพัฒนาบุคลากร การยกระดับ ความสามารถดานเทคโนโลยีของผูผลิต การยกระดับ มาตรฐานสินคา การปรับปรุงสิทธิประโยชน/มาตรการ ส ง เสริ ม การลงทุ น การแก ไ ขกฎหมาย กฎระเบี ย บ การสนับสนุนแหลงเงินทุน รวมทั้งมีการเรงรัด ผลักดันการ ดําเนินงานของหนวยงานที่เกี่ยวของ ในประเด็นสําคัญ/ เรงดวน ผานกลไกคณะกรรมการฯ/คณะอนุกรรมการฯ อยางตอเนื่อง ทั้งในสวนของภาพรวมและรายคลัสเตอร การพัฒนาคลัสเตอรในภาพรวม ● การให สิ ท ธิ ป ระโยชน ผ า นกฎหมายที่ เ กี่ ย วข อ ง เช น พระราชบัญญัตสิ ง เสริมการลงทุน (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2560 พระราชบัญญัติ การเพิม่ ขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศสําหรับอุตสาหกรรม เปาหมาย พ.ศ. 2560 ซึ่งมีผลใชบังคับแลวตั้งแตวันที่ 25 มกราคม 2560 และวันที่ 14 กุมภาพันธ 2560 ตามลําดับ และรางพระราช บัญญัติพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. .... ซึ่งขณะนี้ ไดผานการตรวจพิจารณาจากคณะกรรมการกฤษฎีกาแลว โดยจะนํา เขาที่ประชุมคณะรัฐมนตรีและเขาสูการพิจารณาของสภานิติบัญญัติ แหงชาติ (สนช.) ตอไป ● การพั ฒ นาคนและเทคโนโลยี เช น โครงการส ง เสริ ม ใหนักวิจัยในมหาวิทยาลัยและสถาบันวิจัยของภาครัฐไปปฏิบัติงาน ในสถานประกอบการของภาคเอกชน (Talent Mobility) โครงการ จั ด การศึ ก ษาเชิ ง บู ร ณาการกั บ การทํ า งาน (Work-integrated Learning) การสงเสริมและพัฒนางานวิจัยในสถาบันอุดมศึกษา ของไทยที่ ส อดคล อ งกั บ 10 อุ ต สาหกรรมเป า หมาย (S-Curve) การสร า งเครื อ ข า ยความร ว มมื อ เพื่ อ ส ง เสริ ม และพั ฒ นางานวิ จั ย ระหวางสถาบันอุดมศึกษาของไทยกับสถาบันอุดมศึกษา/หนวยงาน วิ จั ย จากต า งประเทศ การจั ด ตั้ ง ศู น ย ค วามเป น เลิ ศ (Center of Excellence) การสงเสริมใหไทยเปนศูนยกลางวิจัย พัฒนา ทดสอบ สมรรถนะยานยนตตนแบบในภูมิภาคโดยใหสิทธิประโยชนทางภาษี เปนตน ● การพัฒนาโครงสรางพืน ้ ฐาน เชน การพัฒนาโครงสราง พื้นฐานทางถนน ทางราง โครงสรางพื้นฐานเชื่อมทาเรือ การพัฒนา ท า อากาศยานอู  ต ะเภาและการก อ สร า งศู น ย ซ  อ มอากาศยาน ระยะที่ 1 โครงการบริ ก ารอิ น เทอร เ น็ ต สาธารณะสู  ชุ ม ชน โครงการอินเทอรเน็ตความเร็วสูงสาธารณะ Smart City จังหวัด ภู เ ก็ ต โครงการยกระดั บ โครงสร า งพื้ น ฐานด า นโทรคมนาคม

เพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ โครงการจัดตั้งศูนยทดสอบ ยานยนตและยางลอแหงชาติ

การแกไขกฎระเบียบที่เปนอุปสรรค เชน การแกปญหา ผั ง เมื อ งจั ง หวั ด ระยอง การพิ จ ารณาให ถิ่ น ที่ อ ยู  ถ าวรสํ า หรั บ ผูเชี่ยวชาญชั้นนําระดับนานาชาติ ● การสนั บ สนุ น เงิ น ทุ น เช น โครงการคู ป องนวั ต กรรม ระยะที่ 2 กองทุ น เพื่ อ การพั ฒ นาวิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี กองทุนรวมลงทุนในกิจการ (SMEs Private Equity Trust Fund) และมาตรการภาษีเพื่อสนับสนุนกิจการเงินรวมลงทุน เปนตน การพัฒนา 9 คลัสเตอรเปาหมาย ● คลัสเตอรยานยนตและชิ้นสวน เชน การยกเวนอากรขา เข า รถยนต ต  น แบบหรื อ ของที่ นํ า เข า มาเพื่ อ การวิ จั ย และพั ฒ นา หรือทดสอบ การขยายสาขาสถาบันพัฒนาบุคลากรในอุตสาหกรรม ยานยนต แ ละชิ้ น ส ว น และการส ง เสริ ม การผลิ ต ยานยนต ไ ฟฟ า ในประเทศ ● คลั ส เตอร เ ครื่ อ งใช ไ ฟฟ า อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส และ อุปกรณโทรคมนาคม เชน การพัฒนาบุคลากรดาน Electronic Design การยกระดับขีดความสามารถดานเทคโนโลยีการผลิตใหกับ ผูผลิตใน Supply Chain การยกระดับมาตรฐานสินคาและพัฒนา หองปฏิบัติการทดสอบไฟฟาแรงสูง ●

5


คลั ส เตอร ป  โ ตรเคมี แ ละเคมี ภั ณ ฑ ที่ เ ป น มิ ต ร ตอสิ่งแวดลอม เชน การแกไขปญหาสิ่งแวดลอมในจังหวัดระยอง การส ง เสริ ม การใช ผ ลิ ต ภั ณ ฑ พ ลาสติ ก ชี ว ภาพ โดยใช ม าตรการ ทางภาษี (Green Tax Expense) ● คลั ส เตอร เ กษตรแปรรู ป เช น การยกระดั บ คุ ณ ภาพ/ มาตรฐานสินคาเกษตรแบบครบวงจร การพัฒนา Rubber City ● คลั ส เตอร สิ่ ง ทอและเครื่ อ งนุ  ง ห ม เช น การส ง เสริ ม กิ จ การฟอกย อ มที่ เ ป น มิ ต รต อ สิ่ ง แวดล อ ม การส ง เสริ ม ไทย เป น ศู น ย ก ลางธุ ร กิ จ แฟชั่ น และส ง เสริ ม สถาบั น แฟชั่ น ระดั บ โลก มาตั้งสาขาและเปดสอนระดับปริญญาในไทย ● คลั ส เตอร ดิ จิ ทั ล เช น การจั ด ตั้ ง ศู น ย บ ริ ก ารเบ็ ด เสร็ จ ณ จุ ด เดี ย วในจั ง หวั ด เชี ย งใหม แ ละจั ง หวั ด ภู เ ก็ ต การจั ด ทํ า ร า ง เกณฑ คุ ณ สมบั ติ และเกณฑ ก ารประเมิ น ผู  เ ชี่ ย วชาญด า นดิ จิ ทั ล (Digital Specialist) และแนวทางการรับรองผูเชี่ยวชาญตางชาติ การชักจูงการลงทุนผานโครงการขับเคลื่อน Smart Thailand ● คลัสเตอรหุนยนต เชน การปรับโครงสรางอากรขาเขา ชิ้นสวนหรืออุปกรณที่ใชในอุตสาหกรรมหุนยนตและระบบอัตโนมัติ การกํ า หนดมาตรการทางภาษี เ พื่ อ กระตุ  น ให ภ าคอุ ต สาหกรรม ปรั บ เปลี่ ย นกระบวนการผลิ ต เป น หุ  น ยนต ห รื อ ระบบอั ต โนมั ติ (Demend Driven) การพัฒนาศักยภาพเครือขายหนวยงาน Center of Excellence ● คลั ส เตอร ก ารแพทย ค รบวงจร เช น การปรั บ ปรุ ง กระบวนการกําหนดมาตรฐานใหมีความรวดเร็ว และเรงกําหนด มาตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑ อุ ต สาหกรรมเครื่ อ งมื อ แพทย เ พื่ อ ให ผู  ผ ลิ ต ในประเทศใช เ ป น มาตรฐานอ า งอิ ง ในการเข า สู  บั ญ ชี น วั ต กรรม การปรั บ ระดั บ การส ง เสริ ม การลงทุ น ในอุ ต สาหกรรมการผลิ ต ยา การพิจารณาเพิ่มสิทธิประโยชนของกิจการที่เปนผลิตภัณฑเปาหมาย ในสาขาบริการทางการแพทย ● คลั ส เตอร อ ากาศยานและชิ้ น ส ว น เช น การแก ไ ข พระราชบัญญัติการเดินอากาศ (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2551 ผลจากการดํ า เนิ น งานตามมาตรการสนั บ สนุ น การพั ฒ นา อุตสาหกรรมในรูปแบบคลัสเตอรขางตน ประกอบกับสิทธิประโยชน ที่ นั ก ลงทุ น จะได รั บ จากมาตรการส ง เสริ ม การลงทุ น ของ BOI มีสวนชวยดึงดูดการลงทุนในอุตสาหกรรมเปาหมาย โดยจากขอมูล ของ BOI พบวา ตั้งแตวันที่ 16 กันยายน 2558 - 31 ธันวาคม 2559 มี คํ า ขอรั บ การส ง เสริ ม การลงทุ น ตามนโยบายคลั ส เตอร จํ า นวน 127 โครงการ เงินลงทุนรวม 147,646 ลานบาท โดยมีโครงการ ที่ไดรับอนุมัติ (ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2560) จํานวน 64 โครงการ เงิ น ลงทุ น รวม 84,875 ล า นบาท ซึ่ ง เป น เงิ น ลงทุ น ในคลั ส เตอร อุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวน เครื่องใชไฟฟา อิเล็กทรอนิกสฯ สิ่งทอ ปโตรเคมีและเคมีภัณฑที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม อากาศยาน อุปกรณอัตโนมัติและหุนยนต ดิจิทัล ตามลําดับ จากการบู ร ณาการทํ า งานของทุ ก ภาคส ว นที่ เ กี่ ย วข อ ง เพื่ อ ร ว มกั น ขั บ เคลื่ อ นการดํ า เนิ น งานตามนโยบายเขตพั ฒ นา เศรษฐกิจพิเศษในรูปแบบคลัสเตอรอยางตอเนื่องมาตลอดระยะเวลา ●

6

1 ป เ ศษ จนครบกํ า หนดระยะเวลาการยื่ น ขอรั บ การส ง เสริ ม ในชวงสิ้นป 2559 สงผลใหเกิดการขับเคลื่อนการดําเนินงานเพื่อ สนั บ สนุ น การพั ฒ นาอุ ต สาหกรรมในรู ป แบบคลั ส เตอร ใ นหลาย ประเด็นที่มีความคืบหนามาเปนลําดับ อยางไรก็ตาม การดําเนินงาน ตามเป า หมายของนโยบายเขตพั ฒ นาเศรษฐกิ จ พิ เ ศษในรู ป แบบ คลั ส เตอร ยั ง มี ป ระเด็ น ที่ ต  อ งได รั บ การผลั ก ดั น อย า งต อ เนื่ อ ง เพื่อใหการพัฒนาอุตสาหกรรมแหงอนาคตที่สอดคลองกับขอเสนอ 10 อุตสาหกรรมเปาหมาย (S-Curve) เกิดผลอยางเปนรูปธรรม อี ก ทั้ ง ยั ง มี แ นวโน ม ที่ จ ะเกิ ด การลงทุ น ซึ่ ง เป น ผลต อ เนื่ อ งจากการ ดํ า เนิ น นโยบายที่ เ กี่ ย วข อ งของภาครั ฐ เพิ่ ม ขึ้ น อี ก ในระยะต อ ไป ซึง่ จําเปนตองไดรบั การสนับสนุนในดานตาง ๆ จากภาครัฐอยางตอเนือ่ ง การขับเคลือ่ นการพัฒนาอุตสาหกรรมในรูปแบบคลัสเตอรอยางตอเนือ่ ง และเปนรูปธรรม ภายใตการบูรณาการของทุกภาคสวนที่เกี่ยวของ จะเป น กลไกสํ า คั ญ ในการสร า งความเข ม แข็ ง ของห ว งโซ มู ล ค า และผลักดันใหเกิดการลงทุนที่มีคุณคาในพื้นที่เปาหมาย ซึ่งนอกจาก จะสงผลใหภาคอุตสาหกรรมไทยมีผลิตภาพและความสามารถในการ แขงขันที่สูงขึ้น บนฐานองคความรู วิทยาศาสตร เทคโนโลยี นวัตกรรม และต อ ยอดไปสู  ก ารเป น ฐานอุ ต สาหกรรมแห ง อนาคตแล ว ยังเปนการสรางความเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจระดับฐานราก ทําใหเกิด การกระจายความเจริ ญ ไปสู  ภู มิ ภ าคและท อ งถิ่ น ตอบสนองต อ เปาหมายการเติบโตอยางมีสวนรวม (Inclusive Growth) อันจะนํา ไปสูการยกระดับความสามารถในการแขงขันของประเทศใหเติบโต อย า งมั่ น คง มั่ ง คั่ ง และยั่ ง ยื น ตามเป า หมายการพั ฒ นาประเทศ ที่กําหนดไว จัดทําโดย นางสาวสมานลักษณ ตัณฑิกุล นักวิเคราะหนโยบายและแผนชํานาญการพิเศษ แหลงขอมูลอางอิง 1.รายงานฉบับสมบูรณ โครงการจัดทํายุทธศาสตรการพัฒนา อุตสาหกรรมอนาคตไทย วิสัยทัศนใหมสู AEC โดยมูลนิธิสถาบันวิจัย นโยบายเศรษฐกิจการคลัง เสนอ สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม, พฤษภาคม 2558. 2.ฝรั่งเศส ศิลปะแหงคลัสเตอร สุนทรียแหงนวัตกรรม โดย Sasin Management Consulting (SMC), มกราคม 2559. สืบคนจาก www.facebook.com/notes/sasin-management-consultingsmc/ฝรั่งเศส-ศิลปะแหง คลัสเตอร-สุนทรียแหงนวัตกรรม/1316479658409037 3.คลัสเตอร การรวมกลุมธุรกิจเพื่อการแขงขัน โดยสํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร, ธันวาคม 2558. สืบคนจาก http://library2.parliament.go.th/ejournal/content_af/2558/ dec2558-3.pdf 4.คลัสเตอรอุตสาหกรรมจีน : เคล็ดลับฐานการผลิตโลก โดย ศูนยวิจัยกสิกรไทย, มีนาคม 2551. สืบคนจาก http://library.dip. go.th/multim2/news/n03168.pdf


ECON

REVIEW

ÊÃػʶҹ¡Òó ¡ÒüÅÔμÀÒ¤ÍØμÊÒË¡ÃÃÁà´×͹¡Ã¡®Ò¤Á»‚ 2560

สํานักวิจัยเศรษฐกิจอุตสาหกรรม

การผลิ ต ภาคอุ ต สาหกรรมเดื อ นกรกฎาคม 2560 ขยายตั ว โดยดั ช นี ผ ลผลิ ต อุ ต สาหกรรมขยายตั ว ร อ ยละ 3.7 เพิ่ ม ขึ้ น เมื่ อ เที ย บกั บ เดือนเดียวกันของปกอน เปนผลมาจากการขยายตัวของอุตสาหกรรม สําคัญ ๆ เชน อุตสาหกรรมการผลิตสวนประกอบและอุปกรณยานยนต อุตสาหกรรมการผลิตผลิตภัณฑยาง และอุตสาหกรรมการผลิตอาหาร แปรรูป (สัตวนํ้า) อัตราการใชกําลังการผลิตในเดือนกรกฎาคม 2560 อยูที่รอยละ 60.2

ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมรายสาขาสําคัญ

ดั ช นี ผ ลผลิ ต อุ ต สาหกรรมเดื อ นกรกฎาคม 2560 ขยายตั วรอยละ 3.7 เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกั บ เดือนเดียวกันของ ป ก  อ น สาขาอุ ต สาหกรรมการผลิ ต สํ า คั ญ ที่ ข ยายตั ว เช น อุ ต สาหกรรมการผลิ ต ส ว นประกอบและอุ ป กรณ ย านยนต อุตสาหกรรมการผลิตผลิตภัณฑยาง และอุตสาหกรรมการผลิต อาหารแปรรูป (สัตวนํ้า) อุตสาหกรรมการผลิตสวนประกอบและอุปกรณ ยานยนต ดัชนีผลผลิตขยายตัวรอยละ 26.7 เมื่อเทียบกับเดือน เดียวกันของปกอน เนื่องจากเครื่องยนตรุนใหมที่ผลิต ไดแก สิ น ค า เครื่ อ งยนต ดี เ ซล ได รั บ ความนิ ย มทั้ ง ในประเทศและ ตางประเทศอยางตอเนื่อง โดยเฉพาะประเทศในกลุม CLMV อุตสาหกรรมการผลิตผลิตภัณฑยาง ดัชนีผลผลิต ขยายตัวรอยละ 17.2 เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของป ก อ น โดยมี ก ารผลิ ต ผลิ ต ภั ณ ฑ ย างแผ น เพิ่ ม ขึ้ น ออกสู  ต ลาด เนื่องจากวัตถุดิบ (นํ้ายาง) ออกสูตลาดเพิ่มขึ้นและมีการขยายตัว ของตลาดใหมมากขึ้น สงผลใหสามารถผลิตสินคาไดมากขึ้น อุ ต สาหกรรมการผลิ ต อาหารแปรรู ป (สั ต ว นํ้ า ) ดัชนีผลผลิตขยายตัวรอยละ 13.3 เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับเดือน เดี ย วกั น ของป ก  อ น เนื่ อ งจากมี ค วามต อ งการในกลุ  ม สิ น ค า ปลาแชแข็ง หมึกแชแข็ง และกุงแชแข็งเพิ่มขึ้น รวมทั้งเกษตรกร สามารถจัดการปญหาโรคตายดวนในกุงจึงมีวัตถุดิบในการผลิต เพิ่มขึ้น ●

สําหรับสาขาอุตสาหกรรมการผลิตสําคัญที่หดตัว เชน อุตสาหกรรมการผลิตเครื่องปรับอากาศ และอุตสาหกรรมการ ผลิตผาทอ อุ ต สาหกรรมการผลิ ต เครื่ อ งปรั บ อากาศ ดั ช นี ผลผลิตหดตัวรอยละ 27.8 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปกอน เนื่ อ งจากความต อ งการสิ น ค า ในตลาดต า งประเทศชะลอตั ว รวมถึงสภาพอากาศที่มีฝนตกอยางตอเนื่อง สงผลใหปริมาณ การจําหนายในประเทศลดลง อุ ต สาหกรรมการผลิ ต ผ า ทอ ดั ช นี ผ ลผลิ ต หดตั ว รอยละ 7.8 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปกอน เปนผลมาจาก คู  แ ข ง ของไทยในกลุ  ม อาเซี ย นได รั บ สิ ท ธิ พิ เ ศษทางศุ ล กากร (GSP) ในการสงออกไปยุโรปและสหรัฐอเมริกา ทําใหราคาสินคา ถูกกวาของไทย สงผลใหการสงออกของไทยลดลง ●

7


8


Sharing

กองทุนเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน สําหรับกลุมอุตสาหกรรมเปาหมาย… กลไกการยกระดับขีดความสามารถ ในการแขงขันของผูประกอบการยุค 4.0 สํานักนโยบายอุตสาหกรรมมหภาค (สม.) วั น ที่ 13 กุ ม ภาพั น ธ 2560 กฎหมายฉบั บ สํ า คั ญ ที่ จ ะมี ส  ว นช ว ยส ง เสริ ม การลงทุ น ของประเทศ ไดถู ก ประกาศในราชกิ จ จานุ เ บกษา นั่ น คือ พระราชบั ญ ญัติ ก ารเพิ่ ม ขีด ความสามารถในการแขงขันของประเทศสําหรับอุตสาหกรรมเปาหมาย พ.ศ. 2560 เพื่อใชเปน กลไก/เครื่องมือที่สําคัญในการเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของอุตสาหกรรมเปาหมาย ของประเทศ โดยถือเปนการเพิ่มเครื่องมือชักจูงการลงทุนเพื่อใหประเทศไทยสามารถแขงขันกับ ประเทศคู  แ ข ง ในการดึ ง ให กิ จ การในอุ ต สาหกรรมเป า หมายที่ สํ า คั ญ มาลงทุ น ซึ่ ง มุ  ง เน น ไปที่ อุตสาหกรรมที่สอดคลองกับศักยภาพของประเทศ นอกจากนี้ ยังถือเปนการสรางความเขมแข็ง ให กั บ ภาคอุ ต สาหกรรมไทย โดยสนั บ สนุ น เงิ น กองทุ น ให ผู  ป ระกอบการในกลุ  ม อุ ต สาหกรรม เปาหมายเพื่อสนับสนุนคาใชจายในการลงทุนเพื่อการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม หรือการพัฒนาบุคลากรเฉพาะดานของกิจการในอุตสาหกรรมเปาหมาย ซึ่งจะกอใหเกิดการ ยกระดับศักยภาพของอุตสาหกรรมไทย โดยเฉพาะกลุม First S-Curve และ New S-Curve ใหกาวไปสูยุค Industry 4.0 ไดอยางมีประสิทธิภาพในอนาคต ก อ นที่ จ ะกล า วถึ ง รายละเอี ย ดและสาระสํ า คั ญ ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ เพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันสําหรับกลุมอุตสาหกรรมเปาหมาย กองทุนเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันฯ คงตองเลาความเปนมา (รางพระราชบัญญัติกองทุนเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันสําหรับ ของพระราชบั ญ ญั ติ ฯ ฉบั บ นี้ ก  อ น เพื่ อ ให ท ราบถึ ง ที่ ม าที่ ไ ปซึ่ ง เป น กลุมอุตสาหกรรมเปาหมาย พ.ศ. ....) ใหคณะรัฐมนตรีพิจารณาใหความ จุดกําเนิดของกองทุนเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันฯ ซึ่งเมื่อวันที่ เห็ น ชอบ และผ า นการพิ จ ารณาของสภานิ ติ บั ญ ญั ติ แ ห ง ชาติ แ ละ 17 พฤศจิ ก ายน 2558 คณะรั ฐ มนตรี ไ ด มี ม ติ เ ห็ น ชอบในหลั ก การ ถู ก ประกาศใช เ ป น กฎหมายพระราชบั ญ ญั ติ ก ารเพิ่ ม ขี ด ความสามารถ ของขอเสนอ 10 อุตสาหกรรมเปาหมาย : กลไกการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ในการแขงขันของประเทศสําหรับอุตสาหกรรมเปาหมาย พ.ศ. 2560 เพื่ออนาคต (New Engine of Growth) ที่กระทรวงอุตสาหกรรม (อก.) โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบั บฎีกา เลม 134 ตอนที่ 19 ก วันที่ 13 กุมภาพันธ 2560 เพื่อใชเปนกลไก/เครื่องมือที่สําคัญในการเพิ่ม เสนอ ซึ่งประกอบดวย (1) อุตสาหกรรมปจจุบันที่ยกระดับเพื่อตอยอดการเจริญเติบโต ขีดความสามารถในการแขงขันของอุตสาหกรรมเปาหมายของประเทศ กองทุนเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันฯ จึงถือกําเนิดขึ้นมา (First S-curve) ไดแก อุตสาหกรรมยานยนตสมัยใหม อุตสาหกรรม อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส อั จ ฉริ ย ะ อุ ต สาหกรรมการท อ งเที่ ย วกลุ  ม รายได ดี แ ละ ภายใตพระราชบัญญัติฉบับนี้ โดยในหมวดที่ 4 ไดกําหนดใหจัดตั้งกองทุน การทองเที่ยวเชิงสุขภาพ อุตสาหกรรมการเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ ขึ้นกองทุนหนึ่งในสํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน หรือ BOI เรียกวา “กองทุนเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศสําหรับ และอุตสาหกรรมการแปรรูปอาหาร และ (2) อุ ต สาหกรรมอนาคตเพื่ อ ยกระดั บ เศรษฐกิ จ ไทยแบบก า ว อุ ต สาหกรรมเป า หมาย” โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค เ พื่ อ ส ง เสริ ม และพั ฒ นา กระโดด (New S-curve) ไดแก อุตสาหกรรมหุนยนต อุตสาหกรรมการบิน อุตสาหกรรมเปาหมาย อันจะนําไปสูการเพิ่มขีดความสามารถในการ และโลจิสติกส อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ อุตสาหกรรม แขงขันของประเทศ ซึ่งคําวา “อุตสาหกรรมเปาหมาย” หมายความวา อุตสาหกรรมที่สอดคลองกับศักยภาพของประเทศสรางประโยชนอยางสูง ดิจิทัล และอุตสาหกรรมการแพทยครบวงจร โดยต อ มาคณะรั ฐ มนตรี ไ ด มี ม ติ เ ห็ น ชอบในหลั ก การให จั ด ตั้ ง ตอเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงของประเทศ และสามารถเพิ่มขีด กองทุนเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันสําหรับกลุมอุตสาหกรรมเปา ความสามารถในการแข ง ขั น ของประเทศได อ ย า งยั่ ง ยื น ซึ่ ง ต อ งเป น หมาย โดยใหมีวงเงิน 10,000 ลานบาท และมอบหมายใหกระทรวงการ อุตสาหกรรมประเภทใหมที่ไมเคยมีการผลิตหรือการใหบริการในประเทศ คลัง (กค.) และสํานักงบประมาณ (สงป.) พิจารณาเรื่องแหลงที่มาของราย มากอน หรือเปนอุตสาหกรรมที่มีการใชเทคโนโลยีใหมหรือใชความรูใน ไดสําหรับกองทุนฯ ซี่ง กค. พิจารณาแลว เห็นควรสนับสนุนใหเกิดการ การผลิ ต ขั้ น สู ง เพื่ อ ก อ ให เ กิ ด การพั ฒ นาและส ง เสริ ม นวั ต กรรม ลงทุนในอุตสาหกรรมเปาหมาย โดย กค. ไดเสนอเรื่องการจัดตั้งกองทุน ซึ่งคณะกรรมการ นโยบายเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ

เมื่อ

9


สําหรับอุตสาหกรรมเปาหมาย ไดออกประกาศที่ 1/2560 เรื่อง หลักเกณฑ การสงเสริมการลงทุนภายใตพระราชบัญญัติการเพิ่มขีดความสามารถ ในการแขงขันของประเทศสําหรับอุตสาหกรรมเปาหมาย พ.ศ. 2560 โดยกําหนดใหอุตสาหกรรมเหลานี้เปนอุตสาหกรรมเปาหมาย ไดแก 1) อุตสาหกรรมยานยนตสมัยใหม 2) อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกสอัจฉริยะ 3) อุตสาหกรรมการทองเที่ยวระดับคุณภาพ 4) อุตสาหกรรมการเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ 5) อุตสาหกรรมการแปรรูปอาหารที่มมี ูลคาเพิ่มสูง ๖) อุตสาหกรรมหุนยนต 7) อุตสาหกรรมการบิน 8) อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ 9) อุตสาหกรรมดิจิทัล 10) อุตสาหกรรมการแพทยครบวงจร ทั้ ง นี้ คณะกรรมการนโยบายจะเน น การส ง เสริ ม การลงทุ น เพื่ อ พั ฒ นาเทคโนโลยี ห ลั ก (Core Technologies) ที่ ป ระเทศไทย มีศักยภาพและเปนพื้นฐานสําคัญตอการพัฒนาอุตสาหกรรมเปาหมาย ในอนาคต เชน เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology) นาโนเทคโนโลยี (Nanotechnology) เทคโนโลยี วั ส ดุ ขั้ น สู ง (Advanced Materials Technology) และเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) เปนตน สําหรับในสวนของสิทธิประโยชนที่มีภายใตรางพระราชบัญญัติ ฉบับนี้ สามารถแบงไดเปน 3 กลุม คือ 1. การยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลไมเกิน 15 ป ปจจุบัน พระราชบัญญัติสงเสริมการลงทุนสามารถให สิทธิประโยชนยกเวนภาษี เงินไดนิติบุคคลไดสูงสุด ไมเกิน 8 ป (และเพิ่มขึ้นเปน 13 ป จากการแกไข พระราชบัญญัติสงเสริมการลงทุน) และสามารถใหสิทธิประโยชนลดหยอน ภาษีเงินไดนิติบุคคลรอยละ 50 อีก 5 ป ซึ่งพระราชบัญญัติฯ นั้นจะ สามารถใหสิทธิประโยชนยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลไดสูงสุดถึง 15 ป อย า งไรก็ ต าม จะไม มี ก ารให ล ดหย อ นภาษี เ งิ น ได นิ ติ บุ ค คลภายใต พระราชบัญญัติฉบับนี้ รวมทั้ง โครงการที่ไดรับการสงเสริมฯ ภายใต พระราชบั ญ ญั ติ ฉ บั บ นี้ แ ล ว จะไม ส ามารถได รั บ สิ ท ธิ ป ระโยชน ภ ายใต พระราชบัญญัติสงเสริมการลงทุนอีก 2. เงิ น สนั บ สนุ น จากกองทุ น ขนาด 10,000 ล า นบาท มีวัตถุประสงคเพื่อสนับสนุนคาใชจายในการลงทุนการวิจัยและพัฒนา การสงเสริมนวัตกรรม หรือการพัฒนาบุคลากรเฉพาะดานของกิจการ ในอุตสาหกรรมเปาหมาย ซึ่งไมไดหมายความวา กิจการใดกิจการหนึ่ง หรือกิจการไมกี่รายจะไดรับเงินสนับสนุนเปนจํานวนมหาศาล สัดสวน การไดรับเงินสนับสนุนเปนรายละเอียดที่จะตองเจรจากันอยางเหมาะสม และเกิ ด ความคุ  ม ค า กั บ เงิ น ที่ ส นั บ สนุ น ไป โดยมี ป ระโยชน ข องภาค อุตสาหกรรมไทยและประเทศไทยเปนหลัก 3. สิ ท ธิ ป ระโยชน อื่ น ๆ ตามพระราชบั ญ ญั ติ ส  ง เสริ ม การลงทุน โดยไมรวมสิทธิประโยชนดานภาษีเงินไดนิติบุคคล เชน สิทธิประโยชนในการยกเวนอากรขาเขาสําหรับเครื่องจักรที่นําเขาจาก ตางประเทศ การอนุญาตใหนําผูเชี่ยวชาญ ชางฝมือตางชาติเขามาทํางาน ในประเทศพรอมการใหบริการขอวีซาและ Work Permit เปนตน โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค เ พื่ อ ให ก ระบวนการส ง เสริ ม สามารถกระทํ า ได เ บ็ ด เสร็ จ ภายในคณะกรรมการเพี ย งชุ ด เดี ย วเพื่ อ ลดขั้ น ตอนและระยะเวลา ในการดําเนินการ รวมถึงเปนการอํานวยความสะดวกใหกับนักลงทุน

10 10

อย า งไรก็ ต าม การให สิ ท ธิ ป ระโยชน อื่ น ๆ ที่ ใ ห ไ ด นั้ น จะไม ร วมสิ ท ธิ ประโยชน ด  า นภาษี เ งิ น ได นิ ติ บุ ค คลภายใต พระราชบั ญ ญั ติ ส  ง เสริ ม การลงทุ น เพราะต อ งการลดความซํ้ า ซ อ นของการให สิ ท ธิ ป ระโยชน จากพระราชบัญญัติทั้งสองฉบับ โดยพระราชบัญญัติฉบับนี้มีกระบวนการทํางานและการขอรับ สิ ท ธิ ป ระโยชน ที่ แ ตกต า งไปจากพระราชบั ญ ญั ติ ส  ง เสริ ม การลงทุ น ซึ่งพระราชบัญญัติฉบับนี้มีขั้นตอนและแนวทาง ดังนี้ ขั้นที่ 1 คณะกรรมการนโยบายประกาศกําหนดประเภทและ ลั ก ษณะของกิ จ การในอุ ต สาหกรรมเป า หมาย รวมทั้ ง หลั ก เกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขตางๆ ขั้นที่ 2 เมื่อมีประกาศแลวชองทางในการขอสงเสริมภายใต พระราชบัญญัติ ฉบับนี้มี 2 ชองทาง คือ ชองทางที่ 1 การสรรหานักลงทุน เปาหมายโดยคณะอนุกรรมการสรรหาและเจรจา ชองทางที่ 2 นักลงทุน ที่เขาขายตามหลักเกณฑที่กําหนดยื่นขอเสนอโครงการตอ BOI โดยตรง ขั้นที่ 3 BOI จะวิ เ คราะห ข  อ เสนอโครงการและนํ า เสนอต อ คณะอนุกรรมการสรรหาและเจรจา หากเห็นชอบก็จะจัดทํารายละเอียด และประสานงานกับบริษัทในการดําเนินการเจรจาตอไป ขั้นที่ 4 เมื่อเจรจาเสร็จสิ้น คณะอนุกรรมการสรรหาและเจรจา จั ด ทํ า บั น ทึ ก สรุ ป ผลการเจรจา และแจ ง ให นั ก ลงทุ น มายื่ น คํ า ขอรั บ การสงเสริมฯ พรอมรายละเอียดโครงการลงทุนที่เปนไปตามผลการเจรจา ขั้นที่ 5 BOI เสนอคณะกรรมการนโยบาย พิ จ ารณาอนุ มั ติ สิทธิประโยชนใหแกโครงการดังกลาว ขั้นที่ 6 BOI แจงมติและจัดทําบัตรสงเสริมตอไป ทั้ ง นี้ BOI ได รั บ มอบหมายให เ ป น หน ว ยงานเจ า ภาพหลั ก ที่รับผิดชอบ และขับเคลื่อนการดําเนินงานตามพระราชบัญญัตินี้ เนื่องจาก เปนหนวยงานที่มีความพรอมและมีความเชี่ยวชาญในดานการสงเสริม การลงทุ น สํ า หรั บ ในทุ ก รู ป แบบกิ จ การ อั น จะส ง ผลให ก ารดํ า เนิ น งาน มีเอกภาพและมีประสิทธิภาพในการขับเคลื่อนการดําเนินงานสูงสุด สําหรับกระทรวงอุตสาหกรรมไดมีบทบาทสําคัญโดยมีสวนรวม ในการดํ า เนิ น งานผลั ก ดั น การจั ด ตั้ ง กองทุ น การเพิ่ ม ขี ด ความสามารถ ในการแข ง ขั น ของประเทศสํ า หรั บ อุ ต สาหกรรมเป า หมาย ในด า น การพิจารณาเสนอความเห็น ตรวจสอบ ปรับปรุง เพิ่มเติมเนื้อหาสาระ ของกฎหมายที่ จ ะมี ผ ลบั ง คั บ ใช ใ นวงกว า ง เช น การเสนอความเห็ น ในการกํ า หนดนิ ย ามของ “อุ ต สาหกรรมเป า หมาย” ให ค รอบคลุ ม ในทุกอุตสาหกรรม โดยไมเฉพาะเจาะจงเพียงแค 10 กลุมอุตสาหกรรม เป า หมาย แต ต  อ งเป น อุ ต สาหกรรมประเภทใหม ที่ ไ ม เ คยมี ก ารผลิ ต หรือการใหบริการในประเทศมากอน หรือเปนอุตสาหกรรมที่มีการใช เทคโนโลยีใหมหรือใชความรูในการผลิตขั้นสูง เพื่อกอใหเกิดการพัฒนา และสงเสริมนวัตกรรม การเสนอใหมีความตระหนักและใหความสําคัญ


กับการกําหนดหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขในการพิจารณาจัดสรร งบประมาณสนั บ สนุ น และให สิ ท ธิ ป ระโยชน แ ก ผู  ป ระกอบกิ จ การ ในอุตสาหกรรมเปาหมายที่มีความชัดเจน โปรงใส และสามารถตรวจสอบ ได อ ย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ รวมทั้ ง การเสนอให กํ า หนดขอบเขตของ กลุ  ม อุ ต สาหกรรมเป า หมายให มี ค วามชั ด เจนในรายละเอี ย ด เพื่ อ เพิ่ม ประสิทธิภาพในการขับเคลื่อนนโยบายไปสูการปฏิบัติ ลดความทับซอน ในการดํ า เนิ น งาน รวมทั้ ง จะส ง ผลให ก ารจั ด สรรงบประมาณเป น ไป อยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลตามวัตถุประสงคที่วางไว ที่สําคัญ ในการพัฒนาอุตสาหกรรมรวมทั้งการพัฒนาเพื่อยกระดับผูประกอบการ ให มี ศั ก ยภาพที่ สู ง ขึ้ น เพื่ อ ขั บ เคลื่ อ นการพั ฒ นาอุ ต สาหกรรมเชื่ อ มโยง ไปสูกองทุนเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันสําหรับกลุมอุตสาหกรรม เปาหมาย นอกจากนี้ กระทรวงอุตสาหกรรมไดมุงพัฒนาอุตสาหกรรม เปาหมาย โดยใหความสําคัญกับ 10 อุตสาหกรรม เพื่อใหเศรษฐกิจของ ประเทศไทยเติบโตอยางกาวกระโดดและกาวขามกับดักประเทศรายได ปานกลางโดยเร็ว ซึ่งการขับเคลื่อนอุตสาหกรรมเปาหมาย จะสงเสริมให เกิดการพัฒนาศักยภาพขีดความสามารถการผลิตและการแขงขันของ ภาคอุตสาหกรรม โดยการพัฒนากลุมอุตสาหกรรมที่มีอยูแลวในประเทศ และสร า งกลุ  ม อุ ต สาหกรรมใหม ผ า นมาตรการสนั บ สนุ น เพื่ อ ชั ก จู ง การลงทุ น บริ ษั ท ชั้ น นํ า จากทั่ ว โลกให ม าลงทุ น ในประเทศไทยเพื่ อ ช ว ย ยกระดับความสามารถในการแขงขันของประเทศ ซึ่งเปนการพัฒนาจาก โครงสรางเศรษฐกิจที่พึ่งพาการผลิต (Manufacturing and Asset-based Industry) ไปสูโครงสรางเศรษฐกิจการผลิตสมัยใหมที่ใชความรูการผลิต ขั้ น สู ง เพื่ อ สร า งมู ล ค า เพิ่ ม และพั ฒ นาคุ ณ ภาพสิ น ค า และบริ ก าร (Knowledge-based Industry) เพื่อปรับเปลี่ยนการผลิตจากเดิมที่ใช แรงงานเขมขน รับจางผลิต เปนการผลิตบนพื้นฐานการวิจัยและพัฒนา องคความรู เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อสรางมูลคาเพิ่มใหกับผลิตภัณฑ เชื่ อ มโยงการผลิ ต ไปสู  ร ะดั บ ภู มิ ภ าคและระดั บ โลก และเพิ่ ม ขี ด ความ สามารถในการแข ง ขั น โดยการกํ า หนดกลุ  ม อุ ต สาหกรรมเป า หมาย 10 อุตสาหกรรมที่มีศักยภาพ จะเปนแนวทางหนึ่งในการปรับเปลี่ยน โครงสรางการผลิตและระบบเศรษฐกิจไทยไปสูการผลิตดวยภูมิปญญา เทคโนโลยีขั้นสูง และนวัตกรรม รวมถึงยังมุงหวังเพื่อสรางผลในการพัฒนา เศรษฐกิจของประเทศใหเติบโตอยางกาวกระโดด มีการลงทุนรอยละ 10 ตอป และมี GDP ขยายตัวรอยละ 6 ตอป และทําใหประเทศไทยสามารถ หลุดพนจากกับดักประเทศรายไดปานกลาง (Middle Income Trap) ไปสูประเทศที่พัฒนาแลวภายในป พ.ศ. 2575

นอกจากนี้ กระทรวงอุ ต สาหกรรมยั ง ได มุ  ง เน น การพั ฒ นา ผู  ป ระกอบการและบุ ค ลากรในภาคอุ ต สาหกรรมให มี ค วามเข ม แข็ ง โดยได มี ก ารบู ร ณาการดํ า เนิ น งานร ว มกั บ กระทรวงที่ เ กี่ ย วข อ ง เพื่อพัฒนาบุคลากรรองรับการพัฒนา Industry 4.0 ทั้งในดานการผลิต กําลังคน การพัฒนามาตรฐานวิชาชีพ การพัฒนาหลักสูตร การเรียน การสอน ในระบบทวิภาคี/สหกิจศึกษา การพัฒนาแรงงานในอุตสาหกรรม เปาหมาย S-Curve โดยในป 2561 มีการวางแผนการพัฒนาแรงงาน ภาคอุตสาหกรรม จํานวนประมาณ 100,000 คน ซึ่งจะมีสวนชวยในการ พัฒนาและยกระดับขีดความสามารถในการแขงขันของผูประกอบการให สามารถดําเนินธุรกิจไดอยางมีประสิทธิภาพและมีโอกาสประสบผลสําเร็จ ในที่สุด ซึ่งเมื่อผูประกอบการเขมแข็งแลว หากตองการเงินลงทุนเพื่อที่จะ ใชขยายกิจการหรือลงทุนใหมก็สามารถอาศัยกองทุนเพิ่มขีดความสามารถ ในการแข ง ขั น สํ า หรั บ กลุ  ม อุ ต สาหกรรมเป า หมายซึ่ ง ถื อ เป น อี ก หนึ่ ง กลไกเพื่อการยกระดับขีดความสามารถในการแขงขันของผูประกอบการ ยุค 4.0 ใหมีขีดความสามารถในการแขงขันที่สูงขึ้นและสามารถแขงขันได ในระดับสากล รวมทั้งเปนเครื่องมือในการกระตุนใหผูประกอบการใช เทคโนโลยีและนวัตกรรมการผลิตเขามาชวยทดแทนการผลิตแบบเดิม ๆ เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพในการผลิตมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ยังเปนอีกหนึ่ง แหลงเงินทุนที่จะรองรับผูประกอบการใหสามารถเขาถึงแหลงเงินทุนได มากยิง่ ขึน้ ขอเพียงแคกจิ การนัน้ ๆ ตองเปนไปตามเงือ่ นไขทีก่ องทุนเพิม่ ขีด ความสามารถในการแขงขันฯ กําหนด คือ ตองเปนกิจการในอุตสาหกรรม ที่มีการใชเทคโนโลยีใหมหรือใชความรูในการผลิตขั้นสูงเพื่อกอใหเกิดการ พัฒนาและสงเสริมนวัตกรรมนั่นเอง กองทุนเพิม่ ขีดความสามารถในการแขงขันสําหรับกลุม อุตสาหกรรม เปาหมายภายใตพระราชบัญญัติการเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน ของประเทศสํ า หรั บ อุ ต สาหกรรมเป า หมาย พ.ศ. 2560 จะเป น การ เพิ่ ม เครื่ อ งมื อ ชั ก จู ง การลงทุ น เพื่ อ ให ป ระเทศไทยสามารถแข ง ขั น กั บ ประเทศคู  แ ข ง ในการดึ ง ให กิ จ การในอุ ต สาหกรรมเป า หมายที่ สํ า คั ญ (Investment-led growth) มาลงทุน โดยมุงเนนอุตสาหกรรมที่สอดคลอง กับศักยภาพของประเทศ สรางประโยชนอยางสูงตอเศรษฐกิจและสังคม และสามารถเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศไดอยางยั่งยืน จัดทําโดย ธนพรรณ ไวทยะเสวี แหลงขอมูลอางอิง พระราชบัญญัติการเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ สําหรับอุตสาหกรรมเปาหมาย พ.ศ. 2560 ,ราชกิจจานุเบกษาฉบับฎีกา เลม 134 ตอนที่ 19 ก วันที่ 13 กุมภาพันธ 2560 ขอมูลจาก www.boi.go.th

11 11


เก็บมาเลา

One Belt One Road :

นโยบายยอโลกเชื่อมโยงเครือขาย อุตสาหกรรมอีสานเหนือของไทยและจีน สํานักเศรษฐกิจอุตสาหกรรมระหวางประเทศ

สํา

นักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรมรวมกับสํานักงานอุตสาหกรรม จั ง หวั ด อุ ด รธานี ได จั ด การสั ม มนา เรื่ อ ง “One Belt One Road: นโยบายย อ โลก เชื่ อ มโยงเครื อ ข า ยเศรษฐกิ จ อุตสาหกรรม ไทย - จีน” เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2560 ณ โรงแรม เซ็นทาราคอนเวนชั่นเซ็นเตอรอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี โดยไดรับ ความสนใจจากผูเขารวมการสัมมนาเปนจํานวนมาก ประกอบไปดวย บุคลากรหนวยงานภาครัฐ เอกชน นักวิชาการ และผูประกอบการ ภาคอุตสาหกรรมในสวนภูมิภาค โดยการเปดสัมมนาเริ่มตนดวย การนําเสนอวีดีทัศนจากนายกรัฐมนตรี พลเอกประยุทธ จันทรโอชา ซึ่ ง ออกอากาศในรายการศาสตร พ ระราชา สถานี โ ทรทั ศ น รวมการเฉพาะกิจแหงประเทศไทย เมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม 2560 เกี่ยวกับนโยบาย One Belt One Road และแนวทางการเชื่อมโยง ของเครื อ ข า ยระหว า งไทย - จี น และต อ ด ว ยการบรรยาย เรื่ อ ง “One Belt One Road : นโยบายย อ โลก เชื่ อ มโยงเครื อ ข า ย เศรษฐกิจอุตสาหกรรมไทย - จีน”1 เนื้อหาโดยสรุปประกอบดวย นโยบายและการพั ฒ นาเศรษฐกิ จ ของสาธารณรั ฐ ประชาชนจี น ฉบั บ ที่ 13 (ป 2016-2020) นโยบายด า นการพั ฒ นาเศรษฐกิ จ ระหวางประเทศของจีน ไดแก Going Out Policy, One Belt One Road (OBOR), ธนาคารโครงสร า งพื้ น ฐานเอเชี ย (AIIB), Smart City และชุมชนเมือง และการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ (SEZs) ทั้งนี้ นโยบาย OBOR ของประธานาธิบดี สี จิ้น ผิง คือการเปด ความร ว มมื อ จากจี น สู  ภ ายนอกประเทศบนแนวพื้ น ที่ ยุ ท ธศาสตร ต า ง ๆ เพื่ อ ให บ รรลุ เ ป า หมายเชิ ง สั น ติ ภ าพและการประสบ ความสํ า เร็ จ ร ว มกั น การพั ฒ นาโครงสร า งพื้ น ฐานด า นคมนาคม ให ส มบู ร ณ แ ละเชื่ อ มโยงโครงข า ยคมนาคมแบบมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ปลอดภัยสูงทั้งทางถนน เรือ และเครื่องบิน การอํานวยความสะดวก ดานการคาการลงทุน สงเสริมความรวมมือทางเศรษฐกิจที่ใกลชิด สร า งความไว ว างใจทางการเมื อ งระหว า งประเทศ รวมทั้ ง การเชื่อมโยงดานสังคม ภาษา วัฒนธรรม การศึกษา การทองเที่ยว ของจี น กั บ ประเทศต า ง ๆ ที่ อ ยู  ใ นเส น ทาง สํ า หรั บ อุ ต สาหกรรม

เป า หมายของไทยตามเส น ทาง OBOR ที่ มี โ อกาสในการสร า ง ความเชื่อมโยงพื้นที่ของจีนในมณฑลตาง ๆ จากนโยบาย Made in China และ Thailand 4.0 ไดแก อุตสาหกรรมการผลิตสีเขียว (รถยนตไฟฟา) อุตสาหกรรมที่ใชเทคโนโลยี และอุตสาหกรรมระบบ อัจฉริยะ (หุนยนตการผลิต) และอุตสาหกรรมอื่นที่มีศักยภาพ ไดแก ยางพารา อาหารแปรรูป และการเกษตรแบบใหม เปนตน ทั้งนี้ ไทยสามารถใชประโยชนจากการเชื่อมโยงเครือขายคมนาคมของจีน

วิทยากรในการสัมมนา 1 รศ.ดร.อัทธ พิศาลวานิช ผูอํานวยการศูนยศึกษาการคาระหวางประเทศ มหาวิทยาลัยหอการคาไทย

12


ผาน สปป.ลาว และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ไดแก หนองคาย อุดรธานี ขอนแกน นครราชสีมา สระบุรี กรุงเทพฯ และเชื่อมโยง ไปยังระเบียงเศรษฐกิจตะวันออก (EEC) ของไทยเพื่อออกสูเสนทาง ทะเลทางอ า วไทย ซึ่ ง จะเป น โอกาสในการเชื่ อ มโยงธุ ร กิ จ บริ ก าร และการลงทุนทั้งโครงสรางพื้นฐานและการผลิตไดอีกดวย ในชวงตอมา เปนการเสวนา หัวขอ “การใชประโยชนจาก นโยบาย OBOR” โดยวิทยากรผูทรงคุณวุฒิจากหนวยงานที่เกี่ยวของ ซึ่งเนื้อหาที่สําคัญ ไดแก สถานะโครงการความรวมมือดานรถไฟ ระหว า งไทย - จี น 2 โดยรั ฐ บาลไทยตกลงให รั ฐ บาลจี น เข า มามี ส ว นร ว มในการพั ฒ นาโครงสร า งพื้ น ฐานด า นการคมนาคมขนส ง ของไทย ไดแก โครงการรถไฟทางคูขนาดมาตรฐาน ภายใตความ รวมมือในรูปแบบรัฐบาลตอรัฐบาล (G to G) ในการดําเนินโครงการ ความรวมมือ 4 เสนทาง ไดแก 1) กรุงเทพฯ - แกงคอย 133 กม. 2) แกงคอย-มาบตาพุด 246.5 กม. 3) แกงคอย - นครราชสีมา 138.5 กม. และ 4) นครราชสีมา - หนองคาย 355 กม. รวมระยะทาง 873 กิ โ ลเมตร อย า งไรก็ ดี ในการประชุ ม หารื อ ทวิ ภ าคี ร ะหว า ง นายกรัฐมนตรีไทยกับนายกรัฐมนตรีจีน เมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2559 ได ข  อ ยุ ติ ใ นหลั ก การ โดยไทยจะเป น ผู  ดํ า เนิ น การเอง รวมทั้ ง เปลี่ยนแปลงรูปแบบการดําเนินงานเปนรถไฟความเร็วสูงที่อัตรา ความเร็ ว 250 กิ โ ลเมตร/ชั่ ว โมง โดยจะดํ า เนิ น การในเส น ทาง กรุงเทพฯ - นครราชสีมา เปนลําดับแรก มีกรอบวงเงินลงทุนโครงการ จํ า นวน 1.79 แสนล า นบาท ในระยะยาวเส น ทางรถไฟดั ง กล า ว จะเชื่อมโยงการคมนาคมกับจีนตอนใตไดสะดวกมากยิ่งขึ้น จากสถานี ขนสงสินคาภูมิภาค ไดแก หนองคาย ขอนแกน และนครราชสีมา โดยอุดรธานีจะเปนจุดพักรถบรรทุกเสนทางหลัก รวมทั้งสามารถ เชื่ อ มโยงกั บ ระเบี ย งเศรษฐกิ จ ภาคตะวั น ออก (EEC) ในสาขา

อุตสาหกรรมเปาหมาย ไดแก อากาศยาน ซอมบํารุง และธุ ร กิ จ ต อ เนื่ อ ง ป โ ตรเคมี แ ละเคมี ภั ณ ฑ ขั้ น สู ง ยานยนต ชิ้ น ส ว นยานยนต แ ละอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส และเกษตรแปรรูป ในสวนของกลไกความรวมมือทางเศรษฐกิจ ระหวางไทย - จีน3 เพื่อความเปนหุนสวนยุทธศาสตร ทางเศรษฐกิ จ ที่ น โยบายของทั้ ง สองฝ า ยมี ค วาม สอดคล อ งกั น ประกอบด ว ย ความเชื่ อ มโยงด า น โครงสรางพื้นฐาน ความเชื่อมโยงดานดิจิทัล ดานความ เชื่อมโยงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กลุมคลัสเตอร อุ ต สาหกรรม และด า นพลั ง งานสํ า หรั บ แนวทาง การใชประโยชนจากนโยบาย OBOR ในภาพรวม4 ผานกรอบความรวมมือทางเศรษฐกิจตาง ๆ ในเชิง พื้นที่ผานกรอบความรวมมือทางเศรษฐกิจกับประเทศ เพื่ อ นบ า น เช น GMS ACMECS ผ า นเส น ทาง สารพัด R ตาง ๆ ซึ่งเชื่อมโยงระหวาง ไทย-สปป.ลาว-เวียดนาม-จีน ผานสะพานขามแมนํ้าโขงทั้ง 4 แหงของไทย นอกจากนี้ ไทยยัง สามารถใช ป ระโยชน จ ากยุ ท ธศาสตร อุ ต สาหกรรมรายสาขา แยกพื้นที่รายมณฑล ผานกลไกคณะทํ างานความรวมมือไทยกับ มณฑลตาง ๆ ของจีนไดอีกดวย โดยมีขอเสนอแนวทาง 4 รูปแบบ คือ อยูกับที่ โดยการสรางเครือขายการผลิต ดึงจีนมาไทยเขาไปลงทุน ในประเทศเพื่ อ นบ า น และเข า ไปลงทุ น ในจี น สํ า หรั บ ความเห็ น และมุมมองของผูประกอบการภาคเอกชนตอการคาระหวางประเทศ ในพื้นที่อุดรธานี5 ณ ปจจุบัน เห็นวายังมีไมมากนัก โดยสวนใหญ เปนการคาปลีกคาสงและการคาผานแดน และเปนศูนยพักการขนสง สินคา จึงคาดหวังใหพื้นที่มีการเพิ่มผลผลิตดานนวัตกรรม สรางมูลคา เพิ่มใหกับผลิตผลทางการเกษตร แหลงสมุนไพร ตอเนื่องไปยังธุรกิจ การรักษาพยาบาล โดยเห็นวาการเชื่อมโยง OBOR จะเปนโอกาส ของธุรกิจการกอสราง การทองเทีย่ ว การเขาสูส งั คมเมือง และผลิตภัณฑ ดานการเกษตรของไทยโดยเฉพาะ ข า ว พื ช ผั ก ผลไม ยางพารา อย า งไรก็ ดี มี ข  อ กั ง วลด า นการแข ง ขั น จากนั ก ธุ ร กิ จ จี น รวมทั้ ง นโยบายภาครัฐที่อาจเปนอุปสรรค เชน กฎหมายผังเมือง การจัดตั้ง โรงงาน การรั บ รองมาตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑ เป น ต น กล า วโดยสรุ ป การสรางความเชื่อมโยงของนโยบาย OBOR ระหวางไทย - จีน ควรประกอบไปด ว ย 1) การเชื่ อ มโยงกั บ ระเบี ย งเศรษฐกิ จ ภาค ตะวั น ออก (EEC) 2) การเชื่ อ มโยงกั บ นโยบายอุ ต สาหกรรม แหงอนาคตเปาหมาย (S - Curve) และ 3) การใชประโยชน จากศักยภาพ ในพื้ น ที่ จั ง หวั ด อุ ด รธานี ได แ ก อาหาร การเกษตร ยางพารา การบริการใหการรักษาดวยสมุนไพร การกอสราง และการบริการ การเงิน

วิทยากรในการสัมมนา 2 นายวิจิตร นิมิตรวานิช นักวิชาการขนสงทรงคุณวุฒิ สํานักงานนโยบายและแผนขนสงจราจร กระทรวงคมนาคม 3 นางสาวพริ้วแพร ชุมรุม ผูอํานวยการสํานักเอเชีย แอฟริกาและยุโรปตะวันออก กรมเจรจาการคาระหวางประเทศ กระทรวงพาณิชย 4 นางสาวปรารถนา บุญญฤทธิ์ ผูอํานวยการสํานักเศรษฐกิจอุตสาหกรรมระหวางประเทศ สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม 5 นายธนัชชัย สามเสน ประธานหอการคาจังหวัดอุดรธานี

13


นอกจากการสัมมนาแลว สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ยังไดมีโอกาสเขาศึกษาดูงานผูประกอบการภาคอุตสาหกรรมในพื้นที่ จังหวัดอุดรธานี ณ บริษัท กวางเขิ๋น รับเบอร (แมนํ้าโขง) จํากัด ตั้ ง อยู  ตํ า บลนาข า อํ า เภอเมื อ งอุ ด รธานี ประกอบกิ จ การ การเพาะพันธุกลายาง การปลูกตนยางพารา การแปรรูปผลผลิต จากนํ้ า ยางพาราเป น ยางก อ น STR การตรวจสอบคุ ณ ภาพและ การวิจัย โดยเปนกิจการลงทุนจากสาธารณรัฐประชาชนจีน กอตั้ง เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2553 นับเปนสาขาที่ 3 ในประเทศไทย เริ่มตน กิ จ การจากจั ง หวั ด สตู ล ตรั ง อุ ด รธานี ชุ ม พร และสุ ร าษฎธานี โดยรั บ ซื้ อ วั ต ถุ ดิ บ ยางก อ นถ ว ยจากเกษตรกรในพื้ น ที่ ปริ ม าณ 700 - 800 ตันตอวัน เพื่อนํามาผลิตสินคาหลัก คือ ยางกอน STR โดยปริมาณการขายรอยละ 99 เปนการสงออกไปยังประเทศจีน ซึ่งกระจายไปยังพื้นที่หลัก คือ มณฑลซานตง (เมืองชิงเตา หรือ Rubber Valley City สงออกรอยละ 60 - 70) และมณฑลฟูเจี้ยน ผานระบบการขนสงทางเรือโดยมีการสงออกที่ทาเรือแหลมฉบัง ของไทย โดยกระบวนการผลิตอุตสาหกรรมตนนํ้า เริ่มจากการกรีด นํ้ า ยาง สามารถเริ่ ม ต น ได เ กื อ บทั้ ง ป ตั้ ง แต เ ดื อ นพฤษภาคม ถึ ง กุ ม ภาพั น ธ ทั้ ง นี้ คุ ณ ภาพของนํ้ า ยางของไทยทั้ ง พื้ น ที่ ภ าคใต และภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีคุณภาพไมแตกตางกัน โดยสาเหตุ ที่เลือกการลงทุนอุตสาหกรรมกลางนํ้า การแปรรูปยางกอน STR ในพื้ น ที่ จั ง หวั ด อุ ด รธานี เนื่ อ งจากมี เ ส น ทางคมนาคมที่ ส ะดวก

14

การจัดสรรที่ดินสะดวกกวาพื้นที่จังหวัดใกลเคียง รวมทั้งนโยบายและ สิ ท ธิ ป ระโยชน จ ากการพั ฒ นาด า นการเกษตรและอุ ต สาหกรรม สําหรับสาขาผลิตภัณฑยางพารา สําหรับการขยายการผลิตในการ สรางมูลคาเพิ่มเปนอุตสาหรรมปลายนํ้า เชน ยางลอรถยนต ในขณะ นี้ ยั ง ไม มี แ ผนการดํ า เนิ น งาน เนื่ อ งจากต อ งการเน น การพั ฒ นา อุตสาหกรรมที่มีอยูใหมีคุณภาพมาตรฐานที่ดีกอน สําหรับปญหา ราคายางที่ ต กตํ่ า เนื่ อ งจากมี ผ ลผลิ ต จากหลายประเทศแข ง ขั น เพิ่มมากขึ้น ไดแก มาเลเซีย เวียดนาม สปป.ลาว และพื้นที่ตอนใต ของจีนในมณฑลยูนนาน และไหหลํา การจัดสัมมนาโครงการดังกลาว ทําใหผูเขารวมการสัมมนา ซึ่ ง ประกอบด ว ยเจ า หน า ที่ ภ าครั ฐ และผู  ป ระกอบการภาค อุตสาหกรรมในสวนภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ไดทราบ ข อ มู ล ความเชื่ อ มโยงด า นเศรษฐกิ จ อุ ต สาหกรรมตามแนวทาง ยุทธศาสตร “One Belt and One Road” ของจีน ที่มีตอโอกาส อุตสาหกรรมการคาการลงทุนของไทยภายในภูมิภาค พรอมทั้งไดรับ ฟงและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหวางวิทยากรและผูเขารวมการ สัมมนา ซึ่งเปนประโยชนอยางมากตอการกําหนดนโยบาย ทิศทาง มาตรการและการดําเนินงานของสํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม เพื่ อ ให ภ าคอุ ต สาหกรรมสามารถใช ป ระโยชน จ ากการเชื่ อ มโยง โครงสร า งพื้ น ฐานและกรอบความร ว มมื อ ทางเศรษฐกิ จ ต า ง ๆ ระหวางไทยกับประเทศเพื่อนบานและจีนไดอยางเหมาะสมและเกิด ประโยชนสูงสุด อันจะนําไปสูการเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน ของภาคอุตสาหกรรมไทยตอไปในอนาคต รวมทั้งไดรับประโยชนจาก การเข า ศึ ก ษาดู ง านผู  ป ระกอบการในอุ ต สาหกรรมยางพาราและ ผลิตภัณฑ ซึ่งเปนสาขาอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพในพื้นที่และสามารถ สรางความเชื่อมโยงเครือขายการผลิตไดสอดคลองตามเปาหมาย ของนโยบายเศรษฐกิจระหวางไทยและจีน จัดทําโดย กลุมอุตสาหกรรมระหวางประเทศ 2 แหลงขอมูลอางอิง การสัมมนา “One Belt One Road : นโยบายยอโลก เชื่อมโยงเครือขายเศรษฐกิจอุตสาหกรรมไทย-จีน


MOVEMENT

นายศิริรุจ จุลกะรัตน ผูอํานวยการสํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรมและคณะ ผูบริหารสํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม แถลงขาว “ผลสําเร็จการจัดงาน ประชุมวิชาการ สศอ. ประจําป 2560 (OIE Forum 2017) และแผนการพัฒนา Big Data เพื่อยกระดับอุตสาหกรรมไทยสู Industry 4.0” วันที่ 10 สิงหาคม 2560 ณ สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม

นายวีรศักดิ์ ศุภประเสริฐ รองผูอํานวยการสํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม เปนประธานในการเปดการสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง ประเทศไทยไดประโยชน จากการคาจริงหรือ? วันที่ 21 สิงหาคม 2560 ณ โรงแรมเซนจูรี่ปารค

นายอิทธิชัย ปทมสิริวัฒน รองผูอํานวยการสํานักงาน เศรษฐกิ จ อุ ต สาหกรรม เป น ประธานกล า วต อ นรั บ ในการประชุมรับฟงขอคิดเห็นและขอเสนอแนะของ ผูประกอบการตอ (ราง) นโยบายสงเสริมการลงทุน กิ จ การนิ ค ม หรื อ เขตอุ ต สาหกรรมอาหารอนาคต (World Food Valley Thailand) โดยมีนายยงวุฒิ เสาวพฤกษ ผู  อํ า นวยการสถาบั น อาหารร ว มประชุ ม วั น ที่ 4 สิ ง หาคม 2560 ณ สํ า นั ก งานเศรษฐกิ จ อุตสาหกรรม

นายวีรศักดิ์ ศุภประเสริฐ รองผูอํานวยการสํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม แถลงขาวดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) ประจําเดือนกรกฎาคม 2560 เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2560 ณ สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม

15


สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม รวมจัดเตรียมอาหารบริการประชาชนที่มารวมถวายสักการะพระบรมศพพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เมื่อวันที่ 4 สิงหาคม 2560 ณ บริเวณมณฑลพิธีทองสนามหลวง

16

75/6 ¶¹¹¾ÃÐÃÒÁ·Õè 6 à¢μÃÒªà·ÇÕ ¡ÃØ§à·¾Ï 10400 â·ÃÈѾ· 0 2202 4274, 0 2202 4284 â·ÃÊÒà 0 2644 8516 www.oie.go.th


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.