Industry Magazine #6

Page 1


อุตสาหกรรมสีเขียว (Green Industry) เตรียมพร้อมสู่อุตสาหกรรม “สังคมคาร์บอนต่ำ�” (Low Carbon Society)

สถาบันอาหาร

ยกระดับอุตสาหกรรมอาหารไทย ก้าวสู่ “Thailand 4.0”

บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรม ขนาดย่อม (บสย.) ติดปีกโอกาสได้รับสินเชื่อสำ�หรับ ผู้ประกอบการ SMEs ด้วย บสย.

SMEs ไทยเข้มแข็ง ด้วยกองทุน พัฒนาเอสเอ็มอีตามแนวประชารัฐ

Show Case ผูป้ ระกอบการทีไ่ ด้รบั การ สนับสนุนจากกองทุนฯ บริษทั ชมพูภคู า จำ�กัด และ ห้างหุน้ ส่วนจำ�กัด น่านดูโอ คอฟฟี่

@


Editor’s Note

ประเทศไทย 4.0 มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ด้วย นวัตกรรมเชิงสร้างสรรค์ และอุตสาหกรรมสีเขียว

ระเทศไทยจัดอยู่ในกลุ่มประเทศกำ�ลังพัฒนา ถึงแม้ในอดีต

ที่ ผ่ า นมามี ก ารพั ฒ นาในด้ า นต่ า ง ๆ อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง

ส่งผลให้ประชากรมีรายได้ในระดับปานกลาง จากเดิมทีเ่ ป็นประเทศ เกษตรกรรมก็ได้ปรับศักยภาพเพิม ่ ขีดความสามารถในการแข่งขัน มุ่งสู่อุตสาหกรรมยุค 4.0

หากมองไปในโลกอนาคต ศตวรรษที่ 21 การแข่ ง ขั น บนเวที ก ารค้ า รุ น แรงขึ้น โดยเฉพาะในยุคดิจิทัล การวางยุทธศาสตร์ประเทศจึงจำ�เป็นต้องปรับเปลี่ยนใหม่เพื่อให้ สอดคล้องกับบริบทสังคมโลก ซึ่งรัฐบาลได้จัดทำ�โมเดลพัฒนาเศรษฐกิจใหม่ให้ประเทศไทย ก้าวสู่โอกาสการค้า การลงทุนเพื่อเศรษฐกิจที่ดีข้ึน ด้วยวิสัยทัศน์ “มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน” การก้าวสู่ “ประเทศไทย 4.0” จึงเป็นภารกิจสำ�คัญของรัฐบาลในการขับเคลือ่ นปฏิรปู ประเทศใน ด้านต่าง ๆ บนความร่วมมือของทุกภาคส่วน โดยเฉพาะภาคเอกชนและผูป้ ระกอบการ SMEs โดยรัฐบาลสนับสนุนให้ใช้นวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์ตอ่ ยอดจากการผลิตหรือบริการใน รูปแบบเดิม เพือ่ นำ�คุณค่ามาสร้างมูลค่าเพิม่ ขยายผลทางเศรษฐกิจ วารสารอุตสาหกรรมฉบับนี้ แน่นด้วยเนือ้ หาจากเรือ่ งราวนวัตกรรมเชิงสร้างสรรค์ ทีท่ �ำ ให้ “ประเทศไทย 4.0” โชว์ศกั ยภาพและ สร้างมูลค่าเพิม่ ได้ รวมถึง “อุตสาหกรรมสีเขียว” เทรนด์ใหม่ทป่ี ระเทศไทยสามารถแข่งขันบนเวที การค้าโลก จากการสร้างคุณค่าทัง้ ด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล้อมได้อย่างยัง่ ยืน พร้อมบท สัมภาษณ์พเิ ศษ ดร. สมชาย หาญหิรญ ั ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม เปิดมาตรการติดปีก SMEs ด้วยกองทุนพัฒนาเอสเอ็มอีตามแนวประชารัฐ เพื่อให้นำ�ไปต่อยอดนวัตกรรมและความคิด สร้างสรรค์ พบกันฉบับหน้า ทีมงานวารสารอุตสาหกรรม

เจ้าของ สำ�นักงานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม 75/6 ถนนพระรามที่ 6 เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 ที่ปรึกษา นายสมชาย หาญหิรัญ ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม นางสาวนิสากร จึงเจริญธรรม รองปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม บรรณาธิการ นางสาวทัศนียา ลัธธนันท์ ผู้อำ�นวยการสำ�นักบริหารกลาง กองบรรณาธิการ นางสาวประภัสสร สินครบุรี นางสีจันทร์ สายบัวทอง นายวงศกร ตระกูลหิรัญผดุง นางพรศิริ ธรรมจำ�รัส นางสาวอรพิชญ์ กลิ่นจำ�ปา นางสาวสิริรัตน์ วงศ์จิตต์ซื่อ นางสาวเขมณัฏฐ์ บูรณพิสิฐ นายเมธชวิน ประโมทะกะ นางสาวธันย์ชนก บัณฑิตวิมล จัดพิมพ์ บริษัท ซี แอด โปรโมชั่น (1997) จำ�กัด 77/14 หมู่บ้านชลลดา ซอย 2 ถนน สายไหม แขวงสายไหม เขตสายไหม กรุงเทพฯ 10220 โทร 0 2991 3031-3 โทรสาร 0 2991 3066


contents

20

ฉบับที่ 6 เดือนมิถุนายน - กรกฎาคม 2560

06

06 Interview

ติดปีก SMEs ด้วยกองทุนพัฒนาเอสเอ็มอี ตามแนวประชารัฐ

13 R&D

สถาบั น อาหาร หนุ น SMEs ต่ อ ยอด อาหารด้ ว ยงานวิ จั ย และนวั ต กรรม... เพื่อพร้อมก้าวสู่ Thailand 4.0

16 Biz Law

ใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน (ร.ง.4) สำ�หรับโรงงานขนาดใหญ่

18 อก. Society 20 Sustainable Biz

Green Industry อุตสาหกรรมสีเขียว... รางวัลแห่งความสุขอย่างยั่งยืน

13

23 Show Case

ชมพูภูคา & น่านดูโอ คอฟฟี่

ต้นแบบผูป ้ ระกอบการเข้มแข็ง ด้วยกองทุน พัฒนาเอสเอ็มอีตามแนวประชารัฐ

27 Innovation Industry

โครงการพัฒนาศักยภาพอุตสาหกรรม เชิงสร้างสรรค์


31

31 Industry News

“อุตสาหกรรม” ร่วมทัพ “สมคิด” โรดโชว์ EEC ญีป ่ น ุ่ ดึง METI ช่วยปรับโครงสร้าง 10

อุตสาหกรรม S-Curve พร้อมจับมือเมือง

โกเบและฟุกชุ ม ิ ะ ดันอุตสาหกรรมเครือ ่ งมือ แพทย์ นำ�ร่องเป็นอุตสาหกรรมแรก

33 Smart Management Wongnai แอปพลิเคชันไทยที่เติบโตได้ แบบก้าวกระโดด

46

36 Marketing

OPOAI อุตสาหกรรมเกษตรแปรรูปไทย ก้าวไกลสู่ Industry 4.0

39 e-Commerce Trends

LINE@ เทรนด์การตลาดออนไลน์ 2017

42 Investment Hub

ไม่ว่าวันนี้ SMEs จะอยู่ในสถานะไหน จะตั้งต้น...เติบโต...ต่อยอด

23

แต่ถ้าขาดเงินทุนจะทำ�อย่างไร?

44 มองไปข้างหน้า...กับปลัดสมชาย คิดให้แตกก็ทำ�ให้ต่างได้ 46 Special Report เติมเต็ม SMEs กับกิจกรรม

คลินก ิ เอสเอ็มอีสัญจรแนวประชารัฐ

50

50 รู้ไว้ใช่ว่า

SMEs ก้าวสู่ Smart SMEs ด้วยการวางแผนภาษี

52 Work Life Balance

เคล็ดไม่ลับ...ออกกำ�ลังกายสร้างสมดุล

ของคนวัยทำ�งาน


Interview ติดปีก SMEs ด้วยกองทุน พัฒนาเอสเอ็มอีตามแนว ประชารัฐ

ากการที่รัฐบาลผลักดันประเทศไทย ก้าวเข้าสู่ การเป็นประเทศไทย 4.0 ทำ�ให้ทุกภาคส่วนต่าง ต้องมีการปรับตัวและวางแผนยุทธศาสตร์องค์กรเพื่อ ให้สอดคล้องกับนโยบายรัฐ โดยเฉพาะ SMEs จำ�เป็น ต้องมีการปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคม และเศรษฐกิจโลก สอดคล้องกับแนวทางการบริหาร ของรัฐในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศ ทั้งนี้สถานะ ของ SMEs ไทยในปัจจุบันอยู่ในระดับ 2.0, 2.5 และ 3.0 รวมถึง 80% ของจำ�นวน SMEs ทีม ่ ถ ี งึ 2 ล้านราย ซึ่ ง สาเหตุ แ ละปั ญ หาที่ ทำ � ให้ ก ารประกอบธุ ร กิ จ ของ ผูป ้ ระกอบการไม่ประสบผลสำ�เร็จ และไม่สามารถก้าวขึน ้ มาอยูใ่ นระดับ 3.5 หรือ 4.0 ได้นน ้ ั เพราะผูป ้ ระกอบการ ประสบปั ญ หาหลายด้ า น อาทิ ด้ า นเทคโนโลยี แ ละ นวัตกรรม ด้านการผลิต ด้านการตลาด ด้านบุคลากร ด้านการจัดซื้อและปัจจัยการผลิต ด้านการเงิน เป็นต้น

06 / วารสารอุตสาหกรรม


ซึ่ ง การแก้ ปั ญ หาและแนวทางการพั ฒ นาเพื่ อ ให้ ผูป้ ระกอบการมีความเข้มแข็งและเพิม่ ขีดความสามารถได้นนั้ ต้องอาศัยเงินทุน ดังนัน้ การทีร่ ฐั บาลจะเข้ามาช่วยผูป้ ระกอบการ SMEs จึงจำ�เป็นต้องมีกระบวนการช่วยเหลือที่เป็นเครื่องมือ หนุนกลไกให้ขบั เคลือ่ น เพือ่ ให้การช่วยเหลือเกิดประสิทธิภาพ และมี ผ ลสั ม ฤทธิ์ช่ว ย SMEs ได้ อ ย่ า งแท้ จ ริ ง และเกิ ด ความยั่ ง ยื น วารสารอุ ต สาหกรรมฉบั บ นี้ จึ ง เปิ ด ประเด็ น “ติ ด ปี ก SMEs ด้ ว ยกองทุ น พั ฒ นาเอสเอ็ ม อี ต ามแนว ประชารั ฐ ” มาเป็ น เรื่ อ งเด่ น ประจำ � ฉบั บ โดยสั ม ภาษณ์ ดร.สมชาย หาญหิรัญ ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม ถึง สถานการณ์ SMEs ในปั จ จุ บั น รวมถึ ง นโยบายการ ช่วยเหลือ SMEs ในด้านต่าง ๆ ที่ทางรัฐบาลจัดเตรียม ไว้เพื่อผู้ประกอบการ SMEs โดยการเปิดโอกาสให้ SMEs เข้าถึงแหล่งทุนจากกองทุน

ภาพรวมนโยบายรั ฐ บาลสู่ ก าร ขับเคลือ ่ นอุตสาหกรรมภาคการผลิต และภาคบริการ ปัจจุบน ั เป็นอย่างไร จากที่รัฐบาลได้กำ�หนดนโยบายการพัฒนาประเทศ ตามกรอบนโยบาย Thailand 4.0 และยุ ท ธศาสตร์ ช าติ 20 ปี ที่ให้ความสำ�คัญในเรื่องการพัฒนานวัตกรรม การ ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจให้สมดุลมากขึ้น การสร้างความ เข้มแข็งภายในประเทศ (Local Economy) และปฏิรปู เศรษฐกิจ ใหม่ของประเทศ ด้วยการเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจแบบเดิม ไปสู่เศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมที่สร้างมูลค่าเพิ่ม และแข่งขันได้ในตลาดโลก โดยให้ความสำ�คัญกับการพัฒนา เศรษฐกิจฐานรากในรูปแบบประชารัฐ เพื่อมุ่งหวังให้ไทย หลุดพ้นจากกับดักรายได้ปานกลาง ซึ่งจากนโยบายดังกล่าว กระทรวงอุตสาหกรรมได้พัฒนาแนวทางอุตสาหกรรม 4.0 ที่มุ่งเน้นในการนำ�เทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบการจัดการที่ ทันสมัย การเพิม่ ประสิทธิภาพการผลิตและคุณภาพสินค้าทัง้ ด้านการเกษตร อุตสาหกรรม บริการ และการท่องเทีย่ ว รวมทัง้ สร้างคนไทย 4.0 ด้วยการพัฒนาคนให้เข้ากับเทคโนโลยี การผลิตและธุรกิจรูปแบบใหม่

การขั บ เคลื่ อ นอุ ต สาหกรรมภาค การผลิตและภาคบริการ กระทรวงอุ ต สาหกรรมได้ ด ำ � เนิ น การยกระดั บ อุตสาหกรรมโดยมุง่ เน้นสูอ่ ตุ สาหกรรมทีข่ บั เคลือ่ นด้วยปัญญา และเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจโลก โดยมีแนวทางการพัฒนา อุตสาหกรรมไทยสู่อุตสาหกรรม 4.0 ที่เน้นการยกระดับ อุตสาหกรรมเดิมที่มีศักยภาพ (First S–Curve) และการสร้าง คลัสเตอร์อุตสาหกรรมอนาคต (New S–Curve) ใน 10 กลุ่ม อุตสาหกรรมเป้าหมาย โดยดำ�เนินการแก้ไขกฎระเบียบทีเ่ ป็น อุปสรรคทางการค้า การให้สิทธิประโยชน์จูงใจให้เอื้อต่อการ ลงทุน การพัฒนาบุคลากรและเทคโนโลยี การนำ�นวัตกรรม มาเป็นหัวใจหลักในการขับเคลื่อนอุตสาหกรรมการผลิต การ ขับเคลือ่ นการพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษในรูปแบบ Super Cluster เพื่อสร้างความเข้มแข็งของ Value Chain และนำ�ไปสู่การ สร้างฐานอุตสาหกรรมแห่งอนาคต เสริมสร้างศักยภาพด้าน การลงทุนของประเทศไทย เพื่อดึงดูดการลงทุนที่มีคุณค่า ทั้ ง จากนั ก ลงทุ น รายเดิ ม และรายใหม่ ตลอดจนกระจาย ความเจริญสู่ภูมิภาคและท้องถิ่น และสร้างโอกาสทางธุรกิจ ให้กับผู้ประกอบการ SMEs เพื่อขับเคลื่อนอุตสาหกรรม เป้ า หมายในการพั ฒ นาเศรษฐกิ จ เพื่ อ ก้ า วไปสู่ ก ารเป็ น ประเทศพัฒนาแล้ว ส่วนของภาคบริการโดยเฉพาะเรื่องการ ท่องเทีย่ วถือเป็นอุตสาหกรรมทีท่ �ำ รายได้สงู และสามารถสร้าง มูลค่าเพิ่มให้กับระบบเศรษฐกิจ กระทรวง ฯ มีการดำ�เนิน โครงการทีเ่ น้นการท่องเทีย่ วโดยใช้ทนุ ทางวัฒนธรรม และการ ท่องเทีย่ วเชิงสุขภาพ รวมถึงการส่งเสริมบริการทางการแพทย์ เพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุ

การส่งเสริมและพัฒนา SMEs เน้ น การส่ ง เสริ ม พั ฒ นาและสร้ า งความแข็ ง แกร่ ง ให้กับ SMEs ในทุกกลุ่ม ทั้ง Start Up, Spring Up, Step Up, และ Turn Around อย่ า งทั่ ว ถึ ง และครอบคลุ ม ใน ทุกมิติ ทัง้ ในด้านการเงินและมิใช่การเงิน โดยนำ�นวัตกรรม ความรู้ ความคิ ด สร้ า งสรรค์ และร่ ว มมื อ กั บ หน่ ว ยงานทั้ ง ภาครั ฐ และภาคเอกชน รวมถึงสถาบันการศึกษา ตลอดจนสถาบัน การเงิน มาร่วมบูรณาการเพื่อพัฒนา SMEs ให้เป็น Smart SMEs, S-Curve SMEs, Digital SMEs เพื่อก้าวสู่ SMEs 4.0 โดยมีแนวทางในการยกระดับเพือ่ พัฒนาและสร้างความเข้มแข็ง ให้กับ SMEs ที่ครอบคลุมในทุกมิติ ดังนี้

วารสารอุตสาหกรรม / 07


1) พัฒนา SMEs ที่มีไอเดีย ก้าวสู่ผู้ประกอบการ เชิงสร้างสรรค์ที่มีนวัตกรรม และผลักดันต้นแบบงานวิจัย สู่การผลิตเชิงพาณิชย์ 2) พัฒนา SMEs รายเดิม เพื่อรองรับอุตสาหกรรม S-Curve ด้วยศูนย์ปฏิรูปอุตสาหกรรมสู่อนาคต (Industry Transformation Center : ITC) และศูนย์ออกแบบและพัฒนา ผลิตภัณฑ์ (Thailand Industrial Design Center : Thai-IDC) เพื่อยกระดับผลิตภัณฑ์ให้มีมูลค่าสูง พร้อมการรวมกลุ่ม เชื่อมโยงเครือข่ายเพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน 3) ส่งเสริมให้ใช้ Digital Content และ Digital Solution เพื่อปรับธุรกิจสู่ SMEs ยุค 4.0 4) มีศนู ย์สนับสนุนและช่วยเหลือ SMEs (SME Support and Rescue Center : SSRC) ที่ตั้งอยู่ทั้งในส่วนกลาง และส่วนภูมิภาค ครอบคลุมทั้ง 76 จังหวัด โดยเชื่อมโยงและ บูรณาการหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และสถาบันการเงิน ให้การช่วยเหลือ SMEs ที่ประสบปัญหาอย่างครบวงจร เพื่อ การพลิกฟื้นธุรกิจ 5) การอบรมถ่ายทอดความรูก้ ารจัดตัง้ ธุรกิจ การบ่มเพาะ และการจั ด ทำ � ระบบพี่ เ ลี้ ย ง เพื่ อ ให้ มี ขี ด ความสามารถ ในการแข่งขันทุกด้าน ผ่านโครงการ SMEs Academy 6) การพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและในระดับภูมภิ าค โดยการพัฒนาหมู่บ้านอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ (Creative Industry Village : CIV) เพื่อสร้างรากฐานทางเศรษฐกิจใน ระดับชุมชนและสร้างระบบการพัฒนาให้กบั ชุมชนในเชิงธุรกิจ ทีเ่ ชือ่ มโยงกับการท่องเทีย่ ว เพือ่ ให้เกิดการเชือ่ มโยงการผลิต ในชุมชนสู่ตลาดผู้บริโภคและนักท่องเที่ยว 7) การตลาด โดยการสนับสนุนให้ SMEs ขยาย ธุรกิจไปยังตลาดทัง้ ภายในประเทศและต่างประเทศทัง้ ในกลุม่ ประเทศ CLMV (กัมพูชา ลาว เมียนมา เวียดนาม) ประเทศ ญี่ปุ่น จีน และเกาหลีใต้ เป็นต้น โดยเน้นการสร้างและขยาย เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อส่งเสริมสนับสนุนการทำ�ธุรกิจ 8) การเสริมสร้างวิสาหกิจชุมชนและเศรษฐกิจใน ท้องถิ่น (Local Economy) ผ่านโครงการพัฒนากลุ่มจังหวัด ที่ใช้งบกลาง เพื่อยกระดับวิสาหกิจชุมชน (OTOP) สู่ Smart Micro–Enterprise

08 / วารสารอุตสาหกรรม

9) การพัฒนาผู้ประกอบการ SMEs ทำ�ผลิตภัณฑ์ให้ ได้มาตรฐาน มอก. เพื่อเพิ่มศักยภาพอุตสาหกรรมไทย เพิ่ม ความสามารถในการแข่งขันทางการค้าให้เป็นที่ยอมรับใน ระดับสากล

SMEs สามารถเข้าถึงแหล่งทุนได้ อย่างไรบ้าง

จากจำ�นวน SMEs ที่มีกว่า 2 ล้านราย เป็นเรื่อง น่ า ยิ น ดี ที่ วั น นี้ รั ฐ บาลมี โ ครงการสนั บ สนุ น เงิ น ทุ น สำ � หรั บ ผู้ ป ระกอบการ SMEs ทำ � ให้ มี โ อกาสได้ เข้ า ถึ ง แหล่ ง เงิ น ทุนง่ายขึ้น ซึ่งปัจจุบันมีถึง 4 กองทุนด้วยกัน กองทุนแรก คือ กองทุนส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม โครงการเงินทุนพลิกฟืน้ วิสาหกิจขนาดย่อม (Turnaround) วงเงิน 1,000 ล้านบาท โดยให้กู้ปลอดดอกเบี้ย 7 ปี เพื่อ ช่วยเหลือ SMEs ที่ประสบปัญหาเศรษฐกิจแต่มีศักยภาพ สามารถฟืน้ ฟูกจิ การได้และมีสถานะเป็นนิตบิ คุ คล ซึง่ สามารถ ติดต่อขอรายละเอียดได้ท่ี ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่ อ มแห่ ง ประเทศไทย (ธพว.) สำ � หรั บ กองทุ น ทีส่ องคือ กองทุนส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม โครงการฟื้นฟูกิจการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม งบประมาณ 2,000 ล้านบาท ซึ่งการให้ความช่วยเหลือ ของกองทุนพลิกฟื้นให้กู้ยืมปลอดดอกเบี้ยเป็นเวลา 7 ปี แก่ SMEs ทีป่ ระสบปัญหาทางการเงินทีไ่ ด้ผา่ นการปรับโครงสร้าง หนีแ้ ล้ว และนอกเหนือจากการให้กยู้ มื จะให้การอุดหนุน หรือเข้าร่วม กิจการหรือร่วมทุนหรือลงทุนกับ SMEs ทีต่ อ้ งการความช่วยเหลือ ทางการเงินด้วย ซึง่ สามารถยืน่ คำ�ขอเข้ามาทางศูนย์ชว่ ยเหลือ ผู้ประกอบการ SMEs (SME Rescue Center) ของรัฐบาล ที่กระทรวงอุตสาหกรรมเป็นผู้ดูแล ดังนั้นวิธีการให้ความ ช่วยเหลือจะทำ�ได้กว้างขวางมากกว่าการให้กู้ยืมเงินเพียง อย่างเดียว จาก 2 กองทุนทีก่ ล่าวมา ทางรัฐบาลได้เห็นปัญหา และต้องการช่วยเหลือสนับสนุนผู้ประกอบการ SMEs เพื่อ ให้อยู่รอดและแข็งแรงขึ้น เพราะจากการสำ�รวจและวินิจฉัย SMEs ไทย ผลปรากฏว่า SMEs ไทยมีศักยภาพการผลิต เก่ง มีความคิดสร้างสรรค์ การเข้าถึงแหล่งทุนเป็นแนวทาง


วารสารอุตสาหกรรม / 09


ที ่ จ ะช่ ว ย SMEs รั ฐ บาลจึ ง จั ด สิ น เชื ่ อ กองทุ น ที ่ ส าม คื อ SMEs Transformation Loan เพื่อเป็นเงินทุนหมุนเวียน ขยาย ปรับปรุงกิจการ วงเงินรวม 15,000 ล้านบาท โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อช่วยเหลือผู้ประกอบการ SMEs ที่ได้รับ ผลกระทบด้านเศรษฐกิจทำ�ให้กจิ การมีปญ ั หาขาดสภาพคล่อง และเพือ่ สนับสนุนส่งเสริมผูป้ ระกอบการ SMEs ให้สอดรับกับ นโยบายของรัฐบาลในการปรับเปลีย่ นธุรกิจสูย่ คุ อุตสาหกรรม 4.0 และ SMEs 4.0 เพื่อให้ผู้ประกอบการ SMEs เข้าถึง แหล่งเงินทุนดอกเบี้ยต่ำ� สำ�หรับกลุ่ม SMEs เป้าหมาย คือ ผูป้ ระกอบ SMEs ทีเ่ ป็นนิตบิ คุ คล, SMEs ทีเ่ ป็นผูป้ ระกอบการ ใหม่ (New/Startup) หรือที่มีนวัตกรรม หรือเป็น SMEs ที่ มีศักยภาพหรือมีแนวโน้มเติบโตเข้าสู่ยุคอุตสาหกรรม 4.0 และ SMEs 4.0 เช่น SMEs กลุ่มธุรกิจ S-Curve และ SMEs ที่ส่งออกหรือขยายธุรกิจในต่างประเทศ เป็นต้น เรียกว่า ขยายฐานหรือจำ�นวน SMEs ที่ต้องการเงินทุนได้จำ�นวน มากขึ ้นและเงื ่อนไขการพิจารณากลุ่ม SMEs ที่มายื่นขอ สินเชื่อก็ทำ�ได้มากขึ้นเช่นกัน ทั้งนี้ผู้ประกอบการสามารถขอ รายละเอียดได้ที่ ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและ ขนาดย่อม แห่งประเทศไทย และกลุ่มที่สี่คือ กองทุนพัฒนา เอสเอ็มอีตามแนวประชารัฐ ทัง้ นีค้ ณะรัฐมนตรีได้มมี ติ เมือ่ วันที่ 17 มกราคม 2560 เห็นชอบให้กระทรวงอุตสาหกรรม จัดตัง้ กองทุนพัฒนาเอสเอ็มอีตามแนวประชารัฐ วงเงิน 20,000 ล้ า นบาท โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ให้ ก ารสนั บ สนุ น และ ช่วยเหลือ SMEs ที่มีศักยภาพในการต่อยอดธุรกิจได้อย่าง มีประสิทธิภาพและยั่งยืน เพื่อเป็นทุนที่จะช่วยเติมเต็มให้ SMEs ที่มีอุปสรรคไม่สามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนปกติ ให้ มีเงินทุนที่จะสามารถพัฒนาธุรกิจให้มีศักยภาพเพียงพอ ที่จะเข้าสู่ระบบการเงินปกติของสถาบันการเงินเอกชนได้ และเพื่อเป็นทุนช่วยเหลือ สนับสนุน SMEs ให้มีการพัฒนา ไปสู่ อุ ต สาหกรรมที่ มี มู ล ค่ า สู ง ตามยุ ท ธศาสตร์ ช าติ แ ละ ยุทธศาสตร์การปฏิรูปประเทศไทย ที่สอดคล้องตามนโยบาย Thailand 4.0 เพื่อยกระดับและพัฒนา 5 กลุ่มเทคโนโลยี และอุตสาหกรรมเป้าหมาย ได้แก่ กลุ่มอาหาร เกษตรและ เทคโนโลยีชีวภาพ กลุ่มสาธารณสุข สุขภาพและเทคโนโลยี ทางการแพทย์ กลุ่มหุ่นยนต์ อุปกรณ์อัจฉริยะและระบบ เครื่องกล กลุ่มดิจิทัลและเทคโนโลยีสมองกลฝังตัว และกลุ่ม อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ ทุนวัฒนธรรมและบริการที่มีมูลค่า สูง ทั้งนี้ผู้ประกอบการสามารถเข้าถึงสินเชื่อจากกองทุน ต่ า ง ๆ ของภาครั ฐ ได้ ที่ สำ � นั ก งานอุ ต สาหกรรมจั ง หวั ด ทัว่ ประเทศ และธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม แห่งประเทศไทย (SME Bank) ทุกสาขาทั่วประเทศ หรือ โทร. 1357

10 / วารสารอุตสาหกรรม

ติดปีก SMEs ด้วยความรู้ เพื่อเพิ่ม ความเข้มแข็ง ภารกิจของกระทรวงอุตสาหกรรม คือ การอำ�นวย ความสะดวกให้ผู้ประกอบการ SMEs เช่น การเข้าถึงแหล่ง เงินทุนในโครงการสินเชื่อต่าง ๆ การพัฒนาเพิ่มขีดความ สามารถโดยจัดฝึกอบรมด้านต่าง ๆ เช่น การบริหารจัดการ ภายใน เรือ่ งบัญชี ความรูเ้ รือ่ งของสินค้าคงคลังและโลจิสติกส์ เป็ น ต้ น ซึ่ ง ทางกระทรวงอุ ต สาหกรรมเปิ ด ให้ เข้ า มาขอ คำ � ปรึ ก ษาได้ ค รอบคลุ ม ทุ ก ด้ า น ทั้ ง ด้ า นผลิ ต และบริ ก าร รวมถึงการตลาด และการให้ความรู้ด้านอี มาร์เก็ต เป็นต้น ซึ่ ง กระทรวงอุ ต สาหกรรมมี เ ป้ า หมายเปลี่ ย น SMEs ให้ เป็ น Smart SMEs มี ก ารใช้ ดิ จิ ทั ล มากขึ้ น มี ก ารผลิ ต แอปพลิ เ คชั น ขึ้ น มา เช่ น แอปพลิ เ คชั น โปรแกรมบั ญ ชี สำ�เร็จรูป เป็นต้น เพื่อให้ SMEs นำ�ไปใช้ในการวางระบบ บัญชีของธุรกิจเบื้องต้น เพื่อวิเคราะห์ให้รู้ต้นทุนที่แท้จริง เป็นการวางแผนการบริหารจัดการได้แม่นยำ�ขึ้น เป็นการนำ� แอปพลิเคชันมาช่วย SMEs ในวงกว้างได้ ซึง่ ด้วยกำ�ลังของ กระทรวงฯ และงบประมาณ ยังไม่สามารถตอบสนองความ ต้ อ งการของผู้ ป ระกอบการทุ ก ราย ทั้ ง นี้ ไ ด้ ใ ห้ สำ � นั ก งาน อุ ต สาหกรรมจั ง หวั ด เป็ น สื่ อ กลางในการติ ด ต่ อ เราจะมี แอปพลิ เ คชั น ที่ ส ามารถพู ด คุ ย กั บ ส่ ว นกลางได้ เรี ย กว่ า “BSC Service Center” ซึ่งจะกระจายอยู่ทุกภูมิภาคของ ประเทศไทย สำ � นั ก งานอุ ต สาหกรรมจั ง หวั ด ทุ ก จั ง หวั ด จะมี ก ารรองรั บ คอยให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ ผู้ ป ระกอบการ SMEs สามารถเดินเข้าไปขอความช่วยเหลือได้ ลดขั้นตอน และประหยัดเวลาไม่ต้องเดินทางเข้ามาที่ส่วนกลาง ที่สำ�คัญ หากมีปัญหาก็จะแก้ปัญหาได้เร็วขึ้น

แผนงานและกิ จ กรรมที่ ข ยายไปสู่ ภูมิภาค เพื่อเพิ่มโอกาสให้ SMEs การส่งเสริมและพัฒนา SMEs นับเป็นสิ่งสำ�คัญที่จะ เสริมสร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจในประเทศ โดยเฉพาะ เศรษฐกิ จ ในระดั บ ภู มิ ภ าคและชุ ม ชน (Local Economy) กระทรวงอุตสาหกรรมได้เร่งรัดและขับเคลื่อนแผนงานการ ส่ ง เสริ ม และพั ฒ นา SMEs ตามนโยบายของรั ฐ บาล


ซึ่งได้บูรณาการร่วมกันหลายหน่วยงานดำ�เนินการส่งเสริม และพัฒนา SMEs ในระดับพื้นที่ โดยใช้กลไกประชารัฐกับ หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และสถาบันการศึกษา โดย เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน 2560 นายกรัฐมนตรีได้ลงนามแต่งตั้ง คณะกรรมการพัฒนา SMEs ประจำ�จังหวัดเป็นที่เรียบร้อย ซึ่ ง คณะกรรมการดั ง กล่ า วจะทำ � หน้ า ที่ ผ ลั ก ดั น การดำ � เนิ น งานของศูนย์สนับสนุนและช่วยเหลือ SMEs (SME Support and Rescue Center) ทีไ่ ด้จดั ตัง้ ขึน้ ในแต่ละจังหวัดทัว่ ประเทศ ให้สามารถนำ�ไปสู่การปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรม กำ�หนด ทิศทางและนโยบายในการส่งเสริมและพัฒนา SMEs ของ จั ง หวั ด ในเชิ ง บู ร ณาการ และกำ � หนดแผนปฏิ บั ติ ก ารและ แผนงานโครงการเพื่อการส่งเสริมและพัฒนา SMEs ให้มี ขีดความสามารถในการแข่งขันที่สอดคล้องกับศักยภาพพื้นที่ และความต้องการของ SMEs ในระดับจังหวัดได้อย่างมี ประสิทธิภาพ

ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ SMEs ที่ มีศักยภาพรับทราบข้อมูลได้อย่างทั่วถึงและเท่าเทียมกัน โดยจัดกิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมเสริมสร้างการรับรู้กองทุน พัฒนาเอสเอ็มอีตามแนวประชารัฐในลักษณะการสัมมนาเชิง ปฏิบัติการ “คลินิกเอสเอ็มอีตามแนวประชารัฐ” ในพื้นที่ จังหวัดนำ�ร่อง โดยได้ดำ�เนินการเปิดตัวกองทุนในจังหวัด สงขลาเป็นพื้นที่แรก เมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม 2560 และ พื้นที่ที่สองในจังหวัดเชียงใหม่ เมื่อวันที่ 2 มิถุนายน 2560 พืน้ ทีท่ สี่ ามจังหวัดชลบุรี เมือ่ วันที่ 14 มิถนุ ายน 2560 พืน้ ทีท่ ี่ สี่จังหวัดสระแก้ว เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2560 พื้นที่ที่ ห้าจังหวัดมุกดาหาร วันที่ 5 กรกฎาคม 2560 พืน้ ทีท่ หี่ กจังหวัด กระบี่ วันที่ 13 กรกฎาคม 2560 และมีแผนจัดกิจกรรมต่อเนือ่ ง ที่ จั ง หวั ด ตากและอุ ด รธานี ต ามลำ � ดั บ พร้ อ มกั น นั้ น ได้ มี การจัดกิจกรรมนำ�เสนอต้นแบบสถานประกอบการ เพือ่ พบปะ ผูป้ ระกอบการทีไ่ ด้รบั การอนุมตั สิ นิ เชือ่ ในจังหวัดนำ�ร่อง

สำ�หรับกองทุนพัฒนาเอสเอ็มอีตามแนวประชารัฐ ได้ มีการขับเคลื่อนกองทุนภาพรวมในระดับนโยบาย โดยคณะ กรรมการบริหาร ซึง่ มีปลัดกระทรวงอุตสาหกรรมเป็นประธาน กรรมการ รวมถึงได้มีการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการชุดต่างๆ โดยมีองค์ประกอบจากผู้แทนหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และสถาบันการศึกษา ร่วมกันขับเคลื่อนผ่านกลไกประชารัฐ ในระดับจังหวัด จำ�นวน 3 ชุด ดังนี้ 1) คณะอนุกรรมการบริหารกองทุนพัฒนาเอสเอ็มอี ตามแนวประชารัฐประจำ�จังหวัด 76 จังหวัด ทำ�หน้าทีพ่ จิ ารณา คัดเลือกและวิเคราะห์ SMEs ที่มีศักยภาพที่ขอรับความ ช่วยเหลือ และอนุมตั กิ ารจ่ายเงินกู้ เงินส่งเสริม และพัฒนาให้ แก่ SMEs ที่ขอรับความช่วยเหลือในพื้นที่ที่รับผิดชอบ 2) คณะอนุกรรมการวิเคราะห์ SMEs ทางการเงิน ประจำ�จังหวัด 76 จังหวัด ทำ�หน้าที่กลั่นกรองและวิเคราะห์ SMEs ที่ขอรับความช่วยเหลือ เพื่อพิจารณาวงเงินให้กู้ 3) คณะอนุ ก รรมการส่ ง เสริ ม และพั ฒ นา SMEs ประจำ�ภาค 11 ภาค ทำ�หน้าที่วิเคราะห์ กำ�หนดรูปแบบและ วงเงินที่สมควรอนุมัติในการส่งเสริมและพัฒนาให้แก่ SMEs ที่ได้รับอนุมัติการให้กู้ ทั้งนี้เพื่อให้ผ้ปู ระกอบการ SMEs ได้รับรู้และเข้าถึง ข้ อ มู ล เบื้ อ งต้ น ทางกองทุ น พั ฒ นาเอสเอ็ ม อี ต ามแนว ประชารัฐ ได้มีการประชาสัมพันธ์ในวงกว้างผ่านสื่อต่าง ๆ และมีการจัด Road Show ในจังหวัดนำ�ร่องที่มีศักยภาพและ

วารสารอุตสาหกรรม / 11


เป้าหมายและผลสัมฤทธิท ์ ก ี่ ระทรวง คาดหวังในการเติมเต็มเงินทุนด้วย กองทุ น พั ฒ นาเอสเอ็ ม อี ต ามแนว ประชารัฐ กองทุนพัฒนาเอสเอ็มอีตามแนวประชารัฐ กำ�หนด ให้สนับสนุน ช่วยเหลือเงินทุน และเพิ่มช่องทางการเข้าถึง แหล่งเงินทุนให้กับ SMEs ที่มีศักยภาพในการต่อยอดพัฒนา ธุรกิจได้ ทัง้ นีก้ �ำ หนดเป้าหมายการให้ความช่วยเหลือ SMEs ไม่ต�่ำ กว่า 4,950 ราย โดยในช่วงแรกได้คาดการณ์จ�ำ นวนการ ปล่อยสินเชื่อในเดือนมิถุนายน จำ�นวน 1,600 ราย วงเงิน 5,000 ล้านบาท จากการดำ�เนินงานกระทรวงอุตสาหกรรม คาดหวั ง ว่ า จะทำ � ให้ เ กิ ด การขยายตั ว ด้ า นการลงทุ น การจ้างงาน ผูป้ ระกอบการสามารถลดต้นทุน ขยายกิจการ และมี รายได้เพิ่มขึ้น ซึ่งจะเกิดผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจจาก การปล่อยสินเชื่อในปีแรก วงเงิน 18,000 ล้านบาท และหลัง ให้สินเชื่อใน 7 ปี คาดว่าจะก่อให้เกิดผลกระทบต่อมูลค่า ทางเศรษฐกิจภาพรวมโดยประมาณ 69,000 ล้านบาท และ ท่ า นปลั ด ฯ กล่ า วปิ ด ท้ า ย “ผมเชื่ อ ว่ า การเปิ ด โอกาสให้ SMEs เข้าถึงแหล่งทุนโดยจัดตั้งกองทุนพัฒนาเอสเอ็มอี ตามแนวประชารัฐ จะทำ�ให้ SMEs มีความแข็งแกร่งขึ้น เพราะเป็ น การเพิ่ ม ขี ด ความสามารถในการแข่ ง ขั น เพิ่ ม

12 / วารสารอุตสาหกรรม

ประสิ ท ธิ ภ าพองค์ ก รในการเติ ม ความรู้ งานวิ จั ย และ นวัตกรรม ส่งผลต่อการเพิ่มผลผลิต สามารถขยายตลาด ทั้งในประเทศและส่งออกไปต่างประเทศได้ ถือว่าเป็นการ จุดประกายให้กับ SMEs ในการสร้างโอกาสและสามารถ เดิ น ต่ อ ได้ ซึ่ ง ในอนาคตเมื่ อ SMEs เหล่ า นี้ เ ติ บ โตและ แข็งแรง ก็จะสามารถสร้างเครือข่าย SMEs รายใหม่ให้ สามารถเกิดขึ้นมาได้ จุดนี้เป็นความมุ่งหวังของรัฐบาลที่มี ต่อเศรษฐกิจฐานรากและสร้างความแข็งแกร่งภายในสู่ความ ยั่งยืนต่อไปในอนาคต”


R&D

สถาบันอาหาร หนุน SMEs ต่อยอด อาหารด้วยงานวิจัยและนวัตกรรม... เพื่อพร้อมก้าวสู่ Thailand 4.0

บับนี้ R&D พามารู้จัก “สถาบันอาหาร” ซึ่งเป็นสถาบัน เครือข่ายของกระทรวงอุตสาหกรรมที่มีความสำ�คัญต่อ การพัฒนาอุตสาหกรรมอาหาร เพื่อให้ได้มาตรฐานและนำ�ไปสู่ การสร้างมูลค่าเพิ่มที่ผู้ประกอบการ SMEs หรืออุตสาหกรรม ภาคผลิตบางรายอาจจะยังไม่ได้มีโอกาสเข้าไปใช้บริการ

ทำ�ความรู้จักสถาบันอาหาร (National Food Institute)

สถาบันอาหาร มีบทบาทด้านการวิจัยและพัฒนา สนับสนุนและวางนโยบาย แผนยุทธศาสตร์การวิจัยและการพัฒนาด้านนวัตกรรมอาหารของประเทศ ให้มี ประสิทธิภาพในการสร้างศักยภาพการแข่งขันแก่อตุ สาหกรรมอาหารไทย ทัง้ ด้านการผลิต การแปรรูป และการจำ�หน่าย ในแต่ละขั้นตอนของห่วงโซ่อาหาร โดยร่วมมือกับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สถาบันวิจัย สถาบันการศึกษา ด้านการพัฒนาธุรกิจสนับสนุน สร้างความเข้มแข็งและพัฒนาตลาดอาหารครบวงจร ตัง้ แต่ตน้ น้�ำ หรือการผลิต (Supply) จนถึงปลายน้ำ�หรือผู้บริโภค (Demand) เพื่อให้เกิดการรวมกลุ่มเพิ่มประสิทธิภาพทั้ง ด้านผู้ผลิต การกระจายสินค้า และการสนองตอบตามความต้องการของตลาด ทั้งที่ มีอยูใ่ นปัจจุบนั และตลาดใหม่ทจี่ ะเกิดขึน้ ในอนาคต (Matching Demand and Supply)

วารสารอุตสาหกรรม / 13


การรั บ จ้ า งผลิ ต เปลี่ ย นมาจำ � หน่ า ยสิ น ค้ า ที่ มี อั ต ลั ก ษณ์ ทำ � ให้ มี ราคาสูงขึ้น ซึ่งวิธีคิดแบบนี้เป็นแนวทางที่สถาบันอาหารดำ�เนิน การให้ความรู้และเคียงคู่กับผู้ประกอบการ เป็นการสนับสนุนให้ ผู้ประกอบการพัฒนา เพื่อยกระดับอาหารไทยและพร้อมที่จะก้าวสู่ Thailand 4.0 ตามนโยบายรัฐบาล

คุณยงวุฒิ เสาวพฤกษ์ ผู้อำ�นวยการสถาบันอาหาร

คุณยงวุฒิ เสาวพฤกษ์ ผูอ้ �ำ นวยการสถาบันอาหาร เล่าให้ฟงั ว่า “สถาบันอาหารสานต่อนโยบายรัฐบาล ผลั ก ดั น อาหารไทยทุ ก มิ ติ เพื่ อ ก้ า วสู่ Thailand 4.0 โดยมุ่งดำ�เนินภารกิจต่าง ๆ ในการพัฒนา อุ ต สาหกรรมอาหารของไทยให้ เ ป็ น ครั ว อาหาร คุณภาพของโลกด้วยการให้บริการแบบ One Stop Service แก่ผู้ประกอบการ ตลอดจนผู้เกี่ยวข้องใน อุตสาหกรรมอาหารทุกภาคส่วน วันนีส้ ถาบันอาหาร พร้อมเสริมความแข็งแกร่ง และทำ�งานเคียงข้าง ผู้ประกอบการเพื่อพัฒนาไปสู่เป้าหมาย”

สุดท้ายคุณยงวุฒิ เสาวพฤกษ์ ผู้อำ�นวยการสถาบันอาหาร ฝากแนวคิดไว้ว่า “เมื่อตั้งต้นเป็นผู้ประกอบการ ทุกอย่างสามารถ พัฒนาและปรับปรุงต่อไปได้อีกจึงต้องใช้ R&D มาเป็นเครื่องมือ ช่วยในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ผู้ประกอบการไม่ว่าใหญ่หรือเล็กหาก ผลิตสินค้าออกมา ท่านต้องพัฒนาต่อเนื่องถึงจะเป็นที่ยอมรับของ ผู้บริโภค ซึ่งจะนำ�ไปสู่การเป็นองค์กรที่เติบโตและยั่งยืนได้” จากบทบาทสถาบันอาหารที่พัฒนาผู้ประกอบการ SMEs ให้เข้มแข็งโดยให้ความรู้และร่วมพัฒนาผลิตภัณฑ์ด้วยนวัตกรรมจน สามารถบรรลุเป้าหมาย ทีมงานจึงขอสัมภาษณ์ผู้ประกอบการที่ได้ ใช้บริการของสถาบันอาหาร เป็น Success Case เพื่อเป็นแนวทาง ให้กับผู้ประกอบการ SMEs

สถานการณ์ปัจจุบัน

อุตสาหกรรมอาหารเป็นอุตสาหกรรมที่เป็นแหล่งรายได้ สำ�คัญของไทย การส่งออกอาหารของไทยในปี 2559 มีมูลค่าสูงถึง 9.7 แสนล้านบาท หรือคิดเป็น 12.8% ของมูลค่าการส่งออกทั้งหมด ของประเทศ และประเทศไทยเป็นผู้ส่งออกอาหารเป็นอันดับที่ 12 ของโลก สำ�หรับแนวโน้มในปี 2560 นี้ คาดว่ามูลค่าการส่งออก อาหารของไทยจะเพิ่มสูงขึ้นถึง 10.5 ล้านล้านบาท ซึ่งอุตสาหกรรม ที่ผลักดันให้ GDP โต คือ “อาหาร” เพราะฉะนั้นภารกิจของสถาบัน อาหารจึงเป็นส่วนหนึง่ ทีจ่ ะขับเคลือ่ นในอุตสาหกรรมนีใ้ ห้มศี กั ยภาพ และการเติบโตต่อไป

การยกระดับอาหารไทย ก้าวสู่ Thailand 4.0 เพื่อให้อุตสาหกรรมอาหารไทยแข่งขันได้ ในเวทีโลก การยกระดับอาหารไทยจำ�เป็นต้องพัฒนาให้เข้าสูม่ าตรฐาน สากล ซึ่งประเทศไทยเป็นเมืองอู่ข้าวอู่น้ำ� พื้นฐานประเทศมีความ อุดมสมบูรณ์ด้านเกษตรกรรมอยู่แล้ว การนำ�วัตถุดิบหรืออาหาร แปรรูปมาจำ�หน่ายในรูปแบบเดิมอาจจะไม่เพียงพอ การใช้นวัตกรรม มาเพิม่ มูลค่าจากคุณค่าอาหารจึงเป็นทางออกทีท่ �ำ ให้ผปู้ ระกอบการ มีโอกาสจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ในราคาที่สูงขึ้น หลีกหนีหรือลดสัดส่วน

14 / วารสารอุตสาหกรรม

คุณพิมพ์มาดา พัฒนปรัชญาพงศ์ (แพร) กรรมการผู้จัดการ บริษัท โอคุสโน่ ฟู้ด จำ�กัด “โอคุ ส โน่ ” ขนมขบเคี้ ยวที่ เ กิ ดจากนวั ตกรรม...มองแตก คิ ด ต่ า ง คุ ณ พิ ม พ์ ม าดา พั ฒ นปรั ช ญาพงศ์ (แพร) กรรมการ ผู้จัดการ บริษัท โอคุสโน่ ฟู้ด จำ�กัด เจ้าของขนมคางกุ้งทอด แบรนด์ “โอคุสโน่” ที่เริ่มต้นทำ�ธุรกิจตั้งแต่ปี 2556 กว่าจะมาถึงวันนี้ผ่าน ประสบการณ์ล้มลุกคลุกคลานและพบอุปสรรคมากมาย ใช้เวลา พัฒนาลองผิดลองถูกด้วยตัวเองเกือบ 2 ปี โดยเริ่มจากทำ� ชิม แจก และออกขายตามงานเพื่อทดลองตลาด จนในที่สุดก็ผลิตออกสู่ ท้องตลาดอย่างจริงจังเมื่อมกราคม 2558 คุณแพรย้อนอดีตเล่าให้ ทีมงานฟังว่า “จุดเริ่มต้นของขนมคางกุ้งทอด มาจากเหตุการณ์วันหนึ่ง กำ�ลังนั่งทานอาหารกับคุณแม่ (ธัญญารัตน์ พัฒนปรัชญาพงศ์) ด้วยความที่คุณแม่ชอบทำ�อาหาร เมนูวันนั้นนำ�กุ้งสดมาทำ�อาหาร ขัน้ ตอนเตรียมคือคุณแม่แกะเปลือกและคางกุง้ ทิง้ และเราเป็นคนช่าง สงสัยจึงจับดูคางกุ้งก็นิ่มดี น่าเสียดายถ้าจะทิ้ง เลยคิดว่าถ้าเราเอา ไปทำ�อาหารจะทำ�เป็นเมนูอะไรดี เลยเป็นโจทย์ที่พี่น้อง 3 คนช่วย กันคิด ท้ายที่สุดก็ลงความเห็นว่าน่าจะเอามาลองทอดเป็นอาหาร


เมื่ อ จะผลิ ต เป็ น เชิ ง พาณิ ช ย์ ก ารหาวั ต ถุ ดิ บ ทำ�อย่างไร ช่วงแรกไม่คอ่ ยมีปญ ั หา คนยังไม่เห็นคุณค่า ไม่เห็นประโยชน์ เพราะคางกุ้ ง เป็ น ส่ ว นที่ ค นแกะทิ้ ง ตอนแรกที่ อ ยู่ ใ นช่ ว งพั ฒ นา ผลิตภัณฑ์ก็ไปซื้อตามตลาดสด ขอซื้อจากแม่ค้าขายอาหารทะเลที่ เขาแกะเปลือกกับคางกุ้งทิ้ง แม่ค้ามีความสุขมากเพราะเราขอซื้อ ส่วนที่เขาทิ้ง เป็นแบบนี้มาสักระยะพอลองตลาดเริ่มขายดีวัตถุดิบ เริ่มไม่พอ กอปรกับเราขยันออกบูทตามงานต่าง ๆ ทำ�ให้ต้องเพิ่ม ปริมาณการผลิต และการออกบูทนี้เองทำ�ให้มีโอกาสเจอคนที่มา ติดต่อขอเป็นตัวแทนจำ�หน่ายจะขอซื้อจำ�นวนมากเพื่อไปเปิดตลาด ที่ประเทศจีน ตอนนั้นดีใจที่มีคนสนใจและจะซื้อเพื่อส่งออก ด้วย ความที่ไม่มีประสบการณ์เลยอาจมองเพียงด้านการผลิตอย่างเดียว มุ่งหาวัตถุดิบ คิดว่าเราต้องจัดหาวัตถุดิบจำ�นวนมาก เพิ่มแหล่งซื้อ โดยเข้าไปติดต่อขอซื้อจากเจ้าของฟาร์มกุ้งต่าง ๆ ทุกอย่างใน ช่วงนัน้ ต้องมีการปรับเปลีย่ นวิธกี ารผลิตใหม่หมดจากทีท่ �ำ เล็ก ๆ ด้วย อุปกรณ์ขนาดไม่ใหญ่กลายมาเป็นอุปกรณ์ขนาดใหญ่ขน้ึ เงินทุนก้อนแรก ทีม่ ี 30,000 บาท ก็ตอ้ งหาทุนเติมลงไปอีกรวมแล้วประมาณ 2 ล้านบาท

อุปสรรคที่พลิกผันทำ�ให้เกิดโอกาส จากการเตรียมการผลิตเพื่อรองรับออร์เดอร์จากประเทศจีน ปรากฏว่าคนกลางหรือผู้ส่งออกคนที่ติดต่อตอนแรกหายเงียบไป ผลิตภัณฑ์ที่ทำ�ขึ้นมาล็อตแรกตั้งทิ้งไว้ ตอนนั้นก็ท้อ แต่เราต้อง ตั้งสติและคิดว่าถ้ามัวแต่นั่งเฉย ๆ เงินก็จม เมื่อฮึดสู้ก็เลยมุ่งหน้า หาที่จำ�หน่ายหรือระบายของนั่นเอง ที่แรกที่ไปคือห้างสรรพสินค้า เดอะมอลล์ กรุ๊ป ซึ่งผู้บริหารมาสัมภาษณ์เองเพราะเป็นผลิตภัณฑ์ ใหม่ ที่ ยั ง ไม่ เ คยมี ใ นตลาด การจั ด หาที่ ว างเพื่ อ ให้ ข ายได้ จึ ง เป็ น สิง่ สำ�คัญ อีกเหตุผลหนึง่ ทีเ่ ดอะมอลล์ให้โอกาส “โอคุสโน่” ไปวางสินค้า ด้วยคงเห็นเราเป็น SMEs ที่มีความมุ่งมั่น ด้วยความตั้งใจที่เราใส่ ความคิดและรายละเอียดลงไปในผลิตภัณฑ์ทั้งอาหาร รสชาติ และ เรื่องราวที่ใส่ลงไปในบรรจุภัณฑ์ จนกลายเป็นจุดเด่นของตัวสินค้า และมีจุดขายที่ชัดเจน การเปิดตลาดที่เดอะมอลล์ได้ผลตอบรับที่ดี ทำ�ให้มีกำ�ลังใจที่จะก้าวต่อไป ช่วงนั้นใช้เวลาไม่ถึงปีจากที่ผลิตเพียง 100-200 ห่ อ มี 3 รสชาติ ใ ห้ เ ลื อ ก คื อ รสดั ้ ง เดิ ม ต้ ม ยำ � และ แกงเขียวหวาน ก็ตอ้ งผลิตให้ได้ประมาณ 50,000 ห่อ หรือประมาณ 1,300 ลัง ถือว่าคนรู้จักมากขึ้น มีหลายที่ติดต่อเข้ามาให้เราเอาสินค้าไปวาง จำ�หน่าย ซึง่ SMEs รายเล็กอย่างโอคุสโน่ มีความภูมใิ จทีไ่ ด้รบั โอกาส จนทุกวันนี้โอคุสโน่มีจำ�หน่ายเพิ่มขึ้นหลายแห่ง เช่น ศูนย์การค้า สยามพารากอน, ท็ อ ปส์ ซู เ ปอร์ ม าร์ เ ก็ ต , ซี เ อ็ ด บุ๊ ค เซ็ น เตอร์​์ , 7-11 เป็นต้น

สถาบันอาหารเข้ามาช่วยเหลืออย่างไร อย่างทีเ่ รียนให้ทราบตัง้ แต่แรกว่า เราเริม่ จากทำ�ในครัวเรือน

พอจะพัฒนาเป็นอุตสาหกรรมทุกอย่างต้องมีมาตรฐานการผลิต กอปรกับเป้าหมายของโอคุสโน่ คือ การส่งออกไปต่างประเทศเพื่อ ให้ต่างชาติรู้ว่า ไทยเรามีของดี เป็นขนม (Snack) ที่มีแคลเซียมสูง มีคุณประโยชน์มากกว่าขนมอบกรอบอื่น ๆ ที่ให้เพียงพลังงาน การ ผลิตจำ�นวนมากในเชิงอุตสาหกรรมจึงต้องปรับกระบวนการผลิต ใหม่ ใช้เทคโนโลยีที่เป็นนวัตกรรมเข้ามาช่วย เพราะเป็นของทอด โจทย์คือทำ�อย่างไรไม่ให้อมน้ำ�มัน ทอดเสร็จทำ�ให้แห้งเร็วที่สุด โดย ยังคงความกรอบเอาไว้ และยังคงรสชาติไว้ไม่มีกลิ่นหืนน้ำ�มัน ซึ่ง ทางสถาบันอาหารเข้ามาช่วยปรับกระบวนการผลิต ทดลองอายุ สินค้า โดยรักษารสชาติไว้ไม่ให้เปลี่ยนแปลง รวมถึงการร่วมพัฒนา บรรจุภัณฑ์ เช่น การใส่ข้อความคุณค่าทางโภชนาการและตรา สัญลักษณ์การรับรองมาตรฐานต่าง ๆ ที่จำ�เป็นเพื่อการส่งออก ซึ่งทำ�ให้เราใช้เวลาไม่ นานในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ เรียกว่ าเป็น หน่วยงานทีส่ นับสนุนให้โอคุสโน่แข็งแรง ทำ�ให้เรามีประสิทธิภาพและ มีความพร้อมในการก้าวสู่ตลาดโลก

ฝากข้อคิดหรือกำ�ลังใจให้ผู้ประกอบการ

คุณแพรกล่าวพร้อมรอยยิ้มว่า “การทำ�งานทุกอย่างย่อมมี ทั้งโอกาสและอุปสรรค ขอเพียงมีความมุ่งมั่นที่จะทำ� พยายามมอง บวก ปัญหาที่เกิดให้คิดว่าเป็นบททดสอบความอดทน เป็นความ ท้าทาย เมื่อเราก้าวข้ามไปได้เราจะแกร่งขึ้น ถ้าเจอปัญหาแล้วหา ทางออกยังไม่เจอให้หยุดนิ่งแล้วตั้งสติ ทบทวนอย่างละเอียด ถาม หาเหตุและผลแล้วเราจะหาคำ�ตอบเจอ ส่วนตัวเป็นคนนั่งสมาธิก็ เป็นทางหนึ่งที่อาจจะทำ�ให้เราสามารถหาทางออกได้เร็วขึ้น เพราะ เรามีสติในการแก้ปัญหา หาเหตุและผลเจอ เป็นเรื่องไม่ซับซ้อน ทุกคนทำ�ได้ ขอฝากเป็นแนวทางและให้กำ�ลังใจกับทุกคนค่ะ” ทั้งหมดนี้คือกรณีศึกษา คุณพิมพ์มาดา พัฒนปรัชญาพงศ์ เจ้าของขนมคางกุ้งทอดแบรนด์ “โอคุสโน่” ผู้ประกอบการ SMEs ที่ทำ�ธุรกิจด้วยความคิด...มองแตก คิดต่าง จนประสบความสำ�เร็จ มี ก ารขั บ เคลื่ อ นด้ ว ยงานวิ จั ย และนวั ต กรรมที่ มี ส ถาบั น อาหาร หนุนหลัง และสนับสนุนให้พัฒนาจนแข็งแกร่ง มีความพร้อมที่จะ ก้าวสู่เวทีการค้าระดับสากลต่อไป

www.nfi.or.th www.thailandrestaurantnews.com

ทานเล่นกัน เลยลองทำ�และชิม ทุกคนลงความเห็นว่ารสชาติอร่อย ทำ�ให้เราสามคนช่วยกันคิดเรื่องผลิตภัณฑ์และการสร้างแบรนด์ต่อ” เหตุการณ์วนั นัน้ นับเป็นจุดเริม่ ต้น ทีเ่ ป็นจุดเปลีย่ นผันตัวเองจากเป็น นักชิมกลายมาเป็นผู้ประกอบการ SMEs

วารสารอุตสาหกรรม / 15


Biz Law

ใบอนุญาตประกอบ กิจการโรงงาน (ร.ง.4) สำ�หรับโรงงานขนาดใหญ่

สิ่

งที่สำ�คัญประการหนึ่งที่ผู้ประกอบ ธุรกิจขนาดใหญ่จะต้องดำ�เนินการ คือ การจัดตั้งโรงงานโดยในการจัดตั้ง โรงงานจะต้องมีการยื่นขอรับใบอนุญาต ประกอบกิจการโรงงานที่เรียกว่า ร.ง.4 ซึง่ ขัน ้ ตอนการยืน ่ ขอใบอนุญาต ฯ นีจ้ ะต้อง ดำ�เนินการอย่างไรบ้างนัน ้ Biz law ฉบับนี้ มีข้อมูลดี ๆ มาฝากกัน นายสุนทร แก้วสว่าง ผูอ้ �ำ นวยการสำ�นักกฎหมาย กรมโรงงาน อุตสาหกรรม กล่าวว่า ตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 นั้น ได้แบ่งโรงงานออกเป็น 3 จำ�พวก คือ จำ�พวกที่ 1, 2 และ 3 ซึ่งหากจะเปรียบเทียบตามขนาดของโรงงานแล้ว อาจกล่าวได้ว่า โรงงานในประเทศไทยนัน้ ประกอบไปด้วยโรงงานขนาดเล็ก โรงงาน ขนาดกลาง และโรงงานขนาดใหญ่ โดยโรงงานจำ�พวกที่ 3 หรือ โรงงานขนาดใหญ่นั้นจัดว่าเป็นโรงงานที่พบมากที่สุดของประเทศ ซึ่งจากสถิติพบว่ามีโรงงานประเภทนี้อยู่ประมาณ 80,000 ราย และหากเศรษฐกิจขยายตัวมากขึ้นในอนาคต โรงงานขนาดใหญ่นี้ ก็จะเพิม่ ขึน้ เป็นจำ�นวนมากด้วยเช่นกัน ในการตัง้ โรงงานขนาดใหญ่ จะมีพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 กำ�หนดขนาดของการ ประกอบการตลอดจนวิธีการตั้งโรงงานเอาไว้ ซึ่งผู้ประกอบการที่

16 / วารสารอุตสาหกรรม

จะตัง้ โรงงานขนาดใหญ่นกี้ ต็ อ้ งมีการศึกษารายละเอียดเป็นอย่างดี ซึ่ ง การตั้ ง โรงงานขนาดใหญ่ กฎหมายกำ � หนดว่ า ต้ อ งได้ รั บ ใบอนุ ญ าตประกอบกิ จ การโรงงาน (ร.ง.4) ก่ อ นจึ ง จะทำ � การ ตั้งโรงงานและประกอบกิจการโรงงานได้ การยื่นขอใบอนุญาต ประกอบกิจการโรงงาน (ร.ง.4) ในปัจจุบันสามารถทำ�ได้สะดวก รวดเร็วมากขึ้น โดยขั้นตอนในการดำ�เนินการยื่นขอใบอนุญาต ประกอบกิจการโรงงาน (ร.ง.4) นั้นจะแตกต่างจากโรงงานจำ�พวก ที่ 1 และ 2 ดังที่แสดงบนแผนภาพ

ขั้นตอนการขออนุญาตของ โรงงานที่จะตั้งขึ้นใหม่ พิจารณาว่าเป็นโรงงานจำ�พวก

โรงงานจำ�พวกที่ 1

โรงงานจำ�พวกที่ 2

โรงงานจำ�พวกที่ 3

- ไม่ต้องยื่นขออนุญาต - ประกอบกิจการได้ทันที - ต้องปฏิบต ั ต ิ ามหลักเกณฑ์ ที่กำ� หนดในกฎกระทรวง ทั้ ง เ รื่ อ ง ที่ ตั้ ง โ ร ง ง า น ลักษณะอาคาร เครือ ่ งจักร การควบคุ ม การปล่ อ ย ของเสียหรือมลพิษ ฯลฯ

รั บ ฟั ง ความคิ ด เห็ น 7 วัน

รั บ ฟั ง ความคิ ด เห็ น 15 วัน

ตั้งโรงงานได้ทันที แต่ทำ�เลต้องเป็นไป ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2535) ข้อ 1

ยืน ่ คำ�ขอรับใบอนุญาต (แบบ ร.ง.3)

แจ้ ง การประกอบกิ จ การ โรงงานจำ�พวกที่ 2 ตาม แบบ ร.ง.1

เจ้าหน้าที่ตรวจสอบ เอกสารและสถานที่

ภายในระยะเวลา 30 วัน แจ้งผลการพิจารณา

อนุญาต

- ชำ�ระค่าธรรมเนียมใบอนุญาต - รับใบอนุญาต ไม่รบ ั แจ้งฯ

ไม่อนุญาต

อุทธรณ์ตอ ่ รัฐมนตรีวา่ การ กระทรวงอุ ต สาหกรรม ภายใน 30 วัน

รับใบรับแจ้งการประกอบกิจการ โรงงานจำ�พวกที่ 2

อุทธรณ์ตอ ่ ผูร ้ บ ั แจ้ง ภายใน 15 วัน

รับแจ้ง

ชำ�ระค่าธรรมเนียม รายปี

ยก อุทธรณ์

เริม ่ ประกอบกิจการ โรงงาน

อาจนำ�ไป ฟ้องศาล ปกครอง ได้

ชำ�ระค่าธรรมเนียม รายปี ทุ ก ปี ในวั น ค ร บ ร อ บ วั น เ ริ่ ม ประกอบกิจการ

ดำ � เนิ น การตั้ ง โรงงาน ภายในระยะเวลาทีร ่ ะบุไว้ใน คำ�ขออนุญาต ซึ่งนำ�มา ระบุไว้ในใบอนุญาต

ทดลองการประกอบ กิจการได้ไม่เกิน 60 วัน

ไม่อนุญาต (ยกอุทธรณ์)

อาจนำ�ไปฟ้องศาล ปกครองได้

- แจ้งไม่น้อยกว่า 15 วัน เพื่อเริ่ม ประกอบกิจการ - เริม ่ นับอายุใบอนุญาต 5 ปี/ชำ�ระ ค่าธรรมเนียมรายปีทก ุ ปี

ต่ออายุใบอนุญาต


เมื่อได้รับใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน (ร.ง.4) แล้ว ผู้ประกอบกิจการจะต้องตั้งโรงงานให้เสร็จภายในระยะเวลาที่ กำ�หนดไว้ในใบอนุญาต ฯ เช่น 180 วัน 360 วัน เป็นต้น หากไม่ แล้วเสร็จสามารถขอขยายเวลาตัง้ โรงงานดังกล่าวได้ จากนัน้ เมือ่ การ ก่อตั้งโรงงานเสร็จสิ้นแล้วจะต้องแจ้งเปิดเพื่อเริ่มประกอบกิจการ โรงงาน ซึ่งเมื่อได้ประกอบกิจการโรงงานแล้ว ใบอนุญาตจะมีอายุ ไม่เกิน 5 ปี หลังจากนั้นก็ต้องมีการต่ออายุใบอนุญาตตามกำ�หนด โดยต้องมีการชำ�ระค่าธรรมเนียมรายปีด้วย นอกจากนี้ภายหลังที่ ได้รบั อนุญาต ฯ แล้ว ผูป้ ระกอบกิจการสามารถขออนุญาตในเรือ่ ง อื่น ๆ เพิ่มเติมได้อีก เช่น ขออนุญาตขยายโรงงานได้ หรือโอน การประกอบกิจการโรงงานโดยการทำ�สัญญาซื้อขาย หรือเช่าซื้อ โรงงาน เป็นต้นได้ หรือจะไม่ประกอบกิจการต่อไปก็สามารถแจ้ง เลิกประกอบกิจการโรงงานได้เช่นกัน หลังจากที่ผู้ประกอบกิจการสร้างโรงงานแล้วเสร็จและเริ่ม ดำ�เนินการโรงงานเป็นระยะเวลา 5 ปีแล้ว ก็ต้องมีการต่ออายุ ใบอนุญาตการจัดตั้งโรงงาน ซึ่งขั้นตอนในการต่อใบอนุญาตนั้นก็ สามารถทำ�ได้โดย

ขั้นตอนการต่ออายุใบอนุญาต ประกอบกิจการโรงงาน โรงงานจำ�พวกที่ 3 ซึ่งได้รับใบอนุญาตแล้วและ ประกอบกิจการมาแล้วใกล้จะครบ 5 ปี

ยื่นคำ�ขอต่ออายุใบอนุญาตฯ (ร.ง.3/1) และ ใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานฉบับเดิม 1 วัน - ตรวจสอบคำ�ขอ - นัดตรวจสอบโรงงาน - ชำ�ระค่าธรรมเนียม

สั่งแก้ไข

ตรวจสอบโรงงาน ตามทีน ่ ด ั หมาย

ไม่ ถูก ต้ อ งตาม หลักเกณฑ์

โรงงานปฏิ บั ติ ถู ก ต้ อ งตาม หลักเกณฑ์ทอ ่ ี อกตาม พ.ร.บ.ฯ หรือปฏิบต ั ต ิ ามคำ�สัง่ แก้ไขแล้ว

ไม่แก้ไขให้ถก ู ต้อง

คำ�สัง่ ไม่ตอ ่ ใบอนุญาต

- แจ้งให้ผข้ ู อฯ มารับ - ส่งทางไปรษณีย์

ต่ออายุใบอนุญาต อีก 5 ปี

อนุญาตให้ตอ ่ อายุ

ไม่อนุญาต (ยกอุทธรณ์)

อาจนำ�ไปฟ้องศาล ปกครองได้

อุทธรณ์ตอ ่ รัฐมนตรี ว่ า การกระทรวง อุตสาหกรรมภายใน 30 วัน

หากมีการตัง้ โรงงานและประกอบกิจการโรงงานไปโดยไม่ได้ รับใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน (ร.ง.4) ย่อมมีโทษตาม กฎหมาย รวมทั้งเมื่อได้รับอนุญาตให้ตั้งโรงงานและเปิดประกอบ กิจการโรงงานแล้ว ผู้ประกอบการย่อมมีหน้าที่ที่จะต้องประกอบ กิจการโรงงานให้เป็นไปตามกฎหมาย มิฉะนั้นแล้วทางราชการ อาจมีคำ�สั่งให้ปรับปรุงแก้ไขโรงงาน หยุดประกอบกิจการโรงงาน และปิดโรงงานได้ หากผูป้ ระกอบการมีขอ้ สงสัยเกีย่ วกับใบอนุญาตประกอบ กิจการโรงงาน (ร.ง.4) ก็สามารถเข้าไปตรวจสอบข้อมูลได้ทั้งทาง เว็บไซต์กรมโรงงานอุตสาหกรรม และสำ�นักงานอุตสาหกรรม จั ง หวั ดต่ า ง ๆ ทั่ ว ประเทศ รวมถึ ง เข้ า ไปติ ดต่ อ สอบถามได้ ที่ กรมโรงงานอุตสาหกรรม 75/6 ถนนพระรามที่ 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 หรือโทร. 0 2202 4000 และ 3967

วารสารอุตสาหกรรม / 17


อก. Society

สานพลังประชารัฐ ยกระดับ SMEs ยางไทย ก้าวไกล ในนิ ค มอุ ต สาหกรรมยางพารา เมื่อเร็ว ๆ นี้ ดร.อุตตม สาวนายน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม เป็นประธานในพิธเี ปิด โครงการ “กนอ. สานพลังประชารัฐ ยกระดับ SMEs ยางไทย ก้าวไกลใน นิคมอุตสาหกรรมยางพารา” และกดปุม่ เดินเครือ่ งจักรในโรงงานมาตรฐาน ระยะที่ 2 พร้อมตรวจเยีย่ มและรับฟังบรรยายความก้าวหน้าโครงการจัดตัง้ นิคมอุตสาหกรรมยางพารา หรือ Rubber City ในพื้นที่นิคมอุตสาหกรรม ภาคใต้ ตำ�บลฉลุง อำ�เภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ระยะที่ 2/2 และ 3 บนพื้นที่รวมประมาณ 1,218 ไร่ ปัจจุบันมีความก้าวหน้าไปมากกว่า 50 เปอร์เซ็นต์ ในส่วนของระบบสาธารณูปโภคเป็นไปตามแผนงานทีว่ างไว้ โดย นักลงทุนวางแผนเริ่มเข้าใช้พ้นื ที่ได้ในต้นปี 2561 โดยมี นางสาวนิสากร จึงเจริญธรรม รองปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม นายวีรพงศ์ ไชยเพิ่ม ผู้ว่าการการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เข้าร่วมด้วย นอกจากนี้ ก ารนิ ค มอุ ต สาหกรรมแห่ ง ประเทศไทย ยั ง ลงนาม บั น ทึ ก ข้ อ ตกลงความร่ ว มมื อ (MOU) สนั บ สนุ น สานพลั ง ประชารั ฐ เพื่ อ บู ร ณาการความร่ ว มมื อ ด้ า นการจั ด หาแรงงานและพั ฒ นาฝี มื อ กับหน่วยงานต่าง ๆ ได้แก่ สำ�นักงานแรงงาน แรงงานจังหวัดสงขลา จัดหางานจังหวัดสงขลา วิทยาลัยเทคนิคหาดใหญ่ วิทยาลัยเทคนิคจะนะ วิ ท ยาลั ย การอาชี พ นาทวี และวิ ท ยาลั ย การอาชี พ หลวงประธาน ราษฎร์ นิ ก ร เพื่ อ เตรี ย มความพร้ อ มด้ า นแรงงาน รองรั บ การลงทุ น ในนิ ค มอุ ต สาหกรรมยางพาราอย่ า งเพี ย งพอทั้ ง ในเชิ ง คุ ณ ภาพและ ปริ ม าณ โดยความร่ ว มมื อ ทั้ ง 7 หน่ ว ยงาน จะร่ ว มกั น สนั บ สนุ น เชื่อมโยงและอำ�นวยความสะดวกในการจัดหาแรงงาน พัฒนาทักษะ ฝี มื อ แรงงานในสถานประกอบการ เพื่ อ รองรั บ ความต้ อ งการของ ผู้ประกอบการในนิคมอุตสาหกรรม

18 / วารสารอุตสาหกรรม

1


กระทรวงอุตสาหกรรมเยี่ยมชม SMEs เมื่อเร็ว ๆ นี้ ดร.สมชาย หาญหิรัญ ปลัด กระทรวงอุตสาหกรรม นำ�คณะสื่อมวลชนเยี่ยมชม SMEs ที่ได้รับอนุมัติสินเชื่อกองทุนพัฒนา เอสเอ็มอีตามแนวประชารัฐ จำ�นวน 2 รายแรกของจังหวัดสงขลา คือ 1) บริษัท โกร รับเบอร์ ลาเท็กซ์ จำ�กัด ผู้ผลิตและจําหน่ายยางรองส้นเท้ายางพารา ซึ่งบริษัท ฯ ได้รับอนุมัติสินเชื่อวงเงิน 3 ล้านบาท ในการจัดหาเครื่องจักรพร้อมสายการผลิตรองเท้าแตะ โดย มีการเชื่อมโยงวัตถุดิบจากสหกรณ์การเกษตรรัฐภูมิ จำ�กัด เพื่อส่งเสริมการแปรรูปยางพาราตาม ยุทธศาสตร์จงั หวัด ฯ มี นางสาวอรฤดี เมฆตรง และบิดา ให้การต้อนรับ พร้อมด้วย นายเดชา เกือ้ กูล ผู้ตรวจราชการกระทรวงอุตสาหกรรม นางแน่งน้อย เวทยพงษ์ รองอธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม รวมถึงนายวีระกิตติ์ รันทกิจธนวัชร์ อุตสาหกรรมจังหวัดสงขลา ร่วมด้วย ณ โรงงาน บริษัท โกร รับเบอร์ ลาเท็กซ์ จำ�กัด ทีอ่ ยูภ่ ายในพืน้ ทีน่ คิ มอุตสาหกรรมยางพารา (Rubber City) จังหวัดสงขลา

2

2) บริษัท เอ.บิล.อาร์ทอินดัสเตรียล จำ�กัด ผู้ผลิตและจําหน่ายประเก็นและวัตถุกันรั่วสําหรับ เครื่องยนต์ ซึ่งบริษัท ฯ ได้รับอนุมัติสินเชื่อเพื่อการจัดซื้อระบบบริหารจัดการภายในโรงงาน เครื่อง บรรจุแนวตั้งระบบสายพานลำ�เลียง ตลอดจนเครื่องห่อแบบซีลและเครื่องปิดเทปกาว ในวงเงินรวม 3 ล้านบาทมีคณะผู้บริหารโรงงานนำ�โดย นางสิริอัญญา พรสุวรรณกุล ให้การต้อนรับคณะปลัด กระทรวงอุตสาหกรรมพร้อมสื่อมวลชน ณ โรงงาน บริษัท เอ.บิล.อาร์ทอินดัสเตรียล จำ�กัด ตำ�บล ควนลัง อำ�เภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ทั้งนี้ การอนุมัติสินเชื่อกองทุนพัฒนาเอสเอ็มอีตามแนวประชารัฐ จัดทำ�ในรูปแบบคณะ อนุกรรมการ ฯ มีส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง ผู้แทนของสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และ หอการค้าไทยของจังหวัดต่าง ๆ ร่วมอยู่ด้วย โดยอยู่ภายใต้ในเงื่อนไขที่กำ�หนด เพื่อให้เงินทุนเข้าถึง ผู้ประกอบการรายที่มีศักยภาพอย่างแท้จริง จึงมั่นใจว่าจะไม่เกิดหนี้สูญ (NPL) สามารถทำ�ให้ภาค เอกชนขยายการลงทุนและเป็นการกระตุ้นให้เศรษฐกิจภายในจังหวัดมีการหมุนเวียนยิ่งขึ้น

ร้ อ ยดวงใจเพื่ อ ดอกไม้ ถ วายพ่ อ ดร.สมชาย หาญหิรัญ ปลัด กระทรวงอุ ต สาหกรรม กล่ า วในการเป็ น ประธานในพิ ธี เ ปิ ด กิ จ กรรม “ร้อยดวงใจเป็นดอกไม้ถวายเพื่อพ่อ” การฝึกอบรมการประดิษฐ์ดอกไม้ จันทน์ ร่วมงานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ พระบาทสมเด็จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช ว่ า การจั ด กิ จ กรรมในครั้ ง นี้ เ ป็ น การ รวมพลัง ร่วมแรง ร่วมใจของข้าราชการและเจ้าหน้าทีข่ องกระทรวงอุตสาหกรรม ที่ต้องการแสดงความจงรักภักดี ความอาลัย และเป็นการน้อมรำ�ลึกถึง พระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ ของพระองค์ ท่ า น ตลอดจนเพื่ อ ให้ ก ารจั ด งาน พระราชพิธถี วายพระเพลิงพระบรมศพฯ เป็นไปอย่างสมพระเกียรติ สามารถ เข้าถึงกิจกรรมและมีส่วนร่วมแสดงออกถึงความรู้รักสามัคคีของคนในชาติ ด้านดร.พสุ โลหารชุน อธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ในฐานะ ของผู้จัดกิจกรรม กล่าวเสริมว่า การจัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการประดิษฐ์ ดอกไม้ จั น ทน์ ใ ห้ กั บ ข้ า ราชการและเจ้ า หน้ า ที่ ข องกระทรวงอุ ต สาหกรรม ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อใช้ร่วมงานพระราชพิธีถวายพระบรมศพ จำ�นวน 9,999 ดอก เป็นดอกไม้ 5 ประเภท ประกอบด้วย ดอกดารารัตน์ ดอก ชบาทิพย์ ดอกลิลลี่ ดอกกุหลาบ และดอกพุดตาน โดยวิทยากรจากกรม ส่ ง เสริ ม อุ ต สาหกรรมเป็ น ผู้ ฝึ ก สอนให้ กั บ ข้ า ราชการ และเจ้ า หน้ า ที่ ข อง กระทรวง ฯ ซึง่ จะเป็นผูแ้ ทนจากหน่วยของกระทรวง ฯ รวมทัง้ สถาบันเครือข่าย 11 สถาบัน ร่วมกิจกรรม ตั้งแต่วันที่ 1-14 มิถุนายน 2560 ณ บริเวณห้องโถง ชั้น 1 อาคารสำ�นักงานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม

3

วารสารอุตสาหกรรม / 19


Sustainable

Biz

Green Industry อุตสาหกรรมสีเขียว...รางวัล แห่งความสุขอย่างยั่งยืน ปัจจุบันปัญหาสิ่งแวดล้อมภาคอุตสาหกรรมที่เกิดจากมลภาวะของ ภาคอุตสาหกรรมนับวันจะมีมากขึน้ ตามการขยายตัวของอุตสาหกรรม และเมือง สอดคล้องกับประชากรที่เพิ่มมากขึ้นทำ�ให้ความต้องการ ใช้ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ต่ า ง ๆ ในภาคอุ ต สาหกรรมมี ม ากขึ้ น ด้ ว ยเช่ น กั น ดังนั้นการดูแลสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อมต่อ สังคมจึงเป็นหน้าที่ของทุกคนที่ควรมีส่วนร่วมรับผิดชอบต่อสังคม ซึ่ ง สถานการณ์เช่น นี้ส่ว นใหญ่จะเกิด กับ ประเทศที่พัฒนาแล้วหรือ ประเทศอุ ต สาหกรรม กอปรกั บ ปั จ จุ บั น ทุ ก ประเทศทั่ ว โลกได้ รั บ ผลกระทบจากภาวะโลกร้อน การเสียสมดุลในระบบนิเวศที่เกิดจาก การใช้ทรัพยากรธรรมชาติของมนุษย์ที่ไม่ระวังและไม่สร้างทดแทน รวมถึงปัญหาที่เกิดจากภาคอุตสาหกรรมที่ก๊าซเรือนกระจกทำ�ลาย คุณภาพของน้ำ�และดินส่งผลต่อวงจรระบบนิเวศ กลายเป็นประเด็น ที่ต้องร่วมกันแก้ปัญหา กระแสการอนุรักษ์ทรัพยากร พลังงาน และ สิ่งแวดล้อม จึงได้รับการตอบรับจากทุกภาคส่วนทั่วโลก โดยองค์การ พัฒนาอุตสาหกรรมแห่งสหประชาชาติ ได้นยิ ามคำ�ว่า Green Industry เพื่อเป็นแนวทางการวางกรอบนโยบายของแต่ละประเทศ เพื่อให้ พัฒนาอุตสาหกรรมมุ่งไปสู่ประเทศที่เรียกว่า “สังคมคาร์บอนต่ำ�” (Low Carbon Society)

ประเทศไทยมี น โยบายมุ่ ง สู่ ก ารพั ฒ นาเมื อ งที่ ยั่ ง ยื น ตามที่ ไ ด้ ใ ห้ สั ต ยาบั น รั บ รองปฏิ ญ ญามะนิ ล าว่ า ด้ ว ยอุ ต สาหกรรมสี เขี ย ว กระทรวงอุ ต สาหกรรมเป็ น หน่วยงานหลักในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไทยและวางยุทธศาสตร์ในการ พัฒนาอุตสาหกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อมและสังคม ทั้งนี้ได้ดำ�เนินโครงการพัฒนาสถาน ประกอบการสูอ่ ตุ สาหกรรมสีเขียวทีไ่ ปร่วมกับนานาประเทศนับตัง้ แต่ปี 2532 เป็นต้นมา

20 / วารสารอุตสาหกรรม


สัมภาษณ์ผู้บริหาร บริษัท บางจาก คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน) ถึง แนวทางการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจนได้รับรางวัลอุตสาหกรรมสีเขียว ระดับ 5 โดยคุณฉวีวรรณ เกียรติโชคชัยกุล ผูอ้ �ำ นวยการอาวุโส ฝ่าย สือ่ สารองค์กร ได้เล่าให้ฟงั ถึงความเป็นมาของ “บางจาก” ว่าเป็นองค์กร ทีเ่ ปรียบเสมือนบ้านอีกหลัง เปีย่ มไปด้วยความสุขทีด่ แู ลคนในองค์กรและ ชุมชนโดยรอบ เป็นสังคมแห่งการแบ่งปันตัง้ แต่มาเริม่ ก่อตัง้ บางจากทีน่ ่ี

โดยนิยามอุตสาหกรรมสีเขียวของประเทศไทยตั้งอยู่บนองค์ประกอบ หลัก 2 ประการ คือ กระบวนการพัฒนาการบริหารจัดการคุณภาพ (Continuous Improvement) ที่ต้องทำ�อย่างต่อเนื่องในองค์กร เช่น การลดพลังงาน ลดการใช้พลังงานที่ไม่คุ้มค่า หรือใช้พลังงานทดแทน เป็นต้น และอีกประการคือ ความรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social Responsibility) ที่มุ่งเน้นการสร้างสมดุลใน 3 มิติ คือ เศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล้อม ซึง่ การพัฒนาตามแนวทาง 2 ประการนีจ้ ะทำ�ให้ องค์กรมุ่งสู่ความยั่งยืน

การพัฒนาสู่อุตสาหกรรมสีเขียว [Green Industry]

เมื่อประเทศไทยตระหนักและร่วมพัฒนาสู่อุตสาหกรรมสีเขียว กระทรวงอุตสาหกรรมจึงได้จัดกิจกรรมกระตุ้นผู้ประกอบการพัฒนา สถานประกอบการให้เป็นอุตสาหกรรมสีเขียวทีย่ งั่ ยืนและส่งผลต่อความ เชื่อมั่นทำ�ให้ได้รับการยอมรับจากเวทีการค้าโลก ซึ่งจะเป็นผลดีต่อ อุตสาหกรรมในระยะยาว และเพื่อให้เกิดแรงจูงใจในการพัฒนาอย่าง ต่อเนื่อง กระทรวงอุตสาหกรรมจึงจัดมอบรางวัลให้สถานประกอบการ โดยจัดแบ่งเป็น 5 ระดับ ดังนี้

1. ความมุ่งมั่นสีเขียว 2. ปฏิบัติการสีเขียว 3. ระบบสีเขียว 4. วัฒนธรรมสีเขียว 5. เครือข่ายสีเขียว

[Green Commitment] [Green Activities] [Green System] [Green Culture] [Green Network]

สำ�หรับรางวัลที่มอบให้สถานประกอบการที่ได้ระดับ 5 ถือเป็น ขั้นสูงสุดที่สามารถกระตุ้นให้เครือข่ายที่เป็นซัพพลายเชนร่วมพัฒนา เป็นอุตสาหกรรมสีเขียว ซึ่งอย่างน้อยต้องผ่านเกณฑ์ในระดับ 2 นับ เป็นการขยายผลในเชิงสังคมและสิ่งแวดล้อมเพื่อให้เกิดความยั่งยืน ทั้งนี้เพื่อให้เกิดความเข้าใจเป็นรูปธรรม Sustainable Biz ฉบับนี้จึงนัด

คุณฉวีวรรณ เกียรติโชคชัยกุล ผูอ้ �ำ นวยการอาวุโส ฝ่ายสือ่ สารองค์กร บริษัท บางจาก คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน)

การเริ่มต้นสร้างบ้านบางจาก บริษัท บางจาก คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน) เป็นบริษัท น้�ำ มันของคนไทย ดังคำ�กล่าวทีว่ า่ “เป็นไทยทัง้ ใบราก เป็นบางจากของ คนไทย” ก่อตัง้ ในปี 2528 โดยใช้ชอื่ บางจาก ตามสถานทีต่ งั้ ทีอ่ ยูต่ �ำ บล บางจาก มองย้อนอดีตในสมัยนั้นถือว่าเป็นทำ�เลที่ไกลมาก แต่มีความ สะดวกด้านการขนส่งเพราะมีทงั้ ทางบกและทางน้�ำ ซึง่ จำ�เป็นมากต่อการ ขนส่งน้ำ�มัน ขณะนั้นมีบ้านเรือนอยู่อาศัยไม่หนาแน่น เมื่อเราจะมาตั้ง โรงกลั่นที่นี่ สิ่งแรกที่ต้องทำ�คือการทำ�ความเข้าใจกับคนในชุมชนเรื่อง สิ่งแวดล้อม การอยู่ร่วมกันอย่างไม่มีมลภาวะ ไม่ทำ�ให้เกิดมลพิษและ เป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม ต้องทำ�ให้คนในชุมชนเชือ่ มัน่ ว่าบางจากรณรงค์ และปฏิบัติอย่างจริงจัง ซึ่งนั่นหมายถึงธุรกิจบางจากเราเริ่ม Green Commitment กับชุมชน โดยบางจากยึดหลัก Community Outcome 4 ข้อ คือ ทำ�ให้ชมุ ชนรูส้ กึ ปลอดภัย ให้ประโยชน์ตอ่ ชุมชน ให้ความเป็น มิตรด้วยความจริงใจ และมีธรรมาภิบาล ซึ่งทั้ง 4 ข้อนี้เมื่อปฏิบัติแล้ว จะทำ�ให้เกิดความยั่งยืน ตามวิสัยทัศน์องค์กร Evolving Greenovation ที่มุ่งสู่บริษัทนวัตกรรมสีเขียวชั้นนำ�ในเอเชีย มีบรรษัทภิบาลที่ดี และ ดำ�เนินธุรกิจด้วยแนวทางมีส่วนร่วมและยั่งยืน ซึ่งบางจากมุ่งพัฒนา ในทุกมิติ เช่น ด้านสิ่งแวดล้อมอย่างเรื่องพลังงานทดแทน บางจากมี เป้ า หมายเป็ น ผู้ นำ � พลั ง งานทดแทน ซึ่ ง เป็ น พลั ง งานที่ ม าจากพื ช พลังงานบนดิน หมดแล้วก็สามารถปลูกทดแทนได้ อย่างที่เราใช้แก๊ส โซฮอล์ก็ได้จากการเอามันเอาอ้อยมาหมักกลายเป็นแอลกอฮอล์ เอา มาผสมกับน้ำ�มันเบนซิน ในส่วนของน้ำ�มันดีเซลเอามาผสมกับน้ำ�มัน ปาล์มก็กลายเป็นไบโอดีเซล แล้วเราเองจะไม่ขายน้�ำ มันจากฟอสซิล เรา ใช้จากพืชที่เรียกว่า พลังงานสีเขียว เราตอกย้ำ�เสมอว่า “บางจาก” คือ

วารสารอุตสาหกรรม / 21


ผู้นำ�ด้านพลังงานทดแทน ที่ได้น้อมนำ�ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง น้อมนำ�สิ่งที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 ทรงคิดค้น เมื่อ 20-30 ปีที่แล้วเอามาขยายผล เป็นแนวทางหนึ่งที่สร้างความ มั่นคงให้กับประเทศด้วย ที่บอกว่าเป็นพลังงานบนดินคือจะช่วย สร้างรายได้และอาชีพให้กับเกษตรกรของไทย เช่น ภาคเหนือ ภาค อีสาน ปลูกมันปลูกอ้อยในบางปีผลผลิตราคาตก ท่านก็คดิ ว่าสิง่ เหล่านี้ น่ า จะเอามาทำ � เป็ น พลั ง งานได้ อย่ า งภาคใต้ มี ป าล์ ม ก็ เ อามา ทำ�เป็นไบโอดีเซล ช่วยเหลือคนเรือ่ งความยากจนได้พลังงานทดแทน เป็นอีกทางหนึ่งที่ทำ�ให้ประชากรลืมตาอ้าปากได้ นับเป็นการช่วย ด้านเศรษฐกิจด้วย บางจากเป็นบริษัทของคนไทยที่มีอุดมการณ์คือ การเป็นองค์กรที่ทำ�ธุรกิจอุตสาหกรรมสีเขียว ที่มุ่งช่วยและพัฒนา ชุมชนทัง้ ด้านเศรษฐกิจ สังคม สิง่ แวดล้อม เราจึงเอาตรงนีม้ าขยายผล สามารถที่จะเล่าหรือโยงให้เห็นได้ว่าสิ่งที่ทำ�กับคิดนั้นสอดคล้องกัน เป็นการอยูร่ ว่ มกัน จนถึงปัจจุบนั บางจากดำ�เนินธุรกิจมา 33 ปี ย่อม พิสจู น์ให้เห็นถึงปรัชญาและความมุง่ มัน่ ทีม่ กี ารบริหารให้เป็นองค์กร สีเขียวเพื่อความยั่งยืน

รางวัลสูงสุด “อุตสาหกรรมสีเขียว ระดับ 5” รางวัลนี้คือความภาคภูมิใจของบางจากเพราะทุกคนมีส่วน ร่วม การที่จะได้ระดับ 5 แปลว่า องค์กรต้องผ่านเกณฑ์ 4 ระดับมา ก่อน ซึง่ ระดับที่ 1 คือ ความมุง่ มัน่ เป็นองค์กรสีเขียว พัฒนาองค์กร ร่วมกันเพื่อมุ่งสู่เป้าหมายเดียวกัน ระดับที่ 2 ปฏิบัติการสีเขียว คือ การนำ�พันธสัญญามาสู่การปฏิบัติ ทำ�ให้เป็นรูปธรรม มีตัวชี้วัดและ วัดผลได้ ระดับที่ 3 ระบบสีเขียว เป็นระดับที่เข้มข้นมากขึ้น โดยทำ� ทุกอย่างให้เป็นระบบ มีการนำ� ISO 14001 มาเป็นเครื่องมือการ ประเมิน ระดับที่ 4 วัฒนธรรมสีเขียว ข้อนี้สำ�คัญมากเพราะ Green Industry จะสำ�เร็จได้ต้องมีคนเป็นตัวขับเคลื่อน ซึ่งบางจากเรามี การสือ่ สารในองค์กรเพือ่ ให้เข้าใจและซึมซับปฏิบตั ไิ ด้จริงจนเกิดเป็น วัฒนธรรมองค์กร ด้วยทัศนคติ​ิเดียวกันคือการร่วมกันเป็นองค์กร สีเขียว วัฒนธรรมของพนักงานคือ เป็นคนดี มีความรู้ ทำ�ประโยชน์ให้ แก่ผอู้ นื่ เราจะปลูกฝังสิง่ เหล่านีแ้ ม้ยคุ สมัยเปลีย่ นไป เราจะอยูแ่ บบพี่ แบบน้อง พนักงานเรามีพันกว่าคน ที่นี่ใช้คนอย่างเต็มประสิทธิภาพ เรามีการพัฒนาคนตลอดเวลา เรื่องของบุคลากรที่ทำ�งานตรงนี้ถ้า ขึ้นเป็นผู้บริหารจะมีการอบรมเทรนนิ่ง ประเมินตนเอง สามารถ ที่จะขอไปเรียนได้ หรือให้ผู้เชี่ยวชาญมาเทรนนิ่งให้พนักงาน ทั้งนี้ องค์กรเปิดโอกาสให้พนักงานร่วมออกแบบและวางแผนในการ อบรมเพื่ออัปเกรดและนำ�ความรู้มาพัฒนาองค์กรต่อไป นอกจาก เรื่องคนแล้วบางจากยังให้ความสำ�คัญกับเรื่องเครื่องใช้ อุปกรณ์ใน สำ�นักงาน เช่น ลดการใช้กระดาษ ใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการ แจ้งการประชุม เราเรียกว่า Green Meeting รวมถึงการทำ�รายงาน การประชุม เป็นต้น โดยมี ISO 26000 เป็นเครื่องมือกำ�กับในการ ประเมินและเป็นตัวชี้วัด ซึ่งทั้งหมดที่เล่าคือการปลูกฝังวัฒนธรรม องค์กรกับคน เมือ่ องค์กรเราเป็นองค์กรสีเขียวแล้ว สิง่ ทีส่ �ำ คัญคือการ เชื่อมต่อแนวคิดกับหลักปฏิบัติ นำ�ไปถ่ายทอดสู่คู่ค้าซัพพลายเออร์ รวมถึงซัพพลายเชนเครือข่ายของบางจาก ซึ่งบางจากทำ�หน้าที่

22 / วารสารอุตสาหกรรม

เหมือนพี่เลี้ยงถ่ายทอดองค์ความรู้ ให้ตระหนักถึงการอยู่ร่วมกันใน สังคม ให้ดูแลสิ่งแวดล้อม ทั้งนี้บางจากได้จัดโครงการ Bangchak Green Partnership Awards เพือ่ กระตุน้ ให้เครือข่ายธุรกิจบางจากเป็น หุน้ ส่วนสังคมสีเขียว จากการทีบ่ างจากให้ความสำ�คัญในการพัฒนา อย่างต่อเนือ่ ง ทำ�ให้บางจากมีความพร้อมในการก้าวสูอ่ ตุ สาหกรรม สีเขียวระดับที่ 5 ด้วยการให้ความสำ�คัญการสร้างเครือข่ายสีเขียว โดยการคัดเลือกคูค่ า้ ซัพพลายเออร์ทผี่ า่ นเกณฑ์อตุ สาหกรรมสีเขียว อย่างน้อยได้ระดับ 2 จึงจะให้ขึ้นทะเบียนคู่ค้า (Vender List) เพื่อ รับงานจัดซื้อจัดจ้างของบางจาก เช่น กลุ่มงานซ่อมบำ�รุงงานเครื่อง ถ่ายเอกสาร โดยเลือกอุปกรณ์ที่ดูแลสิ่งแวดล้อม มีคาร์บอนต่ำ� (Low Carbon) งานรับเหมาก่อสร้างสถานีบริการน้�ำ มัน ซัพพลายเออร์ ที่ขายวัสดุอุปกรณ์ให้ร้านกาแฟอินทนิล เป็นต้น ยกตัวอย่างให้ เห็นชัดอย่างแก้วกาแฟในร้านอินทนิล ใช้วัสดุผลิตแก้วที่สามารถ ย่ อ ยสลายได้ ต ามธรรมชาติ ส ามารถย่ อ ยสลายได้ ท างชี ว ภาพ (Biodegradable) จำ�นวนที่ใช้เดือนละ 1 ล้านใบ ใน 386 สาขา ทั่วประเทศ นับว่าใช้มากที่สุดในประเทศไทย ถือว่าจำ�นวนสั่งซื้อ สูงจูงใจพอที่จะทำ�ให้ซัพพลายเออร์ของบางจากร่วมพัฒนาระบบ ไปด้วยกัน ดังนั้นบริษัทที่จะมาเป็นคู่ค้ากับบางจากจึงต้องมีทิศทาง และพัฒนาอุตสาหกรรมสีเขียวไปในแนวทางเดียวกันด้วย ที่เล่า เพือ่ ให้เห็นภาพชัดเจนขึน้ ว่า บางจากเรามุง่ มัน่ กับเรือ่ งอุตสาหกรรม สีเขียวมาก เราพัฒนาไปข้างหน้าและตรวจสอบย้อนกลับเพื่อรักษา คุณภาพสม่ำ�เสมอเพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างยั่งยืน ซึ่งบางจากปฎิบัติ ต่อเนื่องมาตลอดระยะเวลา 33 ปี และจะปฏิบัติต่อไปไม่สิ้นสุดด้วย เชื่อว่า Green Industry อุตสาหกรรมสีเขียว...เป็นแนวทางสร้างสุข ได้อย่างยัง่ ยืนทัง้ ด้านเศรษฐกิจ สังคม สิง่ แวดล้อม ส่งต่อจากรุน่ สูร่ นุ่

เทรนด์ธุรกิจสีเขียวเติบโตอย่างยั่งยืนในมุม ตลาดโลกอย่างไร คุณฉวีวรรณ กล่าวฝากปิดท้ายว่า สิง่ แวดล้อมเป็นเรือ่ งสำ�คัญ มากถ้าเกิดไปดูในเวทีโลก เมื่อก่อนกลุ่มประเทศที่พัฒนาแล้วเขาจะ พูดเรื่องการเงิน แต่ปัจจุบันจะพูดเรื่องของสภาวะภูมิอากาศ เรื่อง การรณรงค์ลดโลกร้อน ให้ทุกคนมีส่วนร่วมช่วยกันดูแลสิ่งแวดล้อม เพราะมันไม่ได้เป็นเรื่องไกลตัว แต่มันเป็นเรื่องที่ใกล้ตัวทุกคน ไม่ใช่ แค่หน่วยงานแต่ทุกคนต้องร่วมช่วยกันปลุกจิตสำ�นึก ปลูกฝังเรื่อง สิ่งแวดล้อมตั้งแต่เยาวชนให้มีส่วนร่วมดูแลและรักษาสิ่งแวดล้อม เพราะเทรนด์สีเขียวเป็นเรื่องที่ทั่วโลกให้ความสนใจ แต่เรื่องของ สิ่งแวดล้อมเป็นสิ่งที่ทุกประเทศทั่วโลกให้ความสำ�คัญ ดังนั้นการ ทำ�ธุรกิจในอนาคตโดยเฉพาะเมื่อมีคู่ค้าต่างประเทศ เขาจะถาม เรื่องบรรษัทภิบาล มีการดูแลสิ่งแวดล้อมอย่างไร เลยอยากฝากให้ ทุกคนลองกลับไปดูว่าในชีวิตคนเรารวมถึงองค์กร หากมีหลัก 4 ประการ คือ ด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และธรรมภิบาล ใน การดำ�รงชีพหรือประกอบอาชีพ ย่อมมีความสุขเพราะมันเป็นหัวใจ ของธุรกิจสีเขียวที่ก่อให้เกิดความยั่งยืน


Show Case ชมพูภูคา &

น่านดูโอ คอฟฟี่ ต้นแบบผูป ้ ระกอบการเข้มแข็ง ด้วยกองทุนพัฒนาเอสเอ็มอี ตามแนวประชารัฐ ปัจจุบันรัฐบาลออกมาตรการช่วยเหลืออุตสาหกรรมขนาด กลางและขนาดย่อม (SMEs) หลายด้าน เพือ่ ให้ SMEs สามารถ ยืนหยัดอยูไ่ ด้อย่างเข้มแข็ง โดยมีมาตรการสำ�คัญประการหนึง่ คือ การเพิม่ สภาพคล่องและทุนให้กบั SMEs ซึง่ เป็นเป้าหมาย หลักของนโยบาย “การสร้างความเข้มแข็งภายใน” กระทรวง อุตสาหกรรมในฐานะหน่วยงานหลักในการนำ�นโยบายมา ขับเคลื่อนได้ตั้งเป้าปล่อยสินเชื่อวงเงินรวม 20,000 ล้านบาท เพือ่ ส่งเสริมเจ้าของธุรกิจ SMEs ทีม่ ศี กั ยภาพแต่ขาดเงินทุนให้ สามารถเข้ามาใช้สนิ เชือ่ จากกองทุนนีไ้ ด้ในวงเงินสูงสุดรายละ ไม่เกิน 10 ล้านบาท ในอัตราดอกเบี้ย 1% ตลอดอายุสัญญา โดยมีระยะเวลาชำ�ระเงินคืน 7 ปี ในช่วง 3 ปีแรกจ่ายเพียง เงินต้น และไม่ตอ้ งมีหลักประกัน ทัง้ นีก้ ระทรวง ฯ มีการจัดสรร วงเงินให้ทุกจังหวัดทั่วประเทศ จากนโยบายรัฐสูก่ ารสนับสนุนผูป้ ระกอบการ SMEs Show Case ฉบั บ นี้ จ ะพาคุ ณ ไปรู้ จั ก กั บ ผู้ประกอบการธุรกิจ SMEs 2 รายที่ฟันฝ่าอุปสรรค จนได้รับการคัดเลือกสนับสนุนสินเชื่อจากกองทุน พั ฒ นาเอสเอ็มอีตามแนวประชารัฐ ว่า มีหลักใน การดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ ตลอดจนมี แ นวคิ ด ในการนำ � เงินทุนทีไ่ ด้รบั จากกองทุนพัฒนาเอสเอ็มอีมาพัฒนา ผลิตภัณฑ์อย่างไร

วารสารอุตสาหกรรม / 23


จากจุดเริ่มต้นที่มีแนวทางชัดเจนทำ�ให้การพัฒนา ไม่หยุดยั้ง ด้วยผลงานเครื่องเงินที่มีรายละเอียดประณีตทั้ง รูปแบบและดีไซน์ที่ประยุกต์ให้ร่วมสมัย เป็นแนวเครื่องเงิน โบราณผสานกับเครือ่ งเงินสมัยใหม่ ทำ�ให้ “ชมพูภคู า” ได้รับ ความนิยมจากลูกค้า จนต้องเปิดช็อปใหญ่อยูท่ อี่ �ำ เภอเมือง จังหวัดน่าน ถึง 3 สาขาด้วยกัน และยังมีการจำ�หน่ายผ่าน ช่องทางออนไลน์อีกด้วย

คุณปิ๊บ ตันติกร วรรณวิภูษิต กรรมการผู้จัดการ บริษัท ชมพูภูคา จำ�กัด

เริ่มจากธุรกิจเครื่องเงินที่ได้รับการยอมรับในฝีมืออัน ประณีตและมีเอกลักษณ์ทไี่ ม่ซ�้ำ ใคร “ชมพูภคู า” คุณปิบ๊ ตันติกร วรรณวิภษู ติ กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั ชมพูภคู า จำ�กัด ได้กล่าวถึง ที่มาของชมพูภูคาว่า

“ชมพูภูคามีจุดเริ่มต้นมาจากคุณอา นายกมล แซ่เต็น ได้ ทู ล เกล้ า ฯ ถวายสร้ อ ยคอ 9 สาย แด่ ส มเด็ จ พระนาง เจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ทำ�ให้นายกมลได้มโี อกาสไปเป็นวิทยากร สาธิตการทำ�เครื่องเงินที่พระตำ�หนักภูพิงคราชนิเวศน์ และ ต่ อ มาได้ ก ลั บ มาพั ฒ นาเครื่ อ งเงิ น ของจั ง หวั ด น่ า น จนได้ รับความนิยมจากนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ เมื่ อ ได้ รั บ ความสนใจมากขึ้ น ก็ ทำ � ให้ มี คู่ แข่ ง และเกิ ด การ ขายตั ด ราคากั น เอง ทำ � ให้ มี ผ ลต่ อ คุ ณ ภาพและความ เชื่อมั่นของลูกค้านักท่องเที่ยว จึงเป็นจุดที่ทำ�ให้เกิดชมพูภูคา ขึ้นมาเพื่อทำ�ให้เกิดมาตรฐานด้านการผลิตและราคาที่สมเหตุ สมผล การจัดการแรกเริ่มเรารวมกลุ่มกันเป็นสหกรณ์ชมพูภูคา ขึน้ เพือ่ รวบรวมเครือ่ งเงินให้มาส่งงานทีน่ ี่ ลดปัญหาการตัดราคา และลดปัญหาการเอาเปรียบจากพ่อค้าคนกลาง จนในปี 2536 ได้ก่อตั้งเป็นบริษัท ชมพูภูคา จำ�กัด ขึ้นมา”

การต่อยอดเพื่อความยั่งยืน การที่บริษัท ฯ ได้ผ่าน เกณฑ์การคัดเลือกและได้รบั การสนับสนุนจากกองทุนพัฒนา เอสเอ็มอีตามแนวประชารัฐนั้น คุณปิ๊บ กรรมการผู้จัดการ บริ ษั ท ชมพู ภู ค า จำ � กั ด ได้ เ ล่ า ให้ ฟั ง ว่ า “ชมพู ภู ค า” นั้ น เป็ น SMEs ที่ มี ก ารจดทะเบี ย นเป็ น นิ ติ บุ ค คล ที่ ผ่ า นมาเรามั่ น ใจเรื่ อ งผลิ ต ภั ณ ฑ์ ทั้ ง ด้ า นฝี มื อ และ การออกแบบที่ มี เ อกลั ก ษณ์ แต่ ด้ ว ยกำ � ลั ง ซื้ อ จาก นักท่องเที่ยวหายไปทำ�ให้ได้รับผลกระทบไปด้วย การที่เรา จะพัฒนาธุรกิจต่อจึงมีข้อจำ�กัดด้านเงินทุน บริษัท ฯ จึงมี ความต้ อ งการเงิ น ทุ น หมุ น เวี ย นเพื่ อ สร้ า งความเข้ ม แข็ ง โดยมี ค วามตั้ ง ใจที่ จ ะขยายกิ จ การและปรั บ ปรุ ง ศู น ย์ จำ � หน่ า ยพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ เ ครื่ อ งเงิ น ชาวเขาและบ้ า นจำ � ลอง ชาวเขา เพิ่มจุดขายให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวและการเรียนรู้ ซึ่งหลังจากได้รับการสนับสนุน คุณปิ๊บก็ได้เล่าถึงการนำ� เงินทุนมาพัฒนาการดำ�เนินงานของ “ชมพูภูคา” ว่า “หลังจากทีไ่ ด้รบั เงินจากกองทุนพัฒนาเอสเอ็มอีตาม แนวประชารัฐ เราได้ปรับปรุงเรื่องของศูนย์จำ�หน่ายเพื่อ ส่งเสริมการท่องเทีย่ ววิถชี มุ ชน โดยเปิดโอทอปเพือ่ รับสินค้า แปรรูป เช่น ของกินของใช้ของคนจังหวัดน่านทั้งหมด อีก ส่วนหนึ่งคือเผยแพร่วัฒนธรรมชาวเขา ซึ่งเป็นจุดเด่นของ จังหวัดน่าน เช่น อาหารชาวเขา พิพิธภัณฑ์ชาวเขา มีการ ละเล่นของชาวเขาเพิม่ เข้ามาในบริเวณศูนย์ ฯ พัฒนาอาคาร สถานที่เพื่อรองรับนักท่องเที่ยวให้มากยิ่งขึ้น รวมถึงพัฒนา ฝีมือช่าง เพิ่มช่างฝีมือเพื่อรองรับกิจกรรมที่เปิดสอนให้เป็น แหล่งเรียนรูก้ ารทำ�เครือ่ งเงินให้แก่นกั ท่องเทีย่ วทีส่ นใจ ด้วย แนวคิดนีจ้ ะเห็นได้วา่ เราไม่ได้มองเพียงผลิตภัณฑ์เครือ่ งเงิน เท่านั้น แต่เราสร้างโอกาสให้ชุมชนเป็นแหล่งความรู้และ พัฒนาอาชีพให้คนในชุมชน ซึ่งสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ของกองทุนพัฒนาเอสเอ็มอีตามแนวประชารัฐที่ต้องการ ให้เกิดการพัฒนาในชุมชน สร้างความเข้มแข็งและยั่งยืน” “ในอนาคตเราจะร่วมกับศูนย์พัฒนาชุมชนวางแผน เพือ่ จัดศูนย์การเรียนรู้ ให้คนในจังหวัดน่านได้มาศึกษาเรียน รู้ ไม่ว่าจะเป็นบุคคลทั่วไป วัยทำ�งานที่อยากทำ�งานแล้ว

24 / วารสารอุตสาหกรรม


มาฝึกที่ศูนย์ฯ ถ้ามาเรียนกับเราแล้วสนใจที่จะทำ�งานกับเราก็ สามารถทำ�ได้ หรือแค่อยากมาเรียนรูเ้ พือ่ ทีจ่ ะไปต่อยอดทำ�เป็น ของตัวเองก็สามารถทำ�ได้ เราไม่ได้ผกู มัดว่าเรียนจบแล้วต้องมา ทำ�งานกับเรา แต่ด้วยวิธีคิดนี้นอกจากจะเป็นการสร้างอาชีพ แล้วยังเป็นการสานต่อภูมิปัญญาของคนไทยด้วยงานช่างฝีมือ เครือ่ งเงินซึง่ นับวันจะสูญหาย แนวคิดนีเ้ ป็นความภาคภูมใิ จของ เราที่จะสานต่อตามปณิธานที่ตั้งไว้” ทั้งหมดคือแนวคิดที่ถ่ายทอดด้วยความมุ่งมั่นที่จะสร้าง โอกาสให้ไปถึงคนในท้องถิ่น เพื่อความมั่นคงและยั่งยืน โดยที่ มีชมพูภคู าเป็นศูนย์กลางทีเ่ ชือ่ มต่อเครือข่ายและสร้างคลัสเตอร์ เครื่องเงิน ซึ่งเป็นก้าวสำ�คัญที่จะต่อยอดหลังจากได้รับการ สนับสนุนจากกองทุนพัฒนาเอสเอ็มอีตามแนวประชารัฐ สำ � หรั บ ผู้ ที่ ส นใจอยากจะไปเลื อ กซื้ อ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ งานฝี มื อ ท้ อ งถิ่ น ของศู น ย์ เ ครื่ อ งเงิ น ชมพู ภู ค า สามารถ เดินทางไปได้ทศี่ นู ย์เครือ่ งเงินชมพูภคู าและหัตถกรรม เมือง น่าน 254 หมู่ 4 ถนนน่าน-พะเยา ตำ�บลไชยสถาน อำ�เภอ เมือง จังหวัดน่าน รวมถึงเข้าไปเลือกดูและสัง่ ซือ้ ผลงานของ ศูนย์เครือ่ งเงินชมพูภคู าได้ที่ Facebook : PHUKHA SILVER & ศูนย์เครื่องเงินชมพูภูคา ได้อีกหนึ่งช่องทางด้วย และสำ�หรับผู้ประกอบธุรกิจ SMEs อีกหนึ่งรายที่ได้รับ การสนับสนุนจากกองทุนพัฒนาเอสเอ็มอีตามแนวประชารัฐ จากกระทรวงอุตสาหกรรม คือ “น่านดูโอ คอฟฟี่” กาแฟ ยอดนิ ย มที่ ใครไม่ได้ไปชิมก็เ หมือ นไปไม่ถึง จัง หวัดน่านเลย ทีเดียว สำ�หรับจุดเริ่มต้นของ “น่านดูโอ คอฟฟี่” นั้น คุณแอ๋ว วัชรี พรมทอง กรรมการผูจ้ ดั การ ห้างหุน้ ส่วนจำ�กัด น่านดูโอ คอฟฟี่ เล่าให้ฟังว่า “ตัง้ แต่เรียนจบด้าน Food Science ได้ไปทำ�งานทีโ่ รงงาน คั่วกาแฟแห่งหนึ่งในกรุงเทพ ฯ รับหน้าที่ทำ�งานด้าน QA, Production และงานด้านวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ ทำ�อยู่ 8 ปี เริ่ ม มี เ งิ น เก็ บ จึ ง ตั ด สิ น ใจลาออกมาตั้ ง โรงงานคั่ ว กาแฟเอง โดยตั้งโรงงานแห่งแรกที่พัทยา เนื่องจากเรามองว่าวัตถุดิบจะ ซื้อที่ไหนก็ได้ แต่แหล่งตลาดต่างหากที่เราต้องเข้าไปหาลูกค้า บ่อย ๆ เราเลือกจุดที่ขายดี เพราะชลบุรีเป็นเมืองอุตสาหกรรม เลยเจาะจงภาคตะวันออกเป็นหลัก เช่น ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ฉะเชิงเทรา เราปูตลาดอยู่ 3 ปี เริ่มมีปัญหาด้านวัตถุดิบเรื่อง พ่อค้าคนกลางปัน่ ราคาขึน้ เลยคิดว่าเราต้องหันมาทำ�ต้นน้�ำ เอง จึงเลือกทีจ่ ะกลับบ้านเกิดของตัวเองเพือ่ ส่งเสริมการปลูกกาแฟ ย้ายทุกอย่างมาทำ�ทีน่ า่ น จัดส่งให้ฐานลูกค้าเดิมทีเ่ รามีอยู่ และ ขยายตลาดลูกค้าทางภาคเหนือเพิ่มขึ้น”

วารสารอุตสาหกรรม / 25


หลั ง จากที่ ไ ด้ รั บ การส่ ง เสริ ม จากกองทุ น พั ฒ นา เอสเอ็มอีตามแนวประชารัฐ โดยกระทรวงอุตสาหกรรม “น่านดูโอ คอฟฟี”่ ก็ได้พัฒนาขยายลานตากและโรงงานคั่วเมล็ดดิบ ให้ใหญ่ขน้ ึ เพือ่ ทีจ่ ะรองรับกำ�ลังการผลิตทีจ่ ะเติบโตขึน้ อีกอย่าง คือเราทำ�ตัวโดมพาราโบรา ซึ่งจะช่วยยกระดับเมล็ดดิบ ให้พรีเมียมยิ่งขึ้น โดมพาราโบราจะควบคุมความชื้นและ แสงได้ เป็นนวัตกรรม 4.0 ที่นำ�เข้ามาในโครงการนี้ เมล็ด กาแฟที่ผ่านโดมพาราโบราจะเป็นเกรดพรีเมี​ียมขายเพิ่ม มูลค่าได้ คุณแอ๋ว วัชรี พรมทอง กรรมการผู้จัดการ ห้างหุ้นส่วนจำ�กัด น่านดูโอ คอฟฟี่

จุดเด่นของ “น่านดูโอ คอฟฟี่” ก็คือมีการวางตลาดการ จำ�หน่ายที่ชัดเจนระหว่าง “ดูโอ คอฟฟี่” และ “ภูมิใจ๋ คอฟฟี่” รวมไปถึงกาแฟออร์แกนิกและสบู่กาแฟ “เดิมพี่ทำ�ตลาดระดับกลาง เป็นตลาดที่ขายกลุ่มร้าน ขายส่ง “ดูโอ คอฟฟี”่ จะเป็นกาแฟระดับกลางทีท่ กุ คนจับต้อง ได้ ส่วน “ภูมิใจ๋ คอฟฟี่” ทำ�เป็นตัวพรีเมียม ก็คือเมล็ดคั่วที่เป็น ตราภูมิใจ๋จะเป็นอีกเกรดหนึ่งเลย ซึ่งตัว 3 in 1 ที่เราทำ�ขึ้นมา ใหม่กใ็ ช้วตั ถุดบิ อย่างดี ราคาก็จะเพิม่ ขึน้ มาอีก โดยเน้นขายกลุม่ โรงแรม ของฝากกลุ่มพรีเมียม ซึ่ง “ภูมิใจ๋ คอฟฟี่” มีทั้งกาแฟสด และ 3 in 1 มีสบู่กาแฟด้วยจะทำ�ออกมาเป็นเซ็ตค่ะ ส่วนกาแฟ ออร์แกนิก เราปลูกกาแฟโดยไม่ใส่ปยุ๋ ไม่ฉดี ยา มีความปลอดภัย เป็นออร์แกนิกด้วยตัวของมันเอง โดยมีแหล่งปลูกอยู่ที่ตำ�บล สกาด อำ�เภอปัว จังหวัดน่าน ที่ความสูง 1,300 เมตรเหนือ ระดับน้ำ�ทะเลค่ะ” ในการลงทุนคุณแอ๋วเล่าว่า ปัญหาสำ�คัญทีพ่ บก็คอื เรือ่ ง เงินทุน การเป็นธุรกิจขนาดเล็ก ตอนเริ่มต้นทำ�ธุรกิจครั้งแรก การกู้ธนาคารเป็นเรื่องยาก ต้องใช้เงินส่วนตัวในการลงทุน จึงทำ�ให้เธอตัดสินใจยืน่ เรือ่ งขอการสนับสนุนจากกองทุนพัฒนา เอสเอ็มอีตามแนวประชารัฐ ซึง่ คุณสมบัตขิ อง “น่านดูโอ คอฟฟี”่ ก็ ทำ � ให้ เ ธอเป็ น หนึ่ ง ในผู้ ป ระกอบการที่ ไ ด้ รั บ การคั ด เลื อ ก สนับสนุนในเรื่องของเงินทุน คุณแอ๋วกล่าวถึงการได้รับเงิน สนับสนุนในครั้งนี้ว่า “เมื่ อ เราได้ รั บ การสนั บ สนุ น เงิ น กู้ จ ากกองทุ น พั ฒ นา เอสเอ็มอีตามแนวประชารัฐก้อนนี้ ก็ทำ�ให้เราก้าวกระโดดไป อีกขัน้ เพราะเรือ่ งเงินทุนเริม่ ต้นถือว่าสำ�คัญมากสำ�หรับ SMEs”

26 / วารสารอุตสาหกรรม

“จากการได้ รั บ การสนั บ สนุ น สิ น เชื่ อ จากกองทุ น พัฒนาเอสเอ็มอีตามแนวประชารัฐ ทำ�ให้ น่านดูโอ คอฟฟี่ สามารถพัฒนาต่อยอดไปได้อีกไกล โดยคุณแอ๋วมั่นใจว่า การทำ�ธุรกิจจะหยุดพัฒนาไม่ได้ ยิ่งเป็น SMEs ขนาดเล็ก การนำ � นวั ต กรรมมาพั ฒ นาจะทำ � ได้ เร็ ว กว่ า บริ ษั ท ใหญ่ วันนีน้ า่ นดูโอ คอฟฟีม่ าถูกทางเพราะเราให้ความสำ�คัญด้าน นวัตกรรมและพัฒนาต่อไปอย่างไม่มีที่สิ้นสุด และอยากจะ ฝากสำ�หรับผูป้ ระกอบธุรกิจทีอ่ ยากจะเข้าถึงแหล่งเงินทุน ให้ ใช้โอกาสทีด่ จี ากนโยบายประชารัฐนี้ มาขอรับการสนับสนุน เพื่อนำ�มาใช้ในการพัฒนาธุรกิจต่อไป ซึ่งเป็นโอกาสของ SMEs ทีเ่ ราเข้าถึงได้ ทีส่ �ำ คัญหากเรายืน่ เรือ่ งครัง้ แรกไม่ผ่าน อย่าท้อเพราะเราจะได้รับคำ�แนะนำ�และแนวทางแก้ไขเพื่อ พัฒนาให้เข้าเกณฑ์ สุดท้ายในฐานะที่ตัวเองเป็น SMEs ก็ขอเป็นกำ�ลังใจให้ SMEs ทุกคนฟันฝ่าอุปสรรคและมา ร่วมพัฒนาเป็น SMEs คุณภาพกันค่ะ” ใครที่ อ ยากจะสนั บ สนุ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ก าแฟฝี มื อ คนไทย “น่ า นดู โ อ คอฟฟี่ ” สามารถติ ด ต่ อ ไปได้ ที่ ห้างหุ้นส่วนจำ�กัด น่านดูโอ คอฟฟี่ 258 หมู่ที่ 2 นาซาว เมืองน่าน จังหวัดน่าน สำ�หรับวารสารอุตสาหกรรมฉบับนีน้ �ำ Show Case 2 ราย มาเป็นตัวแทน SMEs ที่ได้รับการสนับสนุนเงินทุนจาก กองทุนพัฒนาเอสเอ็มอีตามแนวประชารัฐ โดยกระทรวง อุตสาหกรรม มาถ่ายทอดประสบการณ์เพื่อให้ได้แนวทาง การพัฒนาและการเรียนรู้ ซึ่งผู้ประกอบการท่านใดมีความ ต้ อ งการขอรั บ การสนั บ สนุ น จากกองทุ น สามารถติ ด ต่ อ ได้ที่ สำ�นักงานอุตสาหกรรมจังหวัด ศูนย์สนับสนุนและ ช่วยเหลือ SMEs กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือธนาคาร พัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย ทุกสาขาทั่วประเทศ หรือติดตามรายละเอียดและข้อมูล ความเคลื่อนไหวได้ที่ www.smessrc.com/fund20000


Innovation Industry โครงการพัฒนาศักยภาพ อุตสาหกรรมเชิงสร้างสรรค์ เมื่ อ เร็ ว ๆ นี้ สำ � นั ก งานปลั ด กระทรวงอุ ต สาหกรรมได้ มี พิ ธี เปิ ด ตั ว โครงการพั ฒ นาศั ก ยภาพอุ ต สาหกรรมเชิ ง สร้ า งสรรค์ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 เพื่อเพิ่มศักยภาพการแข่งขันให้ แก่ ผู้ ป ระกอบการอุ ต สาหกรรมสร้ า งโอกาสทางด้ า นการค้ า และ การลงทุนแก่ SMEs ตลอดทั้งการแก้ไขปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมอย่าง เป็นรูปธรรม ด้วยการนำ�วัสดุที่ไม่ใช้แล้วจากกระบวนการผลิตของ โรงงานอุตสาหกรรมมาสร้างมูลค่าเพิม่ ให้เป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ ภายใต้ แนวคิ ด “นวั ต กรรมเชิ ง สร้ า งสรรค์ ” โดยภายในงานได้ จั ด ให้ มี การเสวนาเรื่อง “กลยุทธ์สู่ความสำ�เร็จของผู้ประกอบการโรงงาน อุตสาหกรรม และนวัตกรรมเชิงสร้างสรรค์” วารสารอุตสาหกรรม / 27


เห็ น ได้ ว่ า กระทรวงอุ ต สาหกรรมให้ ค วามสำ � คั ญ กั บ การพั ฒ นาศั ก ยภาพอุ ต สาหกรรมเชิ ง สร้ า งสรรค์ เป็ น การเพิ่ ม โอกาสและความสามารถนำ � ไปสู่ ก ารพั ฒ นา อย่างยั่งยืน โดยการพัฒนาศักยภาพให้มีประสิทธิภาพใน การผลิ ต ควบคู่ ไ ปกั บ การอนุ รั ก ษ์ สิ่ ง แวดล้ อ ม ภายในงาน มี ก ารจั ด ให้ คำ � ปรึ ก ษาแนะนำ � เทคโนโลยี 3R (Reduce, Reuse, Recycle) และเสวนาเรื่อง “กลยุทธ์สู่ความสำ�เร็จ ของผู้ประกอบการโรงงานอุตสาหกรรม และนวัตกรรมเชิง สร้างสรรค์” โดยผู้ประกอบการโรงงานอุตสาหกรรม และ ผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์จากวัสดุเหลือใช้มา ร่วมเสวนา ดร.ชั ย ยศ บุ ญ ญากิ จ รองประธานสถาบั น สิ่งแวดล้อม-ไทย ได้กล่าวถึงกลยุทธ์สู่ความสำ�เร็จของสถาน ประกอบการ ด้วยนวัตกรรมเชิงสร้างสรรค์ว่า “เกิดจากปัญหาที่ประชากรโลกเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว มี เ มื อ งขนาดใหญ่ เ พิ่ ม ขึ้ น ส่ ง ผลต่ อ การผลิ ต อาหารและ การใช้ น้ำ � ที่ เ พิ่ ม มากขึ้ น สำ � หรั บ ในประเทศไทยก็ อ ยู่ ใ น สถานการณ์ ที่ เ มื อ งขยาย มี จำ � นวนประชากรที่ เ พิ่ ม ขึ้ น เช่ น กั น ส่ ง ผลต่ อ การใช้ ท รั พ ยากรเพื่ อ การดำ � รงชี พ ที่ มี ความต้องการเพิ่มมากขึ้น ดังนั้นทุกคนควรต้องช่วยกันคิด ช่วยกันทำ�ว่าเมืองไทยจะพัฒนาต่ออย่างไร อย่างเช่นเมื่อ ปี 2555 ที่มีรัฐบาลของ 190 ประเทศมาประชุมร่วมกัน ในประเด็นที่มีความเกี่ยวข้องกับประเทศไทย คือเรื่องของ เศรษฐกิจสีเขียวกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนทั้งใน ระดับประเทศและระดับองค์กร ซึง่ ก็ได้เห็นแนวคิดของประเทศ ต่าง ๆ ที่เข้าร่วมประชุมถึงทิศทางโลก ที่เปลี่ยนแปลงในเรื่อง สิ่งแวดล้อม ให้ความสำ�คัญต่อนวัตกรรมสร้างสรรค์” สำ�หรับในปัจจุบันประเทศไทยมีการรณรงค์อนุรักษ์ สิ่ ง แวดล้ อ มเพิ่ ม มากขึ้ น โดยดู ไ ด้ จ ากการใช้ ฉ ลากเขี ย ว ติ ด ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ห รื อ บรรจุ ภั ณ ฑ์ ที่ มี จำ � นวนมากขึ้ น สะท้ อ น ให้ เ ห็ น ว่ า เป็ น เรื่ อ งที่ ทุ ก คนมี ค วามตระหนั ก และให้ ค วาม ร่วมมือทัง้ ทางตรงและทางอ้อม กระแสการพัฒนา “นวัตกรรม สี เขี ย ว” (Green Innovation) ขยายตั ว ในวงกว้ า งอย่ า ง รวดเร็ ว โดยเฉพาะในภาคธุ ร กิ จ ที่ มุ่ ง พั ฒ นานวั ต กรรมใน ทิ ศ ทางของนวั ต กรรมสี เขี ย วมากขึ้ น ทำ � ให้ เ กิ ด แนวคิ ด การอนุ รั ก ษ์ ท รั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม หรื อ ยกระดับคุณภาพสิ่งแวดล้อมเพื่อคุณภาพชีวิต มีการพัฒนา กระบวนการเพื่อช่วยสิ่งแวดล้อม โดยใช้หลัก 3R ได้แก่ การ ลดใช้ทรัพยากรที่ไม่จำ�เป็น (Reduce) การใช้ทรัพยากรให้ คุม้ ค่า (Reuse) การนำ�ทรัพยากรกลับมาใช้ใหม่ (Recycle) รวมถึง การนำ � มาผ่ า นกระบวนการผลิ ต ใหม่ (Remanufacturing) ทีน่ �ำ ผลิตภัณฑ์ใช้งานแล้วหรือชิน้ ส่วนล้าสมัยมาถอดแยกแล้ว เข้าสู่กระบวนการตกแต่งและประกอบใหม่ (Reassembly)

28 / วารสารอุตสาหกรรม


เพื่ อ ช่ ว ยลดการใช้ ท รั พ ยากรธรรมชาติ แ ละการสร้ า งมลภาวะ ต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มทั้ ง ในระยะสั้ น และระยะยาว ลดการปล่ อ ย ก๊าซเรือนกระจก ซึง่ โครงการจะช่วยทำ�ให้เกิดการพัฒนาศักยภาพ เชิงสร้างสรรค์ด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อความยั่งยืน

ด้ า นกลยุ ท ธ์ ธุ ร กิ จ ที่ เ ป็ น มิ ต รกั บ สิ่ ง แวดล้ อ ม (VGreen) และ อาจารย์ประจําภาควิชาเทคโนโลยีและการจัดการสิ่งแวดล้อม คณะสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กล่าวถึงการพัฒนา อย่างยั่งยืนและเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์เอาไว้ว่า

ดร.วศิน มหัตนิรันดร์กุล นายกสมาคมเครือข่ายบริการ วิศวการ ได้กล่าวถึงเครือ่ งมือในการส่งเสริมและผลักดัน SMEs ว่า “การที่จะสร้างให้ SMEs เป็นกลไกที่ผลักดันเศรษฐกิจที่ยั่งยืนใน ระยะยาวนั้น จะมีเครื่องมือที่สำ�คัญอยู่ 3 ตัว ได้แก่ นวัตกรรม อุตสาหกรรมสีเขียว และการลดความเหลื่อมล้ำ�ที่ต้องเปลี่ยน การทำ�งานจากคู่แข่งมาเป็นคู่ค้าหรือเป็นพาร์ทเนอร์กัน จึงจะ เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน ซึ่งหมายถึงการทำ�อุตสาหกรรมที่ ใช้ทรัพยากรได้อย่างเต็มที่และคุ้มค่าเพื่อเหลือไว้ให้คนรุ่นหลัง ดังนัน้ แนวทางการพัฒนาจึงนำ�ระบบกรีนเทคโนโลยีเข้ามาจัดการ อย่ า งเช่ น การนำ � ขยะมาเพิ่ ม มู ล ค่ า ตั้ ง แต่ จุ ด เริ่ ม ต้ น เรี ย กว่ า ลดมลพิษตั้งแต่แหล่งกำ�เนิด มีกระบวนการออกแบบและผลิต คิ ด ค้ น จนเกิ ด เป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ หม่ ท่ี มู ล ค่ า มากขึ้ น ตรงนี้ ก็ คื อ R แรก เรียกว่า Reduce แล้วนำ�มาต่อยอดเป็นนวัตกรรมใหม่”

“เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ ต้องเป็นการนำ�เศรษฐกิจกับ นวัตกรรมรวมเข้าด้วยกัน ซึ่งหัวใจสำ�คัญก็คือ การออกแบบ ตอนนี้ เ ศรษฐกิ จ ทั่ ว โลกกำ � ลั ง แข่ ง ขั น กั น ด้ ว ยการออกแบบ นวั ต กรรม สำ � หรั บ นวั ต กรรมในการกำ � จั ด ของเสี ย ก็ จ ะมี ทั้ ง การลดใช้ทรัพยากรที่ไม่จำ�เป็น (Reduce) การใช้ทรัพยากรให้ คุ้มค่า (Reuse) การนำ�ทรัพยากรกลับมาใช้ใหม่ (Recycle) รวมถึง การนำ � มาผ่ า นกระบวนการผลิ ต ใหม่ (Remanufacturing) ที่ นำ � ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใช้ ง านแล้ ว หรื อ ชิ้ น ส่ ว นล้ า สมั ย มาถอดแยกแล้ ว เข้าสูก่ ระบวนการตกแต่งและประกอบใหม่ (Reassembly) เพือ่ ช่วย ลดการใช้ ท รั พ ยากรธรรมชาติ แ ละการสร้ า งมลภาวะต่ อ สิ่งแวดล้อมทั้งในระยะสั้นและระยะยาว และ Upcycle ที่ใช้กับ การนำ�เอาเศษวัสดุต่าง ๆ ที่จะกลายเป็นขยะ นำ�กลับมาทำ�เป็น ของใช้ใหม่ นำ�มาเพิ ่มความสวยงาม ใส่ไอเดียใหม่ ๆ โดยยัง ไม่ถงึ กับต้องนำ�ไป Recycle ซึง่ เป็นการนำ�เศษวัสดุมาพัฒนาเป็นวัสดุ หรื อ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ หม่ โ ดยที่ ก ระบวนการผลิ ต จะไม่ ซั บ ซ้ อ นและ ผลิตภัณฑ์ใหม่นั้นมีคุณภาพดีเทียบเท่าของเดิม”

และท่านสุดท้าย ผศ.ดร.รัตนาวรรณ มั่งคั่ง ผู้เชี่ยวชาญ ด้านสิ่งแวดล้อม และเป็นผู้อํานวยการศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทาง

วารสารอุตสาหกรรม / 29


โดยได้ อ าจารย์ จ ากมหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า พระนครเหนื อ และมหาลั ย วิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ มาให้ คำ�แนะนำ�ต่าง ๆ เพื่อจะทำ�ให้เข้าสู่ระบบ 3R คือ Reduce, Reuse และ Recycle หลั ง ได้ รั บ คำ � แนะนำ �ทางบริ ษั ท ได้ นำ � เศษยางทีเ่ หลือจากขัน้ ตอนการผลิตมารีดขึน้ รูปเป็นบล็อกยางปูพน้ื โดยนำ�มาปูพื้นทางเดินภายในบริษัท ฯ นอกจากนั้นยังมอบ แผ่นยางให้ อบต. เพื่อทำ�สนามเด็กเล่น มอบให้โรงเรียนและวัด นำ�ไปใช้ประโยชน์ดา้ นอืน่ ๆ ด้วย ทำ�ให้บริษทั ฯ ลดค่าใช้จา่ ยในการ จำ�กัดของเสียได้และลดโลกร้อน สร้างสิง่ แวดล้อมทีด่ ใี ห้กบั ชุมชน และทางบริษัท ฯ ยังได้ต่อยอดนวัตกรรม โดยเข้าร่วมโครงการ กับสถาบันไอแพร็กซ (iPRAX) เรื่องการทำ�แผ่นยางรองรางรถไฟ ซึ่งจะเห็นว่านอกจากจะช่วยลดค่าใช้จ่าย สร้างสิ่งแวดล้อมที่ดี ยังสามารถต่อยอดเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มในอนาคตได้อีกด้วย”

โครงการพัฒนาศักยภาพอุตสาหกรรมเชิงสรรค์ จัดขึ้นเพื่อ มุ่ ง หวั ง ให้ ผู้ ผ ลิ ต หั น มาให้ ค วามสำ � คั ญ กั บ ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ สิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นประโยชน์สำ�หรับตัวอุตสาหกรรมและประชาชน ทั่วไป ก็ได้แต่มุ่งหวังว่าผู้ผลิต เจ้าของอุตสาหกรรมจะร่วมมือกัน ก่ อ ให้ เ กิ ด อุ ต สาหกรรมเชิ ง สร้ า งสรรค์ ใ ห้ เ พิ่ ม มากขึ้ น เพราะนั่ น หมายถึงการมีส่วนร่วมพัฒนาออกแบบสร้างสรรค์วัสดุเหลือใช้ให้ เกิดเป็นนวัตกรรมใหม่ เพื่อช่วยกันดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม ลดมลพิษทั้ง ทางตรงและทางอ้อม ส่งผลดีทั้งต่อสังคมและเศรษฐกิจ คุณภาราดา ประสงค์สุข จากบริษัท ซิสเท็ม คอมโพเน้น ท์ (ไทยแลนด์) จำ�กัด กล่าวถึงการเข้าร่วมโครงการ 3R ของกระทรวง อุตสาหกรรมว่า “บริษัท ซิสเท็ม คอมโพเน้นท์ (ไทยแลนด์) จำ�กัด ทำ�กิจการ เกีย่ วกับผลิตภัณฑ์ยางขึน้ รูป เกีย่ วกับอะไหล่ชนิ้ ส่วนยานยนต์ เครือ่ งใช้ ไฟฟ้า เครื่องใช้อิเล็กทรอนิกส์ ส่งโรงงานผู้ประกอบการทั้งในประเทศ และต่างประเทศ ซึ่งในขั้นตอนการผลิตของบริษัทไม่ว่าจะเป็นการ ขึ้นรูปและกระบวนการทำ�งานต่าง ๆ นั้นจะเหลือเศษวัสดุมากมาย ที่เหลือทิ้ง ทำ�ให้เสียค่าใช้จ่ายไปกับขั้นตอนนี้สูงมาก ทางบริษัท ฯ ได้ รั บ ข่ า วสารว่ า มี โ ครงการนี้ ขึ้ น จึ ง ตั ด สิ น ใจเข้ า ร่ ว มโครงการ

30 / วารสารอุตสาหกรรม

คุณจารึก รัตน์ยศ จากบริษัท คาเซ็ม แมชชินเนอรี่ แอนด์ ทู ล ส์ จำ � กั ด กล่ า วถึ ง การเข้ า ร่ ว มโครงการ 3R ของ กระทรวงอุ ต สาหกรรม “บริ ษั ท ฯ ดำ � เนิ น กิ จ การผลิ ต ชิ้ น ส่ ว นอะไหล่ จ ากเหล็ ก บริ ก ารงานโลหะ กลึ ง ชุ บ ตั ด พั บ ซึ่ ง จากขั้ น ตอนการผลิ ต จะเหลื อ เศษเหล็ ก ทองเหลื อ ง ทองแดง รวมถึ ง สิ น ค้ า ที่ ต ายแล้ ว หรื อ สิ น ค้ า ที่ ไ ม่ ส ามารถ นำ � มาฉี ด ขึ้ น รู ป ขายได้ แ ล้ ว ซึ่ ง โรงงานเราจะมี ป ริ ม าณมาก จะทิ้งก็เสียดาย จะขายก็ถูก เก็บไว้ก็ไม่สร้างประโยชน์ แต่หลัง ได้เข้าร่วมโครงการ 3R ของกระทรวงอุตสาหกรรม คือ Reduce, Reuse และ Recycle ทำ�ให้ได้แนวคิดว่าจะนำ�สิ่งของเหลือใช้ มาทำ�ให้เกิดมูลค่าเพิม่ ได้อย่างไร โดยทางบริษทั ฯ ได้น�ำ เศษเหล็ก ที่เหลือมาขึ้นรูป ทำ�เป็นแม่พิมพ์สำ�หรับฉีดกล่องขึ้นมาสำ�หรับใส่ ชิ้นงานส่งมอบให้ลูกค้า และได้รับความสนใจจากลูกค้า มีการสั่ง ซื้อกล่องจากทางบริษัท ฯ ทำ�ให้มีรายได้เพิ่มจากการรีไซเคิลด้วย แม้กระทัง่ บิลเล็ตทีเ่ อาไว้เช็กงานทีม่ ลี กั ษณะเป็นวงกลม ซึง่ ถ้าซือ้ ราคาประมาณ 30,000 บาท ทางบริษทั จึงใช้เศษก้านเอ็นมิลทีห่ กั มาเจียรขึน้ รูปใส่คา่ ใหม่ เพือ่ ทำ�เป็นบิลเล็ตไว้ใช้ โดยขอคำ�ปรึกษา จากกระทรวงวิทยาศาสตร์เพื่อให้ได้ค่าวัดที่ถูกต้อง ซึ่งประหยัด ต้ น ทุ น ได้ ม าก อยากเชิ ญ ชวนให้ ส ถานประกอบการให้ ค วาม สนใจกับของเหลือใช้ นำ�มาพัฒนาสร้างมูลค่าเพิ่มและลดต้นทุน การผลิต ทั้งยังช่วยสร้างสภาพแวดล้อมที่ดีด้วย” ซึ่ ง การดำ � เนิ น โครงการดั ง กล่ า ว นอกจากจะมุ่ ง เน้ น การพัฒนาศักยภาพเชิงสร้างสรรค์ด้านสิ่งแวดล้อม โดยการนำ� วัสดุเหลือใช้มาพัฒนาให้เกิดคุณค่า เพิ่มมูลค่า และลดปัญหา สิ่งแวดล้อม ยังมุ่งเน้นเรื่องการมีส่วนร่วมของภาครัฐ ชุมชน และภาคอุ ต สาหกรรม ให้ เ กิ ด การพั ฒ นาอย่ า งต่ อ เนื่ อ งและ ยั่งยืน โดยเฉพาะผู้ประกอบการที่อยู่ในห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) ต้นทาง กลางทาง และปลายทาง ให้สามารถรวมตัวกัน เพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการและลดต้นทุนค่าใช้จ่ายอย่างมี ประสิทธิผลด้วย


Industry News

“อุตสาหกรรม” ร่วมทัพ “สมคิด” โรดโชว์ EEC ญี่ปุ่น ดึง METI ช่วย ปรับโครงสร้าง 10 อุตสาหกรรม S-Curve พร้อมจับมือเมืองโกเบและ ฟุกุชิมา ดันอุตสาหกรรมเครื่องมือแพทย์ นำ�ร่องเป็นอุตสาหกรรมแรก

มื่อเร็ว ๆ นี้ ดร.อุตตม สาวนายน

รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงอุตสาหกรรม

ดร.พสุ โลหารชุ น อธิ บ ดี ก รมส่ ง เสริ ม

อุตสาหกรรม พร้อมคณะของ ดร.สมคิด

จาตุ ศ รี พิ ทั ก ษ์ รองนายกรั ฐ มนตรี และ คณะรัฐมนตรีด้านเศรษฐกิจ ร่วมเดินทาง

ไปยังประเทศญี่ปุ่น เพื่อหาทางสร้างความ ร่ ว มมื อ ทางเศรษฐกิ จ ด้ า นต่ า ง ๆ โดย

กระทรวงอุตสาหกรรมได้ผลักดันให้มีการ ลงนามบั น ทึ ก ความเข้ า ใจและบั น ทึ ก แสดง

เจตจำ � นง จำ � นวน 5 ฉบั บ เพื่ อ แสดง ค ว า ม ร่ ว ม มื อ ใ น ก า ร พั ฒ น า ร ะ เ บี ย ง

เศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) และ

การปรับโครงสร้างอุตสาหกรรมเป้าหมาย การพั ฒ นาอุ ต สาหกรรมเครื่ อ งมื อ และ

อุ ป กรณ์ ท างการแพทย์ รวมทั้ ง การ ส่งเสริมความร่วมมือในการพัฒนา SMEs ของทั้งสองประเทศด้วย

สำ�หรับการลงนามบันทึกความเข้าใจ ของกระทรวงอุตสาหกรรมกับประเทศ ญี่ปุ่น ที่รองนายกรัฐมนตรี ดร.สมคิด จาตุศรีพทิ กั ษ์ ให้เกียรติเป็นสักขีพยาน ในครั้ ง นี้ มี 2 ฉบั บ มี ร ายละเอี ย ด ของการลงนาม ดังนี้ วารสารอุตสาหกรรม / 31


1. บั น ทึ ก ความเข้ า ใจ (MOU) ระหว่ า งกรมส่ ง เสริ ม อุ ต สาหกรรม กั บ จั ง หวั ด ฟุ กุชิม ะซึ่ง เป็ น หนึ่ง ในศู น ย์ ก ลางของ อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ ซอฟต์แวร์ และเป็นแหล่งเทคโนโลยี ด้านเลนส์ (Lens) ทีส่ �ำ คัญของญีป่ นุ่ การบันทึกความเข้าใจฉบับนี้ มุง่ เน้นในเรือ่ งการพัฒนาและเชือ่ มโยง SMEs ของไทยและญีป่ นุ่ ซึง่ ประเทศไทยได้มีการกำ�หนดให้อตุ สาหกรรมเครื่องมือและอุปกรณ์ ทางการแพทย์ เป็นอุตสาหกรรมเป้าหมาย S-Curve ในอนาคตอีก ด้วย ซึง่ การลงนามความร่วมมือกับจังหวัดฟุกชุ มิ ะในครัง้ นี้ ก่อให้เกิด เวทีแห่งความร่วมมือในหลากหลายรูปแบบ ตั้งแต่การแลกเปลี่ยน องค์ความรูใ้ นด้านเทคโนโลยีเครือ่ งมือแพทย์ การส่งเสริมเชือ่ มโยง ธุรกิจ การพัฒนาสถานประกอบการและบุคลากรในภาคอุตสาหกรรม รวมไปถึงการส่งเสริมให้เกิดการต่อยอดงานวิจยั และพัฒนา อันจะ ก่อให้เกิดนวัตกรรมทีส่ ามารถนำ�ไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ได้จริง 2. บนั ทึกความเข้าใจ (MOU) 3 ฝ่ายระหว่างสำ�นักงานพัฒนา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุม่ คลัสเตอร์อตุ สาหกรรมเครือ่ งมือ แพทย์ของสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และสมาคมส่งเสริม อุตสาหกรรมอุปกรณ์และเครื่องมือแพทย์แห่งฟุกุชิมา (FMDIPA) ซึง่ การลงนามในฉบับนีจ้ ะก่อให้เกิดความร่วมมือทีเ่ ป็นรูปธรรม ใน การส่งเสริมอุตสาหกรรมเครือ่ งมือแพทย์ โดยหน่วยงานทัง้ 3 แห่ง จะร่วมมือกันต่อยอดงานวิจยั และพัฒนาผลิตภัณฑ์เครือ่ งมือแพทย์ SMEs ทัง้ ของไทยและฟุกชุ มิ ะ ให้มมี าตรฐานเพือ่ การขยายตลาดทัง้ ในไทย อาเซียน และญีป่ นุ่ โดยใช้หอ้ งปฏิบตั กิ ารทดสอบเครือ่ งมือ แพทย์ทม่ี มี าตรฐานสากล (เช่น มาตรฐาน ISO 17025 หรือ Good Laboratory Practices และ ISO 10993 หรือ Bio-compatibility) และยังมีการสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาการวิจยั การพัฒนาร่วมกัน ระหว่างไทยและญี่ป่นุ เพื่อพัฒนานวัตกรรมด้านเครื่องมือแพทย์ การพัฒนาบุคลากรสำ�หรับห้องปฏิบัติการให้มีคุณภาพ การทำ� กิจกรรมเชือ่ มโยงธุรกิจ (Business Matching) โดยกลุม่ ผูป้ ระกอบการ

32 / วารสารอุตสาหกรรม

กลุม่ คลัสเตอร์อตุ สาหกรรมเครือ่ งมือแพทย์ของสภาอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย และชักจูงให้อตุ สาหกรรมเครือ่ งมือแพทย์ของฟุกชุ มิ ะ มาลงทุนใน EEC ด้วย ด้าน นายวินจิ ฤทธิฉ์ ม้ิ ประธานกลุม่ คลัสเตอร์อตุ สาหกรรม เครือ่ งมือแพทย์ของสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และเจ้าของ บริษทั ออโธพีเซีย จำ�กัด เปิดเผยว่าเครือ่ งมือแพทย์และสุขภาพนับ เป็นกลุ่มอุตสาหกรรมหนึ่งที่มีความสำ�คัญและมีศักยภาพทางด้าน เศรษฐกิจ ก่อให้เกิดรายได้และการจ้างงานเป็นจำ�นวนมาก โดยธุรกิจ ผลิตเครือ่ งมือแพทย์และสุขภาพมีอตั ราการเติบโตเฉลีย่ ปีละ 10% ใน ปี 2558 มีมลู ค่าอุตสาหกรรม 149,300 ล้านบาท แบ่งเป็นยอดนำ�เข้า 56,745 ล้านบาท หรือคิดเป็น 38% ขณะทีย่ อดการส่งออกมีมลู ค่า 92,603 ล้านบาท หรือ 62% เมือ่ เทียบตัวเลขของการใช้ในประเทศ จึงเป็นโอกาสของผู้ผลิตไทยจะขยายธุรกิจเพิ่มขึ้น โดยการลงนาม ความร่วมมือกับฟุกชุ มิ ะในครัง้ นี้ จะช่วยในเรือ่ งมาตรฐานและเพิม่ ความน่าเชือ่ ถือของอุตสาหกรรมเครือ่ งมือแพทย์ของไทยด้วย ก่อนการลงนาม MOU ทัง้ สองฉบับดังกล่าว รัฐมนตรีวา่ การ กระทรวงอุตสาหกรรม ยังได้เป็นประธานในการประชุมหารือกับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งหมด เพื่อรับทราบปัญหาและอุปสรรคที่ ผูป้ ระกอบการ SMEs และอุตสาหกรรมเครือ่ งมือแพทย์ของทัง้ สอง ประเทศจะนำ�ข้อมูลที่ได้มาพัฒนาให้เกิดประโยชน์ในการส่งเสริม อุตสาหกรรมเครื่องมือแพทย์ พร้อมทั้งร่วมกันพัฒนากรอบความ ร่วมมือและต่อยอดแนวทางทีไ่ ด้ด�ำ เนินการไว้แล้ว ทัง้ นีก้ ารประชุม หารือและการลงนามบันทึกแสดงเจตจาํ นงจะช่วยเชือ่ มโยงเศรษฐกิจ ของไทยกับญีป่ นุ่ โดยเฉพาะกลุม่ อุตสาหกรรมเป้าหมายในอนาคต ให้สามารถจับมือกันเพื่อก้าวเข้าสู่ห่วงโซ่อุปทานในโลกยุคดิจิทัลได้ อย่างยัง่ ยืนต่อไป


Smart

Management Wongnai แอปพลิเคชันไทย ที่เติบโตได้แบบก้าวกระโดด

สำ�

ห รั บ ผู้ ที่ ชื่ น ช อ บ ท่ อ ง โ ล ก ไ ซ เ บ อ ร์ เ พื่ อ ห า ร้ า น

อาหารอร่อย ๆ ก็คงจะไม่มีใครไม่รู้จักแอปพลิเคชัน

ของ Wongnai อย่างแน่นอน ซึ่งในอดีตนั้น Wongnai เป็น แค่เพียงแอปพลิเคชันทีม ่ ไี ว้สำ�หรับลูกค้าเพือ ่ หาร้านอาหารตาม

พิกด ั ต่าง ๆ เท่านัน ้ แต่ในปัจจุบน ั Wongnai ได้ขยายธุรกิจเติบโต กลายเป็นผู้ให้บริการส่งอาหารอีกรายหนึ่งที่คู่แข่งจะมองข้าม ไม่ได้เลย ซึง ่ ในฉบับนีเ้ ราจะทำ�ความรูจ้ ก ั กับหนึง ่ ในสีข่ องผูก ้ อ ่ ตัง ้ แอปพลิเคชัน Wongnai กัน

Wongnai (วงใน) เป็นเว็บไซต์และแอปพลิเคชันอันดับ 1 ในไทย ในเรือ่ งร้านอาหาร ร้านเสริมสวยและสปา ให้บริการค้นหาและ รีววิ ร้านอาหาร ความงาม สปา บิวตี้ ผ่านช่องทางดิจทิ ลั หลากหลาย ช่องทาง ได้แก่ เว็บไซต์ Wongnai.com และแอปพลิเคชันใน โทรศัพท์มอื ถือ ทัง้ บนระบบ iOS และ Android โดย Wongnai ช่วยให้ผใู้ ช้สามารถค้นหาร้านอาหารทัว่ ประเทศไทย ตามสถานที่ และประเภทได้ในทุกเวลาทีต่ อ้ งการ โดยมีรวี วิ จากผูใ้ ช้ทไ่ี ปกิน ด้วยตัวเองจริงๆ มาช่วยประกอบการตัดสินใจ ซึง่ รีววิ นีเ้ องทีเ่ ป็น ตัวขับเคลือ่ นหลักของการเติบโตทีผ่ ใู้ ช้งาน Wongnai สามารถ เขียนความคิดเห็น อัปโหลดรูปภาพ และให้คะแนนร้านอาหาร ใน Wongnai ได้ตลอดเวลา

วารสารอุตสาหกรรม / 33


เริ่มเปิดใช้งานครั้งแรกในปี 2553 สร้างและดูแลโดยบริษัท วงใน มีเดีย จำ�กัด เว็บไซต์วงในปรากฏในสือ่ ในฐานะเว็บไซต์แนะนำ� หลายแหล่ง รวมถึงแอปพลิเคชันแนะนำ�สำ�หรับโทรศัพท์สมาร์ทโฟน ในปัจจุบัน Wongnai ครองตลาดระบบค้นหาและรีวิว ร้านอาหารในไทย โดยมีจำ�นวนสมาชิกลงทะเบียนกว่า 2,500,000 ราย และมีฐานข้อมูลร้านอาหารกว่า 200,000 ร้านในไทย นอกจากนี้ Wongnai ยังให้บริการที่นอกเหนือจากเรื่อง อาหาร แต่ยงั ครอบคลุมในเรือ่ งของ Lifestyle เพือ่ ก้าวไปสู่ Lifestyle Platform จึงได้แตกยอดออกไปสู่ Wongnai Beauty (วงในบิวตี้ www.wongnai.com/beauty) ซึง่ ได้ท�ำ การเปิดตัวอย่างเป็นทางการ ไปเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2557 ให้คุณสามารถหาจุดหมายแห่ง ความงามได้ง่ายเพียงปลายนิ้ว ด้วยคลินิก สปา และซาลอนกว่า 10,000 แห่งทัว่ กรุงเทพ ฯ ไม่วา่ จะอยากทำ�เล็บ ทำ�ผม นวดตัว หรือ กระทั่งศัลยกรรมความงาม Wongnai Beauty ก็มีรีวิวไว้ให้ครบ ทัง้ ยังมีสว่ นลดพิเศษสำ�หรับสมาชิกและสามารถติดต่อร้านเพือ่ แจ้ง ความจำ�นงการจองได้ทันทีผ่านโทรศัพท์มือถือและแท็บเล็ตใน มือคุณ

34 / วารสารอุตสาหกรรม

ปัจจุบัน Wongnai ได้มี Local Offices จำ�นวน 6 แห่ง ทั่วประเทศไทย โดยเมื่อต้นปี 2557 ได้เริ่มจากการตั้งออฟฟิศและ ซื้อกิจการเว็บไซต์ น้าอ้วนชวนหิว จังหวัดเชียงใหม่ ในวันที่ 1 พฤษภาคม ปี 2558 ได้มีการตั้งออฟฟิศใหม่ที่ จังหวัดชลบุรีและยังเข้าซื้อ Facebook Page ชลบุรี กินอะไรดี? มา เป็นของวงใน หนึ่งปีถัดมาในเดือนกุมภาพันธ์ 2559 Wongnai ได้ ขยายเปิดออฟฟิศโซนภาคใต้ที่หาดใหญ่และภูเก็ต พร้อมเปิดตัว แฟนเพจ ร้านอร่อยหาดใหญ่ by Wongnai และ “ภูเก็ตหรอยแรง by Wongnai” ในวันที่ 1 กรกฎาคม 2559 Wongnai ได้เข้าซื้อเว็บไซต์ ท้องถิ่น อย่าง WeKorat.com ภายใต้ชื่อ WeKorat by Wongnai เมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2560 Wongnai ได้เปิดตัวออฟฟิศ แห่งใหม่ในต่างจังหวัดลำ�ดับที่ 6 ที่จังหวัดขอนแก่น โดยใช้ชื่อ Facebook Page ว่า ขอนแก่น กินอะไรดี? และในวันที่ 4 เมษายน 2560 ได้จดั งาน Wongnai Connect 2017 เปิดตัวการทำ�งานร่วมกัน กับ LINE, Alipay และ TrueMoney เปิด 3 บริการใหม่ก้าวสู่ ความเป็น Lifestyle Platform เต็มรูปแบบ


โดย Wongnai ได้จบั มือเป็นพันธมิตรกับสามบริษทั ยักษ์ใหญ่ ได้แก่ LINE Thailand เปิดให้บริการ Wongnai LINEMAN Delivery สั่งอาหารแบบเดลิเวอรีออนไลน์บน Wongnai เอาใจคนเมืองที่ ไม่สะดวกในการเดินทาง สามารถสัง่ อาหารออนไลน์ได้งา่ ย สะดวก และรวดเร็ว โดย Wongnai เป็นผู้สนับสนุนข้อมูลร้านอาหารและ ติดต่อร้านอาหารทั้งหมดให้กับ LINEMAN Delivery พร้อมกันนี้ Wongnai ยังได้ร่วมทำ�ธุรกิจกับ Alipay ผู้ให้ บริการจ่ายเงินออนไลน์ของจีนในเครือ Alibaba และ TrueMoney ในการจ่ายเงินผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ หรือ e–Payment ให้กับ ร้านอาหารผ่านแอปพลิเคชันที่เปิดให้บริการสำ�หรับนักท่องเที่ยว ชาวจีนที่เดินทางมาท่องเที่ยวในไทย เพื่ออำ�นวยความสะดวก ให้แก่นักท่องเที่ยวชาวจีนสามารถใช้จ่ายผ่าน Alipay Wallet กับ ร้านอาหารในประเทศไทย นอกจากนี้ ยั ง มี บ ริ ก ารใหม่ แ ละเป็ น ก้ า วสำ � คั ญ ที่ จ ะพา ไปสู่ Lifestyle Platform เต็มรูปแบบ ซึ่ง Wongnai Cooking คือ ช่องทางใหม่ที่ตอบโจทย์คนรักการทำ�อาหาร ภายในแอปพลิเคชัน Wongnai ผูท้ อี่ ยากค้นหาสูตรอาหารสามารถเข้ามาค้นหาได้ทงั้ ตาม ประเภทอาหาร วัตถุดบิ วิธที �ำ และในแต่ละสูตรอาหารจะมีบอกทัง้ ส่วนผสม วิธีทำ� รวมทั้งมีวิดีโอสอนทำ�อีกด้วย รวมทั้งในอนาคต จะเปิดให้สมาชิก Wongnai ส่งสูตรอาหารกันเข้ามา ให้คะแนน และรีวิวสูตรอาหาร เพื่อให้เป็น Community คนรักอาหารภายใน Wongnai อีกด้วย คุณยอด ชินสุภัคกุล CEO Wongnai ได้เปิดเผยว่า เทคนิค ของ Wongnai คือ การทำ�ให้เกิดประโยชน์กับผู้บริโภค และต้อง ค้นหาบน Search Engine ให้เจอได้ง่าย ถูกต้องและแม่นยำ�ที่สุด สามารถแก้ปัญหาให้คนหมู่มากได้ และสุดท้ายผู้บริโภคจะอยู่กับ แบรนด์ของคุณ แต่ทั้งนี้อาจจะไม่ต้องเป็นกลุ่มคนหมู่มากก็ได้ ขอแค่มีกลุ่มเป้าหมายที่ชัดเจน อย่าง Wongnai เองเฉพาะเจาะจง เพื่อคนไทยเท่านั้น หรือบริษัท บิลค์ เอเชีย จำ�กัด ก็เจาะจง เฉพาะกลุ่มก่อสร้างและมีความชำ�นาญเฉพาะด้าน เป็นต้น ส่วน การรุกตลาด CLMV นั้น Wongnai ยังมองว่าไม่น่าสนใจเท่ากับ ต่างจังหวัดของไทย ซึ่ง Wongnai ได้เปิดบริการที่เชียงใหม่ ชลบุรี ภูเก็ต หาดใหญ่ และโคราช โดยปัญหาในเมืองไทยยังมีอีกมากที่ Wongnai ต้องรีบแก้ไขปัญหา ไม่เพียงแค่นั้น Wongnai ยังสามารถ เป็นตัวช่วยส่งเสริมในเรื่องของการท่องเที่ยวได้ด้วยเช่นกัน

นอกจากนี้ SMEs ที่มีหน้าร้านหลายสาขาต้องปรับตัว สู่ อ อนไลน์ (ลงขายในอี ค อมเมิ ร์ ซ ) เพราะอี ค อมเมิ ร์ ซ ไม่ มี ค่ า ตกแต่งร้าน ไม่มคี า่ เช่าร้าน เป็นต้น แต่อาจจะมีตน้ ทุนของการเริม่ ต้น เท่านั้นเอง รวมถึงตอนนี้ Wongnai เองมี Facebook Page ที่มี คนติดตาม 2 ล้านกว่าคน รวมถึงช่องทางอื่น ๆ อาทิ IG, Twitter เป็นต้น ดังนั้นจึงมีมุมมองต่อการวัดผลบนออนไลน์ว่า 1. จำ�นวน Like Page แต่ปัจจุบันนี้อาจจะไม่ค่อยได้ผลมากเท่าไหร่เพราะ เหมือนมีคนมุงแต่ไม่มีคนฟัง 2. Reach สามารถบ่งบอกได้ว่า Content ดีหรือไม่ และ 3. Share เพราะยิ่งแชร์มากก็เหมือน คุณประสบความสำ�เร็จเบื้องต้นแล้ว ที่สำ�คัญคือต้องคอยวัดผล เสมอ ช่วงแรกอย่าคาดหวังว่าลงทุน 10,000 บาท แล้วจะได้กลับมา 10,000 บาท เพราะ Wongnai ก็ไม่ได้ประสบความสำ�เร็จใน ช่วงแรกเช่นกัน และทุกวันนีย้ งั มีการลงโฆษณาอยูบ่ า้ งหลังจากเปิด ให้บริการมา 6 ปี ส่วนประเด็นการทำ� Content คุณยอดแนะนำ�ว่า ต้อง ค่อย ๆ สะสม Content ไปเรื่อย ๆ เพราะแรก ๆ คงยังไม่มีใคร มองเห็นคุณแน่นอน แต่ถ้าคุณไม่มี Content เลยก็ไม่มีสิทธิ์เกิด อาทิ หากขายกล้วยไม้ต้องไปดูว่าคนมีการค้นหากล้วยไม้พันธุ์ใด บ้าง และทำ� Content ตามที่คนค้นหา รวมถึงเพิ่มอัลบั้มรูปพร้อม ประวัติกล้วยไม้ ทำ�วิดีโอจัดดอกกล้วยไม้ และสร้างแรงบันดาลใจ จากกล้วยไม้ ซึ่งช่วงแรก ๆ ของการทำ� Content ต้องให้ความรู้ใน สิ่งที่ผู้บริโภคต้องการก่อน นอกจากนี้ Content ของ Wongnai มาจากการให้คนทั่วไป สามารถเขียนรีววิ เองได้ ส่วนของ Wongnai จะเขียนเฉพาะ Content ที่คิดว่าน่าสนใจ อาทิ การรวบรวมร้านกาแฟในจังหวัดเชียงใหม่ จำ�นวน 50 ร้านที่ถูกรีวิวเข้ามา แล้วนำ�มามัดรวมกันเป็นก้อนหรือ ทำ�หน้าที่เป็น Editor เป็นต้น และยังได้ทำ� Content สอนทำ�อาหาร ซึ่งก็ได้รับการตอบรับเป็นอย่างดี จะเห็นได้จากการแชร์ Content การทำ�อาหารต่าง ๆ จากผู้ใช้สื่อ Social ที่ให้ความสนใจ ข้อมูลอ้างอิงจาก www.th.wikipedia.org, www.Smartsme.tv รูปประกอบ FB : WONGNAI, MATICHON ONLINE

นอกจากนี้ ยั ง มี มุ ม มองต่ อ การควบรวมกิ จ การของ อีคอมเมิร์ซด้วยกันซึ่งมองว่า ทั้งตลาด Delivery และ Voucher ยัง มีความน่าสนใจอยูม่ าก แต่อาจจะได้ก�ำ ไรทีไ่ ม่มากนักจึงต้องปิดตัวไป โดย Wongnai เองได้ร่วมกับ LINE ทำ�เป็น Order Delivery เป็น LINEMAN Production ที่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้บริโภค จากที่เคย สัง่ แต่อาหาร Fast Food ก็สามารถสัง่ เป็นอาหารประเภทอืน่ ๆ ได้ ด้วยเช่นกัน

วารสารอุตสาหกรรม / 35


Marketing

OPOAI อุตสาหกรรมเกษตร แปรรูปไทย ก้าวไกลสู่ Industry 4.0

ครงการพั ฒ นาขี ด ความสามารถการ

แข่ ง ขั น การแปรรู ป การเกษตรในภู มิ ภ าค

หรือ One Province One Agro-Industrial

Product (OPOAI) อยู่ภายใต้การกำ�กับดูแลของ กระทรวงอุตสาหกรรม ซึ่งเริ่มดำ�เนินงานตั้งแต่

ปี 2550 ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องมาจนถึง

ปั จ จุ บั น ในปี 2560 นี้ เกิ ด จากความพยายาม ของภาครัฐที่ได้น้อมนำ�ปรัชญาแนวคิดเศรษฐกิจ

พอเพียงตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

ฉบั บ ที่ 10 มาปรั บ ใช้ เ ป็ น แนวทางการผลิ ต เพื่ อ ทดแทนการนำ�เข้า โดยดึงศักยภาพของวัตถุดิบ

ในพื้นที่มาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ให้ สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาลในเรื่องการก้าวสู่

ประเทศไทย 4.0 ทีจ่ ะสร้างความมัน ่ คงอย่างยัง่ ยืน ให้กับประเทศในศตวรรษที่ 21

36 / วารสารอุตสาหกรรม


โดยในปี 2560 นี้ ทางโครงการได้เพิม่ แผนงานการพัฒนา อีก 1 แผน จากเดิม 7 แผน เป็น 8 แผน ประกอบด้วย แผนงาน

สิ่งที่ผู้ประกอบการจะได้รับ

1. การบริหารจัดการโลจิสติกส์

ลดต้นทุนโลจิสติกส์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 10

2. การเพิม่ ประสิทธิภาพการผลิต

เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต หรือลดต้นทุน ไม่น้อย กว่าร้อยละ 10

3. การปรับปรุงคุณภาพ และ พัฒนางาน

สร้ า งระบบการจั ด เก็ บ ข้ อ มู ล กระบวนการผลิ ต ควบคุมคุณภาพ เพือ่ ให้สามารถติดตามกระบวนการ ทำ�งานและแก้ไขปัญหาเองได้

4. การลดต้นทุนพลังงาน

ลดต้นทุนการใช้พลังงานได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 10

5. การยกระดับมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์/ระบบมาตรฐาน สากล

สามารถเตรียมความพร้อมเพือ่ ยืน่ ขอรับรองมาตรฐานได้ อย่างน้อย 1 ระบบ

6. กลยุทธ์ขับเคลื่อนการตลาด

มีแผนการตลาดสำ�หรับนำ�ไปปฏิบตั จิ ริงได้ 1 แผนงาน

7. การบริหารจัดการด้านการเงิน

ความรูค้ วามเข้าใจเกีย่ วกับบัญชีและการเงิน สามารถ นำ�ไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

8. การจัดการสถานประกอบการ ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ

สามารถพัฒนากระบวนการทำ�งาน ส่งเสริมกิจกรรม ของสถานประกอบการให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

สำ�หรับในปีงบประมาณ 2560 มีสถานประกอบการ SMEs อุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตรที่มีทุนจดทะเบียนไม่เกิน 200 ล้านบาททั่วประเทศเข้าร่วมโครงการกว่า 171 ราย ดร.สมชาย หาญหิ รั ญ ปลั ด กระทรวงอุ ต สาหกรรม เปิดเผยว่า “โครงการ OPOAI ได้จดั ทีมทีป่ รึกษาทีม่ คี วามเชีย่ วชาญ เฉพาะด้ า นเข้ า ไปให้ คำ � แนะนำ � สถานประกอบการที่ เข้ า ร่ ว ม โครงการ ผ่านแผนงานพัฒนาที่ครอบคลุมตลอดห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) ใน 8 แผนงาน ตามแผนการพัฒนาโครงการ OPOAI ของปี 2560 ซึ่งการทำ�งานของทีมที่ปรึกษาจะเข้าไป ศึกษาข้อมูลของสถานประกอบการ จากคณะผู้บริหารของสถาน ประกอบการ เพือ่ ดูวา่ สมควรพัฒนาในแผนงานไหนมากทีส่ ดุ เมือ่ ได้ข้อสรุปทางทีมที่ปรึกษาจะมีแผนการดำ�เนินงานให้ปฏิบัติจริง และติดตามผลพร้อมทั้งให้คำ�ปรึกษาเป็นระยะ ๆ รวมระยะเวลา ในการปฏิบัติงานโดยประมาณ 4-6 เดือน จึงจะเสร็จสิ้นโครงการ

จากผลการดำ�เนินงานในปี 2559 ในระยะเวลา 1 ปี สามารถลดต้ น ทุ น เพิ่ ม รายได้ และสร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม ให้ ส ถาน ประกอบการ ซึง่ วัดมูลค่าทางเศรษฐกิจเป็นตัวเงินได้มากกว่า 326 ล้านบาท” นายสมชายกล่ า วเพิ่ ม เติ ม ว่ า “ประโยชน์ ที่ ท างสถาน ประกอบการได้รับโดยตรงที่เห็นเด่นชัดที่สุดคือ ได้รับรู้ถึงข้อ บกพร่องของสถานประกอบการเองว่ามีข้อบกพร่องอะไรบ้าง ไม่ว่าจะเรื่องการผลิต การบริหารงาน และอื่น ๆ” ทั้งนี้เพื่อเป็นการขับเคลื่อนโครงการ OPOAI โดยทาง สำ�นักปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม ลงพืน้ ทีเ่ ยีย่ มสถานประกอบการ ที่เข้าร่วมโครงการภาคกลาง 2 แห่งประกอบด้วย 1. บริษัท พงษ์-ศราแมนูแฟคเจอริ่ง จำ�กัด ตั้งอยู่เลขที่ 39-1 หม่ทู ี่ 6 ตำ�บลสามพราน อำ�เภอสามพราน จังหวัดนครปฐม ประกอบกิจการประเภทแปรรูปอาหารจากเนือ้ สัตว์ เช่น ลูกชิน้ ปิง้ 2. บริษัท ศรีราชาฟาร์ม (เอเชีย) จำ�กัด ตั้งอยู่เลขที่ 336 หมู่ที่ 6 ถนนสุรศักดิ์ ตำ�บลสุรศักดิ์ อำ�เภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี ประกอบกิจการประเภทผลิตภัณฑ์เครื่องหนังจระเข้ นางศราลี พรอำ�นวย กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั พงษ์-ศรา แมนูแฟคเจอริ่ง จำ�กัด กล่าวว่า บริษัทเริ่มต้นธุรกิจด้วยเงินลงทุน 150 ล้านบาท ดำ�เนินธุรกิจผลิตลูกชิ้นหมูปิ้งแท้ 100% โดยจะสั่ง หมูจากแหล่งทีไ่ ด้มาตรฐานจากคูค่ า้ หลายรายในจังหวัดนครปฐม มีการจำ�หน่ายในระบบแฟรนไชส์ทั่วประเทศ และมีหน้าร้านตั้ง อยูต่ ามห้างต่าง ๆ มีกลุม่ ลูกค้าในประเทศ 100% บริษทั ได้เข้าร่วม โครงการ OPOAI ในปี 2560 ประเภทแผนงานที่ 3 ด้านการ ปรับปรุงคุณภาพพัฒนางาน เนื่องจากพนักงานขาดความเข้าใจ และการตัดสินใจอย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ผลลัพธ์ที่ได้จากการ เข้าร่วมโครงการที่ดำ�เนินงาน 2 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 ลดความสูญเสีย เนื้อหมูและลูกชิ้นในกระบวนการผลิต สามารถลดความเสียหาย ได้ 494,807 บาทต่อปี และกลุ่มที่ 2 ลดความสูญเสียบรรจุภัณฑ์ ในกระบวนการบรรจุลง 334,560 บาทต่อปี สามารถลดต้นทุน และเพิ่มรายได้ให้สถานประกอบการถึง 829,367 บาทต่อปี นายสุ เ มธ ปั ญ ญาสาคร กรรมการผู้ จั ด การบริ ษั ท ศรี ร าชาฟาร์ ม (เอเชี ย ) จำ � กั ด กล่ า วว่ า บริ ษั ท ดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ ผลิตภัณฑ์เครื่องหนังจระเข้ครบวงจร ได้เข้าร่วมโครงการ OPOAI ใน 2 แผนงานประกอบด้วยแผนงานที่ 3 ด้านการปรับปรุงคุณภาพ และการพัฒนางาน และแผนงานที่ 6 ด้านกลยุทธ์การขับเคลื่อน ในแผนงานที่ 3 ด้านการปรับปรุงคุณภาพและพัฒนางาน ประสบปัญหาต้องใช้แรงงานมีฝีมือ มีทักษะและความประณีตสูง

วารสารอุตสาหกรรม / 37


ในการตัดเย็บต้องใช้เวลานาน ซึ่งแนวทางการแก้ไขได้ให้มีการจัดเก็บ ข้อมูลเวลาทีส่ ญ ู เสีย และผลกระทบจากเครือ่ งจักรปอกผ่าหนังเสีย เพือ่ นำ�ไปวิเคราะห์ความสูญเสียเชิงเศรษฐศาสตร์ และภายหลังปรับปรุง แก้ไขได้ผลลัพธ์ดขี นึ้ และแผนงานที่ 6 ด้านกลยุทธ์ขบั เคลือ่ นการตลาด จากปัญหาทีพ่ บคือ การวิเคราะห์ SWOT เปรียบเทียบกับคูแ่ ข่ง พบจุดอ่อน ด้านผลิตภัณฑ์และการตลาด คือคุณภาพอะไหล่อยู่ในระดับกลาง การแสดงโลโก้ของแบรนด์ยังไม่โดดเด่น ช่างเย็บมีฝีมือที่แตกต่างกัน สถานที่จัดจำ�หน่ายไม่เป็นที่ รู้จัก และขาดภาพลั กษณ์ ในการขาย จึงได้รับการปรับปรุงภาพลักษณ์และจัดทำ�การตลาดให้ถึงผู้บริโภค ซึ่งภายหลังการปรับปรุงภาพลักษณ์ผลิตภัณฑ์ดีขึ้น มีการปรับโชว์รูม ใหม่ ฝึกอบรมพนักงานขายให้มีความเป็นมืออาชีพ และจัดกิจกรรม ส่งเสริมการขายควบคู่ด้วย โดยสามารถเพิ่มยอดขายได้มากขึ้น ในปัจจุบันกระทรวงอุตสาหกรรมยังคงมีนโยบายที่จะผลักดัน อุตสาหกรรมการเกษตรแปรรูปให้มีความมั่นคง เข้มแข็ง สามารถเกิด การแข่งขันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังจะเห็นจากแผนงานของโครงการ ที่มีการเพิ่มองค์ความรู้ในการปรับปรุงคุณภาพของกระบวนการผลิต การสนับสนุนการเข้าถึงแหล่งเงินทุนของผูป้ ระกอบการ และการขยาย ช่องทางการจัดจำ�หน่ายในต่างประเทศ ดังที่ประสบความสำ�เร็จลุล่วง ไปแล้วในหลาย ๆ แผนงาน เพราะฉะนั้นในส่วนของผู้ประกอบการเองก็ควรมีการตื่นตัว และมีความพร้อมที่จะพัฒนาผลงานหรือผลิตภัณฑ์ให้มีประสิทธิภาพ เพี ย งพอที่ จ ะสามารถนำ � เข้ า ไปสู่ ต ลาดแข่ ง ขั น ได้ ซึ่ ง กระทรวง อุตสาหกรรมยินดีที่จะเป็นสื่อกลางให้กับผู้ผลิตทั่วประเทศ ไม่ว่าจะ เป็นโครงการพัฒนาขีดความสามารถการแข่งขันการแปรรูปการเกษตร ในภูมิภาคนี้ หรือโครงการอื่น ๆ ที่จะก่อตั้งขึ้นในภายภาคหน้าก็ตาม

38 / วารสารอุตสาหกรรม


ปั

จจุ บั น เทรนด์ ธุ ร กิ จ มี ก าร

เปลี่ ย นแปลงอยู่ ต ลอดเวลา

ธุรกิจทีอ ่ ยูร ่ อดคือธุรกิจทีป ่ รับตัวทัน

วั น นี้ ผู้ ป ระกอบการจะเชื่ อ มั่ น ในตั ว สิ น ค้ า ที่ ผ ลิ ต ออกสู่ ต ลาดอย่ า ง

เดี ย วไม่ เ พี ย งพอ การมองธุ ร กิ จ

e-Commerce Trends

เทรนด์การตลาด ออนไลน์ 2017 LINE@

แบบองค์ ร วมและเข้ า ใจพฤติ ก รรม ผู้บริโภคเป้าหมายจึงมีความจำ�เป็น

อย่ า งยิ่ ง ด้ ว ยเพราะโลกออนไลน์ ห รื อ สั ง ค ม อ อ น ไ ล น์ ที่ เ รี ย ก ว่ า

“โซเชียลเน็ตเวิรก ์ ” มีอท ิ ธิพลสูง ส่งผล

ต่อการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะไลฟ์ ส ไตล์ ที่ มี ค วามเป็ น

ตัวตนสูงในสังคมยุคดิจท ิ ล ั จึงมีความ

สำ�คัญในการนำ�มาวางแผนกลยุทธ์

การตลาด

LINE@

LINE@

LINE@ LINE@

LINE@

LINE@ LINE@

LINE@

วารสารอุตสาหกรรม / 39


จั บ ตามองแอปพลิ เ คชั น LINE เติ ม เต็ ม ช่องทางการสื่อสารเข้าถึงผู้บริโภค ปัจจุบันประเทศไทยมีผู้ใช้ LINE เกิน 20 ล้านบัญชี ซึ่งมาก เป็นอันดับสองรองจากญี่ปุ่น โดย LINE มองตัวเองเทียบกับ Social Network ระดับโลกอย่าง Facebook และ Twitter โดยเทียบจาก ฐานผู้ใช้ LINE ที่มีอยู่ถึง 300 ล้านบัญชีทั่วโลก ดังนั้นการกำ�หนด ยุทธศาสตร์ของ LINE ในการทำ�ตลาดประเทศต่าง ๆ คือการเข้า มาใกล้ชิดกับลูกค้าท้องถิ่นให้มากที่สุด ทั้งการเปิดสำ�นักงานสาขา ในประเทศนั้น ๆ โดยทำ�เนื้อหาที่เป็นภาษาของประเทศนั้น และ จับมือเป็นพันธมิตรคูค่ า้ กับธุรกิจท้องถิน่ จากสถิตขิ อง LINE เปิดเผยว่า มีผู้ใช้ 67.9% อ่านข้อความที่ส่งมาโดย Official Account ของ แบรนด์ ซึ่งสามารถนำ�มากำ�หนดแนวทางการตลาดผ่าน LINE เป็นการผสมผสานระหว่างสื่อหลัก (Above the Line) กับช่องทาง อื่น ๆ ที่ไม่ใช่สื่อหลัก (Below the Line) ออกมาเป็นการอยู่ตรงกลาง คือ Through the Line กลยุทธ์ LINE ในช่วงแรกคือการแจก สติกเกอร์ นับเป็นผู้บุกเบิกการส่งสติกเกอร์ ซึ่งประสบความสำ�เร็จ อย่างงดงาม และได้กลายเป็นเครือ่ งมือทางการตลาดให้หลายองค์กร ที่มีเป้าหมายต้องการสื่อสารถึงลูกค้าโดยตรงและรวดเร็ว อย่างเช่น เมืองไทยประกันชีวิต มียอดดาวน์โหลดสติกเกอร์ 1.5 ล้านครั้งใน วันแรก โออิชิแจกสติกเกอร์วันแรกมีคนส่งต่อถึงกัน 5.3 ล้านครั้ง เป็นต้น อีกก้าวหนึ่งของการพัฒนา LINE คือ การเปิดบัญชี “LINE ประเทศไทย” ซึ่งมีผู้ติดตามเกือบ 9 ล้านคน ส่งผลต่อการกำ�หนด ยุทธศาสตร์ของ LINE ในการสือ่ สารแบบเข้าถึงตรงคน ตรงกลุม่ และ รวดเร็ว โดยมีการประสานหรือเชื่อมโยงที่เรียกว่า Connect ที่เป็น จุดแข็งของ LINE ทั้งการสื่อสาร (Chat), การเปิดช่องทาง (Channel หรือ Official Account) และฟีเจอร์อย่าง Home/Timeline

40 / วารสารอุตสาหกรรม

LINE@ คื อ บั ญ ชี LINE สำ � หรั บ ธุ ร กิ จ หรื อ บริ ษั ท เพื่ อ ส่งเสริมกิจกรรมหรือส่งข่าวสารข้อมูล มีฟังก์ชั่นมากมายที่จะช่วย ให้ ลู ก ค้ า รู้ จั ก และทราบถึ ง ความพิ เ ศษของบริ ษั ท แบรนด์ และ ผู้ประกอบการ SMEs ซึ่งได้พัฒนาครอบคลุมการตอบสนองความ ต้องการของผู้ประกอบการรายย่อยด้วยเช่นกัน LINE@ จึงสะดวกต่อการเป็นช่องทางที่สามารถใช้ติดต่อ กับลูกค้าได้โดยตรง ไม่ว่าจะเป็นการพูดคุย การรับคำ�สั่งซื้อสินค้า ประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์หรือบริการในโปรโมชั่นต่าง ๆ จุดเด่น ของ LINE@ อีกข้อคือสามารถรับเพื่อนได้ไม่จำ�กัดจำ�นวน ต่างจาก Line ที่เราจะสามารถเพิ่มเพื่อนในการพูดคุยได้เพียง 5,000 คน เท่านั้น นอกจากนี้การลงทุนใช้งาน LINE@ จะประหยัดค่าใช้จ่าย ได้มากกว่าการใช้งาน LINE Official Account ที่มีค่าใช้จ่ายสูงกว่า ดังนั้นไม่ว่าคุณจะเป็นเจ้าของธุรกิจ SMEs หรือธุรกิจส่วนตัว ก็ สามารถเข้าถึงการใช้งาน LINE@ ได้ นอกจากนีย้ งั สามารถตัง้ ระบบ ตอบกลับอัตโนมัติในคำ�ถามสำ�คัญที่ลูกค้าถามเข้ามาเป็นประจำ�ได้ ซึ่งจะช่วยลดปัญหาการตอบคำ�ถามลูกค้าที่ไม่ทั่วถึงได้เป็นอย่างดี


และหากต้องการส่งข่าวสารข้อมูลใหม่ ๆ ของบริษัทหรือสินค้า ก็ สามารถกระจายข่าวถึงทุกคนที่ติดตาม LINE@ ได้ภายในครั้งเดียว โดยส่งข้อความฟรี 1,000 ข้อความต่อเดือน หรือจะพัฒนาการ กระจายข่าวไปยังกลุ่มลูกค้าที่มากขึ้นก็สามารถทำ�ได้เช่นกัน ในแง่ ข องการนำ � จุ ด เด่ น ของ LINE@ มาใช้ กั บ งานขาย ออนไลน์ ผูป้ ระกอบธุรกิจก็สามารถทำ�ได้หลายลักษณะด้วยกัน ได้แก่ 1. การใช้ LINE@ เป็นช่องทางการสื่อสารกับกลุ่มลูกค้า เนื่องจากในชีวิตประจำ�วันของผู้คนในปัจจุบันมักจะมีการพูดคุย ผ่าน Line กันเป็นประจำ�อยู่แล้ว เพียงแต่ Line ถูกออกแบบมาเพื่อ ให้พูดคุยกับกลุ่มบุคคลที่เรารู้จักคุ้นเคยกันในจำ�นวนไม่มาก ซึ่งเมื่อ ได้มีการพัฒนา LINE@ ออกมาเพื่อให้รองรับกับการสื่อสารไปยัง กลุ่มคนจำ�นวนมากขึ้น จึงเหมาะสมสำ�หรับการเป็นช่องทางในการ สือ่ สารทีม่ ากกว่า Line โดยในการสือ่ สารนัน้ ผูส้ ง่ สามารถส่งข้อความ ในรูปแบบต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นข้อความ รูปภาพ วิดีโอ ให้กับคนที่ ติดตามพร้อม ๆ กันได้เป็นจำ�นวนมาก หรือเรียกว่า “Broadcast” นั่นเอง ซึ่งในการส่งข่าวสารในลักษณะนี้ เราสามารถกระจายข่าวถึง ทุกคนที่ติดตาม LINE@ ของเราได้ภายในครั้งเดียว โดยส่งข้อความ ฟรีได้ 1,000 ข้อความต่อเดือน หรือจะพัฒนาการกระจายข่าว ไปยังกลุ่มลูกค้าที่มากขึ้นโดยมีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมก็สามารถทำ�ได้ เช่นกัน นอกจากนี้ใน LINE@ ยังสามารถกำ�หนดหน้าบัญชี โดยใส่

รายละเอียดของหน้าร้านลงไปได้ ไม่ว่าจะเป็นโปรโมชั่นพิเศษ หรือ กิจกรรมต่าง ๆ ที่จัดให้ลูกค้าได้ร่วมสนุก เป็นต้น โดยสิ่งที่สร้าง ความสะดวกให้กบั ผูใ้ ช้งานเป็นพิเศษก็คอื การทีส่ ามารถตัง้ ข้อความ อัตโนมัตเิ ป็นข้อมูลให้กบั ลูกค้า หรือการตัง้ เวลาในการโพสต์ขอ้ ความ ที่ต้องการ ซึ่งจะช่วยให้ไม่เสียโอกาสการขายได้เป็นอย่างดี 2. ในส่วนของการบริหารจัดการ LINE@ สิ่งที่พัฒนาขึ้นใน LINE@ อีกประการหนึ่งคือ การที่ LINE@ ลดข้อจำ�กัดในการบริหาร ร้านค้า โดยไม่จำ�เป็นจะต้องใช้คนคนเดียวในการบริการ เพราะ สามารถกำ�หนดแอดมินที่จะตอบลูกค้าได้มากกว่า 1 คนในบัญชี รายชือ่ (Account) จึงทำ�ให้หลาย ๆ ธุรกิจสามารถหาคนมาช่วยตอบ คำ�ถามลูกค้าได้อย่างสะดวกรวดเร็วมากขึน้ เพราะสามารถตอบผ่าน อุปกรณ์ได้หลากหลายทั้งมือถือ แทบเล็ต และคอมพิวเตอร์ เป็นต้น ซึ่งก็จะช่วยลดปัญหาการตอบคำ�ถามลูกค้าที่ไม่ทั่วถึงได้เป็นอย่างดี 3. ความปลอดภัยในการใช้ LINE@ ผู้ประกอบการสามารถ มั่ น ใจได้ ว่ า ในการใช้ คำ � หรื อ ข้ อ ความจะไม่ มี ก ารละเมิ ด สิ ท ธิ ส่วนบุคคลอย่างแน่นอน เนื่องจาก LINE@ มีฟีเจอร์ที่จะคอยบล็อก ข้อความจากผู้ใช้งานได้ หากข้อความที่ผู้ใช้อื่นนั้นมีลักษณะของ การละเมิดสิทธิส่วนบุคคล ทั้งในด้านของคุณธรรมและจริยธรรม ซึง่ LINE@ จะทำ�การตรวจสอบเนือ้ หาทัง้ หมดในข้อความเพือ่ ปกป้อง มาตรฐานของการรักษาความปลอดภัยให้เกิดขึ้นกับผู้ใช้ทุกราย

ตารางเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่าง Line Chat / Line Official / Line@ ความแตกต่างระหว่าง Line Chat, Line Official และ Line@ ประเภทการใช้งาน การแชต

ผู้ดูแลระบบ ค่าใช้จ่าย การตอบกลับ สติกเกอร์

ผู้ใช้

Line Chat

Line Official

Line@

การแชตระหว่างบุคคลหรือแบบกลุ่ม

เป็นการกระจายข่าวสารให้คนที่ติดตาม และ On Air ได้รับสาร

เป็นการกระจายข่าวสารให้คนที่ติดตามและ คนที่มีการพูดคุยกันแบบ 1 ต่อ 1

คนเดียว

กำ�หนดผู้ดูแลระบบได้หลายคน

กำ�หนดผู้ดูแลระบบได้หลายคน

ฟรี

หลักล้าน

มีแพ็กเกจให้เลือกใช้งาน

ตอบกลับด้วยตัวเอง

ตัง้ ข้อความตอบกลับอัตโนมัตหิ รือตอบเองได้

ตัง้ ข้อความตอบกลับอัตโนมัตหิ รือตอบเองได้

ใช้สติกเกอร์ที่ซื้อมาหรือสามารถสร้าง สติกเกอร์แบบครีเอเทอร์ได้

มีสติกเกอร์เป็นของตัวเอง

-

บุคคลทั่วไป

บริษัท องค์กรขนาดใหญ่

ธุรกิจ SMEs หรือผู้ที่ต้องการให้มีผู้ติดตาม

จากจุดเด่นของ LINE@ ผู้ประกอบการสามารถนำ�มา วางแผนต่ อ ยอดได้ ทั้ ง แผนการตลาดและการขายโดยสื่ อ สาร โปรโมชั่นต่าง ๆ ไปถึงลูกค้าโดยตรง และสามารถจัดงบประมาณ การลงทุนที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายได้อย่างชัดเจนและคุ้มค่า ซึ่งใน LINE@ มีเครื่องมือที่ช่วยให้สามารถเก็บข้อมูลความต้องการ

ของลูกค้าได้อย่างง่ายดาย ด้วยเครื่องมือที่เรียกว่า Poll ที่จะช่วย สำ�รวจความคิดเห็นของลูกค้าในประเด็นที่ต้องการได้ ดังนั้นการใช้ LINE@ จึงนับเป็นเครื่องมือการตลาดที่เพิ่มศักยภาพการขายที่ ร้อนแรงมากในขณะนี้

วารสารอุตสาหกรรม / 41


Investment Hub ไม่ว่าวันนี้ SMEs จะอยู่ในสถานะไหน จะตั้งต้น...เติบโต...ต่อยอด แต่ถ้าขาดเงินทุนจะทำ�อย่างไร?

วั

นนี้รัฐบาลให้ความสำ�คัญกับ SMEs โดยเฉพาะ

การเข้าถึงแหล่งเงินทุน การขอสินเชื่อกับสถาบัน

การเงิ น ซึ่ ง ดู จ ะเป็ น เรื่ อ งง่ า ยหาก SMEs รายนั้ น มี ความพร้อมทางสินทรัพย์ค้ำ�ประกัน แต่จะเป็นเรื่องยาก

มากหาก SMEs รายนั้นขาดสินทรัพย์และคนค้ำ�ประกัน สินเชื่อ Investment Hub พามารู้จัก บรรษัทประกัน สินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม ที่ดำ�เนินงานด้วยความ มุ่งมั่น ค้ำ�ประกันสินเชื่อเพื่อผู้ประกอบการไทย

รู้จัก บสย.

บรรษัทประกันสินเชือ่ อุตสาหกรรมขนาดย่อม (บสย.) เป็นสถาบันการเงิน เฉพาะกิจของรัฐ ภายใต้การกำ�กับดูแลของกระทรวงการคลัง ทำ�หน้าทีช่ ว่ ยเหลือ วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ผ่านกลไกการค้�ำ ประกันสินเชือ่ สร้าง ความเชื่อมั่นให้กับสถาบันการเงินในการอนุมัติสินเชื่อ ช่วยให้ผู้ประกอบการ SMEs ที่มีศักยภาพ แต่ขาดหลักประกัน หรือหลักประกันไม่เพียงพอได้รับวงเงิน ที่เพียงพอกับความต้องการ อีกทั้งสามารถกระจายสินเชื่อไปยังอุตสาหกรรม ขนาดกลางและขนาดย่อมทั่วประเทศได้เร็วขึ้น เพิม่ ความสะดวกให้ผปู้ ระกอบการ SMEs สามารถยืน่ เรือ่ งขอสินเชือ่ ผ่าน ธนาคารทีท่ �ำ ธุรกรรมได้โดยตรง ซึง่ ธนาคารจะดำ�เนินการประสานวงเงินการอนุมตั ิ สินเชื่อร่วมกับ บสย. ในฐานะหน่วยงานค้ำ�ประกันสินเชื่อให้ SMEs

42 / วารสารอุตสาหกรรม


ขั้นตอนการขอใช้บริการ บสย.

BANK

SMEs

1. ยื่นคำ�ขอสินเชื่อ 4. ให้สินเชื่อ บสย.

2. ยื่นคำ�ขอประกัน 3. ให้หนังสือค้ำ�ประกัน

บริการค้ำ�ประกันสินเชื่อ โดยจัดแบ่ง ผู้ประกอบการเป็น 3 กลุ่มหลัก

• ผู้ประกอบการ Startup และนวัตกรรม

ผูป้ ระกอบการ Start-up เป็นธุรกิจใหม่ทดี่ �ำ เนินกิจการไม่เกิน 3 ปี โดยพิจารณาจากการจดทะเบียนนิตบิ คุ คล หรือการจดทะเบียน การค้า หรือผูป้ ระกอบการนวัตกรรมทีม่ กี ารนำ�เทคโนโลยีมาใช้สร้าง ความแตกต่างจากเดิม เช่น การปรับปรุงพัฒนาสินค้า บริการหรือ กระบวนการ โดยได้รบั การรับรองการมีนวัตกรรม หรือเทคโนโลยีจาก ธนาคาร หรือหน่วยงานของรัฐ ได้แก่ สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.), สำ�นักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (สนช.) เป็นต้น • ผู้ประกอบการทั่วไป • ผู้ประกอบการรายย่อย

บสย. ร่วมดูแลผู้ประกอบการ SMEs โครงการค้ำ�ประกันสินเชื่อให้ SMEs ที่เป็นลูกค้าของธนาคาร และสถาบันการเงินของรัฐ เป็นการทำ�งานร่วมกัน ซึง่ การที่ บสย.เข้า มาค้ำ�ประกันสินเชื่อนี้ เป็นการสร้างความมั่นใจให้สถาบันการเงิน ในการปล่อยสินเชื่อมากขึ้น เพราะไม่ต้องกังวลกับปัญหาหนี้สูญ

เป้าค้ำ�ประกันสินเชื่อ SMEs ปี 2560 ตามมติคณะรัฐมนตรี ตั้งเป้าปี 2560 ช่วย SMEs เข้าถึง แหล่งทุนมูลค่า 102,500 ล้านบาท โดยครึ่งปีแรกมียอดที่ บสย. ค้ำ�ประกันสินเชื่อร่วมกับธนาคารไปแล้ว 2 หมื่นล้านบาท เชื่อว่า ครึง่ ปีหลังยอดค้�ำ ประกันจะสูงขึน้ โดยธนาคารต่าง ๆ เริม่ จัดกิจกรรม การตลาดกระตุ้นการปล่อยสินเชื่อให้ SMEs รวมถึงความร่วมมือ กับ SME Bank ตามนโยบายการขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้วย “กองทุน พัฒนาเอสเอ็มอีตามแนวประชารัฐ วงเงิน 20,000 ล้านบาท” และ สินเชื่อ SMEs Tranformation Loan วงเงิน 15,000 ล้านบาท กู้ได้ รายละไม่เกิน 15 ล้านบาท ระยะเวลากูย้ มื ไม่เกิน 7 ปี ปลอดชำ�ระคืน เงินต้นสูงสุดไม่เกิน 12 เดือน อัตราดอกเบีย้ ต่�ำ 3% คงที่ 3 ปีแรก ปี ที่ 4-7 อั ต ราดอกเบี้ ย MLR ต่ อ ปี สำ � หรั บ กรณี กู้ ไ ม่ เ กิ น 5 ล้านบาท สามารถให้ บสย.ค้ำ�ประกันได้โดยไม่ต้องมีหลักทรัพย์ เป็นการให้ความช่วยเหลือผู้ประกอบการ SMEs ที่จดทะเบียนใน รูปแบบของนิตบิ คุ คลทีไ่ ด้รบั ผลกระทบด้านเศรษฐกิจทีท่ �ำ ให้กจิ การมี ความต้องการเงินทุนหมุนเวียนเพือ่ เพิม่ ความเข้มแข็ง และสนับสนุน ให้ SMEs เติบโตเข้าสู่ยุคอุตสาหกรรม 4.0 และ SMEs 4.0 ขอขอบคุณข้อมูล : บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม (บสย.) สำ�นักงานใหญ่ อาคารชาญอิสสระ ทาวเวอร์ 2 ชั้น 16-18 เลขที่ 2922/243 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท์ 0 2890 9988 โทรสาร 0 2890 9900, 0 2890 9800

วารสารอุตสาหกรรม / 43


มองไปข้างหน้า...กับปลัดสมชาย คิดให้แตกก็ทำ�ให้ต่างได้

มือ ่ วันที่ 24 พฤษภาคม ทีผ ่ า่ นมา จังหวัด สงขลาจัดให้มีการมอบสินเชื่อรายแรก ของกองทุนพัฒนาเอสเอ็มอีตามแนวประชารัฐ หรือรู้จักทั่วไปว่ากองทุนสองหมื่นล้าน วันนั้น มีผู้มารับมอบสินเชื่อในกองทุน SMEs อื่น ๆ

44 / วารสารอุตสาหกรรม

เช่น กองทุนฟื้นฟูธุรกิจ กองทุนสินเชื่อน้ำ�ท่วม ภาคใต้ ฯลฯ รวมกันกว่า 40 ราย แต่ละราย ก็มีความโดดเด่นที่ต่างกันออกไป สามารถเป็น แบบอย่างให้ SMEs รายอื่นเรียนรู้ได้


ผมมีโอกาสคุยกับผู้บริหารของบริษัท เอ. บิล. อาร์ท. อินดัสเตรียล จำ�กัด ผู้ผลิตปะเก็นเครื่องยนต์ ที่ได้รับสินเชื่อ 10 ล้านบาท โดยแยกเป็นของกองทุนพัฒนาเอสเอ็มอีตามแนว ประชารัฐ 3 ล้านบาท และสินเชื่อ SMEs Transformation อีก 7 ล้านบาท บริษัทผ่านร้อนผ่านหนาวทางธุรกิจมาพอสมควร จากฝี มื อ ของคุ ณ พ่ อ ที่ มี ค วามชำ � นาญในการตั ด ปะเก็ น (แผ่นเชื่อม) ที่วรจักรจนมีบริษัทผู้ผลิตยานยนต์ขนาดใหญ่เข้า มาติ ด ต่ อ เพื่ อ ร่ ว มลงทุ น ผลิ ต ปะเก็ น ให้ ซึ่ ง กิ จ การดำ � เนิ น ไป ด้วยดี ขยายตัวรวดเร็ว จากความสำ�เร็จและการขยายตัวของ การผลิตจักรยานยนต์ทำ�ให้มีคนเข้ามาเล่นในธุรกิจนี้มากขึ้น แต่เมื่อบริษัทต่างประเทศที่เข้ามาร่วมลงทุนในธุรกิจเกิดความ ขัดแย้งและเงื่อนไขทางธุรกิจทำ�ให้ลูกค้าเดิมที่เป็นต่างชาติหันไป ใช้บริการบริษัทชาติเดียวกัน ทำ�ให้ยอดขายหายหมด อย่างไร ก็ตาม ด้วยความไม่ย่อท้อต่อโชคชะตาและความมั่นใจในฝีมือ ความรู้ประสบการณ์ที่ร่วมธุรกิจกับบริษัทผลิตจักรยานยนต์มา จึ ง หั น มาผลิ ต ปะเก็ น เครื่ อ งยนต์ ข องจั ก รยานยนต์ ที่ เ ป็ น ความชำ�นาญเดิมที่ตัวเองสะสมมา และพัฒนาสินค้าให้แตกต่าง จากเดิมในทางที่ดีกว่าทั้งคุณภาพและราคา และหันไปขายใน ตลาดซ่ อ มจั ก รยานยนต์ แ ทนการพึ่ ง พาการขายบริ ษั ท ผู้ ผ ลิ ต จักรยานยนต์เหมือนแต่ก่อน ความแตกต่างของผลิตภัณฑ์ทบ่ี ริษทั ฯ พัฒนานัน้ มาจาก การออกแบบที่ต้องปรับเปลี่ยนตลอดเวลา เพราะทุกปีบริษัท ผูผ้ ลิตจักรยานยนต์ทงั้ หลายจะมีรนุ่ ใหม่ ๆ ออกมาสูต่ ลาดปีละกว่า 25 รุ่น เพราะต้องแข่งขันและขยับอุปสงค์ให้เคลื่อนที่ตลอดเวลา ซึง่ ทางบริษทั ฯ ต้องทำ�การศึกษารายละเอียดเครือ่ งยนต์เหล่านัน้ ว่ า มี ส่ ว นไหนที่ ใ ช้ ป ะเก็ น บ้ า ง ก็ จ ะดู แ บบและออกแบบ แม่ พิ ม พ์ เ พื่ อ ผลิ ต ปะเก็ น ทุ ก ชิ้ น ในเครื่ อ งยนต์ นั้ น ๆ เพื่ อ ให้ บริษัท ฯ มีปะเก็นทุกแบบทุกชิ้นที่ใช้ในเครื่องยนต์จักรยานยนต์ ทุกรุน่ เพือ่ ให้ลกู ค้าไม่ตอ้ งหันไปหาผูผ้ ลิตรายอืน่ ๆ ซึง่ ในแต่ละปี บริษัท ฯ จึงต้องทำ�แม่พิมพ์ใหม่จำ�นวนมาก นอกจากนี้เพื่อให้ คุณภาพของสินค้าแตกต่างจากคู่แข่งรายอื่น ๆ จึงมีการพัฒนา และวิจัยอย่างต่อเนื่อง ว่าจ้างผู้เชี่ยวชาญจากญี่ปุ่นมาประจำ� ค้นคว้าหาวัตถุดิบที่เหมาะสำ�หรับเคลือบแผ่นโลหะ เพราะเมื่อ เอามาตัดเป็นปะเก็นแล้วจะมีคุณสมบัติเหมาะสมกับการใช้ใน ส่วนต่าง ๆ ของเครื่องยนต์ต่างกัน เพราะส่วนต่าง ๆ ของ เครือ่ งยนต์ตอ้ งการความทนทานอุณหภูมสิ งู และแรงดันมากน้อย ต่างกัน หรือแม้แต่ผวิ ของของเครือ่ งยนต์ทอ่ี าจผ่านการซ่อมแซม ขัดผิวตรงรอยต่ อ อาจไม่ เรี ย บ อาจต้ อ งใช้ ป ะเก็ น ที่ ผิ ว มี ส่ ว น เคลือบที่มีความยืดหยุ่นบ้างเพื่อให้สามารถปิดรอยไม่สม่ำ�เสมอ ของผิวหน้าเครื่องยนต์ที่ต้องนำ�มาประกบกัน แต่บางแห่งอาจ ต้องใช้ปะเก็นที่ผิวเรียบแต่ความร้อนสูง ดังนั้นปะเก็นส่วนนั้น ก็ใช้โลหะที่แข็งแรง หรือบางส่วนที่จุดเดียวกันมีปะเก็นหลาย คุณภาพให้ลูกค้าเลือกตามเกรดที่ต้องการ ทั้งนี้เพื่อต้องการเก็บ ทุกกลุม่ ตลาดให้หมด ดังนัน้ ปะเก็นทีบ่ ริษทั ฯ ผลิตจะมีหลายรูปแบบ และมี ค ุ ณ ภาพรวมถึ ง ราคาที ่ ต ่ า งออกไปตามแต่ ร ้ า น

ซ่อมจักรยานยนต์แต่ละแห่งต้องการ ซึ ่งปกติกว่าร้อยละ 70 คื อ ตลาดต่ า งประเทศและประเทศเพื่ อ นบ้ า นแถบนี้ ที่ สั่ ง ซื้ อ มากที่สุดคือ อินโดนีเซีย การวิจัยและพัฒนาการทำ�งานหนักที่ตอบโจทย์ตลาด และกลยุทธ์การผลิตที่สอดคล้องกับตลาดและหนีค่แู ข่ง รวมทั้ง วิสัยทัศน์ของผู้บริหารรุ่นใหม่ผสมกับฝีมือและความชำ�นาญ ของรุ่นเก๋า ทำ�ให้บริษัทแห่งนี้สามารถขยายตัวอย่างรวดเร็ว แต่ เ ต็ ม ไปด้ ว ยความมั่ น คงและสุ ขุ ม ยิ่ ง วั ต ถุ ดิ บ โดยเฉพาะ ยางคอมปาวด์ที่ใช้มีสูตรเฉพาะของบริษัท และโลหะผสมที่ใช้ทำ� แผ่นพื้นได้ผ่านการทดสอบอย่างรอบคอบ รวมทั้งการออกแบบ ที่ ทำ � ให้ ป ะเก็ น แต่ ล ะชิ้ น ที่ ใช้ ใ นแต่ ล ะส่ ว นของเครื่ อ งยนต์ มี คุณสมบัติเฉพาะตามวัตถุดิบที่ใช้ แต่น่าสนใจครับว่า ความนิยม ของสินค้าบริษัทนี้ทำ�ให้ผู้ค้าในจีนแอบไปจดทะเบียนยี่ห้อในจีน และเอามาเรียกค่าไถ่ คือเอาชือ่ ยีห่ อ้ ของเขามาขาย เพราะตอนนี้ หากคุณเอ๋จะเอาสินค้าเข้าไปขายในจีนในชื่อบริษัทที่ใช้อยู่ ต้อง เสียค่าลิขสิทธิ์ให้คนจดทะเบียน ซึ่งกฎหมายของเขาก็แปลก ๆ นะครับ SMEs หลายรายเข้าไปค้าขายกับจีนก็พอเป็นตัวอย่าง ในประสบการณ์แบบนี้ให้เห็นเสมอ อย่างไรก็ตามขนาดของ ตลาดจักรยานยนต์ในจีนทีม่ กี ว่า 15 ล้านคัน เป็นตลาดทีน่ า่ สนใจ คุณเอ๋จึงคิดว่าจะหาทางเข้าไปอีก แต่คงต้องเข้าไปในชื่อยี่ห้ออื่น และระมัดระวังมากขึ้นในเรื่องการลอกเลียน บทเรียนสำ�หรับ SMEs ครั้งนี้ ก็คือ การหาจุดได้เปรียบ ของตัวเองเหนือคู่แข่ง และที่สำ�คัญคือแข่งในเวทีที่เราได้เปรียบ การหาตลาดใหม่ ที่ เ ป็ น ตลาดที่ ไ ม่ ใช่ รั บ จ้ า งผลิ ต หรื อ OEM เหมือนเดิม ซึ่งอย่างไรก็ตามบริษัทชาติเดียวกันเขาก็คงเลือก ซื้ อ พวกเดี ย วกั น จึ ง ต้ อ งหั น มาพั ฒ นาตลาดใหม่ พร้ อ มกั บ พั ฒ นาคุ ณ ภาพโดยเน้ น คุ ณ ภาพของวั ต ถุ ดิ บ การออกแบบ และราคาเป็ น จุ ด แข็ ง ทำ � ให้ ส ร้ า งตลาดใหม่ ที่ แ ตกต่ า งไป จากตลาดเดิ ม ที่ เ คยทำ � ธุ ร กิ จ อยู่ นอกจากนี้ ใ นตลาดใหม่ ท่ี ตนเองเป็ น เจ้ า ของ ก็ ป กป้ อ งตลาดตั ว เองโดยการพั ฒ นา อย่ า งต่ อ เนื่ อ งและมี ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ หม่ ๆ ออกมาสม่ำ � เสมอ ความแตกต่ า งด้ า นคุ ณ ภาพเหนื อ คู่ แข่ ง และความครบถ้ ว น ของรายการสิ น ค้ า ทำ � ให้ เ ป็ น การวิ่ ง นำ � หน้ า และไม่ เ ปิ ด ช่องว่างทางการตลาดให้คู่แข่งนั่นเอง

วารสารอุตสาหกรรม / 45


Special Report

เติมเต็ม SMEs กับกิจกรรมคลินิกเอสเอ็มอีสัญจรแนวประชารัฐ

ร ะ เ ท ศ ไ ท ย มี วิ ส า ห กิ จ ข น า ด ก ล า ง

ภาครัฐ สถาบันการเงิน สถาบันการศึกษา

2.7 ล้ า นรายทั่ ว ประเทศ ดั ง นั้ น รั ฐ บาล

ๆ โดยเฉพาะการลดอุปสรรคด้านการเงินให้

และขนาดย่อม หรือ SMEs มากกว่า

ร่วมบูรณาการสนับสนุน SMEs ในด้านต่าง

จึ ง มี เ ป้ า ห ม า ย ที่ จ ะ ช่ ว ย เ ส ริ ม ค ว า ม

SMEs มีโอกาสเข้าถึงแหล่งทุนผ่านกองทุน

สอดคล้องกับนโยบายขับเคลื่อนเศรษฐกิจให้

สร้างความเข้มแข็งและยั่งยืนให้กับเศรษฐกิจ

แข็ ง แกร่ ง ให้ SMEs ก้ า วสู่ ”SMEs 4.0” ก้ า วสู่ “Thailand 4.0” โดยมี ห น่ ว ยงาน

46 / วารสารอุตสาหกรรม

พัฒนาเอสเอ็มอีตามแนวประชารัฐ นับเป็นการ ภายในประเทศ (Local Economy)


จากนโยบายรัฐบาล ที่อนุมัติการจัดตั้งกองทุนพัฒนา เอสเอ็ ม อี ต ามแนวประชารั ฐ เพื่ อ ช่ ว ยเหลื อ SMEs ให้ เ กิ ด ประสิทธิภาพและผลสัมฤทธิ์อย่างเป็นรูปธรรมได้ ภาครัฐโดย กระทรวงอุ ต สาหกรรมในฐานะหน่ ว ยงานหลั ก ที่ รั บ ผิ ด ชอบ ดู แ ลผู้ ป ระกอบการ SMEs จำ � เป็ น ต้ อ งสร้ า งความเข้ า ใจให้ ผู้ประกอบการได้เข้าใจถึงหลักการและวัตถุประสงค์ของกองทุน พัฒนาเอสเอ็มอีตามแนวประชารัฐ เพือ่ เสริมสร้างการรับรู้ ความ เข้าใจ และเพื่อช่วยเหลือเจ้าของธุรกิจ SMEs ให้เข้าถึงแหล่ง เงินทุนและองค์ความรู้ในทุก ๆ ด้าน เพื่อก้าวเข้าสู่ Smart SMEs ทั้งนี้เพื่อให้เกิดความเข้าใจแก่ผู้ประกอบการในพื้นที่เป้าหมาย จึงกำ�หนดให้มีการจัดกิจกรรม Road Show ในจังหวัดสำ�คัญ ทั่ ว ทุ ก ภู มิ ภ าค พร้ อ มทั้ ง เปิ ด คลิ นิ ก เอสเอ็ ม อี สั ญ จรเพื่ อ ให้ คำ�ปรึกษาแนะนำ� ลดข้อจำ�กัดและอุปสรรคต่าง ๆ โดยเฉพาะการ ขอสินเชื่อจากกองทุนพัฒนาเอสเอ็มอีตามแนวประชารัฐ และ ฉบับนี้ Special Report พาไปที่จังหวัดชลบุรีเพื่อติดตามกิจกรรม คลินกิ เอสเอ็มอีสญ ั จรแนวประชารัฐ พร้อมเยีย่ มชมผูป้ ระกอบการ ในจังหวัดชลบุรีมานำ�เสนอ เพื่อให้เห็นถึงแนวทางการพัฒนา ของผู้ประกอบการที่ผ่านเกณฑ์การคัดเลือกจากกองทุนพัฒนา เอสเอ็มอี

สร้างโดมเอาไว้ตากปลาเพื่อรักษาความสะอาด เป็นการรักษา คุณภาพและมาตรฐานการผลิต กองทุน ฯ นี้ต้องการขับเคลื่อน ผูป้ ระกอบการทีต่ อ้ งการพัฒนาเทคโนโลยี ส่งเสริมนวัตกรรมเพือ่ เพิม่ ผลผลิต ขยายโอกาสและเพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขัน บนเวทีการค้า”

โดยเมื่ อ วั น ที่ 13-14 มิ ถุ น ายน 2560 กระทรวง อุตสาหกรรมร่วมกับหน่วยงานบูรณาการได้จัดกิจกรรม “คลินิก เอสเอ็มอีสญ ั จรแนวประชารัฐ” ขึน้ ทีจ่ งั หวัดชลบุรี นับเป็นครัง้ ที่ 3 หลังจากได้นำ�ร่องไปแล้วที่จังหวัดสงขลา และจังหวัดเชียงใหม่ ในวันที่ 13 มิถุนายน ที่ผ่านมาได้เข้าเยี่ยมชม บริษัท อุดมธนชัยแปรรูปอาหาร จำ�กัด โดยมี นายพรเทพ การศัพท์ รองอธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กล่าวถึงการเยี่ยมชมโรงงาน ที่เข้าร่วมโครงการกองทุนพัฒนาเอสเอ็มอีตามแนวประชารัฐ ว่า “สืบเนื่องจากกระทรวงอุตสาหกรรมได้รับมอบหมายจาก รัฐบาลให้ดำ�เนินการกองทุนพัฒนาเอสเอ็มอีตามแนวประชารัฐ ขั บ เคลื่ อ นอุ ต สาหกรรมให้ เจริ ญ เติ บ โต เพิ่ ม มู ล ค่ า การผลิ ต สินค้าให้มีคุณภาพ โดยใช้นวัตกรรมพัฒนาสินค้าและบริการ ซึ่งกองทุน ฯ นี้จะเข้ามาช่วยพัฒนาผู้ประกอบการในด้านต่าง ๆ เช่น พัฒนาเครื่องมือ เครื่องจักร ตลอดจนนวัตกรรม เพื่อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพ ภายใต้ เ งื่ อ นไขที่ รั ฐ บาลเปิ ด ให้ กู้ ว งเงิ น ไม่เกิน 1 ล้านบาทต่อราย ในอัตราดอกเบี้ย 1 เปอร์เซ็นต์ ระยะ เวลาการกู้ 7 ปี โดยใน 3 ปีแรกจะเป็นแบบการปลอดชำ�ระ เงิน ต้น โรงงานที่ เ ยี่ ย มชมในวั นนี้ เ ป็ นโรงงานแรกที่ ไ ด้ รั บ เงิ น กองทุน ฯ การพามาเยี่ยมชมโรงงานวัตถุประสงค์เพื่อให้เห็น ถึ ง ศั ก ยภาพของบริ ษั ท และความมุ่ ง มั่ น ในการพั ฒ นาธุ ร กิ จ บริษัท อุดมธนชัยแปรรูปอาหาร จำ�กัด เป็นผู้ผลิตและจำ�หน่าย กะปิ โดยเข้าร่วมโครงการเพื่อพัฒนาโรงงานให้ได้มาตรฐาน อุตสาหกรรม มาตรฐาน GMP ซึ่งขณะนี้อยู่ในขั้นตรวจประเมิน ทั้งนี้บริษัท ฯ เตรียมจัดหาเครื่องจักรเพื่อเสริมการผลิต ซึ่งเป็น ไปตามวัตถุประสงค์หลักของกองทุน ฯ โดยนำ�เงินที่ได้ไปพัฒนา ด้านเครื่องจักรและนวัตกรรม เช่น ด้านสุขอนามัย มีการเตรียม

วันที่ 14 มิถนุ ายน 2560 ดร.อุตตม สาวนายน รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม เป็นประธานเปิดงานสัมมนาคลินกิ เอสเอ็มอีสัญจรแนวประชารัฐที่จังหวัดชลบุรี พร้อมมอบเงิน สินเชื่อให้แก่ผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ที่ได้รับการอนุมัติจากกองทุนฯ ณ โรงแรมบางแสน เฮอริเทจ โดย นายอุตตม กล่าวว่า กระทรวงอุตสาหกรรมมีมาตรการ ความช่ ว ยเหลื อ ผู้ ป ระกอบการ SMEs เช่ น การพั ฒ นาการ จัดการภายในองค์กรที่จะช่วยลดต้นทุนการผลิต เป็นต้น ซึ่ง กระทรวงอุตสาหกรรมได้ให้ความช่วยเหลือผูป้ ระกอบการ SMEs รวมถึงกำ�หนดยุทธศาสตร์เชื่อมโยงกับ Local Economy การจัด งบประมาณ การจัดกำ�ลังพลรองรับการดำ�เนินงาน ในพื้นที่ 4 จังหวัด ได้แก่ ชลบุรี ฉะเชิงเทรา ระยอง สมุทรปราการ โดยเฉพาะ ชลบุรีเป็นจังหวัดหลักทางด้านอุตสาหกรรมและการค้าขายของ ภาคตะวันออก มีโรงงานประกอบรถยนต์ โรงงานผลิตชิ้นส่วน อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ จึงได้รับการคัดเลือกให้เป็นพื้นที่เขต เศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor : EEC) ภาครัฐจึงให้ความช่วยเหลือด้านสินเชื่อ ดึงศักยภาพการ ค้าการลงทุน เพื่อก้าวไปร่วมทุนกับต่างประเทศ เป็นการบูรณา การภาครัฐและผู้ประกอบการ สุดท้ายนี้ผมขอขอบคุณทุกท่านที่ ช่วยกันสนับสนุนผู้ประกอบการ SMEs ให้มีความแข็งแกร่ง มี ความพร้อมก้าวสู่เวทีการค้าเพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจไปข้างหน้า ด้วยความมั่นคง มั่งคั่งและยั่งยืน ก้าวสู่ประเทศไทย 4.0”

นายสุรชาติ อุดมธนกุลชัย ผู้ประกอบการรุ่นที่ 3 ของ บริษัท อุดมธนชัยแปรรูปอาหาร จำ�กัด กล่าวถึงการเข้าร่วม โครงการกองทุนพัฒนาเอสเอ็มอีตามแนวประชารัฐว่า เป็นการ ศึ ก ษาปั ญ หาขององค์ ก ร ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ต้ อ งพั ฒ นาคุ ณ ภาพ เราต้ อ งการสร้ า งโดมซึ่ ง เป็ น แบบของกระทรวงพลั ง งานที่ สามารถควบคุ ม คุ ณ ภาพของวั ต ถุ ดิ บ ได้ จากนั้ น ได้ เข้ า ร่ ว ม อบรมเพื่อพัฒนาความรู้ โดยสำ�นักงานอุตสาหกรรมจังหวัด ส่งวิศวกรเยี่ยมชมโรงงานเพื่อดูแลระบบการผลิตและเทคโนโลยี ของโรงงาน เพื่อนำ�มาประยุกต์ให้สอดคล้องกับแผนการตลาด ซึ่งเป็นการแก้ปัญหาให้แก่ผู้ประกอบการ โดยผู้ประกอบการ ท่านใดสนใจสามารถสอบถามได้ที่ SME Bank หรือสำ�นักงาน อุตสาหกรรมจังหวัด กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ทัง้ นีท้ างหน่วยงาน จะมีผู้เชี่ยวชาญคอยให้คำ�แนะนำ�แก่ SMEs

นางสาวนิ ส ากร จึ ง เจริ ญ ธรรม รองปลั ด กระทรวง อุตสาหกรรม และโฆษกกระทรวงอุตสาหกรรม กล่าวถึงความ ร่วมมือในเรื่องของกองทุนเอสเอ็มอีว่า “การผนึกกำ�ลังเพื่อให้ ผูป้ ระกอบการ SMEs เข้าถึงแหล่งเงินทุน โดยความร่วมมือของ 3

วารสารอุตสาหกรรม / 47


ช่วยสนับสนุน SMEs และทีส่ �ำ คัญกองทุนฯ นีร้ ฐั บาลไม่ได้สนใจ แต่ธรุ กิจรายใหญ่ คนทีเ่ ป็นเจ้าของธุรกิจรายย่อยสามารถเติบโต จากโครงการนี้ได้ มาตรการทางการเงินทุกคนทราบดีว่าเงินคือ สายเลือดที่ทำ�ให้ธุรกิจขับเคลื่อน สิ่งที่สำ�คัญคือการนำ�เงินทุน ไปพัฒนาต่อยอด เพิ่มผลผลิต และสร้างรายได้ ซึ่งจะส่งผลต่อ เศรษฐกิจของประเทศด้วยเช่นกัน”

หน่วยงาน คือ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม สมาคมส่งเสริมผูป้ ระกอบการ วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม และ SME Bank ที่ทำ�งาน ร่ ว มกั น ในการที่ จ ะสนั บ สนุ น SMEs ในเรื่ อ งของมาตรการทาง การเงิน ซึ่งกระทรวงอุตสาหกรรมนำ�กองทุนพัฒนาเอสเอ็มอี ฯ มา ช่วยผูป้ ระกอบการเพือ่ นำ�ไปพัฒนาและต่อยอดธุรกิจ เป็นการเพิม่ ขีด ความสามารถทั้งด้านผลิตและการตลาด เป็นมาตรการที่รัฐต้องการ

48 / วารสารอุตสาหกรรม

นายธนาเศรษฐ์ ทองเดช ประธานกรรมการบริหาร บริษทั สยามโคชิ จำ�กัด ผูป้ ระกอบการทีเ่ ข้าร่วมในโครงการกล่าว ถึงแนวคิดในการเข้าร่วมกองทุน SMEs ว่า บริษัท สยามโคชิ จำ�กัด ก่อตั้งเมื่อปี 2550 ด้วยทุนจดทะเบียน 5 ล้านบาท ใน ปี 2558 บริษัทฯ ไปขอรับการส่งเสริมการลงทุนจากบีโอไอ ภาคตะวันออก ในกลุ่มผลิตภัณฑ์โลหะเครื่องจักร โดยเพิ่มทุน เป็น 17 ล้านบาท มีพื้นที่โรงงาน 4.2 ไร่ ตัวโรงงานมี 3,000 ตารางเมตร เมื่อปี 2551 ภาวะเศรษฐกิจบ้านเรามันแย่ผมเลย ขอรีไทร์ออกมา หลังจากนั้น 1 ปี ผมเริ่มกลับเข้ามาบริหาร โดยซื้อเครื่องจักรเก่าเอามาปรับปรุงระบบไฟฟ้า ปัจจุบันเรา มีเครื่องจักร 38 เครื่อง เมื่อปี 2559 เรามีโอกาสซื้อครื่องจักร เข้ามาเพื่อเพิ่มลักษณะการใช้งานให้มากขึ้น และเพิ่มความ มั่นใจให้กับลูกค้า ในปี 2560 เรามีระบบที่ต้องเปลี่ยนใหม่ และ ได้รับการสนับสนุนเงินทุนที่ช่วยเหลือ SMEs ต้องขอขอบคุณ ทางภาครัฐและกระทรวงอุตสาหกรรมทีเ่ ข้ามาช่วยเหลือผม ด้วย เงือ่ นไขพิเศษดอกเบีย้ 4 เปอร์เซ็นต์ ซึง่ เงินทุนทีไ่ ด้รบั ผมได้น�ำ ไป ปรับเปลี่ยนเครื่องจักรทำ�ให้สามารถเพิ่มกำ�ลังการผลิตได้มากขึ้น คาดว่าจะมียอดขายเพิม่ ขึน้ ประมาณ 10 เปอร์เซ็นต์ หรือประมาณ 13 ล้านบาท ในแง่ของการเพิ่มประสิทธิภาพผมยังเชื่อว่าถ้า เรามีนวัตกรรมเพิ่มขึ้นจะช่วยลดเรื่องของต้นทุนการผลิตได้ ผมขอบคุณทางภาครัฐอีกครั้งหนึ่งที่ช่วย SMEs ในการจัด กองทุน ฯ สนับสนุนเพื่อให้ SMEs มีโอกาสเพิ่มประสิทธิภาพ


และนำ�เงินส่วนหนึ่งจากกองทุนไปเพิ่มขีดความสามารถอีกระดับหนึ่ง โดยเฉพาะการซื้อเครื่องจักรใหม่ นอกจากนั้นยังมีการลงทุนเข้ามา ตอบโจทย์ เป็นตัวอย่างของการสนับสนุน SMEs จากกองทุนนี้ ซึ่ง มี ก ารกระจายโอกาสไปให้ ผู้ ป ระกอบการเกื อ บทุ ก จั ง หวั ด บริ ษั ท สยามโคชิ จำ�กัด เป็นตัวอย่างหนึ่งต่อผู้ประกอบการท่านอื่น ๆ หาก ผู้ประกอบการ SMEs ต้องการเข้าร่วมในโครงการนี้สามารถติดต่อ ขอรายละเอียดผ่านสำ�นักงานอุตสาหกรรมจังหวัดที่มีถึง 11 แห่ง ทั่วประเทศได้ หรือติดต่อมาที่กรมส่งเสริมอุตสาหกรรมได้เช่นกัน”

และเพิ่มผลผลิตได้มากขึ้น ผมอยากจะเชิญชวนผู้ประกอบการ SMEs เข้ามาใช้โครงการนี้เพื่อขับเคลื่อนประเทศไทย ผมคิดว่า เป็นโอกาสที่ดีที่รัฐบาลเข้ามาส่งเสริมครับ ดร.พสุ โลหารชุน อธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กล่าวเสริมว่า “กองทุนนี้มีความตั้งใจที่จะให้ภาคอุตสาหกรรม ภาคธุรกิจ SMEs ที่มีศักยภาพ ในส่วนของ บ. สยามโคชิ เป็น SMEs ที่มีศักยภาพอยู่แล้ว ก็เดินไปตามแนวทาง 4.0 โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ตรงกั บ ยุ ท ธศาสตร์ ข องจั ง หวั ด ชลบุ รี

นางเพ็ญทิพย์ พรจะเด็ด นายกสมาคมส่งเสริมผูป้ ระกอบการ วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม กล่าวสรุปถึงการดำ�เนินงานของ สมาคม ฯ ในส่วนของกองทุนเอสเอ็มอีว่า ในส่วนของสมาคมฯ ได้ ทำ � งานร่ ว มกั บ กองทุ น พั ฒ นา SMEs ในการนำ � รายละเอี ย ดและ ข้อกำ�หนดตามหลักเกณฑ์ของกองทุนฯ ไปทำ�ความเข้าใจกับสมาชิก เพื่อให้พัฒนาถูกต้องตามข้อกำ�หนด ซึ่งทางสมาคม ฯ ขอชื่นชมที่มี โครงการนี้เพราะเป็นการช่วย SMEs ให้มีโอกาสพัฒนาในด้านต่าง ๆ ทำ�ให้เกิดประโยชน์สงู สุดทัง้ กับ SMEs เอง และสามารถขยายผลไปใน หลายมิตทิ งั้ องค์กรท้องถิน่ และระดับประเทศ ซึง่ เชือ่ ว่านีค่ อื โอกาสของ SMEs ไทยที่จะเข้าถึงแหล่งทุนเพื่อการพัฒนาก้าวสู่ SMEs 4.0 โดย แท้จริง และทั้งหมดนี้คือรายงานพิเศษเติมเต็ม SMEs กับกิจกรรม คลิ นิ ก เอสเอ็ ม อี สั ญ จรแนวประชารั ฐ ที่ ก องทุ น พั ฒ นาเอสเอ็ ม อี มุง่ มัน่ เดินหน้าขับเคลือ่ นพัฒนาอุตสาหกรรมและผูป้ ระกอบการ SMEs ไทย ให้มคี วามพร้อมในการเพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขัน เพือ่ ให้ เศรษฐกิจแข็งแกร่งและเติบโตอย่างมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน

วารสารอุตสาหกรรม / 49


รู้ไว้ใช่ว่า

SMEs ก้าวสู่ Smart SMEs ด้วยการวางแผนภาษี

ารดำ�เนินธุรกิจอย่างมีประสิทธิภาพ

เป็ น เป้ า หมายสำ � คั ญ ของ SMEs

และทำ�ให้ธุรกิจเติบโตอย่างต่อเนื่อง

ผู้ประกอบการ SMEs จำ�เป็นต้องเรียนรู้ เทคนิ ค การดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ ในหลายด้ า น หนึง่ ในด้านทีส ่ ำ�คัญคือการวางแผนภาษี ซึง่

ผู้ป ระกอบการควรเรี ย นรู้แ ละทำ � ความ

เข้าใจเพือ ่ วางแผนให้เหมาะสมกับธุรกิจตัง้ แต่

เริ่ ม ต้ น หรื อ หากดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ แล้ ว ก็ ควรหมั่ น ตรวจสอบเพื่ อ ความถู ก ต้ อ ง

อย่ า ปล่ อ ยให้ เ ป็ น หน้ า ที่ ข องเจ้ า หน้ า ที่ ฝ่ายบัญชีเพียงอย่างเดียว

“ ”

ตั้งต้นธุรกิจได้... วางแผนภาษีให้เป็น

แนวทางการวางแผนภาษีส�ำ หรับผูป้ ระกอบการ SMEs โดยปกติแล้วจะมีกรอบการพิจารณาอยู่ 2 ส่วน คือ 1. ภาษีทางตรง เช่น ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีบำ�รุงท้องที่ ภาษีป้าย เป็นต้น 2. ภาษีทางอ้อม เช่น ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ ภาษีสรรพสามิต ภาษีศุลกากร เป็นต้น

ภาษีทางตรงตามข้อ 1 นั้น ผู้ประกอบการสามารถบริหาร วางแผนภาษีได้โดยจัดงบประมาณภาษีไว้ ซึง่ อาจจัดแบ่งเป็นเปอร์เซ็นต์ จากงบประมาณการหรืองบทดลอง ส่วนภาษีทางอ้อมตามข้อ 2 นัน้ ผูป้ ระกอบการ SMEs แต่ละรายจะมีการเสียภาษีธรุ กิจทีแ่ ตกต่างกันไป ตามประเภทของธุรกิจ เช่น ธุรกิจค้าปลีก จะมีสว่ นทีเ่ กีย่ วข้องกับภาษี ทางอ้อมค่อนข้างมาก ขณะที่ธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการนำ�เข้าส่งออก จะมีสว่ นของภาษีศลุ กากรมากกว่า ดังนัน้ ภาษีในข้อ 2 จึงผันแปรตาม ยอดขาย เจ้าของกิจการหรือผูป้ ระกอบการจึงควรติดตามและวางแผน ภาษีรว่ มกับเจ้าหน้าทีบ่ ญ ั ชี

50 / วารสารอุตสาหกรรม


ลดภาษีด้วยการทำ�บัญชีเดียว

เดื อ นพฤษภาคมของทุ ก ปี เ ป็ น ช่ ว งที่ ผู้ ป ระกอบการ ทุกรายจะต้องยื่นภาษีเงินได้นิติบุคคล เพื่อแสดงบัญชีรายได้ใน ช่วงปีทผ่ี า่ นมาพร้อมทัง้ ชำ�ระภาษีตามพิกดั ทีภ่ าครัฐกำ�หนดขึน้ ซึง่ ในช่วง 2-3 ปีท่ผี ่านมา รัฐบาลมีนโยบายลดภาษีเพื่อสนับสนุน กิจการของผูป้ ระกอบการ SMEs หลายมาตรการ โดยมาตรการแรก ที่ภาครัฐให้การสนับสนุนคือ มาตรการสนับสนุนให้ SMEs ทำ� บัญชีอย่างถูกต้อง ด้วยการขึ้นบัญชีผ้ปู ระกอบการ SMEs ที่จัด ทำ�บัญชีเดียว เพือ่ สนับสนุนให้ SMEs ดำ�เนินธุรกิจอย่างโปร่งใส และเสียภาษี ถูกต้ องตามกฎหมาย โดยมาตรการดั ง กล่ า วนั้น ภาครัฐกำ�หนดให้มีการยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลสำ�หรับกำ�ไร ทีเ่ กิดขึน้ จากการดำ�เนินการในปีภาษี 2559-2561 สำ�หรับนิตบิ คุ คลที่ มีก�ำ ไรไม่เกิน 3 แสนบาท และลดพิกดั ภาษีเหลือ 10% สำ�หรับกำ�ไร ส่วนทีเ่ กิน 3 แสนบาทในปี 2559 และ 15% ในปีถดั ไป นอกจากนี้ ยังสนับสนุนการจ้างงานนักเรียนนักศึกษาในสาขาบัญชีทไ่ี ด้รบั การ รับรองจากกระทรวงศึกษาธิการ ให้ทำ�งานบัญชี โดยสามารถนำ� ค่าจ้างงานของนักเรียนนักศึกษาดังกล่าว มาหักลดหย่อนได้ 2 เท่าของเงินเดือนค่าจ้างที่เกิดขึ้น และหากเป็นผู้ประกอบการที่ จดทะเบียนระหว่างปีภาษี 2558-2559 และอยูใ่ นกลุม่ อุตสาหกรรมใหม่

ที่รัฐบาลมีแผนผลักดันให้เป็นอุตสาหกรรมยุทธศาสตร์ของไทย (New Engine of Growth) ผูป้ ระกอบการ SMEs ในกลุม่ นีส้ ามารถ ขอใบรับรองจาก สวทช. และขอขึ้นทะเบียนผู้ประกอบการกับ กรมสรรพากรเพือ่ ขอรับการยกเว้นภาษีเงินได้นติ บิ คุ คล 5 ปีบญ ั ชี นอกเหนือจากการลดหย่อนภาษีแล้ว ผูป้ ระกอบการ SMEs ต้อง ศึกษาในรายละเอียดอื่น ๆ อย่างการลงทุนในสินทรัพย์อ่ืนที่ ได้รับการยกเว้นภาษี เช่น การลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ท่เี งินได้ จากส่วนต่างมูลค่าหุ้นไม่ต้องเสียภาษี หรือเงินปันผลที่เสียภาษี หัก ณ ทีจ่ า่ ย 10%

การหักค่าเสื่อม เป็นอีกส่วนที่ช่วยลดภาระทางภาษีลงได้เช่นกัน โดย การหักค่าเสือ่ มนัน้ บริษทั สามารถปฏิบตั ติ ามหลักเกณฑ์การคิดค่า

เสือ่ มราคาของอุปกรณ์ส�ำ นักงาน เครือ่ งจักร หรืออาคารโรงงานได้ ทันทีตง้ั แต่เริม่ ดำ�เนินการในปีแรก

สิทธิพิเศษทางภาษีอื่น ๆ เป็ น ส่ ว นสำ � คั ญ อี ก ส่ ว นสำ � หรั บ ผู้ป ระกอบการ SMEs ที่ต้องศึกษาให้ละเอียดว่า ธุรกิจที่ทำ�อยู่มีโอกาสในการได้รับ การลดหย่อน หรือหักค่าใช้จา่ ยพิเศษอะไรบ้าง เช่น อุตสาหกรรม

บางประเภทจะได้รับสิทธิพิเศษทางภาษีหากสมัครเป็นสมาชิก สมาคม หรือเข้าร่วมในกลุ่มธุรกิจ ซึ่งเงื่อนไขสิทธิพิเศษนี้มักจะ แตกต่างกันไปตามประเภทธุรกิจ

การหักค่าใช้จ่ายพิเศษอื่น ๆ ค่าใช้จา่ ยบางประเภทสามารถนำ�มาหักลดหย่อนภาษีได้ใน อัตราพิเศษ เช่น เครือ่ งจักรประหยัดพลังงาน รายจ่ายทีเ่ กีย่ วข้อง กับโครงการยุทธศาสตร์ของรัฐ เช่น การสนับสนุนการศึกษา การสนับสนุนการกีฬา หรือค่าใช้จา่ ยในการฝึกอบรมพนักงาน และ ค่าใช้จา่ ยในการวิจยั และพัฒนา เป็นต้น การหักลดหย่อนเหล่านี้ จะช่วยลดฐานภาษีทเ่ี กิดขึน้ จากกำ�ไรในแต่ละปี ช่วยให้ผปู้ ระกอบการ SMEs เสียภาษีในอัตราที่ลดลงและถูกต้องตามกฎระเบียบของ

ภาครัฐ ซึ่งรายได้จากการเก็บภาษีน้ีจะถูกหมุนเวียนนำ�กลับมา พัฒนาประเทศผ่านโครงการต่าง ๆ ต่อไป ดังนั้นการวางแผน ภาษีจึงเป็นเพียงการบริหารจัดการภาษีเพื่อให้ผ้ปู ระกอบการรู้จัก ชำ�ระภาษีอย่างชาญฉลาด เป็นจุดเริม่ ต้นทีส่ �ำ คัญของ SMEs ใน การสร้างธุรกิจให้แข็งแรงต่อไป ขอบคุณข้อมูลจาก https://scbsme.scb.co.th

วารสารอุตสาหกรรม / 51


Work

Life Balance เคล็ดไม่ลับ... ออกกำ�ลังกาย สร้างสมดุล ของคนวัยทำ�งาน

ขอบคุณข้อมูลจาก http://www.thaihealth.or.th/Content/32002-4

52 / วารสารอุตสาหกรรม

ชี

วิ ต ของคนทำ � งานปั จ จุ บั น ที่ เ ร่ ง รี บ และ มีการแข่งขันสูง การใช้ชีวิตที่ขาดสมดุลโดย ไม่รต ู้ ว ั ตัง้ แต่การนอน การพักผ่อนไม่เพียงพอ อาหารการกิน การใช้ชีวิตประจำ�วันที่เครียด จากสิง่ รอบตัว ปัจจัยเหล่านีท ้ ำ�ให้รา่ งกายเกิด ภาวะ “ภูมิคุ้มกันไม่สมดุล” ซึ่งเป็นสาเหตุก่อให้ เกิ ด โรคและปั ญ หาสุ ข ภาพตามมามากมาย อาทิ โรคออฟฟิศซินโดรม โรคอ้วน โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน โรคหัวใจ ฯลฯ Work Life Balance ฉบับนี้ ชวนคุณสร้างสมดุลเพิ่ม ภูมิคุ้มกัน ด้วยการออกกำ�ลังกายเป็นประจำ�อย่างน้อย 3-5 วัน ต่อสัปดาห์ ซึ่งไม่เพียงช่วยให้หัวใจแข็งแรง ระบบไหลเวียนเลือด ยังทำ�งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ช่วยลดความเสี่ยงของโรค หลอดเลือดหัวใจตีบหรือหัวใจล้มเหลว และลดความเสีย่ งต่อการ เกิดโรคต่าง ๆ สำ�หรับสิ่งสำ�คัญของการการออกกำ�ลังกายที่ดีนั้น ควรทำ�ให้ครบทั้ง 3 รูปแบบ ได้แก่


แบบที่ 1 การบริหารหัวใจ เป็นการพัฒนาระบบการหายใจ และการไหลเวียนของเลือด เช่น กระโดดตบ แกว่งแขน และยกเข่าสูงอยู่กับที่

แบบที่ 2 การบริหารกล้ามเนื้อ เพื่อเสริมกำ�ลังของกล้ามเนื้อ หรือการบริหารกล้ามเนื้อให้ แข็งแรง เช่น การยกของ และทำ�ท่าลุกนัง่ เป็นการบริหารกล้ามเนือ้ ต้นขาได้

ท่าดันกำ�แพง เป็นการบริหารกล้ามเนื้อช่วงบน ให้มอง หาฝาผนังบ้านทีม่ พี น้ื ทีว่ า่ ง ๆ โดยยืนห่างจากกำ�แพงพอประมาณ เกร็งลำ�ตัวให้ตรง ใช้มอื ทัง้ 2 ข้างดันกำ�แพงไว้ แล้วผลักลำ�ตัวเข้าหา กำ�แพง จากนัน้ ดันลำ�ตัวออกจากกำ�แพงให้สดุ แขน ทำ� 10-15 ครัง้ ท่านีเ้ ป็นท่าเดียวกับการนอนวิดพืน้ แต่เปลีย่ นจากนอนเป็นยืนดัน กำ�แพง จะทำ�ให้ชว่ งแขนแข็งแรง และหน้าอกกระชับขึน้

ท่าบริหารหน้าท้อง ท่านีจ้ ะช่วยเพิม่ ความแข็งแรงให้แขน มือ และกล้ามเนือ้ หน้าท้องไปพร้อม ๆ กัน ให้นอนคว่�ำ ลงกับพืน้ เท้าชิดกัน ตั้งนิ้วเท้าขึ้น จากนั้นให้งอข้อศอก มือทั้งสองข้างวาง ราบไปกับพื้น หายใจเข้า แล้วค่อย ๆ ดันมือทั้งสองข้างยกตัวขึ้น ลำ�ตัวตรงขนานกับพื้น ใช้มือและเท้ารับน้ำ�หนักตัวอย่างน้อย 30 วินาที-1 นาที แล้วผ่อนคลายท่าลง

แบบที่ 3 การยืดเหยียดกล้ามเนื้อ

เพือ่ ลดความเมือ่ ยล้าของร่างกาย หลังการออกกำ�ลังกาย และสร้างความ แข็ ง แรงของข้ อ ต่ อ มี ด้ ว ยกั น หลายท่ า เช่น การยืดเหยียดลำ�คอ ยืดเหยียดต้นขา ด้ า นหน้ า -ด้ า นหลั ง ยื ด เหยี ย ดสะโพก เป็นต้น นอกจากการออกกำ�ลังกายเบือ้ งต้น เหล่านีแ้ ล้ว ยังมีทา่ ออกกำ�ลังกายพืน้ ฐาน ที่สามารถทำ�ได้ไม่ยุ่งยาก ได้แก่​่ ท่าลุกนัง่ แยกเท้าทัง้ 2 ข้างออกเล็กน้อย ยืน่ แขนออกมาให้ ขนานกับลำ�ตัว ย่อตัวลงไป และยืดกลับท่าเดิม ทำ�อย่างน้อย 1015 ครั้ง ท่านี้สามารถทำ�ได้ขณะดูทีวี หรือแม้แต่ขณะอยู่ในห้องน้ำ� เพือ่ เสริมสร้างความแข็งแรงให้กบั กล้ามเนือ้ ส่วนล่าง และลดต้นขา ได้ด้วย

ท่ายืดเหยียดกล้ามเนื้อ เวลา นั่ ง ทำ � งานเป็ น เวลานาน ๆ จะปวด เมื่ อ ยได้ ง่ า ย ควรยื ด เหยี ย ดร่ า งกาย บ่อย ๆ อย่างบริเวณลำ�คอ โดยการ นั่งตัวตรง ตะแคงศีรษะไปด้านข้างช้าๆ ใช้มือช่วยกดศีรษะเบา ๆ จนรู้สึกตึง บริเวณกล้ามเนื้อบ่าและคอด้านซ้าย ค้างไว้ 10 วินาที ทำ�ซ้ำ� 5-10 ครั้งแล้ว สลับข้าง จะช่วยให้ร่างกายผ่อนคลาย มากขึ้น และนี่คือเคล็ดไม่ลับ...ออกกำ�ลังกายสร้างสมดุล ของคนวัยทำ�งาน เพื่อทำ�งานให้มีความสุข เติมสุขในที่ทำ�งานกันค่ะ

วารสารอุตสาหกรรม / 53


ม ร ร ก ห า ส ต ุ อ ร า ส ร วา

แบบสอบถาม วารสารอุตสาหกรรม

สำ � นั ก งานปลั ด กระทรวงอุ ต สาหกรรม ขอเชิ ญ ท่ า นผู้ อ่ า นแสดงความคิ ด เห็ น และ ข้ อ เสนอแนะ เพื่ อ เป็ น แนวทางในการพั ฒ นา และปรับปรุง “วารสารอุตสาหกรรม” เพื่อให้เกิด ประโยชน์และความพึงพอใจต่อท่านผู้อ่านต่อไป

เพศ หญิง ชาย ต่ำ�กว่า 30 ปี 31-40 ปี อายุ 41-50 ปี 51-60 ปี มากกว่า 61 ปีขึ้นไป การศึกษาขั้นสูงสุด ต่ำ�กว่าปริญญาตรี ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก อาชีพ ข้าราชการ/พนักงานของรัฐ ผู้ประกอบการ นักศึกษา อื่น ๆ (โปรดระบุ) ..................................

ข้อเสนอแนะ

1. ท่านคิดว่าเนือ้ หาสาระของวารสารอุตสาหกรรมอยู่ ในระดับใด เมื่อเทียบกับวารสารราชการทั่วไป

ดีมาก พอใช้

ดี ปรับปรุง

ปานกลาง

2. การออกแบบปกและรูปเล่มอยู่ในระดับใด ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช้ ปรับปรุง 3. ข้อมูลที่ท่านต้องการให้มีในวารสารนี้มากที่สุด (ใส่หมายเลข 1...2...3... ตามลำ�ดับ)

การตลาด การให้บริการของรัฐ สัมภาษณ์ผู้ประกอบการ ข้อมูลอุตสาหกรรม อื่น ๆ ระบุ................

4. คอลัมน์ที่ท่านชอบมากที่สุด (ใส่หมายเลข 1...2...3... ตามลำ�ดับความชอบ) Interview (สัมภาษณ์ผู้บริหาร) R&D (วิจัยและพัฒนา) Biz Law (กฎหมายทางธุรกิจ) Sustainable Show Case Innovation Industry (นวัตกรรม) Marketing (การตลาด) Special Report (รายงานพิเศษ) อื่น ๆ ระบุ................................... 5. ท่านได้รับประโยชน์จากวารสารอุตสาหกรรมมาก น้อยแค่ไหน ได้ประโยชน์มาก ได้ประโยชน์พอสมควร ได้ประโยชน์น้อย ไม่ได้ใช้ประโยชน์

ขอบคุณทุกท่านที่ให้ความร่วมมือ

จ่าหน้าซองถึง

54 / วารสารอุตสาหกรรม

บรรณาธิการวารสารอุตสาหกรรม กลุ่มประชาสัมพันธ์ สำ�นักงานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม ถนนพระรามที่ 6 เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรสาร หมายเลข 0 2202 3268 อีเมล : pmarai03@gmail.com


1. ได้รบั เงินทุนหมุนเวียนและเครือ่ งจักรใหม่

ผู้ประกอบการที่นำ�เครื่องจักรมาจดทะเบียนกรรมสิทธิ์ สามารถนำ�ไปเป็นหลักทรัพย์ค�ำ้ ประกันกับสถาบันการเงิน เพื่อได้รับเงินทุนหมุนเวียนในกิจการ

2. ได้รับสิทธิพิเศษด้านการเงิน

ผู้ประกอบการจะได้วางเงินกู้รายละไม่เกิน 15 ล้านบาท โดยกูไ้ ด้สงู สุดถึง 90% ของใบสัง่ ซือ้ เครือ่ งจักร ดอกเบีย้ 4% ต่อปีตลอดอายุสัญญาและผ่อนนานถึง 7 ปี

3. ได้รับการยกเว้นภาษี

ผูป้ ระกอบการจะได้ยกเว้นอาการขาเข้าของเครือ่ งจักร และ ยกเว้นภาษีเงินได้นติ บิ คุ คล 3 ปี เป็นสัดส่วนร้อยละ 50 ของ เงินทุนโดยไม่รวมค่าที่ดิน

4. ได้รับ Fast Track จดทะเบียน

ผู้ประกอบการที่เข้าร่วมโครงการสามารถยื่นคำ�ขอจด ทะเบียนกรรมสิทธิเ์ ครือ่ งจักรผ่านช่องทางพิเศษ สำ�หรับ ผู้ประกอบการ SMEs ภายใน 3 วัน

5. ได้รับคำ�แนะนำ�

ผู้ ป ระกอบการจะได้ รั บ คำ � ปรึ ก ษาในการปรั บ เปลี่ ย น เครื่องจักร อุปกรณ์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตจาก ทีมที่ปรึกษาที่มีประสบการณ์

@diwindustrial / www.diw.go.th

วารสารอุตสาหกรรม / 55



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.