Industry Magazine #7

Page 1


ปูนซิเมนต์ไทย (แก่งคอย)

กับรางวัล “อุตสาหกรรมสีเขียวระดับ 5” ถอดรหัสการพัฒนาธุรกิจสู่ความยั่งยืน

ฟิลาเจน

เส้นใยบำ�รุงผิวและ “Oricga Oil” สารสกัดแมลงลดริ้วรอย

Charge Now

ทิศทางอุตสาหกรรมยานยนต์ในโลกอนาคต

ผูป้ ระกอบการสตาร์ทอัพไทย

กลไกหลักขับเคลื่อนเศรษฐกิจอย่าง ยั่งยืน หุ่นยนต์แขนกลเพิ่มคุณภาพ ทดแทนแรงงานและทั พ พี นั ก คิ ด นวัตกรรมโกยเงินล้าน

@


Editor’s Note

10 อุตสาหกรรมเป้าหมาย กลไกขั บ เคลื่ อ นเศรษฐกิ จ เพื่ออนาคต (New Growth Engine) ของประเทศ

ากนโยบายรัฐบาลที่มุ่งพัฒนาประเทศไทยและส่งเสริม

การลงทุน ทำ�ให้เ กิดโอกาสทางการค้าและสามารถ

เสริมศักยภาพอุตสาหกรรมให้แข่งขันได้ในสังคมโลก การก้าวสู่ “ประเทศไทย4.0” หรือยุคดิจิทัล จึงจำ�เป็นต้องปรับโครงสร้าง และออกมาตรการสนับสนุนการค้าการลงทุน

10 อุตสาหกรรมเป้าหมาย เพือ่ ให้เอกชนได้รบั ทราบและปรับทิศทางองค์กร เป็น มาตรการระยะยาวทีจ่ ะกำ�หนดทิศทาง “การปรับโครงสร้างด้านการผลิต ทัง้ เกษตร-อุตสาหกรรมบริการ” ของประเทศให้มปี ระสิทธิภาพ มีการสร้างงานคุณภาพและมีการสนับสนุนเศรษฐกิจ ภูมภิ าคอย่างเป็นระบบต่อเนือ่ งและยัง่ ยืนเพือ่ ให้มกี ารขยายตัวทางเศรษฐกิจ วารสารอุตสาหกรรม ฉบับนี้ได้ติดตามความคืบหน้า 10 อุตสาหกรรมเป้าหมาย เพือ่ ให้เอกชนได้รบั ทราบและปรับทิศทางองค์กรขับเคลือ่ นไปพร้อมกับนโยบายรัฐบาลและ พร้อมเปิดแผน 3 อุตสาหกรรมเป้าหมายเดินหน้าขับเคลือ่ นเศรษฐกิจด้วยอุตสาหกรรมยานยนต์ หุน่ ยนต์และอาหาร เติมเต็มกับการถ่ายทอดความรูแ้ ละประสบการณ์ของ บริษทั ปูนซิเมนต์ไทย (แก่งคอย) จำ�กัด กับรางวัลแห่งความภาคภูมใิ จ “อุตสาหกรรมสีเขียว” ด้วยการพัฒนาองค์กรอย่าง ยัง่ ยืนร่วมรับผิดชอบชุมชนและสังคม เทรนใหม่ทป่ี ระเทศไทยสามารถแข่งขันได้บนเวทีการค้าโลก ปิดท้ายด้วยนวัตกรรมเชิงสร้างสรรค์ ทีส่ ร้างมูลค่าเพิม่ ต่อยอดธุรกิจสุขภาพและความงาม “ฟิลาเจน” และ “Oricga Oil ” ติดตามความเคลือ่ นไหวเพือ่ เปลีย่ นผ่านอุตสาหกรรมไทยสูอ่ ตุ สาหกรรม 4.0 ได้ในวารสารอุตสาหกรรม พบกันฉบับหน้า ทีมงานวารสารอุตสาหกรรม

เจ้าของ สำ�นักงานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม 75/6 ถนนพระรามที่ 6 เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 ที่ปรึกษา นายสมชาย หาญหิรัญ ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม นางสาวนิสากร จึงเจริญธรรม รองปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม บรรณาธิการ นางสาวทัศนียา ลัธธนันท์ ผู้อำ�นวยการสำ�นักบริหารกลาง กองบรรณาธิการ นางสาวประภัสสร สินครบุรี นางสีจันทร์ สายบัวทอง นายวงศกร ตระกูลหิรัญผดุง นางพรศิริ ธรรมจำ�รัส นางสาวอรพิชญ์ กลิ่นจำ�ปา นางสาวสิริรัตน์ วงศ์จิตต์ซื่อ นางสาวเขมณัฏฐ์ บูรณพิสิฐ นายเมธชวิน ประโมทะกะ นางสาวธันย์ชนก บัณฑิตวิมล จัดพิมพ์ บริษัท ซี แอด โปรโมชั่น (1997) จำ�กัด 77/14 หมู่บ้านชลลดา ซอย 2 ถนน สายไหม แขวงสายไหม เขตสายไหม กรุงเทพฯ 10220 โทร 0 2991 3031-3 โทรสาร 0 2991 3066


contents ฉบับที่ 7 เดือนสิงหาคม - กันยายน 2560

06 Interview

10 อุ ต สาหกรรมเป้ า หมาย พลิ ก โฉม

เศรษฐกิจไทย ดันคนไทยร่ำ�รวย สลัดพ้น รายได้ปานกลาง

13 R&D

ฟิลาเจน เส้นใยบำ�รุงผิวและ Oricga Oil

สารสกัดแมลงลดริ้วรอย

16 Biz Law

ดีเดย์ประกาศใช้ “กฎหมายแร่” ลดขั้นตอน ใบอนุญาต – เพิ่มโทษผู้ละเมิด

06

18 อก. Society 20 Sustainable Biz

ปู น ซิ เ มนต์ ไ ทย (แก่ ง คอย) กั บ รางวั ล “อุตสาหกรรมสีเขียว ระดับ 5” ถอดรหัส การพัฒนาธุรกิจสู่ความยั่งยืน

23 Show Case

สตาร์ ท อั พ ผลิ ต “หุ่ น ยนต์ แ ขนกล” เพิ่ ม คุณภาพทดแทนแรงงานขาด

27 Innovation Industry

ทิ ศ ทางอุ ต สาหกรรมยานยนต์ ใ นโลก อนาคต

13


31 Industry News

“อุ ต ตม” เปิ ด เวที ค ลิ นิ ก เอสเอ็ ม อี สั ญ จร

จ.อุดรธานี พร้อมสั่งการเร่งปักธงเปิด นิคมอุตสาหกรรมแห่งแรกในภาคอีสาน

33 Smart Management

ถึงเวลาผู้บริหารปรับตัว ก้าวสู่ยุค 4.0 อย่างมืออาชีพ

36 Marketing

20

มองโลก มองเทรนด์ การตลาด 4.0

39 E-Commerce Trend

Marketplace ตลาดต่อยอด E-Commerce

42 Investment Hub

เปิดแนวโน้ม 6 Mega Trends ปรับธุรกิจ

ก้าวทันโลกยุคใหม่

44 มองไปข้างหน้ากับปลัดสมชาย ลูกค้ามีความสุข ธุรกิจก็จะมีความสุข

46 Special Report

23

เปิดแผนขับเคลือ ่ น 3 อุตสาหกรรมเป้าหมาย

ยานยนต์-หุ่นยนต์-อาหาร ดันเศรษฐกิจไทย ทะยานสู่อนาคต

50 รู้ไว้ใช่ว่า

Lean….. องค์กรให้แข็งแรง

52 Work Life Balance คุณภาพชีวิตกับการทำ�งาน

27


10

Interview

อุ ต ส า ห ก ร ร ม เ ป้ า ห ม า ย พ ลิ ก โ ฉ ม เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ไ ท ย ดั น ค น ไ ท ย ร่ำ � ร ว ย สลั ด พ้ น รายได้ ป านกลาง

06 / วารสารอุตสาหกรรม


รงกดดั น จากการที ่ ไ ทยเป็ น ประเทศที ่ ม ี

รายได้ปานกลางมาตลอดหลายสิบปีทำ�ให้

รัฐบาลชุดของ “พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา"

นายกรัฐมนตรี มีความตั้งใจปรับโครงสร้าง

เศรษฐกิ จ ไทยไปสู่ ป ระเทศรายได้ สู ง พร้ อ ม พั ฒ นาด้ า นสั ง คมและสิ่ ง แวดล้ อ มให้ เ จริ ญ ควบคู่ไปด้วย โดยผู้รับไม้ต่อ คือ ทีมเศรษฐกิจ นำ�โดย “ดร.สมคิด จาตุศรีพท ิ ก ั ษ์” รองนายก

รั ฐ ม น ต รี แ ล ะ ห นึ ่ ง ใ น คี ย์ แ ม น สำ � คั ญ ที ่

เป็ น แรงขับเคลื่อนนโยบายให้สู่เป้าหมายคือ "ดร.อุ ต ตม สาวนายน" รั ฐ มนตรี ว ่ า การ

กระทรวงอุตสาหกรรม

กลไกที่ จ ะผลั ก ดั น ประเทศไทยไปสู่ ป ระเทศรายได้ สู ง คื อ ปรั บ โครงสร้ า งอุ ต สาหกรรม มุ่ ง เน้ น การพั ฒ นาอุ ต สาหกรรมที่ มี นวัตกรรมเพื่อสร้างความแตกต่างจากคู่แข่งและใช้เทคโนโลยีข้ันสูง เป็นอุตสาหกรรมที่มีความคิดสร้างสรรค์โดยภาครัฐได้กำ�หนด 10 อุตสาหกรรมเป้าหมายเป็นปัจจัยขับเคลื่อนหลัก แบ่งเป็นการต่อยอด 5 อุตสาหกรรมเดิมทีม่ ศี กั ยภาพอยูแ่ ล้ว (Frist S - Curve) ประกอบด้วย 1.อุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่ 2.อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ 3.อุตสาหกรรมท่องเที่ยวกลุ่มรายได้ดีและท่องเที่ยว เชิงสุขภาพ 4.อุตสาหกรรมเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ 5.อุตสาหกรรมอาหาร และการเติม 5 อุตสาหกรรมอนาคต (New S-curve) ด้วยการดึงดูด ผู้สนใจลงทุนจากต่างประเทศ ประกอบด้วย 1.อุตสาหกรรมหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ 2.อุตสาหกรรมการบินและโลจิสติกส์ 3.อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ 4.อุตสาหกรรมดิจิทัล 5.อุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร ทั้งนี้นโยบาย 10 อุตสาหกรรมเป้าหมาย ถูกกำ�หนดขึ้นตั้งแต่ ปลายปี 2558 จนถึงปัจจุบัน ซึ่งจะมีความคืบหน้าอย่างไร “ดร.อุตตม สาวนายน” รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม จะเป็นผู้ฉายภาพได้ดีที่สุด

วารสารอุตสาหกรรม / 07


ดร. อุตตม สาวนายน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม

กางโรดแมป 10 อุตสาหกรรม เป้าหมายแห่งอนาคต Q นโยบาย 10

อุตสาหกรรมเป้าหมายมีความ สำ�คัญต่อประเทศอย่างไร?

Q

ความคืบหน้าล่าสุดของ 10 อุตสาหกรรม เป้าหมาย?

A 10 อุตสาหกรรมเป้าหมายแห่งอนาคตจะเข้ามาปรับโครงสร้าง A อุตสาหกรรมประเทศครั้งสำ�คัญ เป็นเครื่องมือหลักในการขับเคลื่อน อุตสาหกรรม 4.0 อย่างเป็นรูปธรรม เพราะไทยจะต้องปรับตัว หาก ยังผลิตสินค้ารูปแบบเดิม ไม่ใช่เป็นเพียงแค่การหยุดนิง่ เท่านัน้ แต่จะ เป็นการถอยหลัง เพราะประเทศอื่นต่างก็พัฒนาเหมือนกัน

08 / วารสารอุตสาหกรรม

ปีนกี้ ระทรวงอุตสาหกรรมได้ก�ำ หนดแนวทางในการขับเคลือ่ น 10 อุ ต สาหกรรมเป้ า หมาย โดยจะดำ� เนิ น การ 4 สาขานำ � ร่ อ ง ได้แก่ อุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วน อุตสาหกรรมหุ่นยนต์ อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูป โดย ขณะนี้กระทรวง ฯ ได้จัดทำ�ยุทธศาสตร์อุตสาหกรรมยานยนต์และ ชิ้นส่วนแล้วเสร็จ ซึ่งเข้าสู่การพิจารณาของที่ประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) พิจารณาแล้ว ส่วนอีก 3 อุตสาหกรรม กำ�ลังจัดทำ�ยุทธศาสตร์ เพื่อเสนอต่อครม. ภายในปีนี้เช่นกัน


Q

นอกจากแผนการที่ ว างไว้ กระทรวง อุตสาหกรรมมีนโยบายเสริม หรือ นโยบายใหม่ ๆ ในการพัฒนาอุตสาหกรรมให้มีศักยภาพ ตาม เป้าหมายที่วางไว้หรือไม่?

“ไทยจะต้ อ งปรั บ ตั ว หากยั ง ผลิ ต สิ น ค้ า รู ป แบบเดิ ม ไม่ ใ ช่ เ ป็ น เพี ย งแค่ การหยุ ด นิ่ ง เท่ า นั้ น แต่ จ ะเป็ น การ ถ อ ย ห ลั ง เ พ ร า ะ ป ร ะ เ ท ศ อื่ น ต่ า ง ก็ พั ฒ น า เ ห มื อ น กั น ”

A

ขณะนี้ ไ ด้ ม อบหมายให้ ก รมส่ ง เสริ ม อุ ต สาหกรรม ( ก ส อ . ) แ ล ะ สำ � นั ก ง า น เ ศ ร ษ ฐ กิ จ อุ ต ส า ห ก ร ร ม ( ส ศ อ . ) ร่ ว มกั น ยกร่ า งแผนปฏิบัติก ารขับ เคลื่อ นคลัสเตอร์เ ป้าหมาย ระยะที่ 2 ต่อเนื่องจากระยะแรกที่มีการจัดทำ�โรดแมปใน การพัฒนาอุตสาหกรรมเป้าหมาย โดยแผนปฏิบัติการระยะนี้ ก็เพือ่ วางยุทธศาสตร์สนับสนุนกลุม่ สตาร์ทอัพ หรือ ผูป้ ระกอบการ ทีใ่ ช้นวัตกรรมอย่างเป็นรูปธรรม เนือ่ งจากปัจจุบนั การพัฒนาของ รัฐยังกระจัดกระจาย มีหลายอุตสาหกรรมเกิดขึน้ แต่ไม่ตอบโจทย์ ของ 10 อุตสาหกรรมเป้าหมายมากนัก ดังนัน้ ในระยะที ่ 2 นี้ กระทรวง ฯ จะเริม่ ดำ�เนินการและเน้นกลุม่ อุตสาหกรรมเป้าหมาย 4 กลุม่ ก่อน คือ กลุม่ ยานยนต์ กลุม่ หุน่ ยนต์และระบบอัตโนมัติ กลุ่มอาหาร และกลุ่มเศรษฐกิจชีวภาพ เพราะเป็นอุตสาหกรรม ทีไ่ ทยมีศกั ยภาพและผูป้ ระกอบการมีความพร้อมโดยจะรายงาน ต่อคณะรัฐมนตรี (ครม.) เพื่อทราบในเร็วๆ นี้ สำ�หรับแผนดำ�เนินงานระยะ 2 กระทรวงจะยกระดับการ พัฒนาผูป้ ระกอบการใหม่ในเชิงสร้างสรรค์ (New Entrepreneurs Creation : NEC) เพื่อให้เกิดการเชื่อมโยงกับผู้ประกอบการ รายใหญ่ ขณะเดี ย วกั น จะดึ ง หน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ ง อาทิ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) สภาหอการค้าไทย มหาวิทยาลัย สถาบันการศึกษาต่างๆ สำ�นักนวัตกรรมแห่งชาติ เข้ามาร่วมกันพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรมรายใหม่ให้เกิดขึ้นใน คลัสเตอร์อย่างเข้มแข็งและจะใช้กลไกด้านการเงินจากสถาบัน การเงิ น ของรั ฐ และเอกชน มาเป็ น ตั ว ขั บ เคลื่ อ นให้ เ กิ ด เป็ น รู ป ธรรมและสอดคล้ อ งกั บ แนวทางที่ รั ฐ บาลต้ อ งการให้ เ กิ ด สตาร์ทอัพในกลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมาย

วารสารอุตสาหกรรม / 09


"ไทยเป็ น ประเทศเกษตรกรรม

การนำ�ผลผลิตทางการเกษตร มาสร้างมูลค่าเพิ ่มโดยเฉพาะ

ไบโอเคมี แ ละไบโอพลาสติ ก กำ � ลั ง ได้รบ ั ความสนใจจากนักลงทุนไทย

และต่างประเทศ เป็นยุทธศาสตร์ 1 ใน 10 อุตสาหกรรมเป้าหมาย”

ศิริรุจ จุลกะรัตน์ ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม

Q ความก้ า วหน้ า ของกลุ ่ ม อุ ต สาหกรรม Q อุตสาหกรรมเป้าหมายทีย่ งั ไม่ได้มแี ผนจะเข้า ครม. เป้ า หมาย ที ่ เ หลื อ ที ่ ต ้ อ งนำ � เข้ า ครม. ขณะนี ้ อ ยู ่ ในขั ้ น ตอนใดบ้ า งและมี ป ั ญ หาอุ ป สรรคที ่ ต ้ อ ง แก้ไขอย่างไรบ้าง

ในปีนี้ ปัจจุบันมีความก้าวหน้าอย่างไรบ้าง

ขณะนีม้ กี ลุม่ เศรษฐกิจชีวภาพ หรือ Bio Economy กลุม่ อาหาร และกลุ่มสิ่งทอที่ยังรอเข้า ครม.ภายในปีนี้ โดยกลุ่มที่ถือว่ามีความ คืบหน้ามากทีส่ ดุ คือ ไบโออีโคโนมี เนือ่ งจากอุตสาหกรรมเศรษฐกิจ ชีวภาพมีแผนการลงทุนจากเอกชนทีส่ นใจจะเข้ามาใช้สทิ ธิประโยชน์ ของรัฐบาลชัดเจนอยู่แล้วโดยเฉพาะ ไบโอเคมีและไบโอพลาสติกที่ สามารถนำ�ผลผลิตทางการเกษตรมาใช้ได้ ซึ่งอยู่ระหว่างตกลงเรื่อง พื้นที่ระหว่างรัฐและเอกชน เนื่องจากเอกชนที่ต้องการเข้ามาลงทุน อยากให้มีการกำ�หนดเขตส่งเสริมพิเศษ อุ ต สาหกรรมอาหาร จะส่ ง เสริ ม ให้ เ กิ ด การพั ฒ นาแบบ เป็นคลัสเตอร์ โดยใช้การรวมกลุ่มเป็นฟู้ดวัลเลย์และร่วมมือกับ การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย(กนอ.) ในการจัดหาพื้นที่ เพื่อรวมกลุ่มกันในการพัฒนา โดยอาจใช้ความร่วมมือแบบการ ลงทุนร่วมระหว่างรัฐและเอกชน (พีพีพี) ขณะเดียวกันจะส่งเสริมให้ เกิดการพัฒนาเป็นอาหารที่มีเทคโนโลยีหรือวัตถุดิบที่ตอบสนอง ความต้องการในสังคมผู้สูงอายุ หรือ ฟังก์ชันนัลฟู้ด ซึ่งการรวมกลุ่ม ถือเป็นเครื่องมือสำ�คัญในการทำ�ให้เติบโต สำ�หรับกลุ่มอุตสาหกรรมสิ่งทอที่ต้องเพิ่มความเป็นแฟชั่น และดีไซน์มากขึ้น ซึ่งต้องมีการหารือในรายละเอียดกับหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง อาทิ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สถาบันยานยนต์ กระทรวงสาธารณสุข เพื่อต่อยอดให้เกิดการใช้สิ่งทอในการนำ�ไป เชือ่ มโยงกับอุตสาหกรรมต่างๆ ทีห่ ลากหลาย เช่น การใช้เส้นใยพืช ที่หลากหลายในการพัฒนาผ้าผืนและพัฒนาไปสู่เสื้อผ้าสำ�หรับการ แพทย์หรืองานเฉพาะทาง การนำ�ไปใช้ในอุตสาหกรรมยานยนต์หรือ อากาศยาน การผลิตผ้าที่ไม่ติดไฟ ทนความร้อนมากขึ้น เป็นต้น

กลุ่ ม อุ ต สาหกรรมที่ เ หลื อ คื อ อุ ต สาหกรรมการบิ น และ โลจิ ส ติ ก ส์ อุ ต สาหกรรมการแพทย์ อุ ต สาหกรรมอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ อั จ ฉริ ย ะ โดยอุ ต สาหกรรมการบิ น และโลจิ ส ติ ก ส์ กระทรวง ฯ ดำ�เนินงานร่วมกับกระทรวงคมนาคม โดยกระทรวง คมนาคมจะรั บ ผิ ด ชอบในส่ ว นของการบิ น ขณะที่ ก ระทรวง อุ ต สาหกรรมจะรั บ ผิ ด ชอบในส่ ว นของโลจิ ส ติ ก ส์ ซึ่ ง ขณะนี้ อยู่ ร ะหว่ า งหารื อ ขั้ น ตอนทางกฎหมายของกระทรวงคมนาคม สำ � หรั บ อุ ต สาหกรรมการแพทย์ ค รบวงจร ขณะนี้ ก ระทรวง ฯ กำ � ลั ง ดำ � เนิ น การร่ ว มกั บ กระทรวงสาธารณสุ ข โดยจะแบ่ ง เป็ น 3 ส่วนสำ�คัญ คือ กิจการเครื่องมือแพทย์ กระทรวงอุตสาหกรรม รั บ ผิ ด ชอบในการเชิ ญ ชวนผู้ ล งทุ น กิ จ การบริ ก ารทางการแพทย์ และกิจการอุตสาหกรรมยา กระทรวงสาธารณสุขรับผิดชอบ ที่ทั้ง 2 กระทรวงจะร่วมกันดูแล เพราะต้องดูแลมาตรฐานความปลอดภัย การกระจายให้เข้าถึงประชาชนคนไทยได้รบั ประโยชน์ ได้ใช้ผลิตภัณฑ์ บริการทีม่ คี ณ ุ ภาพในราคาถูกลงกว่าการนำ�เข้า จากต่างประเทศทัง้ หมด คาดว่ายุทธศาสตร์นจี้ ะสามารถเสนอเข้าสูท่ ปี่ ระชุม ครม. ได้ในปี 2561 เนื่องจากต้องรอการประสานข้อมูลจากกระทรวงสาธารณสุขในการ จั ด ทำ � มาตรการร่ ว มกั น จากนั้ น จะนำ � ข้ อ สรุ ป เสนอต่ อ รั ฐ มนตรี ว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม พิจารณาก่อนเสนอเข้าครม. สำ�หรับ อุ ต สาหกรรมอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ อั จ ฉริ ย ะ ในการส่ ง เสริ ม ควรรองรั บ อุตสาหกรรมการผลิตทุกรายการ

A

10 / วารสารอุตสาหกรรม

A


S-Curve เกาถูกที่คันหรือยัง เปิดมุมมองภาคเอกชน

“นโยบาย 10 อุตสาหกรรมเป้าหมายแห่ง อนาคต เป็นเทรนด์ของโลกที่มาถูกทาง เพราะจะทำ�ให้ประเทศมีการพัฒนาด้าน อุตสาหกรรมต่อเนื่องในระบบเศรษฐกิจ ประเทศ แต่สง่ิ ทีส ่ ำ�คัญทีส ่ ด ุ คือ รัฐบาลต้อง มีแนวทางชัดเจน มียุทธศาสตร์ชัดเจน”

Q

เจน นำ�ชัยศิริ ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

ภาคเอกชนต้องเตรียมตัวและปรับการดำ�เนินงานเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบาย 10 อุตสาหกรรม เป้าหมาย อย่างไรบ้าง

A สิ่งที่รัฐบาลทำ�ถือว่าเดินมาถูกทาง เพราะการลงทุนที่จะทำ�ให้ไทยพ้นรายได้ปานกลางได้ต้องใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมเข้ามาช่วย

เนื่องจากไทยไม่สามารถแข่งกับเพื่อนบ้านในเรื่องของแรงงาน ขณะเดียวกันรัฐบาลก็มีการกำ�หนดพื้นที่ส่งเสริม เช่น ระเบียงเศรษฐกิจ พิเศษภาคตะวันออก (อีอีซี) ทำ�ให้เกิดการพัฒนาอย่างเป็นระบบ มีแนวทางที่ชัดเจนสอดคล้องกับกระแสของโลกที่ให้ความสำ�คัญ ในการปรับตัวทีต่ อ้ งมุง่ ไปสูท่ ศิ ทางของห่วงโซ่มลู ค่าเพิม่ (Value Chain) มากขึน้ ดังนัน้ ภาคเอกชนไม่ตอ้ งมีการปรับตัวมาก แต่เป็นการปรับ บทบาทการทำ�งานให้ทันกระแสโลกซึ่งเป็นเรื่องที่ดี เพื่อให้ธุรกิจสามารถแข่งขันได้ในระยะยาว

“อยากให้เข้าใจว่าเรื่องตลาดสำ�คัญที่สุด สำ � คั ญ กว่ า ทุ น เพราะหากมี เ งิ น ลงทุ น อุตสาหกรรมหุน ่ ยนต์มหาศาล แต่สด ุ ท้าย สินค้าที่ผลิตออกมาขายไม่ได้ ไม่มีตลาด รองรับระยะยาว การลงทุนก็เสียเปล่า และนำ�ความเสียหายมาสู่ธุรกิจแทน” ทวี ปิยะพัฒนา ประธานกรรมการบริหาร กลุ่มบริษัท พี.เอฟ.พี. ผู้นำ�ด้านการผลิตและจัดจำ�หน่าย ผลิตภัณฑ์อาหารทะเลแปรรูปแช่แข็งภายใต้แบรนด์ PFP

Q ปัจจุบนั แบรนด์ PFP มีการปรับแผนการทำ�งานให้สอดคล้องกับนโยบาย 10 อุตสาหกรรมเป้าหมายอย่างไร? A บริษทั ฯ อยูใ่ นกลุม่ อุตสาหกรรมแปรรูปอาหาร ขณะนีจ้ งึ อยูร่ ะหว่างติดตามนโยบายของภาครัฐจะมีทศิ ทางอย่างไร แต่ทราบว่าในร่าง

ยุทธศาสตร์อาหารทีจ่ ะเข้าครม.ปีน้ี มีการกำ�หนดเป้าหมายส่งออกอาหารในอีก 5 ปี มูลค่าส่งออกอาหารจะเพิม่ เป็น 2.3 ล้านล้านบาท จาก ปัจจุบันอยู่ที่ประมาณ 9 แสน - 1 ล้านล้านบาท ทั้งนี้ในอุตสาหกรรมหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติก็มีส่วนเกี่ยวข้องกับบริษัทเช่นกัน โดย บริษัท ฯ ได้นำ�หุ่นยนต์เข้ามาใช้ในกระบวนการผลิตบรรจุภัณฑ์แล้วแต่ยังไม่มีแนวคิดนำ�หุ่นยนต์เข้ามาทดแทนแรงงานคนทั้งหมด เพราะ ต้องใช้เงินลงทุนสูงและสิ่งที่สำ�คัญที่สุดหากลงทุนมหาศาลแล้วจะมีตลาดรองรับหรือไม่ ทำ�แล้วคุ้มทุนหรือไม่ นั่นต่างหากที่สำ�คัญ ดังนั้น บริษัท ฯ จึงเตรียมวางแผนปรับไลน์การผลิตให้สอดคล้องกับตลาดและการลงทุนเครื่องจักรรวมถึงหุ่นยนต์ที่จะนำ�เข้ามาช่วยในบางส่วน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตเท่านั้น

วารสารอุ 11 วารสารอุตตสาหกรรม สาหกรรม // 11


ขานรับนโยบาย ฯ

ปั้น 3 หลักสูตรเสริม

ความแกร่งให้ SMEs ณพพงศ์ ธีระวร ประธานสมาพันธ์เอสเอ็มอีไทย

Q

บทบาทของสมาพันธ์เอสเอ็มอีไทย ในการนำ�พา ส ม า ชิ ก ซึ่ ง เ ป็ น S M E s ไ ป สู่ ก า ร ผ ลิ ต สิ น ค้ า ใ น 10 กลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมายประเทศ

A

การปรับตัวให้ SMEs ไปสู่ 10 อุตสาหกรรมเป้าหมาย เป็น เรื่องจำ�เป็น โดยเครื่องมือหนึ่งที่สมาพันธ์จะเร่งดำ�เนินการภายในปี นี้ คือ การจัดทำ� 3 หลักสูตรพัฒนา SMEs เน้นที่อุตสาหกรรมเกษตร แปรรูปก่อน ซึ่งเป็น 1 ใน 10 อุตสาหกรรมเป้าหมาย เพราะกลุ่มนี้ SMEs จะมีความชำ�นาญและเชีย่ วชาญในการผลิตมากทีส่ ดุ หากเทียบกับ อุตสาหกรรมอืน่ ๆ และยังเป็นการต่อยอดไปสูภ่ าคเกษตรให้ได้รบั ประโยชน์ จากการเติบโตของ SMEs ด้วย โดยหลักสูตรทั้งหมดจะเป็นการทำ�งาน ร่วมกับกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม (กสอ.) กระทรวงอุตสาหกรรม เพือ่ พัฒนา ร่วมกัน เพราะเป็นหน่วยงานที่มีบทบาทและรับผิดชอบโดยตรง ซึ่ง หลักสูตรจะประกอบด้วย 1. Startup for SME farmer คือการพัฒนา SMEs กลุ่มเกษตร แปรรูปให้มีองค์ความรู้ด้านการตลาด นวัตกรรมและโซเชียลมีเดีย ซึ่ง ปัจจุบันผู้ประกอบการเก่งระดับหนึ่งแล้วในการผลิตและสมาพันธ์ ฯ จะช่ ว ยพั ฒ นาด้ า นบรรจุ ภั ณ ฑ์ การดี ไซน์ แ ละมาตรฐานให้ สู ง ขึ้ น แ ล ะ เ พิ่ ม ขี ด ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ ห้ เข้ า ถึ ง ก า ร ทำ � ต ล า ด อ อ น ไ ล น์ เพื่ อ จำ � หน่ า ยผ่ า นเว็ ป ไซต์ ไ ด้ อาทิ Alibaba , Lazada เป็ น ต้ น

12 / วารสารอุตสาหกรรม

2. Spring up for SME farmer โดยสมาพันธ์ ฯ จะเข้าไปพัฒนา ผูส้ นใจลงทุนธุรกิจให้เป็นนักรบรุน่ ใหม่ในกลุม่ ฟาร์มเมอร์ ทัง้ นีจ้ ะ มีกลไกในการกระตุ้นให้ผู้สนใจเกิดการเรียนรู้ อาจจะสอนเทคนิค การแปรรูปสินค้าประมาณ 3-5 ชนิด อาทิ การแปรรูปข้าว การแปรรูปกล้วย การแปรรูปสมุนไพร ซึง่ แต่ละพืน้ ทีเ่ มือ่ ผูป้ ระกอบการสนใจ และตัดสินใจเลือกธุรกิจ ก็จะได้เข้ามาเรียนเพื่อเสริมศักยภาพ ให้มีองค์ความรู้เพื่อนำ�ไปทำ�ธุรกิจอย่างเต็มตัว และ 3. พี่โค้ชน้อง หรือ Train the trainer จะดึง SMEs ที่มีประสบการณ์ธุรกิจเติบโต ให้เข้ามาสอนหรือโค้ชชิ่ง ให้กับผู้ประกอบการรายใหม่ เพราะสมาพันธ์ ฯ มีความมั่นใจ ว่าการจะสอนองค์ความรู้ให้ SMEs รายใหม่ได้ ผู้สอนควรเป็น ผูม้ ปี ระสบการณ์ตรง หากเป็นเอกชนรายใหญ่ เทคโนโลยีหรือองค์ ความรู้อาจระดับสูงเกินศักยภาพของ SMEs ที่กำ�ลังเริ่มต้น ดังนั้น ทางสมาพันธ์ ฯ จะมีการจัดสอบวัดระดับผู้ที่จะเป็นโค้ชชิ่ง เพื่อ ให้ผู้ผ่านการพิจารณาสามารถไปโค้ชชิ่ง SMEs ในกลุ่มต่างๆ ได้ อย่างเหมาะสม


R&D

“ฟิลาเจน” เส้นใยบำ�รุงผิว

วั ต กรรมเป็ น สิ ่ ง ที ่ ต อบโจทย์ แ นวทาง การส่งเสริมของรัฐบาล เป็นเครื่องมือ ในการสนั บ สนุ น ทุ ก อุ ต สาหกรรมที่ มี ค วาม เกี่ยวข้องกันโยงใยเป็นซัพพลายเชน ปัจจุบัน การใช้นวัตกรรมไม่ได้เกิดขึ้นเฉพาะกลุ่มการ ผลิตทีใ่ ช้เครือ ่ งจักรหนักเท่านัน ้ แต่ยงั เกีย ่ วข้อง ไปถึงอุตสาหกรรม โดยเฉพาะอุตสาหกรรมที่ ใกล้ตว ั เรา ๆ ท่าน ๆ อย่างสุขภาพและความงาม เพราะทุกวันนี้หลายคนหันมาให้ความใส่ใจกับ การใช้ชว ี ต ิ มากขึน ้ นวัตกรรมจึงถูกหยิบเข้ามา� ใส่ในอุตสาหกรรมความงาม จนน่าลิ้มลอง อย่างมาก

วารสารอุตสาหกรรม / 13


คุณเซิ่น จุ้น ซิน กรรมการผู้จัดการ บริษัท จีอีพี สปินนิ่ง จำ�กัด

14 / วารสารอุตสาหกรรม

นวัตกรรมแรกทีน่ า่ สนใจ เส้นใยผสมคอลลาเจนรายแรกในประเทศไทย หรือที่เรียกว่า “ฟิลาเจน” คุณเซิ่น จุ้น ซิน กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั จีอพี ี สปินนิง่ จำ�กัด ผูพ้ ฒ ั นานวัตกรรมดังกล่าวให้ขอ้ มูลว่าการพัฒนาเส้นใยเพือ่ ให้ สอดคล้องกับการพัฒนาอุตสาหกรรมสิง่ ทอ ซึง่ ถือเป็นหนึง่ ในอุตสาหกรรมเป้าหมาย ทีร่ ฐั บาลให้การสนับสนุนอยูใ่ นขณะนี้ โดยเส้นใยฟิลาเจนเป็นการผสมของเส้นใย ธรรมชาติและเกล็ดปลามีคุณสมบัติพิเศษ คือ รักษาความชุ่มชื้นแก่ผิวพรรณ กำ�จัดและปกป้องกลิ่นกาย ป้องกันรังสียูวีและให้อุณหภูมิผิวสัมผัสที่เย็น ซึ่ง ไม่กอ่ ให้เกิดความระคายเคืองต่อผิวของผูใ้ ช้งาน โดยคุณสมบัตขิ องคอลลาเจน จะคงทน ปริมาณของคอลลาเจนจะไม่ลดปริมาณลงแม้จะผ่านการซักล้าง ส่วนเส้นใยฟิลาเจนทีผ่ ลิตมาจากวัสดุธรรมชาติ 100% ก็สามารถย่อยสลายเอง ได้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ตอบโจทย์การพัฒนาอุตสาหกรรม 4.0 ในทุกด้าน บริษัท ฯ เริ่มคิดค้นนวัตกรรมดังกล่าวในปี 2554 โดยเปิดตัวครั้งแรก ที่ ป ระเทศไต้ ห วั น จากนั้ น จึ ง ขยายไปในประเทศต่ า ง ๆ ในเอเชี ย เช่ น จีน ฮ่องกง ญี่ปุ่น เกาหลีใต้และไทย เป็นต้น โดยไทยเป็นประเทศแรกใน อาเซี ย นที่ บ ริ ษั ท ฯ เลื อ กที่ จ ะใช้ เ ป็ น ฐานในการผลิ ต เพื่ อ ป้ อ นตลาดใน ประเทศและส่งออกด้วย เนื่องจากประเทศไทยเริ่มเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ดังนั้น คนจะเลื อ กสิ่ ง ที่ ดี ต่ อ สุ ข ภาพ ดี ต่ อ ผิ ว พรรณและช่ ว ยในเรื่ อ งความงาม โดยเพิ่ ง เปิ ด ตั ว อย่ า งเป็ น ทางการไปเมื่ อ เดื อ นกรกฎาคม 2560 ที่ ผ่ า นมา เราเลือกส่วนผสมคอลลาเจนจากเกล็ดปลามาเป็นวัตถุดบิ เพราะมีความบริสทุ ธิ์ มากกว่าสัตว์ชนิดอื่น ๆ ทั้งที่ในความเป็นจริง วัวหรือหมูก็มีคอลลาเจน แต่เรา คิดว่าตัวนี้เหมาะกับผิวมนุษย์มากที่สุด” คุณเซิ่น กล่าว สำ�หรับกลุ่มเป้าหมายที่บริษัท ฯ จะเข้าไปร่วมทำ�การตลาดด้วย คือ ผู้ผลิตสินค้าระดับพรีเมียมสำ�หรับกลุ่มรักสุขภาพและความงาม โดยเน้นตลาด ระดับกลางไปจนถึงระดับบน หรือตลาดไฮเอ็นเนือ่ งจากวัตถุดบิ ทีใ่ ช้มตี น้ ทุนสูง เมื่อเทียบกับวัตถุดิบที่ใช้กันแพร่หลายในอุตสาหกรรมสิ่งทอ โดยยอมรับว่า ต้นทุนอาจสูงกว่าผ้าผืนธรรมดา 20-50% ขึ้นอยู่กับสัดส่วนของการผสมเส้นใย และเกล็ดปลาว่าลูกค้าต้องการในสัดส่วนเท่าใด แต่สิ่งที่ลูกค้าจะได้นั้นก็จะมี คุณสมบัติพิเศษมากขึ้นตามไปด้วยเช่นกัน อย่างไรก็ตามสิ่งที่บริษัท ฯ ยึดมั่นคือ การพัฒนานวัตกรรมอย่าง ต่อเนื่องโดยในอนาคตจะขยายไปสู่การร่วมมือกับพันธมิตร ซึ่งเป็นแบรนด์ เสือ้ ผ้าต่างๆ ในการผลิตเส้นใยให้เหมาะสมกับประเภทของเสือ้ ผ้าในแต่ละกลุม่ และสามารถนำ�เส้นใยฟิลาเจนมาผสมร่วมกับผ้าชนิดต่างๆ ได้ เช่น ฝ้าย ผ้าลินิน ผ้าไหม ขนแกะและผ้าเส้นใยสังเคราะห์อกี หลายชนิด ซึง่ ทีผ่ า่ นมามีการนำ�ไปผสม เส้นใยเพือ่ ผลิตเป็นชุดคลุมท้อง ชุดชัน้ ใน ชุดกีฬา เป็นต้น แต่สิ่งสำ�คัญ คือ จะไม่ ลงไปเล่นในตลาดเอง ไม่เป็นผูผ้ ลิตเสือ้ ผ้าในแบรนด์ของตนเอง เพื่อรักษาฐาน ของลูกค้าให้มีความมั่นคงต่อไป เป้ารายได้ของปี 2560 บริษัทตั้งเป้าที่ 1,000 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก ปัจจุบัน 70% และคาดว่าจะมีส่วนแบ่งทางการตลาดในกลุ่มสิ่งทอและเส้นใย ทีม่ คี ณ ุ สมบัตพิ เิ ศษประมาณ 10% ปัจจุบนั มีพนั ธมิตรทางธุรกิจแล้วกว่า 50 ราย และคาดว่าในอนาคตจะมีพันธมิตรไม่ต่ำ�กว่า 100 ราย


“Oricga Oil” สารสกัดแมลงลดริ้วรอย

อีกนวัตกรรมที่น่าสนใจไม่แพ้กัน คือ กรดไขมัน� สกั ด จากตั ว อ่ อ นแมลงเฮอร์ มิ เ ที ย อิ ลู เ ซนส์ ที่ ใ ช้ อุตสาหกรรมความงาม ภายใต้แบรนด์ Oricga Oil ผูค ้ ด ิ ค้น และเจ้าของแบรนด์ คือ คุณชาญณรงค์ แสงเดือน กรรมการผู้จัดการ บริษัท โอริกก้า จำ�กัด เล่าว่า Oricga Oil เกิดจากความคิดทีว ่ า่ “ทำ�อย่างไร เราจะมี� ธุ ร กิ จ ของตั ว เอง ธุ ร กิ จ ที่ ม าจากสมองของเรามี ความแตกต่างและยังไม่เคยมีคนทำ�” เพราะเดิม คุณชาญณรงค์ ทำ�งานบริษัทโฆษณาเบอร์ต้น ๆ ของ ประเทศ เป็นนักคิดนักสร้างผลงาน ก่อนจะตัดสินใจในปี 2547 ออกมา ทำ�ธุรกิจส่วนตัว ด้วยความตั้งมั่น ต้องทำ�ธุรกิจที่แตกต่างจึงเริ่มหาความรู้ จากเอกสาร ดูนวัตกรรมทั้งในประเทศและต่างประเทศ ผ่านเครื่องมือหลัก คือ อินเทอร์เน็ต จนกระทั่งพบช่องว่างสำ�คัญ คือ สารสกัดจากปีกแมลง ที่ต่า งชาติ นำ� มาคิ ด ค้ น ทำ � ในรู ป อาหารสั ต ว์ เ พราะให้ ส ารที่เ ป็ น โปรตี น สู ง แต่คุณชาญณรงค์คิดต่างและยกระดับ ตัดสินใจพัฒนาน้ำ�มันจากปีกแมลง เพือ่ ใช้ในอุตสาหกรรมความงาม เพราะในน้�ำ มันพบสารทีส่ ามารถยับยัง้ อนุมลู อิสระได้ถงึ 60.5% มีศกั ยภาพในการนำ�มาพัฒนาเป็นเครือ่ งสำ�อางลดริว้ รอย โดยตลาดการพัฒนามีทงั้ การทดลองเพาะเลีย้ งแมลง ลองผิดลองถูกอยูห่ ลาย ปี จนสามารถเพาะเลี้ยงพ่อพันธุ์ แม่พันธุ์ สูข่ ั้นตอนฟักไข่และอนุบาลตัวอ่อน ไปสูก่ ารเลีย้ งตัวอ่อน จนสามารถนำ�ไปอบแห้งและบีบเอาน้�ำ มันออกมาในช่วง ปี 2555-2556 คุณชาญณรงค์ได้น�ำ ไปวิจยั เพือ่ ขอใบรับรองจากสถาบันต่างๆ มีการจดสิทธิบัตรในประเทศและต่างประเทศ นำ�ไปสู่การรับทุนสนับสนุนทั้ง จากสำ�นักงานนวัตกรรมแห่งชาติและมหาวิทยาลัยเชียงใหม่

คุณชาญณรงค์ แสงเดือน กรรมการผู้จัดการ บริษัท โอริกก้า จำ�กัด ผูบ้ ริหาร Oricga Oil ระบุถงึ ความตัง้ ใจการประกอบธุรกิจว่า จะเน้น ขายน้ำ�มันเพื่อใช้เป็นวัตถุดิบตั้งต้นของผลิตภัณฑ์ความงาม เพราะมอง ในเรื่องการกระจายความเสี่ยงเป็นหลัก โดยการขายวัตถุดิบที่เจ้าตัวเป็น ผู้คิดค้นจะทำ�ให้สามารถคอนโทรลตลาด มีความเสี่ยงน้อยกว่าการออก ผลิตภัณฑ์ความงามออกจำ�หน่ายเอง ทีม่ คี วามเสีย่ งโดยเฉพาะด้านการ ตลาดทีม่ กี ารแข่งขันสูง มีแบรนด์ไทยและต่างชาติแข่งขัน ต้องใช้เวลาใน การสร้างตลาด “ขณะนี้ธุรกิจความงามมีความน่าสนใจมากครับ เพราะตลาด เติบโตสูงจากพฤติกรรมของผูบ้ ริโภคทีใ่ ห้ความใส่ใจในการดูแลสุขภาพผิว ความสวยความงาม ทั้งผู้หญิงและผู้ชายทุกระดับอายุ โดยมูลค่าตลาด เครื่องสำ�อางสำ�หรับผิวพรรณสูงเกือบ 600,000 ล้านบาท และไทยยังมี การนำ�เข้าวัตถุดบิ จากต่างประเทศ 50-60% ซึง่ Oricga Oil จะเป็นวัตถุดบิ ในการผลิต ผลิตภัณฑ์ลดริว้ รอยทีส่ �ำ คัญของประเทศ” คุณชาญณรงค์ฉาย ภาพธุรกิจความงามอย่างตื่นเต้น ผูบ้ ริหาร Oricga Oil กล่าวถึงแผนการตลาดว่า ปัจจุบนั บริษทั ฯ มี มู ล ค่ า ทรั พ ย์ สิ น โดยเฉพาะทรั พ ย์ สิ น ทางปั ญ ญา มู ล ค่ า ประมาณ 50 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2559 ซึ่งอยู่ที่ 20 ล้านบาท เนื่องจากมี ผู้ ส นใจเข้ า มาร่ ว มทุ น และมี ก ารเจรจาสั่ ง ซื้ อ วั ต ถุ ดิ บ จากบริ ษั ท ชั้ น นำ � ของประเทศ โดยภายในปีนี้ บริษัท ฯ จะเปิดตัวสินค้า คือ กรดไขมัน สกัดจากแมลงอย่างเป็นทางการ ภายใต้แนวคิด "ธรรมชาติแต่ไม่ช้า” และจะเน้ น ทำ � ตลาดกั บ ผู้ ผ ลิ ต เครื่ อ งสำ � อางโดยตรง ขณะ เดี ย วกั น ก็ จ ะทำ � แบรนด์ เ ครื่ อ งสำ � อางตนเอง เพื่ อ สร้ า งการรั บ รู้ ให้ ม ากขึ้ น ภายใน 1-2 ปี นี้ เป็ น การเดิ น แผนการตลาดที่ ไ ม่ รี บ เร่ ง แต่มั่นใจว่าจะผลตอบรับที่ดีแน่นอน

วารสารอุ ตสาหกรรม วารสารอุ ตสาหกรรม/ 15 / 15


Biz Law

ดีเดย์ประกาศใช้ “กฎหมายแร่” ฉบับใหม่ ลดขั้นตอน ใบอนุญาต - เพิ่มโทษผู้ละเมิด

มื่อวันที่ 29 สิงหาคม มีกฎหมายฉบับใหม่ ซึ่งมีผล บังคับใช้ในการกำ�กับดูแล อุตสาหกรรมต้นน้ำ�ของไทย นั่นก็คือ พ.ร.บ.แร่ พ.ศ. 2560 ซึ่งจะมาแทน พ.ร.บ.แร่ พ.ศ.2510 ที่ ไ ด้ ใ ช้ ง านมานานถึ ง 50 ปี ไม่ ทั น ต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกยุคปัจจุบัน ซึ่งจะต้องทำ� ความเข้าใจในกฎหมายใหม่ฉบับนี้ เพราะกระทบต่อ อุตสาหกรรมต้นน้ำ�ทั้งหมดของไทย

16 / วารสารอุตสาหกรรม

สำ�หรับ พ.ร.บ.แร่ พ.ศ. 2560 มีสาระสำ�คัญได้แก่ การกำ�หนดให้รัฐมีหน้าที่ในการบริหารจัดการแร่ เพื่อ ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประเทศและการพัฒนาอย่าง ยัง่ ยืน คำ�นึงถึงดุลยภาพในการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมและ ผลกระทบต่อสุขภาพและสิง่ แวดล้อมอย่างรอบด้าน โดยกำ�หนด ให้ มี ค ณะกรรมการนโยบายบริ ห ารจั ด การแร่ แ ห่ ง ชาติ เป็นผู้จัดทำ�แผนแม่บทบริหารจัดการแร่ ซึ่งแผนแม่บท จะต้องกำ�หนดพื้นที่ที่ควรสงวนหวงห้ามหรืออนุรักษ์ไว้ และเขตแหล่งแร่เพื่อการทำ�เหมือง ซึ่งต้องเป็นพื้นที่ที่มี แหล่งแร่อดุ มสมบูรณ์และมีมลู ค่าทางเศรษฐกิจสูง ทีส่ �ำ คัญ ต้องไม่ใช่พนื้ ทีใ่ นเขตอุทยานแห่งชาติ เขตรักษาพันธุส์ ตั ว์ปา่ เขตโบราณสถาน พื้นที่แหล่งต้นน้ำ�หรือป่าน้ำ�ซับซึม พื้นที่ เขตปลอดภัยและความมั่นคงแห่งชาติ หรือ พื้นที่ที่มี กฎหมายห้ามเข้าใช้ประโยชน์โดยเด็ดขาด


นอกจากนี้ในกฎหมายฉบับใหม่ ยังกำ�หนดหลักการการรับฟัง ความคิดเห็นและการมีส่วนร่วมของประชาชนไว้อย่างชัดเจน ตั ้งแต่ ขั้นตอนการกำ�หนดนโยบาย การอนุญาตและภายหลังการอนุญาต ตลอดจนการกำ � หนดหลั ก เกณฑ์ ก ารจั ด สรรผลประโยชน์ จ ากการ ทำ�เหมืองสูท่ อ้ งถิน่ อันเป็นทีต่ งั้ ของเขตพืน้ ทีต่ ามคำ�ขออาชญาบัตรพิเศษ และประทานบัตร เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการพัฒนาท้องถิ่นและการปรับ สภาพพื้นที่ที่ผ่านการทำ�เหมืองแล้วและได้ปรับปรุงในเรื่องผู้มีอำ�นาจใน การอนุญาต ซึง่ ในกฎหมายเดิมการสำ�รวจแร่ การออกอาชญาบัตรสำ�รวจ แร่ ให้อำ�นาจเจ้าพนักงานอุตสาหกรรมแร่ประจำ�ท้องที่และอาชญาบัตร ผูกขาดสำ�รวจแร่และอาชญาบัตรพิเศษให้อำ�นาจเฉพาะรัฐมนตรี ส่วน กฎหมายใหม่ อาชญาบัตรสำ�รวจแร่ ได้กระจายอำ�นาจไปให้องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้อนุญาต อาชญาบัตรผูกขาดสำ�รวจแร่ ให้ อำ�นาจอธิบดีกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ (กพร.) เป็น ผูอ้ นุญาต โดยขณะทีอ่ าชญาบัตรพิเศษ ให้อ�ำ นาจอธิบดี กพร. โดยความ เห็นชอบของคณะกรรมการแร่ ส่วนการทำ�เหมืองในกฎหมายใหม่ได้ก�ำ หนดเหมืองแร่ไว้ 3 ประเภท เพื่อลดภาระในการขอและออกใบอนุญาตการประกอบธุรกิจเกี่ยวกับแร่ เท่าทีจ่ �ำ เป็น โดยเหมืองแร่ประเภทที่ 1 เป็นเหมืองแร่ขนาดเล็กไม่เกิน 100 ไร่

มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อย เปิดให้เจ้าพนักงานอุตสาหกรรมแร่ ประจำ�ท้องที่เป็นผู้อนุญาตโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการแร่ จังหวัด เพือ่ ให้เกิดความรวดเร็วในการพิจารณาและเปิดให้ทอ้ งถิน่ เข้ามา มีส่วนร่วมในการอนุญาต ขณะทีเ่ หมืองแร่ประเภทที ่ 2 มขี นาดไม่เกิน 625 ไร่ และเหมืองแร่ ประเภท 3 เป็นเหมืองแร่ขนาดใหญ่ เช่น เหมืองแร่ใต้ดิน เหมืองแร่ใน ทะเล ให้อธิบดีกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่เป็นผู้อนุญาต โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการแร่ซงึ่ เหมืองทัง้ 2 ประเภทนีม้ ขี นาด ใหญ่ ส่งผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมมากขึน้ และเป็นเหมืองทีต่ อ้ งใช้เทคนิค ชั้นสูง จึงต้องพิจารณาอย่างรอบคอบ ทัง้ นีใ้ นกฎหมายใหม่ยงั กำ�หนดมาตรการจูงใจให้ผปู้ ระกอบการมี ส่วนร่วมในการรับผิดชอบต่อสังคม สำ�หรับผู้ประกอบการอุตสาหกรรม แร่ที่สามารถบริหารจัดการทรัพยากรแร่ให้เกิดดุลยภาพทางเศรษฐกิจ สังคมและสิง่ แวดล้อมสูงกว่ามาตรฐานทีก่ ฎหมายกำ�หนด อาจได้รบั สิทธิ ประโยชน์ในการลดหย่อนหรือยกเว้นค่าธรรมเนียม รวมถึงการบริการอืน่ ๆ ภายใต้กรอบแห่งกฎหมาย แต่ในขณะเดียวกันได้เข้มงวดในการกำ�กับ การดู แ ลการประกอบการและดู แ ลสิ่ ง แวดล้ อ ม โดยการกำ � หนดให้ ผู้ประกอบการเหมืองแร่ต้องจัดทำ�แผนฟื้นฟูสภาพพื้นที่การทำ�เหมือง การพัฒนา การใช้ประโยชน์ การเฝ้าระวังผลกระทบสิ่งแวดล้อมทั้ง ภายหลังการทำ�เหมืองและการปิดเหมืองและให้วางหลักประกันฟื้นฟู สภาพพื้นที่ทำ�เหมืองเพื่อเยียวยาสิ่งแวดล้อมและผู้ได้รับผลกระทบจาก การทำ�เหมือง รวมถึงจัดทำ�ประกันภัย เพือ่ รับผิดชอบต่อบุคคลภายนอก เพิม่ เติมจากการวางหลักประกัน สำ�หรับการทำ�เหมืองประเภทที่ 2 และ 3 ในกฎหมายใหม่ ยังได้กำ�หนดมาตรการป้องกันและปราบปราม การฝ่าฝืนกฎหมายที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น กำ�หนดความรับผิดชอบ ทางแพ่งโดยให้มีค่าสินไหมทดแทนเพื่อการลงโทษ นอกเหนือจากความ รับผิดทางแพ่งทัว่ ไปและปรับเพิม่ อัตราโทษทางอาญา 30 เท่าของอัตรา โทษเดิม รวมทั้งมีมาตรการลงโทษที่ชัดเจนสำ�หรับเจ้าหน้าที่ที่กระทำ�ผิด ทุจริตในการควบคุมตรวจสอบเหมืองแร่และปรับปรุงอัตราค่าธรรมเนียม เพิ่มขึ้น 100 เท่าจากกฎหมายว่าด้วยแร่ฉบับเดิม

บทลงโทษที่แตกต่างระหว่าง พ.ร.บ. แร่ พ.ศ. 2510 และ พ.ร.บ. แร่ พ.ศ. 2560

สาระสำ�คัญ พ.ร.บ.แร่ พ.ศ. 2510 พ.ร.บ.แร่ พ.ศ. 2560 1. ความรับผิดทางแพ่ง

2. บทกำ�หนดโทษ

3. อัตราค่าธรรมเนียม

กำ�หนดให้รบั ผิดชอบในการกระทำ�ของตนต่อความเสียหาย หรือความเดือดร้อนรำ�คาญอันเกิดขึ้นแก่บุคคล ทรัพย์สิน หรือสิ่งแวดล้อม

กำ�หนดให้มคี า่ สินไหมทดแทนเพือ่ การลงโทษ นอกเหนือจากความ รับผิดทางแพ่งทั่วไป โดยให้ศาลมีอำ�นาจในการใช้ดุลพินิจที่จะ กำ�หนดค่าสินไหมทดแทนเพือ่ การลงโทษตามหลักเกณฑ์ทกี่ �ำ หนด

มีทั้งโทษปรับสถานเดียว โทษจำ�คุก หรือ ทั้งจำ�ทั้งปรับ

- ปรับปรุงบทกำ�หนดโทษให้เหมาะสมกับสถานการณ์ โดยเฉพาะ ปรับเพิ่มอัตราโทษ 30 เท่าของอัตราโทษเดิม - กำ�หนดให้มีการปรับเป็นรายวันในการกระทำ�ความผิดบางฐาน ความผิด - กำ�หนดให้มีคณะกรรมการเปรียบเทียบปรับ เพื่อให้เกิดความ รอบคอบและโปร่งใส ปรับปรุงอัตราค่าธรรมเนียมเพิ่มขึ้นจากที่กำ�หนดไว้ตามพระราช บัญญัติแร่ พ.ศ. 2510 จำ�นวน 100 เท่า

วารสารอุตสาหกรรม / 17


อก. Society

กระทรวงอุ ต สาหกรรมจั บ มื อ ภาครั ฐ และเอกชน ดั น อุ ต สาหกรรม หุ่นยนต์ขับเคลื่อนอุตสาหกรรมไทย เมือ่ วันที่ 30 สิงหาคม ทีผ่ า่ นมา ดร.อุตตม สาวนายน รัฐมนตรีวา่ การกระทรวง

อุ ต สาหกรรม ให้ เ กี ย รติ เ ป็ น ประธานในพิ ธี ล งนามบั น ทึ ก ข้ อ ตกลงความร่ ว มมื อ “รวมพลังความร่วมมือการขับเคลื ่อนอุตสาหกรรมหุ ่นยนต์และระบบอัตโนมัต ิส ู ่ ประเทศไทย 4.0” โดยมี นายศิ ร ิ ร ุ จ จุ ล กะรั ต น์ ผู ้ อ ำ � นวยการสำ � นั ก งานเศรษฐกิ จ อุ ต สาหกรรมพร้ อ มหน่ ว ยงานภาครั ฐ ภาคเอกชนและสถาบั น การศึ ก ษา จำ� นวน 14 หน่วยงานร่วมลงนาม ณ โรงแรมเดอะสุโกศล กรุงเทพ ฯ เพื่อผลักดันประสิทธิภาพการ ผลิตและการบริการ พร้อมยกระดับเทคโนโลยีการผลิตในภาคอุตสาหกรรม เช่น ด้าน การเกษตร ด้านสาธารณสุข ด้านโลจิสติกส์ ด้านการท่องเที่ยวและบริการด้านอื่น ๆ รวมถึงร่วมกันแก้ไขปัญหาการขาดแคลนแรงงาน โดยการนำ�หุ่นยนต์เข้ามาใช้เพื่อทดแทน แรงงานคน อีกทั้งยังช่วยส่งเสริมให้แรงงานมีทักษะมากขึ้น

กระทรวงอุตสาหกรรมเปิดศูนย์สนับสนุนและช่วยเหลือเอสเอ็มอี พร้อม เดินหน้าสู่ไทยแลนด์ 4.0 ดร.อุตตม สาวนายน รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงอุตสาหกรรม เป็นประธาน

เปิดศูนย์สนับสนุนและช่วยเหลือเอสเอ็มอี (SME Support & Rescue Center) โดยทาง กระทรวง ฯ ร่วมมือกับหน่วยงานในเครือข่ายภาครัฐ ภาคเอกชน เครือข่ายสถาบันการเงิน และสถาบันการศึกษา เพื่อปฏิรูปการสนับสนุน SMEs และเศรษฐกิจท้องถิ่นตามแนว ประชารัฐ โดยทางกระทรวง ฯ ต้องการทีจ่ ะเป็นหน่วยงานกลางทีท่ �ำ หน้าทีร่ บั คำ�ร้องของ ผู้ประกอบการ SMEs อีกทั้งยังช่วยประสานความช่วยเหลือจากหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชนและสถาบันการเงินกว่า 28 หน่วยงาน โดยทางศูนย์ ฯ ได้แบ่งกลุม่ เป้าหมาย ออกเป็น 3 กลุม่ ประกอบด้วย กลุม่ ที่ 1 ผูป้ ระกอบการทีม่ ศี กั ยภาพแต่มปี ญ ั หาด้านการเงิน กลุม่ ที่ 2 คือ กลุม่ ทีม่ ศี กั ยภาพแต่มปี ญ ั หาด้านการจัดการและกลุม่ ที่ 3 คือ กลุม่ ทีม่ ศี กั ยภาพ ในการการฟืน้ ฟูไม่มาก ทัง้ นีผ้ ปู้ ระกอบการทีส่ นใจสามารถสอบถามรายละเอียดการรับบริการได้ 8 ช่องทาง ได้แก่ (1) ศูนย์สนับสนุนและช่วยเหลือเอสเอ็มอี ทั่วประเทศ (2) ตู้ ปณ. 34 ปณฝ.กรมโรงงานอุตสาหกรรม เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10413 (3) Call Center 1358 (4) โทรศัพท์ 0 2202 3265, 0 2202 3765 (5) อีเมล info@smessrc.com (6) www.smessrc.com (7) www.facebook.com/smessrc และ (8) Line Official : smessrc นอกจากนี้ยังสามารถส่งเรื่องผ่านหน่วยงานเครือข่ายกว่า 3,800 แห่งทั่วประเทศ

กระทรวงอุตสาหกรรมจับมือพัฒนาผู้ประกอบการ SMEs ภาคใต้ให้ก้าวสู่ Industry 4.0 เมื่อวันที่ 28 สิงหาคม 2560 ที่ผ่านมา นายสมชาย หาญหิรัญ

ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม นำ�คณะสือ่ มวลชนลงพืน้ ทีภ่ าคใต้ เพือ่ เยีย่ มสถาน ประกอบการทีเ่ ข้าร่วมโครงการ OPOAI ประจำ�ปี 2560 โดยมีบริษทั เฉาก๊วยสงขลา ชากังราว จำ�กัด จ.สงขลา ซึ่งหลังจากที่บริษัท ฯ เข้าร่วมโครงการ ส่งผลให้ สามารถลดการสูญเสียจากกระบวนการผลิตได้ถึง 127,800 บาทต่อปี และยั ง สามารถลดต้ น ทุ น เพิ่ ม รายได้ ใ ห้ กั บ สถานประกอบการได้ ก ว่ า 505,800 บาทต่อปีและบริษัท เห็ดทอดนาโหนด ฟู้ดส์ จำ�กัด จ.พัทลุง ที่หลังจากเข้าร่วมโครงการ ฯ สามารถลดระยะเวลาในกระบวนการทอดเห็ด ให้สั้นลงและสามารถเพิ่มปริมาณการผลิตได้มูลค่า 331,602.43 บาทต่อปี

18 / วารสารอุตสาหกรรม


กระทรวงอุ ต สาหกรรมส่ ง มอบดอกไม้ จ ั น ทน์ เพื ่ อ ใช้ ใ น งานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 นางสาวนิ ส ากร จึ ง เจริ ญ ธรรม รองปลั ด กระทรวง

อุ ต สาหกรรม นำ � คณะข้ า ราชการและเจ้ า หน้ า ที ่ จ ากกระทรวง อุตสาหกรรม ส่งมอบดอกไม้จนั ทน์ จำ�นวน 5 แบบ ได้แก่ ดอกดารารัตน์ ดอกกุหลาบ ดอกพุดตาน ดอกชบาและดอกลิลลี่ เพือ่ ใช้ในงานพระราช พิธถี วายพระเพลิงพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ล อดุลยเดช บรมนาถบพิตร ณ สำ�นักพระราชวัง สนามเสือป่า

สำ�นักงานอุตสาหกรรมจังหวัดอำ�นาจเจริญ จัดประชุมเพือ ่ พิจารณาอนุมต ั ส ิ น ิ เชือ ่ กองทุนพัฒนาเอสเอ็มอี เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2560 สำ�นักงานอุตสาหกรรมจังหวัด

อำ�นาจเจริญ จัดประชุมคณะอนุกรรมการบริหารกองทุนพัฒนา เอสเอ็มอีตามแนวประชารัฐ จังหวัดอำ�นาจเจริญ ครั้งที่ 4/2560 ณ ห้องประชุม ฝ้ายชิดคำ�พระ ชัน้ 2 ศาลากลางจังหวัดอำ�นาจเจริญ โดย มีนายสิรริ ฐั ชุมอุปการ ผูว้ า่ ราชการจังหวัดอำ�นาจเจริญ ให้เกียรติมา เป็นประธาน ฯ และนางสาวนิลเนตร โลหะพจน์พิลาศ อุตสาหกรรม จังหวัดอำ�นาจเจริญเป็นอนุกรรมการดำ�เนินการจัดประชุม เพื่อ พิจารณาอนุมัติสินเชื่อกองทุนพัฒนาเอสเอ็มอีตามแนวประชารัฐ จังหวัดอำ�นาจเจริญ โดยที่ประชุมอนุมัติวงเงินจำ�นวน 3 รายได้แก่ หจก.เคทีพี กรุ๊ป ผลิตและจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์จากผ้าขาวม้า หจก. ส.อำ�นาจไฟฟ้า บริหารเดินสายไฟฟ้าและจำ�หน่ายอุปกรณ์ไฟฟ้าและ สุดท้าย หจก.ก้าวหน้าค้าวัสดุ จำ�หน่ายวัสดุและอุปกรณ์ก่อสร้าง

กลุม ่ ประสิทธิภาพองค์กรที่ 1 จัดประชุมร่วมจัดทำ�แผนงาน พร้อมเปิดตัวโครงการพัฒนาศักยภาพอุตสาหกรรมเชิง สร้างสรรค์ วันที่ 5 กันยายน 2560 นายบรรจง สุกรีฑา อุตสาหกรรม

จังหวัดปทุมธานี เป็นประธานในการประชุมคณะกรรมการส่งเสริมการ ดำ�เนินงานการพัฒนาประสิทธิภาพองค์กร กลุ่มที่ 1 ณ ห้องประชุม สอจ. ปทุมธานี เพือ่ ระดมสมองร่วมกันพิจารณาการจัดทำ�แผนงานและ ข้อเสนอโครงการตามพื้นที่ในภาคกลาง ก่อนนำ�เสนอของบประมาณ ประจำ�ปี พ.ศ.2562 และพิจารณาจัดเตรียมความพร้อมการดำ�เนินงาน เปิดตัวโครงการพัฒนาศักยภาพอุตสาหกรรมเชิงสร้างสรรค์ ประจำ�ปี งบประมาณ พ.ศ.2560 ในวันที่ 15 กันยายน 2560 ณ ศูนย์แสดงสินค้า และการประชุมอิมแพ็ค เมืองทองธานี จังหวัดนนทบุรแี ละเตรียมการจัด สัมมนาโครงการเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากร ใน ระหว่างวันที่ 23-24 กันยายน 2560 ณ โรงแรมพาวีเลีย่ น ริมแคว รีสอร์ท จั ง หวั ด กาญจนบุ ร ี โ ดยมี ค ณะกรรมการอุ ต สาหกรรมจั ง หวั ด และ เจ้าหน้าที่ของสอจ. ทั้ง 12 จังหวัดเข้าร่วมประชุมโดยพร้อมเพรียงกัน

วารสารอุตสาหกรรม / 19


Sustainable

Biz

ปูนซิเมนต์ไทย (แก่งคอย) กับรางวัล

“อุตสาหกรรมสีเขียวระดับ 5”

ถอดรหัสการพัฒนาธุรกิจสู่ความยั่งยืน

20 / วารสารอุตสาหกรรม


อุตสาหกรรมสีเขียว ระดับ 5 เป็นรางวัลทีก่ ระทรวงอุตสาหกรรม มอบให้กบั สถานประกอบการทีม่ งุ่ พัฒนาธุรกิจให้เกิดความยัง่ ยืน การจะได้ รับรางวัลดังกล่าวได้นนั้ ต้องเกิดจากการความร่วมมือของทุกคนในองค์กร “อุ ต สาหกรรมสี เขี ย วมี ระดั บ 5” สำ � หรั บ สถานประกอบการที่ ไ ด้ รั บ “อุตสาหกรรมสีเขียว ระดับ 5 ” ซึง่ นับเป็นระดับสูงสุดไม่เพียงพัฒนาเพียง ภายในองค์กรเท่านั้น ยังต้องทำ�ทั้งเครือข่ายธุรกิจรวมถึงคู่ค้าบริษัทลูก ของตนด้วย และในปี 2559 มีเพียง 30 ราย ทีไ่ ด้รบั การรับรองนี้ ทัง้ นีเ้ พือ่ เป็นแนวทางการเรียนรู้ให้ตลาดธุรกิจอุตสาหกรรมต่างๆ ตระหนักถึงการ พัฒนาองค์กรอย่างยั่งยืน

อุดมการณ์ขับเคลื่อนองค์กร

ภาพรวมของ SCG มีวสิ ยั ทัศน์ (Vision) เติบโตควบคูไ่ ปกับ ความยัง่ ยืนโดย บริษทั ฯ มองเป็น 3 ส่วน ทีเ่ รียกว่า Triple Bottom Line หรือวงกลม 3 วงทีว่ างตัดกัน (Intersect) วงกลม 3 วงนีป้ ระกอบด้วยธุรกิจ ซึง่ หมายถึง เงินทุนและผลกำ�ไรของบริษทั ฯ ชุมชน ทีอ่ ยูบ่ ริเวณโดยรอบ อยู่ กั น อย่ า งเข้ า ใจและมี ค วามสุ ข ร่ ว มกั น สุ ด ท้ า ยสิ่ ง แวดล้ อ ม ซึ่ ง บริ ษั ท ฯ ให้ ค วามสำ � คั ญ เมื่ อ เราใช้ ท รั พ ยากรธรรมชาติ ไปเราต้ อ งสร้ า งทดแทนและต้ อ งทำ � ให้ ชุม ชน เห็ น ถึ ง ความ ตัง้ ใจทีเ่ ราดูแลและทำ�อย่างจริงจัง โดยวงกลม 3 วงนี้ บริษทั ฯ ได้ให้ Sustainable Biz ฉบับนี้จึงสัมภาษณ์ คุณภิญโญ หาญศีลวัต ความสำ�คัญอย่างเท่าเทียมเป็นการบริหารแบบสมดุลในส่วน กรรมการผู้จัดการ บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย (แก่งคอย) จำ�กัด ที่พร้อม ของอุ ด มการณ์ ที่ ใ ช้ เ ป็ น มาตรฐานในเครื อ SCG ทั้ ง ใน ถ่ า ยทอดประสบการณ์ ต รงบอกเล่ า ถึ ง ความภาคภู มิ ใ จในรางวั ล ประเทศไทยและต่างประเทศ คือ อุดมการณ์สี่ มี 4 ข้อ ตั้งมั่น อุตสาหกรรมสีเขียว ระดับ 5 และแนวทางการบริหารงานที่จะทำ�ให้ ในความเป็นธรรม,มุง่ มัน่ ในความเป็นเลิศ , เชือ่ มัน่ ในคุณค่าของคน , ถือมัน่ ในความรับผิดชอบต่อสังคม ถ้าถอดรหัสปรัชญาองค์กรทีน่ �ำ องค์กรสามารถเติบโตไปกับชุมชนและรักษาสิ่งแวดล้อมได้ มาบริหาร คือ บริษทั ฯ ให้ความเป็นธรรมกับทุกคนทัง้ พนักงาน คูค่ า้ ธุรกิจ ชุมชนโดยรอบแม้กระทัง่ สิง่ แวดล้อม บริษทั ฯ คิดเสมอว่าโรงงาน ปูนซิเมนต์ได้ใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างภูเขา ดังนั้นเราจึงคืน

จุดเริ่มต้นของปูนซิเมนต์ไทย (แก่งคอย)

โร ง ง า น ปู น ซิ เ ม น ต์ ไ ท ย ( แ ก่ ง ค อ ย ) จั ง ห วั ด ส ร ะ บุ รี ก่ อ ตั้ ง เมื่ อ ปี พ.ศ. 2512 จนถึ ง ปั จ จุ บั น ดำ � เนิ น การมา 48 ปี ซึ่ ง มี ก ารบริ ห ารแยกจาก บริ ษั ท ปู น ซิ เ มนต์ ไ ทย จำ � กั ด หรื อ SCG ตัง้ แต่ชว่ งวิกฤตเศรษฐกิจปี 2540 แต่นโยบายหลักเราใช้ร่วมกันทุกบริษัท ฯ ในเครือ SCG โดยมีปรัชญาหรืออุดมการณ์เดียวกัน สำ�หรับการเลือกพืน้ ที่ การก่อตั้งโรงงานปูนซิเมนต์ที่อำ�เภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี นั้นเพราะ ภู ม ิ ป ระเทศมี ค วามเหมาะสมทั ้ ง ด้ า นทรั พ ยากรและการขนส่ ง มีภูเขาซึ่งเป็นหัวใจสำ�คัญในการนำ�มาทำ�ปูนซิเมนต์และสามารถขนส่งได้ ทั้งทางรถและรถไฟซึ่งบริษัท ฯ แม่คือ SCG อยู่ที่บางซื่อ สามารถขนส่ง ทางราง ปลายทางที่ชุมชนรถไฟบางซื่อนั่นเอง

สมดุลให้ดว้ ยวิธี Semi Open Cut คือ ทำ�เหมืองตรงกลางตัวด้านนอก ของภูเขาให้มองภาพเหมือนแตงโมเราเหลือไว้ประมาณ 40% ไม่แตะต้อง ให้คงสภาพป่าเดิมไว้ ใช้ตรง 60% เท่านั้น สิ่งที่ เราดำ�เนินการจริง เราจะระเบิดเป็นขัน้ บันได ค่อยๆ ลงไปทีละชัน้ และ ปลูกต้นไม้ทดแทนคืนระบบนิเวศให้กบั ธรรมชาติ โดยรักษาพันธุไ์ ม้ เดิมของป่าภูเขาไว้ วิธกี าร คือ เราเก็บเมล็ดพันธุ์ รอบป่ามีประมาณ 50 สายพันธุ์ แล้วเอามาเพาะเป็นต้นกล้าทีศ่ นู ย์เพาะชำ� ใช้เวลาเพาะ ประมาณ 6 เดือน ปีหนึ่งเรามีต้นกล้าประมาณ 20,000 ต้น เอากลับเข้าไปในพื ้นที ่เดิม ใน 1 ตารางเมตรมีพ ันธุ ์อะไรบ้าง เราก็เอาพันธุน์ น้ ั ไปปลูก โดยมีการถมให้ตดั Slope ความสูงประมาณ 12 เมตร เท่ากับตึก 4-5 ชั้น เพราะสัตว์ป่าจะได้เคลื่อนย้ายได้ เราพยายามรักษาความลาดชัน เผื่อเวลาฝนตก ระบบนิเวศจะ หมุ น เวี ย นสมดุ ล ธรรมชาติ แ ละเติ ม ส่ ว นที ่ ห ายไปรวมทั ้ ง หา นวัตกรรม ความรู้ใหม่ ๆ มาเพิ่มให้เต็ม ซึ่งแนวทางนี้จะทำ�ให้ เกิดความยั่งยืนในชุมชนส่งต่อไปยังลูกหลาน

วารสารอุตสาหกรรม / 21


ธุรกิจเติบโตไปกับชุมชน บริเวณโดยรอบโรงงานมีหมู่บ้านกว่า 44 หมู่บ้านใน 6 ตำ�บล แน่นอนว่าการที่ระเบิดหินแต่ละครั้ง ชุมชนโดยรอบจะได้รับผลกระทบ ทั้งด้านเสียงรวมไปถึงแรงสั่นสะเทือน ซึ่งใน 1 อาทิตย์ บริษัท ฯ จะทำ�การระเบิดหิน 3 วัน คือ จันทร์ พุธ ศุกร์ ช่วงเวลา 4 โมงเย็น ทุกๆ ครั้งบริษัท ฯ จะส่งเจ้าหน้าที่ไปประจำ�ตามหมู่บ้านเพื่อทดสอบ เสียงและแรงสัน่ สะเทือน อยูร่ ว่ มกับชาวบ้านเพือ่ รับรูส้ ถานการณ์รว่ มกัน นำ�ข้อมูลมาวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา นอกจากนี้บริษัท ฯ ได้ให้ ความสำ�คัญกับการสร้างรายได้ให้ชุมชน โดยให้พนักงานกว่า 650 คน เข้าไปคลุกคลีกับคนในชุมชนเพื่อที่จะพัฒนาและส่งเสริมอาชีพ ทาง บริษัท ฯ จะมีเงินทุนให้ปีละ 30,000 บาท ต่อหนึ่งหมู่บ้าน ยกตัวอย่าง ชุมชนบ้านบางคล้า ที่ทางบริษัท ฯ ได้เข้าไปสอนวิธีการทำ�ผ้ายุต หรือ ชุมชนบ้านท่าที่ตอนนี้ทำ�การเพาะเห็ด เราต้องทำ�งานไม่ให้มีผลกระทบต่อคนรอบตัว เช่น เวลา มีฝุ่น ทำ�ให้ประชาชนเดือดร้อน แต่ประชาชนคนนั้น คือ พวกผม คนในโรงงานที่ใกล้กับเครื่องจักร เราสูดดม สัมผัสอยู่ตลอดเวลา คนที่หายใจคนแรก คือ พนักงาน คู่ธุรกิจ พวกผมเอง หากมีมลภาวะ ที่ส่งผลกระทบเราจะเป็นกลุ่มแรกที่ได้รับ รวมถึงมีบ้านพักพนักงาน หลายครัวเรือน ชุมชนที่ทำ�งานกับเรา คือ ชุมชนรอบโรงปูน ถ้าเราทำ� ไม่ดี ปล่อยของไม่ดีออกไปมันก็จะไปถึงคนเหล่านี้ ทุกอย่างที่เราทำ� เป็นบทพิสูจน์ความตั้งใจขององค์กรที่มีต่อทุกคน

อุตสาหกรรมสีเขียวแนวทางทำ�ธุรกิจ สู่ความยั่งยืน

เรือ่ งของ Supplier ทาง SCG มีเกณฑ์ประเมินมาตรฐานคูค่ า้ ทีจ่ ะต้องผ่านเกณฑ์อย่างน้อยในระดับ 2 ( Green Level 2 ) เพราะฉะนัน้ บริษทั คูค่ า้ จะต้องไปปรับปรุงองค์กร ซึง่ ถือเป็นเกณฑ์พจิ ารณาเบือ้ งต้น ถ้าผ่านก็จะได้ขนึ้ ทะเบียนคูค่ า้ ( Vender List ) และทำ�ค้าขายกันต่อไป ดังนัน้ เราจึงมัน่ ใจคำ�ว่า “เครือข่าย” ของ SCG ว่ามีอดุ มการณ์และปรัชญา ด้านอุตสาหกรรมสีเขียวไปในแนวทางเดียวกัน ซึ่งก็เป็นเหตุผลที่ ทำ�ให้ บริษทั ปูนซิเมนต์ไทย (แก่งคอย) จำ�กัด ได้รบั “ รางวัลอุตสาหกรรม สีเขียว ระดับ 5 ” ปัจจุบนั ชาวบ้านมีชอ่ งทางการรับรูข้ า่ วสารมากขึน้ อย่างการใช้ โซเชียลมีเดียเข้าถึงข้อมูลทำ�ได้เร็ว ดังนั้นถ้าทำ�ดีคนก็ชมเร็วและถ้าทำ� ไม่ดคี นก็จะต่อว่าเร็ว หรือ ส่งข่าวไปให้สงั คมรับรูอ้ ย่างเร็ว เพราะฉะนัน้ ไม่มอี ะไรเป็นความลับ ถ้าคุณอยากทำ�ธุรกิจอยูก่ บั ชุมชนต้องเติบโตไป พร้อมๆ กับชุมชน ทำ�มันอย่างจริงจัง ถ้าคิดถึงแต่ประโยชน์ของตัวเอง คุณจะทำ�ได้ช่วงหนึ่งเท่านั้นเอง อายุของการทำ�แบบนั้นมันยิ่งสั้นลง สุดท้ายความดี คิดดี ทำ�ดี อย่างจริงใจต่างหากที่จะทำ�ให้สังคมชุมชน ยอมรับและอยู่ร่วมกันได้อย่างยั่งยืน ซึ่งต้องมุ่งมั่นตั้งใจและลงมือ ปฏิบัติ ผมเชื่อว่าไม่ว่าจะโรงงานเล็กหรือใหญ่ก็สามารถทำ�ได้

22 / วารสารอุตสาหกรรม

คุณภิญโญ หาญศีลวัต กรรมการผู้จัดการ บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย (แก่งคอย) จำ�กัด


Show Case

สตาร์ทอัพผลิต "หุ่นยนต์แขนกล" เพิ่มคุณภาพทดแทนแรงงานขาด

คุณอรัญ อนุพรรณสว่าง กรรมการผู้จัดการ บริษัท อาร์เอสที โรโบติกส์ จำ�กัด

ลายคนคงเริม ่ คุน ้ ชินคำ�ว่า “สตาร์ทอัพ” หลังจากรัฐบาล พยายามผลั ก ดั น ให้ ก ลุ่ ม ผู้ ป ระกอบการสตาร์ ท อั พ ในประเทศไทย เป็ น กลไกหลั ก สำ � คั ญ ในการขั บ เคลื่ อ น เศรษฐกิ จ ของประเทศให้โตอย่างยั่งยืน จากเดิมพึ่งแต่บริษัท รายใหญ่เพียงไม่กี่รายเท่านั้น อีกทั้งเตรียมพร้อมให้ก้าวเข้าสู่ ไทยแลนด์ 4.0 โดยความหมาย “สตาร์ทอัพ” มาจากแนวคิด “สตีฟ แบลงค์” ผูไ้ ด้ชอ ่ื ว่าเป็นบิดาแห่งสตาร์ทอัพ ชาวสหรัฐ ฯ ได้ให้คำ�นิยามว่า “กิจการที่ตั้งขึ้น เพื่อค้นหาโมเดลธุรกิจที่ ทำ � ซ้ำ � และขยายตั ว ได้ ” ขณะที่ ก ระทรวงอุ ต สาหกรรมได้ ใ ห้ คำ � จำ � กั ด ความว่ า “เป็ น ผู้ ป ระกอบการที่ เ ริ่ ม ต้ น ทำ � ธุ ร กิ จ ใหม่ หรื อ ผู้ ป ระกอบการที่ ทำ � ธุ ร กิ จ มาแล้ ว แต่ พั ฒ นาไป สู่ ธุ ร กิ จ ใหม่ ซึ่ ง จะเป็ น รู ป แบบบุ ค คล หรื อ นิ ติ บุ ค คลก็ ไ ด้ ”

คอลั ม น์ “Show Case” ครั้ ง นี้ ขอนำ � เสนอตั ว อย่ า งผู้ ป ระกอบการ สตาร์ทอัพที่น่าสนใจ จากธุรกิจโรงงานผลิตจักรกลขายเครื่องจักรเกษตร มาต่อยอด สร้ า งธุ ร กิ จ ใหม่ ผ ลิ ต หุ่ น ยนต์ แขนกลฝี มื อ คนไทย ซึ่ ง ถื อ เป็ น หนึ่ ง ในอุ ต สาหกรรม เป้ า หมายของรั ฐ บาล โดย “คุ ณ อรั ญ อนุ พ รรณสว่ า ง” กรรมการผู้ จั ด การ

วารสารอุตสาหกรรม / 23


บริษัท อาร์เอสที โรโบติกส์ จำ�กัด เป็นบริษัทในเครือรวมสินไทย เล่ า ถึ ง การต่ อ ยอดธุ ร กิ จ ให้ ฟั ง ว่ า ตั้ ง แต่ ปี 2530 เริ่ ม ต้ น ก่ อ ตั้ ง บริ ษั ท รวมสิ น ไทย เป็ น ตั ว แทนจำ � หน่ า ยเครื่ อ งจั ก รกล เกษตร รถเกี่ ย วข้ า ว โรงงานผลิ ต เครื่ อ งจั ก รกลและอุ ป กรณ์ เครือ่ งจักรกลทางการเกษตรที่ จ.อุบลราชธานี จากนั้ น ในปี 2540 จึ ง ได้ เ ริ่ ม ทำ � โรงงานผลิ ต ชิ้ น ส่ ว น อุปกรณ์ เพื่อใช้ประกอบรถแทรกเตอร์และชิ้นส่วนอื่น ๆ ต่อมา ปี 2553 เริ่มขยายกำ�ลังการผลิตและเริ่มเห็นถึงการขาดแคลน แรงงานช่างเชื่อม ช่างตัดเหล็กที่มีฝีมือ จึงเริ่มมองหาเทคโนโลยี ใหม่ เ ข้ า มาทดแทน ซึ่ ง เห็ น ว่ า เทคโนโลยี หุ่ น ยนต์ ที่ ผ ลิ ต โดย ต่างประเทศ สามารถตอบโจทย์ได้ ไม่ต้องกังวลปัญหาแรงงาน ทั้ ง ด้ า นประสิ ท ธิ ภ าพและการลาหยุ ด รวมทั้ ง ชิ้ น งานแต่ ล ะชิ้ น จะมี คุ ณ ภาพเท่ า เที ย มกั น แต่ ใ นขณะนั้ น หุ่ น ยนต์ มี ร าคา แพง จึ ง เป็ น แรงบั น ดาลใจให้ เ ริ่ ม วิ จั ย พั ฒ นา จนกลายเป็ น จุดเปลี่ยนในการต่อยอดจากการทำ�ธุรกิจเดิม ด้วยความหลงใหลในนวัตกรรมหุ่นยนต์ของคุณอรัญ จึง พยายามค้ น คว้ า หาความร่ ว มมื อ และได้ รั บ การสนั บ สนุ น จาก หน่ ว ยงานต่ า งๆ เช่ น กรมส่ ง เสริ ม อุ ต สาหกรรม ศู น ย์ ส่ ง เสริ ม อุ ต สาหกรรมภาค 7 อุ บ ลราชธานี มหาวิ ท ยาลั ย อุ บ ลราชธานี ขยายผลไอเดีย จนทำ�ให้เกิดเป็นรูปธรรมอวดโฉมได้ในปี 2560 เริ่มวางแผนการตลาด “หุ่นยนต์แขนกลอุตสาหกรรม” สู่โรงงาน ซึ่ ง ขณะนี้ เ ริ่ ม มี บ ริ ษั ท ขนาดใหญ่ ได้ ม าหารื อ ความต้ อ งการ ใช้ หุ่ น ยนต์ แขนกลแล้ ว เช่ น การหยิ บ ขวดบรรจุ หยิ บ สิ่ ง ของ ขึ้นไลน์การผลิต การเชื่อมงาน การตัดเหล็ก เป็นเรื่องที่น่ายินดีมาก ที่ผู้ประกอบการรายใหญ่ เห็นถึงความสำ�คัญของผู้ประกอบการ SMEs ในประเทศ จุ ด เด่ น ของหุ่ น ยนต์ แ ขนกลนั้ น ถื อ เป็ น เทคโนโลยี เลี ย นแบบแขนมนุ ษ ย์ สามารถรั บ น้ำ � หนั ก ที่ ป ลายแขนได้ สู ง สุ ด ถึง 200 กิโลกรัม สามารถเคลื่อนที่ได้ทั้ง 6 แกน ทำ�ให้มีความ แม่นยำ�เที่ยงตรงสูง เช่น การยกสินค้าต่าง ๆ การเชื่อม ตัดเหล็ก หากใช้ แ รงงานคน ต้ อ งติ ด ตามและตรวจสอบการทำ � งานว่ า มีความเที่ยงตรงหรือไม่ งานออกมามีคุณภาพหรือไม่ ที่สำ�คัญ ยั ง สามารถตอบโจทย์ ก ารขาดแคลนแรงงานมี ฝี มื อ ที่ นั บ วั น หายากมากขึ้ น แต่ ใช้ หุ่ น ยนต์ แขนกล เพี ย งแค่ ป้ อ นข้ อ มู ล ใน โปรแกรม ต้ อ งการรู ป แบบไหน หุ่ น ยนต์ ส ามารถทำ � ได้ ทั น ที ชิ้นผลงานคุณภาพเท่าเทียมกัน โดยหุ่นยนต์สามารถทำ�งานแทนคน

24 / วารสารอุตสาหกรรม

ได้ 3 - 5 คนต่อหุ่นยนต์ 1 ตัว ราคาอยู่ที่ประมาณตัวละ 1 ล้านบาท ถูกกว่าต่างประเทศ 30-40% รวมทั้งยังมีจุดเด่นเรื่องการให้บริการ หลั ง การขาย เพราะเป็ น หุ่ น ยนต์ ที่ ผ ลิ ต ในประเทศ อย่ า งไรก็ ตามล่ า สุ ด ตนได้ เข้ า ร่ ว มโครงการกองทุ น พั ฒ นาเอสเอ็ ม อี ต ามแนว ประชารั ฐ ซึ่ ง ได้ รั บ สิ น เชื่ อ มา 3 ล้ า นบาท ดอกเบี้ ย เพี ย ง 1% ต่ อ ปี ตลอดอายุ สั ญ ญาไม่ เ กิ น 7 ปี เป็ น เรื่ อ งดี ท่ี ภ าครั ฐ มี สิ น เชื่ อ แบบนี้ อ อกมา เพราะดอกเบี้ ย ถู ก เหมาะกั บ SMEs ในการ เริ่มต้น หรือ ขยายธุรกิจ โดยตนจะนำ�ไปจัดหาเครื่องจักรอุปกรณ์ เพิ่มเติม จัดหาวัตถุดิบและอุปกรณ์การผลิต “ตอนนี้อยากให้รัฐบาล ช่วยประชาสัมพันธ์ หาแนวทางการ ทำ�ตลาดเพื่อเพิ่มความต้องการใช้หุ่นยนต์แขนกล ที่เป็นสิ่งประดิษฐ์ ของคนไทย รวมทั้งอยากให้สถาบันการศึกษา เช่น วิทยาลัยเทคนิค ต่ า ง ๆ ซื้ อ หุ่ น ยนต์ ที่ ป ระกอบโดยคนไทย ไปใช้ เ ป็ น สื่ อ การเรี ยน การสอน เช่ น ซื้ อ ของต่ า งประเทศอาจได้ 1 ตั ว แต่ ข องไทยได้ 2 ตัว แผนต้นปี 2561 ผมเตรียมเปิดศูนย์การเรียนรู้หุ่นยนต์แขนกล เพื่ อ ให้ นั ก เรี ย นอาชี ว ะเข้ า มาฝึ ก งานได้ คาดว่ า จะรองรั บ ได้ ปี ล ะ กว่า 100 คนและจะทำ�โรงงานต้นแบบ ใช้หุ่นยนต์แทนแรงงานคน เพื่อ ให้สถานประกอบการอื่น ๆ เข้ามาดูว่าทำ�ได้จริงและลดต้นทุนเพิ่ม ประสิทธิภาพได้ขนาดไหน ซึ่งในปี 2561 เตรียมวางแผนการตลาดใน ประเทศกลุ่มซีแอลเอ็มวี (CLMV) กัมพูชา ลาว เมียนมา เวียดนาม"


“ทัพพีนักคิด" ไอเดียบ้าน ๆ ใส่นวัตกรรมโกยเงินล้าน

คุณปรินทร์ ประกายเลิศลักษณ์ ” เจ้าของบริษทั แฟนตาซีแลนด์ จำ�กัด

“ผมเป็นนักประดิษฐ์” ที่ต้องการประดิษฐ์สิ่งของที่สร้างสรรค์ แล้ ว นำ � ผลงานนั้ น ไปจดสิ ท ธิ บั ต ร เพื่ อ ให้ เ ป็ น ทรั พ ย์ สิ น ทางปั ญ ญา นี่ คื อ คำ � พู ด ของ “คุ ณ ปริ น ทร์ ประกายเลิ ศ ลั ก ษณ์ ” เจ้ า ของธุ ร กิ จ ที่ คิ ด ค้ น นวั ต กรรมฝี มื อ คนไทยในนาม บริ ษั ท แฟนตาซี แ ลนด์ จำ � กั ด คุณปรินทร์เล่าให้ฟังว่า เริ่มก่อตั้งบริษัทมาเกือบ 30 ปีแล้ว โดย 10 ปีแรก เป็ น ช่ ว งลองผิ ด ลองถู ก เป้ า หมายไม่ ชั ด เจน ก็ ทำ � โน่ น ทำ � นี่ ไ ปเรื่ อ ย จนกระทั่งปรับโครงสร้างบริษัทใหม่ ในช่วง 10 ปีหลัง จึงปรับปรุงแผนงาน จนทำ � ให้ ผ ลงานนั้ น กลายเป็ น สิ น ค้ า ที่ ส ามารถสร้ า งยอดขายให้ แ ก่ บริษัท ฯ และเลี้ยงตัวเองได้ จึงทำ�ให้เกิดแนวคิดที่จะนำ�สิ่งของที่ประดิษฐ์ มาพั ฒ นาให้ เ ป็ น สิ น ค้ า ที่ ส ามารถขายได้ ต รงกั บ ความต้ อ งการของ ผู้ บ ริ โ ภค ซึ่ ง ก่ อ นหน้ า นี้ ไ ด้ คิ ด ค้ น สิ่ ง ประดิ ษ ฐ์ ใ หม่ ๆ พร้ อ มทั้ ง ยื่ น ขอ จดสิทธิบัตรไปกว่า 80 สิทธิบัตรและได้รับอนุมัติแล้วกว่า 10 สิทธิบัตร ปัจจุบันมีนวัตกรรมหรือสินค้าที่คิดค้นและวางจำ�หน่ายรวมๆ แล้วกว่า 10 รายการ สินค้าที่ขายดีจัดว่าดีมากจนถึงทุกวันนี้ คือ ทัพพีนักคิด ซึ่งก็ คื อ ทั พ พี ตั ก ข้ า วที่ ใช้ กั น ตามครั ว เรื อ น แต่ ค วามแตกต่ า งคื อ การเลื อ ก วัสดุไร้สารพิษ ทำ�ด้วยวัสดุฟู้ดเกรดเป็นมิตรกับอาหาร ตักข้าวเสร็จแล้ว ข้าวไม่เกาะ ใช้ง่าย ล้างง่าย กันมด แมลง จิ้งจก แมลงสาบ สะอาด ตลอดเวลา ด้วยระบบอบไอชื้นและกันเชื้อ ตักสะอาดทั้ง 3 มื้อ ล้างเพียง ครั้งเดียวต่อวันก็เพียงพอ ไม่ต้องล้างทุกมื้อ มีท้งั แบบแนวตั้งและแนวนอน รองลงมา คือ ฝาครกและฐานรองครกนักคิด ที่สามารถตำ�ครกได้โดย ไม่ต้องเปื้อนมือ กันพริกกระเด็นเข้าตา หรือ เปื้อนเสื้อผ้า ใช้ได้กับครก ทุกขนาด กันแมลง หรือผลิตภัณฑ์อื่น ๆ เช่น แถบกั้นเสริมนิรภัยในรถ

วารสารอุตสาหกรรม / 25


ในช่วง 1-2 ปีแรกของการทำ�ตลาด ห ลั ง จ า ก ที่ ไ ด้ ผ่ า น ก า ร คิ ด ค้ น การจดสิทธิบต ั ร ตลอดจนปรับปรุง และพัฒนาสินค้า จนกว่าจะสามารถ ใช้งานได้งา่ ย ตรงกับความต้องการ ของผู้บริโภค แต่เมื่อพัฒนาสำ�เร็จ แ ล้ ว ก็ ส า ม า ร ถ ข า ย ไ ด้ เ รื่ อ ย ๆ

ขณะที่ไม่ได้รัดเข็มขัด เหมาะสำ�หรับเด็ก (K- TON Happy Belt) และอุปกรณ์เปิด - ปิดล็อคหน้าต่าง โดยไม่ต้องเปิดมุ้งลวด ด้วยการ ใช้ติดตั้งเสริม หรือ แทนกลอน (K-TON) อย่ า งไรก็ ต ามการดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ จะต่ า งกั บ บริษัทอื่นที่ขายสินค้าทั่วไป โดยจะหาสินค้ามาขาย ซึ่งส่วนใหญ่ จะขายดีช่วงแรก แต่จากนั้ นก็ จะมี คู่ แข่ งขั นมากมาย ทำ � ให้ มีก าร แข่ ง ขั น สู ง ส่ ง ผลให้ ย อดขายไม่ เ ป็ น ไปตามเป้ า ต้ อ งหาสิ น ค้ า ใหม่ มาขายต่ อ ไปวนเป็ น วั ฏ จั ก รแบบนี้ แต่ บ ริ ษั ท แฟนตาซี แ ลนด์ เรานำ � สิ น ค้ า ที่ มี ก ารประดิ ษ ฐ์ คิ ด ค้ น นวั ต กรรมขึ้ น เองมา จำ�หน่าย ซึ่งเป็นผลงานที่ภูมิใจมากและกว่าจะได้มาก็ยากลำ�บากมาก ในช่ ว ง 1 - 2 ปี แรกของการทำ � ตลาด หลั ง จากที่ ไ ด้ ผ่ า นการ คิ ด ค้ น ก า ร จ ด สิ ท ธิ บั ต ร ต ล อ ด จ น ป รั บ ป รุ ง แ ล ะ พั ฒ น า สิ น ค้ า จนกว่ า จะสามารถใช้ ง านได้ ง่ า ย ตรงกั บ ความต้ อ งการ ของผู้ บ ริ โ ภค แต่ เ มื่ อ พั ฒ นาสำ � เร็ จ แล้ ว ก็ ส ามารถขายได้ เรื่ อ ยๆ ส่ ว นตอนนี้ ต้ อ งเน้ น ในด้ า นการประชาสั ม พั น ธ์ ใ ห้ ผู้ บ ริ โ ภคเห็ น ประโยชน์ ข องผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ หล่ า นี้ ซึ่ ง ยอมรั บ ว่ า ถึ ง ปั จ จุ บั น ยั ง มี ผู้ บ ริ โ ภคเพี ย งส่ ว นน้ อ ยที่ รู้ จั ก สิ น ค้ า นวั ต กรรมเหล่ า นี้ ปัจจุบัน บริษัท ฯ สร้างเว็บไซต์ www.นักคิด.com เพื่อเป็นช่องทางใน การประชาสัมพันธ์และทำ�การตลาด โดยขายสินค้าผ่านทางเว็บไซต์ ซึง่ ในช่วงทีผ่ า่ นมาก็มยี อดขายต่อเนือ่ งเป็นทีน่ า่ พอใจ ขณะนีเ้ ตรียมพร้อม ที่จะพัฒนานวัตกรรมใหม่ ๆ ออกมาอย่างต่อเนื่อง แต่ในแง่ของนัก ธุรกิจนั้นต้องยอมรับว่ายังไม่ค่อยเก่งนัก เพียงแค่ประคองธุรกิจให้พอ ไปได้ ด้วยจุดเด่นของตัวสินค้าเองทีจ่ ะต้องเน้นการให้ขอ้ มูล ให้ความรู้ ค ว า ม เข้ า ใจ ป ร ะ โ ย ช น์ ที่ จ ะ ไ ด้ รั บ จ า ก ก า ร ใช้ สิ น ค้ า นั้ น ๆ

26 / วารสารอุตสาหกรรม

ทั้ ง นี้ สิ น ค้ า นวั ต กรรม ส่ ว นใหญ่ มั ก จะเป็ น สิ น ค้ า เฉพาะกลุ่ ม (Niche Market) ดังนั้นสิ่งที่ต้องการให้รัฐบาลเข้า มาช่วยเหลือ นั่นคือการช่วยนำ�บริษัทออกไปเจอผู้ซื้อ เจอผู้ที่สนใจจะร่วมลงทุน เพื่ อ ต่ อ ยอดพั ฒ นาการคิ ด ค้ น วั ต กรรมใหม่ ๆ หาตลาดให้ แ ก่ สินค้าเหล่านี้ รวมทั้งหาผู้ร่วมทุน โดยเฉพาะผู้ร่วมทุนต่างชาติ หรื อ ผู้ ที่ ต้ อ งการที่ จ ะซื้ อ สิ ท ธิ บั ต รไปทำ � ตลาดมวลชน (Mass Market) หรื อ กระทั่ ง การนำ � บริ ษั ท ไปออกบู ธ ตามงานต่ า ง ๆ ที่ รั ฐ จั ด ขึ้ น เช่ น กระทรวงอุ ต สาหกรรม กระทรวงพาณิ ช ย์ เ พื่ อ เ พิ่ ม ช่ อ ง ท า ง ก า ร ข า ย ใ ห้ ม า ก ขึ้ น ร ว ม ทั้ ง ก า ร ทำ � ประชาสัมพันธ์ เพราะลำ�พังเพียงบริษัทคงไม่สามารถสร้างการ รั บ รู้ ใ ห้ เ กิ ด ขึ้ น ในวงกว้ า งได้ แ ละหากสิ น ค้ า ที่ ป ระดิ ษ ฐ์ ขึ้ น มานั้ น สามารถต่ อ ยอดไปได้ แ ล้ ว หรื อ มี ผู้ ร่ ว มทุ น บริ ษั ท ก็ จ ะได้ หั น ไปเน้ น การทุ่ ม เทพั ฒ นาสิ น ค้ า ใหม่ ๆ ออกมาอี ก “ยอมรับว่าปัจจุบันนี้บริษัท ฯ ยังมีข้อด้อยด้านภาษา จึงต้องการ ผู้ ร่ ว มทุ น ที่ เ ก่ ง ด้ า นภาษาอั ง กฤษและโดยเฉพาะกฎระเบี ย บ ข้ อ กฎหมายในการออกไปจดสิ ท ธิ บั ต รต่ า งประเทศเพิ่ ม เติ ม หรื อ การขายสิ ท ธิ บั ต รให้ แ ก่ นั ก ธุ ร กิ จ ต่ า งชาติ ต่ อ ไปและต้ อ ง ยอมรับว่า คนไทยเป็นคนที่คิดค้นนวัตกรรมต่าง ๆ ได้เก่ง แต่ ไม่ ค่ อ ยรู้ เรื่ อ งการจดสิ ท ธิ บั ต ร ลิ ข สิ ท ธิ์ ทรั พ ย์ สิ น ทางปั ญ ญา เหมื อ นประเทศอื่ น ๆ ที่ ส่ ว นใหญ่ ป ระชาชนของเขาจะรู้ เรื่ อ ง เหล่านี้ดี ทำ�ให้เสียโอกาสในการต่อยอดเชิงธุรกิจไปพอสมควร”


Innovation Industry ทิศทางอุตสาหกรรม

ยานยนต์ในโลกอนาคต

อุ

ตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วน คือ 1 ใน 10 อุตสาหกรรมเป้าหมายของไทย

ทต ี่ อ ้ งเป็นก้าวรอยต่อสำ�คัญของการพัฒนาจากรถยนต์ทใี่ ช้น้ำ�มันเชือ ้ เพลิงไปสู่ ยานยนต์ไฟฟ้า ซึง่ ส่วนประกอบในการส่งเสริมอุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้านอกเหนือ

จากนวัตกรรมและตลาดทีม ่ ผ ี ใู้ ช้มากพอแล้ว ยังต้องมีการพัฒนาโครงสร้างพืน ้ ฐาน เพื่อรองรับ ได้แก่ สถานีชาร์จไฟหรือชาร์จจิงสเตชั่น

วารสารอุตสาหกรรม / 27


โดยการลงทุนสถานีชาร์จจิงสเตชั่นในไทย ปัจจุบันมีบริษัท เอกชนไทย คือ บีเอ็มดับเบิลยู กรุ๊ป ประเทศไทย ร่วมกับ บริษัท โพลี เทคโนโลยี จำ�กัด Greenlots เซ็นทรัลกรุป๊ และบริษทั เอพี (ไทยแลนด์) จำ�กัด (มหาชน) ลงนามบันทึกข้อตกลง เพื่อรองรับการพัฒนารถยนต์ ไฟฟ้าของประเทศ ซึง่ นำ�ไปสูก่ ารเปิดตัว Charge Now เครือข่ายสถานี ชาร์จไฟฟ้าสาธารณะสำ�หรับรถยนต์ปลัก๊ อิน ไฮบริด โดยมีแผนทีจ่ ะวาง เครือข่ายด้วยการเปิดให้บริการสถานีชาร์จไฟฟ้า 50 สถานีทวั่ ประเทศ ข ณ ะ นี้ ได้ แล ะ เ ปิ ดรั บ ลงทะ เ บี ย นล่ ว งหน้ า สำ � หรั บ เจ้ า ข อ ง รถยนต์ปลัก๊ อิน ไฮบริดและรถยนต์ไฟฟ้าทีม่ หี วั ชาร์จ AC ทัง้ แบบ Type 1 (SAE J1772) และ Type 2 (IEC 62196) ไม่ว่าจะเป็นรุ่นใดหรือยี่ห้อใด โดยจะมีการชี้แจงรายละเอียดการดำ�เนินงาน ในช่วงไตรมาสที่สาม ของปี 2560 ตัวแทน บริษัท โพลีเทคโนโลยี จำ�กัด กล่าวว่า Charge Now มีประสบการณ์ติดตั้งสถานีชาร์จมาแล้วถึง 150 สถานีใน 70 แห่ง ทัว่ ประเทศสิงคโปร์ ทีจ่ ะช่วยให้การชาร์จรถยนต์ไฟฟ้าเป็นเรือ่ งสะดวก และง่ายดาย ลูกค้าที่เข้าในโครงการ ฯ สามารถชาร์จรถยนต์ปลั๊กอิน และไฮบริดได้ด้วยตัวเองทุ กรุ่ นและทุ กยี่ ห้อ โดยได้ คั ด เลื อ กทำ � เล เด่นท่ามกลางชุมชนเป็นสถานที่ตั้งโครงการ ในส่วนของภาครัฐเอง มีการผลักดันอย่างต่อเนื่อง เช่น กระทรวงพลังงานได้ส่งสัญญาณ สนั บ สนุ น ทั้ ง การกำ � หนดแผนคาดว่ า ภายใน 20 ปี ข้ า งหน้ า ประเทศไทยจะมี ร ถยนต์ ไ ฟฟ้ า (EV) วิ่ ง บนถนนรวม 2 ล้ า นคั น ขณะเดียวกันต้องสร้างสถานีชาร์จที่เพียงพอ บริษทั ปตท.จำ�กัด (มหาชน) เปิดสถานี PTT EV Station ทีม่ เี ครือ่ ง ชาร์จไฟตามมาตรฐานทัง้ ยุโรป (IEC) และญีป่ นุ่ (CHAdeMO) ทัง้ หมด 4 แห่ง ได้แก่ อาคาร ปตท. สำ�นักงานใหญ่ , สถาบันวิจยั และเทคโนโลยี ปตท. อ.วังน้อย จ.พระนครศรีอยุธยา , สถานีบริการน้ำ�มัน ปตท. สาขาแหลมฉบัง ขาออก จ.ชลบุรแี ละสถานีบริการน้�ำ มัน ปตท. สาขา The Crystal PTT ถ.ชัยพฤกษ์ และมีแผนที่จะขยายเพิ่มอีก 2 สถานีภายใน สิน้ ปีน ี้ ในส่วนบริษทั บางจาก คอร์ปอเรชัน่ จำ�กัด (มหาชน) ได้มแี ผน ติดตั้งสถานีชาร์จไฟฟ้า นำ�ร่อง 2-3 แห่งในช่วงปลายปีนี้

28 / วารสารอุตสาหกรรม


ด้ า นกระทรวงอุ ต สาหกรรมได้ เ ปิ ด ศู น ย์ ก ารเรี ย นรู้ แ ละ นวัตกรรมเพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้า ตั้งอยู่ สถาบันยานยนต์ สำ�นักงานบางปู ภายในนิคมอุตสาหกรรมบางปู ซอย 1 ถ.สุขุมวิท กม.34 ต. บางปู อ.เมือง จ.สมุทรปราการ สำ � หรั บ ศู น ย์ ก ารเรี ย นรู้ ฯ มี แ ผนที่ จ ะดำ � เนิ น การต่ อ เนื่ อ ง ตั้ ง แต่ ปี พ.ศ. 2560 -2563 ได้ แ ก่ การสร้ า งความร่ ว มมื อ เพื่ อ พั ฒ นาและสร้ า งองค์ ค วามรู้ ด้ า นยานยนต์ ไ ฟฟ้ า ให้ แ ก่ ผู้ประกอบการไทย การจัดทำ�ฐานข้อมูลผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ ไฟฟ้าของโลก เพือ่ สนับสนุนห่วงโซ่มลู ค่าของอุตสาหกรรมยานยนต์ ไฟฟ้าที่จะเกิดขึ้นในอนาคตและมีวีดิทัศน์ความรู้ยานยนต์ไฟฟ้า เบื้องต้น เพื่อสร้างการรับรู้ในวงกว้างแก่ประชาชนและผู้ที่สนใจ ทั่วไป ภายในศูนย์ดังกล่าวยังมีนิทรรศการ ชิ้นส่วนตัวอย่าง แบบ จำ�ลองระบบการขับเคลื่อนรถไฟฟ้า รวมถึงสถานีประจุไฟฟ้า (EV Power Station) ต้นแบบบริการชาร์จไฟฟ้าได้ครั้งละ 2 คัน โดยล่าสุดคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ (กพช.) ที่มี พล.อ. ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เป็นประธาน ยังได้เห็น ชอบแผนการส่งเสริมให้เกิดการใช้รถยนต์อวี ี ทีน่ า่ สนใจคือกำ�หนด อัตราค่าบริการของสถานีอดั ประจุไฟฟ้า ทีค่ ดิ ตามช่วงเวลา แบ่งเป็น ชาร์จไฟตอนกลางวันคิดราคา 4.10 บาทต่อหน่วย กลางคืนและ วันเสาร์ - วันอาทิตย ์คิดราคา 2.60 บาทต่อหน่วย อย่างไรก็ตาม เทคโนโลยีรถยนต์อีวีสำ�หรับไทยถือเป็น เรือ่ งใหม่ การพัฒนาไม่สามารถทำ�ได้ทนั ทีทนั ใดและต้องขึน้ อยูก่ บั การลงทุนของเจ้าค่ายรถต่างๆ ซึ่งรัฐบาลมีเป้าหมายส่งเสริมการ ลงทุนผลิตรถยนต์ไฟฟ้าในประเทศไทย โดย ครม.อนุมตั หิ ลักการว่า บริษทั ทีส่ นใจลงทุนผลิตรถยนต์ไฟฟ้า ต้องยืน่ แผนการดำ�เนินงาน ในลักษณะแผนรวม หรือ แพ็กเกจ ประกอบด้วยแผนการลงทุน ประกอบรถยนต์ไฟฟ้าและผลิตชิ้นส่วนสำ�คัญของรถยนต์ไฟฟ้า อาทิ แบตเตอรี่ มอเตอร์ ระบบการจ่ายไฟฟ้า จึงจะได้รับสิทธิ ประโยชน์ทางภาษีและอื่นๆ บริษัทที่ได้รับส่งเสริมการลงทุนแล้ว จะสามารถนำ�เข้า รถยนต์สำ�เร็จรูป (CBU) โดยได้รับการลดหย่อนหรือยกเว้นอากร ขาเข้า ในรุ่นรถยนต์ที่จะผลิต เพื่อนำ�มาทดลองตลาดในปริมาณที่ กำ�หนด รวมทัง้ จะได้รบั สิทธิประโยชน์ในการลดหย่อนหรือยกเว้น อากรขาเข้าชิ้นส่วนสำ�คัญ ซึ่งยังไม่มีการผลิตในประเทศในช่วง เริม่ ต้นของการประกอบรถยนต์ไฟฟ้า ทัง้ นีเ้ พือ่ จูงใจให้บริษทั ผูผ้ ลิต รถยนต์ทุกค่ายใช้ประเทศไทยเป็นฐานการลงทุน ในขณะที่บริษัท ผู้ผลิตรถยนต์รายใหญ่อย่างโตโยต้าก็ขานรับพร้อมส่งรถยนต์ ไฮบริดมาเปิดตลาด ควบคู่กับการพัฒนารถยนต์ไฟฟ้าเพื่อให้เป็น ทางเลือกของผู้ใช้

วารสารอุตสาหกรรม / 29


เมือ่ เร็วๆ นี ้ บริษทั โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จำ�กัด จดั แสดง นิทรรศการนวัตกรรมยานยนต์แห่งอนาคตของโตโยต้า ในงาน Toyota Expo 2017 ขึ้นเป็นครั้งแรก ณ ห้างสรรพสินค้าสยามพารากอน กรุงเทพ ฯ เพื่อถ่ายทอดความเป็นมาของโตโยต้ากับประเทศไทย ตลอด 55 ปี รวมถึงการแสดงเทคโนโลยีการพัฒนารถยนต์ไฟฟ้าเพือ่ ตอบสนองการใช้ชวี ติ ในอนาคต ภายใต้แนวคิด "The Future is Here" มิสเตอร์มิจิโนบุ ซึงาตะ เจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ คอร์ปอเรชั่น จำ�กัดและกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จำ�กัด กล่าวว่า โตโยต้ามีความตั้งใจจริงที่จะ จัดแสดงเทคโนโลยีอนั ก้าวหน้าล้�ำ สมัย ซึง่ จะผสานทัง้ นวัตกรรมทีเ่ หนือ ระดับและเทคโนโลยีเพื่อสิ่งแวดล้อม ตลอดจนความพยายามที่จะ เชื่อมโยง วิถีชีวิตของมนุษย์กับเทคโนโลยีเข้าไว้ด้วยกัน อันจะนำ�มาสู่ สังคมแห่งการพัฒนาอย่างยั่งยืน จากปรัชญาการดำ�เนินธุรกิจของ โตโยต้าที่ว่า “เราจะเติบโตไปพร้อมกับสังคมที่เราเข้าไปดำ�เนินธุรกิจ”

30 / วารสารอุตสาหกรรม

ทุกวันนี้เรากำ�ลังเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงมากมายรอบด้าน โตโยต้าจึงพัฒนานวัตกรรมยานยนต์ที่ตอบโจทย์การใช้งานในอนาคต ด้วยการใช้พลังงานที่เป็นมิตรกับสิ่งเเวดล้อม เราเปิดโอกาสให้ผู้ที่เข้า เยีย่ มชมได้สมั ผัสประสบการณ์แห่งเทคโนโลยี ตลอดจนระบบโครงสร้าง ในสังคมและวิถีชีวิตแห่งโลกอนาคต เป็นต้น และแนวคิดหลักอีกข้อ ของโตโยต้าเกี่ยวกับการขับเคลื่อนความสุขสู่โลกอนาคต (Mobility of Happiness) เริ่มตั้งแต่ระบบเครื่องยนต์สันดาปภายในที่ใช้พลังงาน จากฟอสซิล สูเ่ ครือ่ งยนต์ระบบไฮบริดทีใ่ ช้พลังงานเชือ้ เพลิงและไฟฟ้า ต่อเนื่องไปสู่เทคโนโลยีแห่งอนาคตที่ใช้พลังงานจากเซลล์เชื้อเพลิง ไฮโดรเจน ผนวกกับเทคโนโลยีด้านความปลอดภัยและลดอุบัติเหตุ ด้วยแอพพลิเคชัน่ เชือ่ มโยงข้อมูลจราจร ทีจ่ ะทำ�ให้เราเลือกเส้นทางเดิน ทางทีด่ ที สี่ ดุ และประหยัดเวลาและค่าใช้จา่ ย รวมถึงแอพพลิเคชัน่ ค้นหา ที่จอดรถ Park & Go ตองสนองชีวิตคนในเมือง รถยนต์จะล้ำ�สมัยขึ้น เพราะมีการเชื่อมโยงกับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์รอบตัว ทั้งหมดนี้ คือ ภาพจำ�ลองคร่าวๆ ที่ทำ�ให้เห็นทิศทางอุตสาหกรรมยานยนต์ ในโลกอนาคต


Industry News “อุตตม” เปิดเวทีคลินิกเอสเอ็มอีสัญจร จ.อุดรธานี พร้อม สั่งการเร่ง ปักธงเปิดนิคมอุตสาหกรรมแห่งแรกในภาคอีสาน

มื่อวันที่ 28 สิงหาคม 2560 ที่ผ่านมา

ดร.อุตตม สาวนายน รัฐมนตรีว่าการ

กระทรวงอุตสาหกรรม เป็นประธานเปิดการ สัมมนาเชิงปฏิบัติการคลินิกเอสเอ็มอีสัญจร

แนวประชารั ฐ ที่ จั ง หวั ด อุ ด รธานี โดยมี

นายชยาวุ ธ จั น ทร ผู้ ว่ า ราชการจั ง หวั ด อุดรธานี นางสาวนิสากร จึงเจริญธรรม รองปลั ด กระทรวงอุ ต สาหกรรม นายพสุ โลหารชุน อธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม

และผู้บริหารร่วมงาน ณ โรงแรมเซ็นทารา และคอนเวนชันเซ็นเตอร์ อุดรธานี

รั ฐ ม น ต รี ว่ า ก า ร ก ร ะ ท ร ว ง อุ ต ส า ห ก ร ร ม ก ล่ า ว ต อ น ห นึ่ ง ว่ า ก า ร สั ญ จ ร ค รั้ ง นี้ เ ป็ น ค รั้ ง ที่ 8 ซึ่ ง ค ร อ บ ค ลุ ม พื้ น ที่ 2 ก ลุ่ ม จั ง ห วั ด ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย 1) กลุ่ ม จั ง หวั ด ภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ตอนบน 1 ได้ แ ก่ จั ง หวั ด อุ ด รธานี เลย หนองบั ว ลำ � ภู หนองคายและ บึ ง ก า ฬ 2 ) ก ลุ่ ม จั ง ห วั ด ภ า ค ต ะ วั น อ อ ก เ ฉี ย ง เ ห นื อ ต อ น ก ล า ง ไ ด้ แ ก่ จั ง ห วั ด ข อ น แ ก่ น ม ห า ส า ร ค า ม ร้ อ ยเอ็ ด และกาฬสิ น ธุ์ ซึ่ ง สอดรั บ กั บ นโยบายรั ฐ บาล ที่ ต้ อ ง ก า ร ก ร ะ ตุ้ น ก า ร พั ฒ น า ใ ห้ ทั่ ว ถึ ง ใ น ทุ ก ภู มิ ภ า ค สร้ า งความเข้ ม แข็ ง จากเศรษฐกิ จ ภายใน (Local Economy) ด้ ว ย ก า ร เ ร่ ง พั ฒ น า S M E s แ ล ะ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ท้ อ ง ถิ่ น ให้ เ ข้ ม แข็ ง มุ่ ง เน้ น การขั บ เคลื่ อ นเศรษฐกิ จ ตามนโยบาย อุ ต สาหกรรม 4.0 โดยผลั ก ดั น การเปลี่ ย นโครงสร้ า ง เศรษฐกิ จ อุ ต สาหกรรมจากการ “เพิ่ ม มู ล ค่ า ” ไปสู่ ก าร "สร้างมูลค่า"

วารสารอุตสาหกรรม / 31 วารสารอุตสาหกรรม / 31


สำ � หรั บ จั ง หวั ด อุ ด รธานี มี อุ ต สาหกรรมเป้ า หมาย คื อ อุ ต สาหกรรมแปรรู ป ยางพาราขั้ น ปลาย อุ ต สาหกรรมการ แปรรู ป สิ น ค้ า เกษตร อุ ต สาหกรรมสนั บ สนุ น การผลิ ต /ศู น ย์ กระจายสินค้า โดยในช่วง 6 เดือนที่ผ่านมาของปี 2560 มีมูลค่า สิ น ค้ า ส่ ง ออกอยู่ ที่ 26,642 ล้ า นบาท หรื อ คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 40 ของมูลค่าการส่งออกผ่านด่านชายแดนไทย-ลาวทัง้ หมด ซึง่ เป็นสัดส่วน ที่สูงที่สุดเมื่อเทียบกับด่านการค้าชายแดนไทย-ลาวทุกด่าน นอกจากนี้ การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.) ร่วมกับ บริษทั เมืองอุตสาหกรรมอุดรธานี จำ�กัด จัดตัง้ นิคมอุตสาหกรรม อุดรธานีในบริเวณ ต.โนนสูง และ ต.หนองไผ่ อ.เมือง ซึ่งนับเป็นนิคม อุตสาหกรรมแห่งแรกของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยมีพนื้ ที่ 2,200 ไร่ มีอุตสาหกรรมเป้าหมาย ได้แก่ อุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ อุ ต สาหกรรมอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ อุ ต สาหกรรมยางพาราขั้ น ปลาย แ ล ะ ศู น ย์ L o g i s t i c s ปั จ จุ บั น อ ยู่ ร ะ ห ว่ า ง ก า ร ก่ อ ส ร้ า ง นิ ค มอุ ต สาหกรรม โดยคาดว่ า จะสามารถเปิ ด ดำ � เนิ น การ ตั้ ง แต่ ปี 2561 และในอนาคตเมื่ อ เปิ ด ดำ � เนิ น การแล้ ว นิ ค มอุ ต สาหกรรมอุ ด รธานี จ ะเป็ น ฐานการผลิ ต สิ น ค้ า อุ ต สาหกรรมที่ สำ � คั ญ เพื่ อ ส่ ง ออกไปยั ง สปป.ลาว เวี ย ดนาม และจี น โดยผ่ า น เขตเศรษฐกิจพิเศษหนองคาย นครพนมและมุกดาหารด้วย “เพื่อ เตรียมความพร้อมให้กับผู้ประกอบการในพื้นที่และสร้างความเจริญ เติบโตทางเศรษฐกิจของเมืองที่เชื่อมโยงกับชายแดนไทย-ลาว ตาม ยุทธศาสตร์ของจังหวัดอุดรธานีที่ต้องการเป็นศูนย์กลางการค้าการ ลงทุนของอนุภูมิภาคลุ่มน้ำ�โขง กระทรวง ฯ จึงได้ให้การช่วยเหลือ SMEs ด้วยเครื่องมือในการต่อยอดทางธุรกิจให้กับผู้ประกอบการ ไทยในทุ ก มิ ติ อ ย่ า งสมดุ ล ทั้ ง การพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ การพั ฒ นา ผูป้ ระกอบการให้กา้ วสู่ SMART SMEs การเพิม่ ผลิตภาพและมาตรฐาน การส่งเสริมการใช้ระบบดิจทิ ลั เพือ่ เชือ่ มโยงสูโ่ ลกการค้าสมัยใหม่ การ บริการผ่านศูนย์สนับสนุนและช่วยเหลือเอสเอ็มอี ทีจ่ ดั ตัง้ ขึน้ ภายใน ศูนย์สง่ เสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 4 จังหวัดอุดรธานี รวมถึงการช่วยเหลือ ด้านมาตรการการเงินในรูปแบบสินเชื่อกองทุนต่างๆ ได้แก่ กองทุน พัฒนาเอสเอ็มอีตามแนวประชารัฐวงเงิน 20,000 ล้านบาท โครงการ สินเชื่อ SMEs Transformation Loan วงเงิน 15,000 ล้านบาท โครงการเงินทุนพลิกฟื้นวิสาหกิจขนาดย่อม วงเงิน 1,000 ล้านบาท และมาตรการฟื้นฟูวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมวงเงิน 2,000 ล้านบาท เป็นวงเงินรวม 38,000 ล้านบาท เพือ่ เพิม่ ช่องทางการเข้าถึง แหล่งเงินให้กบั SMEs มีเงินทุนนำ�ไปพัฒนาต่อยอดธุรกิจให้มศี กั ยภาพ เพียงพอในการพัฒนาสินค้าและการเพิม่ กำ�ลังการผลิตเพือ่ ขยายตลาด ไปยังประเทศเพื่อนบ้าน เช่น กัมพูชา ลาว เวียดนามและจีน ต่อไป” ดร.อุตตม กล่าว

32 / วารสารอุตสาหกรรม

สำ � หรั บ ความสำ � เร็ จ ของคลิ นิ ก สั ญ จร 7 ครั้ ง ที่ ผ่ า นมา มี ผู้ เข้ า ร่ ว มงานกว่ า 6,000 คนและมี ผู้ ป ระกอบการ SMEs ได้ เข้ า ขอรั บ การสนั บ สนุ น แหล่ ง เงิ น ทุ น ดอกเบี้ ย ต่ำ � ที่ จ ะช่ ว ย ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร S M E s โ ด ย ข ณ ะ นี้ มี ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร จ า ก ทั่วประเทศยื่นคำ�ขอจากทั้ง 4 มาตรการแล้ว 19,157 ราย รวมเป็น วงเงิน 35,590 ล้านบาท ผู้ ที่ ส นใจสามารถติ ด ต่ อ สอบถามรายละเอี ย ดได้ ที่ สำ � นั ก งานอุ ต สาหกรรมจั ง หวั ด ทั่ ว ประเทศ ศู น ย์ ส่ ง เสริ ม อุ ต สาหกรรมภาคทั้ ง 11 แห่ ง ธนาคารพั ฒ นาวิ ส าหกิ จ ขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทยทุกสาขาและศูนย์ สนับสนุนและช่วยเหลือเอสเอ็มอี www.smessrc.com หรือ Call Center 1358


Smart Management ก

ถึงเวลาผู้บริหารปรับตัว ก้าวสู่ยุค 4.0 อย่างมืออาชีพ

ารก้าวสูย ่ ค ุ 4.0 ทำ�ให้โลกการค้าเปลีย ่ นแปลง

ไปทัง้ จากผูซ้ อ ื้ ทีไ่ ด้รบ ั อิทธิพลจากโซเชียลมีเดีย

และเทคโนโลยีใหม่ ๆ ส่งผลให้ลูกค้ามีพฤติกรรม

เปลีย ่ นแปลงไป ต้องการข้อมูลมากขึน ้ เพือ ่ ประกอบ

การตัดสินใจและคาดหวังการบริการที่รวดเร็ว มากขึ้น ในยุค Internet of Thing ผลิตภัณฑ์

ถู ก เชื่อมโยงกับโลกอินเทอร์เน็ต เพื่อการใช้งานที่

หลากหลายมากขึน ้ ขณะเดียวกันผูบ ้ ริหารองค์กร

ชั้นนำ�ก็ไม่ได้อยู่ยาวเหมือนอย่างในอดีต หากผล

ประกอบการไม่ ดี ห รื อ องค์ ก รประสบปั ญ หาใน

ระดับวิกฤต การเปลี่ยนตัวผู้บริหารก็เป็นเรื่องที่

เกิดขึ้นได้ ยังไม่รวมถึงการถูกซื้อตัวจากบริษัทอื่น

ดังนั้นการรับมือกับการเปลี่ยนแปลงการแข่งขัน ทางการค้ า ทั้ ง ภาคผลิ ต และบริ ก ารจำ � เป็ น ต้ อ ง

มีการปรับตัวทุกด้าน อาทิ คุณภาพ ราคาและ

บริการหลังการขาย ถึงเวลาแล้วที่ผู้บริหารต้อง

ปรับตัว ก้าวสู่ยุค 4.0 อย่างมืออาชีพ นอกจาก

การบริหารการขายแล้วยังต้องให้ความสำ�คัญกับ การบริหารทรัพยากรบุคคลและอืน ่ ๆ เพราะความ

ก้าวหน้าของเทคโนโลยีและอินเทอร์เน็ตเป็นปัจจัยที่

ส่งผลต่อลูกค้าและบุคลากรในองค์กรด้วยเช่นกัน

วารสารอุตสาหกรรม / 33


Smart Management ฉบับนีจ้ งึ ขอยกหลักการบริหาร PDCA หรือทีเ่ รียกว่า “วงจรเดมิง” (Deming Cycle) ประกอบด้วย

หลักการบริหาร PDCA หรือ “วงจรเดมิง” (Deming Cycle)

1. Plan การวางแผนดำ�เนินงานครอบคลุม ทุ ก ด้ า น ทั ้ ง คน ระยะเวลาและ งบประมาณ 2. Do การปฏิบตั ติ ามแผนโดยจัดโครงสร้าง รองรั บ และการดำ � เนิ น กิ จ กรรม สนับสนุน 3. Check ตรวจสอบผลการปฏิบัติงานตาม แผนเพือ่ ประเมินผลหากพบปัญหา จะต้องแก้ไขแผนในส่วนทีเ่ ป็นปัญหา 4. Act การปรับปรุงแก้ไขส่วนทีเ่ ป็นปัญหา หากไม่ พ บปั ญ หาย่ อ มแสดงว่ า แนวทางการปฏิบัติตามแผนงาน ได้ผลสำ�เร็จตามเป้าหมาย

วงจร PDCA เป็นหลักการบริหารพื้นฐานที่ใช้ติดตามผล การดำ�เนินงานจากนโยบายสูภ่ าคปฏิบตั แิ ละเมือ่ อินเทอร์เน็ตและ สังคมโซเชียลเข้ามามีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงทั้งด้านความคิด และพฤติกรรมของคน การสือ่ สารระหว่างผูบ้ ริหารและบุคลากรใน องค์กรอาจเกิดช่องว่างทางความคิดส่งผลต่อการปฏิบตั แิ ละผลลัพธ์ ทีเ่ กิดขึน้ จึงต้องหาแนวทางการบริหารเพือ่ ลดช่องว่างทีมงานและ ทำ�ให้เกิดความคล่องตัวมากยิง่ ขึน้ นอกจากนี้ผู้บริหารยังต้องเติมเทคนิคบริหาร เพื่อให้ทัน สถานการณ์ทเ่ี ปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็วในสังคมปัจจุบนั จากหลัก บริหาร PDCA ควรเพิม่ หลักการบริหาร AI 4D Model (Appreciative Inquiry) ซึง่ เป็นกระบวนการศึกษาค้นหาร่วมกันเพือ่ ค้นหาสิง่ ทีด่ ที ส่ี ดุ ในตัวคน ในองค์กรและนำ�มาออกแบบเป็นระบบเพือ่ ให้ด�ำ เนินไปได้ อย่างดีทส่ี ดุ การมองหรือค้นหาศักยภาพของทีมงานเพือ่ สนับสนุน ให้นำ�พลังหรือศักยภาพด้านบวกมาใช้ในการทำ�งานจะทำ�ให้เกิด ประสิทธิภาพสูงสุด ซึง่ ประกอบด้วย

34 / วารสารอุตสาหกรรม

หลักการบริหาร AI 4D Model (Appreciative Inquiry)

1. Discovery การค้นหา สิ่งที่เป็นแก่นสาร ดี ๆ ที่เป็นเรื่องราวเชิงบวก ขององค์กร 2. Dream การสอบถามเชิงวิเคราะห์ เพือ่ ตั้งเป้าหมายหรือบางองค์กร นำ�มากำ�หนดเป็นวิสัยทัศน์ ขององค์กร 3. Design การออกแบบหรื อ กำ � หนด กระบวนการหรือวิธีการเพื่อ ให้น�ำ ไปปฏิบตั ใิ ห้ไปถึงฝันหรือ เป้าหมายองค์กร 4. Destiny การร่วมกันทำ�งานให้ได้ผลลัพธ์ ดีเป็นไปตามเป้าหมาย เพื่อ ขับเคลื่อนองค์กรไปข้างหน้า


การใช้แนวทาง AI 4D Model เป็นการเติมกระบวนการ ทำ�งานที่ดึงศักยภาพเชิงบวกมาใช้ โดยเริ่มจากการตั้งคำ�ถามเชิง บวกให้ได้ค�ำ ตอบจึงนำ�มาสร้างสรรค์ให้เกิดการปรับปรุงเปลีย่ นแปลง ในทางบวก โดยสมมติฐาน คือ ในทุกระบบ ทุกคน ทุกองค์กร มี เรื่องราวดี ๆ ซ่อนอยู่ การค้นพบจุดดีท่เี ป็นจุดเด่นนำ�มาต่อยอด สานฝันต่อเป็นการกำ�หนดเป้าหมาย (Dream) วางแผนออกแบบทำ� เป้าหมายให้เป็นจริง (Design) และเริม่ ต้นทำ� (Destiny) และทัง้ หมดนี้ คือ การผสมผสานการบริหารงานทีจ่ ะทำ�ให้ องค์กรปรับทันต่อการเปลี่ยนแปลงยุค 4.0 ที่มีหัวใจสำ�คัญ คือ วิสยั ทัศน์ทส่ี อดคล้องกับเทคโนโลยี สร้างนวัตกรรมและมีความคิด สร้างสรรค์ ซึง่ จะทำ�ให้บริการและสินค้ามีความแตกต่างนัน่ เอง

ข้อมูลอ้างอิงจาก Shewhart, Walter Andrew [1939] Statistical Method from the Viewpoint of Quality Control New Yorkfrom the Viewpoint of Quality Control New York วงจร PDCA สถาบันเพิม่ ผลผลิตแห่งชาติ TMA News สมาคมการจัดการธุรกิจแห่งประเทศไทย Appreciative Inquiry ดร.ภิญโญ รัตนาพันธุ์

วารสารอุตสาหกรรม / 35


Marketing

มองโลก มองเทรนด์...การตลาด 4.0

ปั

จจุบน ั การใช้ชว ี ต ิ ทีเ่ ชือ ่ มโยงอินเทอร์เน็ตกับทุกสิง่ ในชีวต ิ ประจำ�วัน

เป็นเรือ ่ งทีป ่ ฏิเสธไม่ได้ ทำ�ให้เกิดนิยาม Internet of Everything

โดย Kevin Ashton จากมหาวิทยาลัย Massachusetts Institute

of Technology ได้นิยามไว้ในปี 1999 โดยให้ความหมายว่า คือ การ

เชื่อมโยงผู้คน กระบวนการ ข้อมูลและสิ่งต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ทำ�ให้เกิด

ประสบการณ์ใหม่ทห ี่ ลากหลาย ตืน ่ ตาตืน ่ ใจ ด้วยผูค ้ นใหม่ ๆ กระบวนการ

ใหม ๆ ่ รวมทัง้ ข้อมูลและสิง่ ใหม่ ๆ มากมาย นอกจากการเชือ ่ มโยงทีส ่ อ ื่ สาร กันได้งา่ ยขึน ้ รวดเร็วขึน ้ ผูค ้ นบนโลกใบนีจ้ งึ มีอส ิ ระทางความคิด มีความ

เป็นตัวตนสูง หรือ ที่เรียกว่ามีไลฟ์สไตล์เป็นตัวของตัวเอง ด้วยการ เปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตที่มีอินเทอร์เน็ตเป็นส่วนหนึ่งของการใช้ชีวิต ทำ�ให้

นักการตลาดต้องหันกลับมาศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภคอย่างละเอียด มากยิ่งขึ้น เพื่อมองโลก มองเทรนด์...การตลาด 4.0

36 / วารสารอุตสาหกรรม


“ฟิลิป ค็อตเลอร์ กูรูการตลาดระดับโลก เตือน

ผู้ที่ยังย่ำ�อยู่กับที่ มีโอกาสหมดสภาพเผยต้อง

ปรั บ สู่ ยุ ค Social Media อยู่ อ ย่ า งยั่ ง ยื น ต้องหาสมดุลระหว่างการสร้างกำ�ไรให้ธุรกิจ

พร้อมกับการตอบแทนสู่สังคม เตรียมรับการ เปลี่ยนแปลงของการตลาดโลกสู่ยุค 4.0” จากหนังสือ MARKETING 4.0 ที่เขียนโดย ฟิลิป ค็อตเลอร์ กูรูการตลาดที่ได้รับการยอมรับจากนานาประเทศ ได้มองเทรนด์ และวางกลยุทธ์การปรับองค์กรให้ทันสถานการณ์เพื่อให้รอดและ อยู่ ไ ด้ อ ย่ า งยั่ ง ยื น ไว้ อ ย่ า งน่ า สนใจ ทั้ ง นี้ ไ ฮไลท์ ที่ โ ดดเด่ น นำ � มา แบ่ ง ปั น กั น เพื่ อ ให้ ผู้ อ่ า นนำ � ไปประยุ ก ต์ ใช้ ไ ด้ อ ย่ า งเหมาะสมกั บ องค์กร “ฟิ ลิ ป ค็ อ ตเลอร์ กู รู ก ารตลาดระดั บ โลก เตื อ น ผู้ ที่ ยั ง ย่ำ � อยู่ กั บ ที่ มี โ อกาสหมดสภาพเผยต้ อ งปรั บ สู่ ยุ ค Social Media อยู่ อ ย่ า งยั่ ง ยื น ต้ อ งหาสมดุ ล ระหว่ า งการ สร้ า งกำ � ไรให้ ธุ ร กิ จ พร้ อ มกั บ การตอบแทนสู่ สั ง คม เตรี ย ม รั บ ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ข อ ง ก า ร ต ล า ด โ ล ก สู่ ยุ ค 4 . 0 ” “นั บ จากนี้ ไ ป 5 ปี หากคุ ณ ยั ง อยู่ ใ นธุ ร กิ จ เดิ ม อย่ า ง ที่ทำ�อยู่วันนี้ คุณมีความเสี่ยงที่จะหมดสภาพ” ค็อตเลอร์ เตือนผูท้ กี่ �ำ ลังเผชิญกับการปรับเปลีย่ นรวดเร็วและ รุนแรงอย่างที่ไม่เคยปรากฏมาก่อนได้สัมผัสกับแนวคิดการตลาดที่

ล้�ำ หน้า จาก Marketing 3.0 เข้าสู่ Marketing 4.0 ซึง่ เป็นการต่อยอด จาก 3.0 อธิบายให้เห็นภาพ คือ Marketing 3.0 คือ องค์กรใช้อนิ เทอร์เน็ต ในการติ ด ต่ อ สื่ อ สารในองค์ ก ร คู่ ค้ า รวมถึ ง ลู ก ค้ า เช่ น การส่ ง อีเมล หรือ บุคคลติดต่อสื่อสารกันผ่านอีเมล เป็นต้น ส่วน Marketing 4.0 หรือยุค Social Media เป็นยุค ทีม่ กี ารบอกต่อผ่านสังคมออนไลน์ ซึง่ เป็นการสือ่ สารทีเ่ ข้าถึงเร็วการ ตัดสินใจซื้อหรือใช้บริการจะอาศัยการหาข้อมูลเปรียบเทียบจาก กู เ กิ้ ล หรื อ ดู ค อมเมนต์ จ ากออนไลน์ ทำ � ให้ เ กิ ด บริ ก ารที่ เข้ า ถึ ง ผู้บริโภค เช่น Facebook , Instagram , Twitter , Line เป็นต้น และ พฤติกรรมแบบนี้เป็นเทรนด์ผู้บริโภคทั่วโลกที่ค็อตเลอร์ กล่าวไว้ว่า “ปัจจุบันในหลายประเทศเริ่มปรับตัวทำ�การตลาด เพื่อรองรับการ เปลีย่ นแปลงไปสูย่ คุ Social Media หากยังไม่ปรับตัวก็จะไม่สามารถ สู้รบปรบมือกับใครได้และจะทำ�ให้เสียโอกาสการค้าที่นับวันจะมี การแข่งขันสูงขึ้นบริษัทอาจจะถูกมองว่าล้าหลังและหายไปในที่สุด เพราะ Social Media คือ พลังแห่งการบอกต่อที่ทรงอิทธิพลมาก”

วารสารอุ วารสารอุตตสาหกรรม สาหกรรม // 3737


มุมมองจากหนังสือ MARKETING 4.0 Traditional Customer Path คือ ปัจจัยหลักที่ลูกค้าตัดสินใจซื้อสินค้า มี 5 A

AWARE

การรับรู้ โดยมีการโฆษณาประชาสัมพันธ์และท�ำการตลาดผ่านสือ่ ออนไลน์ เช่น Facebook , Instagram , Twitter , Line มีความต่างจากในอดีตที่ใช้ สื่อทีวี วิทยุ สิง่ พิมพ์ เป็ นต้ น

APPEAL

ชืน่ ชอบ มีความสนใจสินค้า มีการจดจำ�สินค้าหรือแบรนด์มากขึน้ และสินค้า หรือ บริการอยู่ในรายการที่กำ�ลังตัดสินใจ

ASK

ลูกค้ าเริ่มสนใจ สอบถามจากเพือ่ น ดูคอมเมนต์จาก Facebook และ Social Media ต่าง ๆ เช่น Google , Line , Pantip เป็ นต้ น ซึง่ การหาข้ อมูลจะมี มากขึ ้นและน�ำมาเปรี ยบเทียบก่อนตัดสินใจซื ้อ ซึง่ ต่างจากในอดีต

ACT

การตัดสินใจซื้อหรือใช้บริการ

ADVOCATE

38 / วารสารอุตสาหกรรม

การสนับสนุน แนะนำ�ให้ผู้อื่นซื้อหรือใช้บริการ ซึ่งเป็นพลังแห่งการบอกต่อ บนโลกออนไลน์ที่มีอิทธิพลมาก


e-Commerce Trends

โดย พันธุ์ทิตต์ สิรภพธาดา

Marketplace ตลาดต่อยอด e - Commerce

M

arketplace ต่อยอดการขายสินค้าและบริการ จากเดิมทีผ ่ ซู้ อ ื้ จะไปหาสินค้าทีต ่ อ ้ งการในตลาด

ซึ่ง ตั ว Marketplace จะรวมสิ น ค้ า หลากหลายชนิ ด แต่ ใ นปั จ จุ บัน เมื่อ เทคโนโลยี เ ข้ า ถึ ง คนง่ า ยขึ้ น การใช้ โ ซเชี ย ลมี เ ดี ย จึ ง มี จำ � นวนมากขึ้ น ทำ � ให้ เ กิ ด โอกาสทางการค้ า ในรู ป แบบ E – Marketplace เพราะผู้ซื้อสะดวกในการเลือกและสั่งซื้อสินค้ามากขึ้นในขณะที่ผู้ค้ามีโอกาสได้

ลูกค้ามากขึ้นจากทั่วโลกที่ใช้อินเทอร์เน็ต โดยสรุป E – Marketplace คือ เว็บไซต์สื่อกลาง การ ติดต่อซือ ้ – ขาย เป็นแหล่งข้อมูลขนาดใหญ่ในการรวบรวมข้อมูลผูซ้ อ ื้ - ผูข้ าย สินค้าและบริการ ธุรกิจ ร้านค้าจำ�นวนมาก ตัวอย่าง Marketplace ต่างประเทศทีค ่ นไทยใช้บริการ เช่น Amazon , Alibaba , Lazada เป็นต้น และเพื่อยืนยันว่าวันนี้ไม่ว่าท่านจะอยู่ด้านผู้ซื้อหรือผู้ขาย Marketplace บนโลก ออนไลน์เติบโตเป็นกระแสที่มาแรงจริง ๆ E - Marketplace ฉบับนี้จึงเติมเต็ม มุมมองกูรูมาฝากกัน

วารสารอุตสาหกรรม / 39


คุณภาวุธ พงษ์วิทยภานุ "หนึ่งในกูรูด้าน e-Commerce" ผู้ก่อตั้งและกรรมการผู้จัดการ ตลาดดอทคอม (Tarad.com) ข้ อ คิ ด จากคุ ณ ภาวุ ธ คื อ จุ ด เริ่ ม ต้ น ของ ผู้ ป ระกอบการไทยต้ อ งมี แ บรนด์ สิ น ค้ า และ เว็ บ ไซต์ เ ป็ น ของตั ว เอง จากนั้ น ต้ อ งเข้ า ใช้ บริการ Marketplace ทีม ่ ค ี วามน่าเชือ ่ ถือ แ ล ะ ส า ม า ร ถ พ า ผู้ ข า ย อ อ ก ไ ป สู่ ต ล า ด นอกประเทศ ต้องมีการวางกลยุทธ์ Social Media เพราะใช้งานง่าย ไม่เสียเงินและเข้าถึง คนได้ เ ป็ น จำ � นวนมาก ซึ่ ง ปั จ จุ บั น Social Media เช่น Facebook ก็กำ�ลังปรับตัว เข้าสู่โหมด Social Commerce

40 / วารสารอุตสาหกรรม

คุณภาวุธ พงษ์วิทยภานุ หนึ่งในกูรูด้าน e - Commerce ผู้ก่อตั้งและกรรมการผู้จัดการ ตลาดดอทคอม (Tarad.com) เว็บ e - Commerce Marketplace ในยุคแรก ๆ ให้มุมมองว่า “ ในแวดวง ผู้ให้บริการ e - Commerce ในลักษณะที่เรียกว่า Marketplace นั้น เวลานี้ต้องยอมรับว่าการแข่งขันหนักหน่วงมาก มีผู้เล่นล้มหายไปจาก หน้ากระดานบ้างแล้ว จะเห็นว่า Ensogo , Coupon ได้เลิกกิจการและ ถอยตัวจากไป หรือ แม้แต่ Rakuten ยักษ์ใหญ่จากญี่ปุ่น ที่เอาโมเดล ธุรกิจแบบญี่ปุ่นมาใช้ก็ต้องถอยทัพกลับไปเช่นกัน แสดงให้เห็นว่า ตลาดนี้ไม่ง่าย สำ�หรับรายใหม่ที่เข้ามาในตลาดสด ๆ ร้อน ๆ เช่น Alibaba ทีเ่ ข้าซือ้ กิจการของ Lazada ไปเรียบร้อย เพือ่ ขยายฐานลูกค้า และสินค้าที่เข้ามารวมใน Marketplace และคาดการณ์กันว่าจะเป็น ช่องทางออนไลน์ส�ำ คัญที่ Alibaba จะใช้ในการนำ�สินค้าจากจีนกระจาย เข้าสู่ตลาดอาเซียน ซึ่งนอกจากการขายสินค้าจาก Taobao แล้วยังมี Alipay รองรับการจ่ายเงินและ Aliexpress ที่รองรับระบบ Logistics" ตลาด e - Commerce ไทย คิดเป็นมูลค่าประมาณ 1% ของมูลค่าตลาดค้าปลีก แสดงว่าโอกาสเติบโตยังมีอีกมาก วัดจาก จำ�นวนประชากรทั้งหมด 67-68 ล้านคน มีประชากรอินเทอร์เน็ต ประมาณ 40 ล้านคน ถ้าประชากรอินเทอร์เน็ตเพิ่ม นั่นคือโอกาสที่ e-Commerce จะขยายตัวเพิม่ ขึน้ อีก ผูท้ ไี่ ด้ประโยชน์อย่างเต็มทีใ่ น เวลานี้ นอกจากผูบ้ ริโภคทีม่ ที างเลือกมากขึน้ มีสนิ ค้าคุณภาพดีใน ราคาถูก ผู้ขายเองก็ได้ประโยชน์ เพราะการแข่งขันของผู้ให้บริการ Marketplace นั่นเอง


ผู้ลงทุนสนใจทำ� E-Marketplace จะเริ่มอย่างไร การเตรียมความพร้อมของ Marketplace คือ ลงทุนระบบ คลั ง สิ น ค้ า ระบบขนส่ ง ให้ พ ร้ อ ม เตรี ย มโปรโมชั่ น ฟรี เตรี ย มหา บุคลากรทีม่ คี วามสามารถ เตรียมงบประมาณสำ�หรับการทำ�ตลาดและ ต้องพร้อมรับการเปลีย่ นแปลงใหม่ ๆ ตลอดเวลา สุดท้ายงบประมาณ คือหัวใจสำ�คัญ สำ�หรับ SMEs ต้องเพิ่มช่องทางการขาย ทั้งเว็บไซต์

Marketplace และ Social Commerce พร้อมกับทำ�การตลาด เชิ ง รุ ก เรี ย นรู้ ก ารทำ � ตลาดออนไลน์ แ ละบริ ห ารความสั ม พั น ธ์ กับลูกค้า พร้อมกับเพิ่มประสิทธิภาพในการทำ�งานด้วยเทคโนโลยี ใหม่ ๆ เช่น ระบบชำ�ระเงิน e-Payment , ระบบรับเงินและส่งของ e-Fulfillment สรุปการนำ�เสนอสินค้าและบริการผ่านช่องทางออนไลน์ ในปัจจุบันโดยการใช้เว็บไซต์ E-Marketplace เป็นเครื่องมือในการ ทำ�การตลาดนั้นก่อให้เกิดผลดีมากมายแก่ทั้งผู้ซื้อและผู้ขาย ดังนี้ ผลดีต่อผู้ซื้อ (1) ลดต้นทุนและระยะเวลาในกระบวนการจัดซื้อ (2) ควบคุมกระบวนการจัดซื้อได้อย่างเป็น ระบบ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ สะดวกและ รวดเร็ว (3) สร้ า งโอกาสในการติ ด ต่ อ ทาง ธุรกิจ ค้นหาผูข้ ายได้อย่างหลากหลาย (4) เปรียบเทียบข้อมูลสินค้าและ บริการ กระทั่งข้อมูลบริษัท เพื่อให้ ได้สินค้าและบริการที่ตรงตามความ ต้องการมากที่สุด (5) สามารถลงประกาศซื ้ อ เพื ่ อ ให้ ผู้ขายติดต่อเสนอการขายได้ ผลดีต่อผู้ขาย (1) ลดระยะเวลาในการนำ�สินค้า เข้าสู่ ตลาด โปรโมท สินค้าแหล่งเดียว กระจายไปทั่วโลก (2) ลดต้นทุนในการโฆษณา ประชาสั ม พั น ธ์ สิ น ค้ า และ บริการ (3) ช่ ว ยลดข้ อ จำ � กั ด ด้ า น องค์ประกอบทางธุรกิจ เช่น พื้นที่ พนักงานขาย เป็นต้น (4) ลดต้นทุนในการนำ�เสนอการขาย (5) ระบบสนับสนุนทำ�ให้การขายสินค้าและบริการ เป็นเรื่องง่าย (6) สร้างโอกาสทางการค้าตลอด 24 ชั่วโมงใน 7 วัน (7) ผู้ ซื้ อ สามารถเข้ า ถึ ง ข้ อ มู ล สิ น ค้ า และบริ ก ารได้ ทั่วทุกมุมโลก ข้อมูลอ้างอิงจาก

http://blog.sogoodweb.com/Article/Detail/9344/E-Marketplace-คืออะไร http://brandinside.asia/e-commerce-with-pompawoot-taraddotcom

วารสารอุตสาหกรรม / 41


Investment Hub เปิดแนวโน้ม

6 Mega Trends

ปรับธุรกิจก้าวทันโลกยุคใหม่

ารดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ ให้ อ ยู่ ร อดและเติ บ โต สิ่ ง สำ � คั ญ ก็ คื อ การมองเห็ น ถึ ง ทิ ศ ทางของตลาด

ในอนาคตว่าจะมีความต้องการสินค้าอะไรบ้าง แต่สิ่งที่สำ�คัญที่สุด คือ การจะปรับตัวธุรกิจ

ของตั ว เองให้ ส อดคล้ อ งกั บ ความต้ อ งการของตลาดในอนาคตได้ อ ย่ า งไร โดยผลการวิ เ คราะห์ แนวโน้มเทรนด์ความต้องการของโลก สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม หรือ ISMED ได้คาดการณ์ 6 เมกะเทรนด์สำ�คัญที่จะเกิดขึ้นภายในปี 2020

Mega Trends ที่ Urbanization

1

กระแสความเป็ น เมื อ งขนาดใหญ่ การขยายตั ว ของ เมืองใหม่ ทำ�ให้ธุรกิจการค้า การลงทุนและการท่องเที่ยวเติบโต ทำ�ให้ชุมชนกลายเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ เกิดชนชั้นกลาง รุ่ น ใหม่ ๆ ที่ มี ไ ลฟ์ ส ไตล์ สู่ วิ ถี แ บบคนเมื อ ง เน้ น การอุ ป โภค บ ริ โ ภ ค เช่ น เ ดี ย ว กั บ เ มื อ ง ใ ห ญ่ ทั่ ว โ ล ก ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ นโยบายการกระจายความเจริ ญ ไปสู่ ภู มิ ภ าคของรั ฐ บาล จึ ง เป็ น โอกาสให้ ผู้ ป ระกอบการขยายธุ ร กิ จ สู่ เ มื อ งหลั ก ใน ต่างจังหวัดที่มีศักยภาพสูง ทั้งนี้การเกิดของเมืองใหม่ ๆ ทำ�ให้ ผู้ ค นในต่ า งจั ง หวั ด เริ่ ม หั น มายกระดั บ การดำ � เนิ น ชี วิ ต ให้ ทันสมัยและสะดวกสบายในวิถีแบบคนเมือง ธุรกิจที่มีแนวโน้ม การเติ บ โตได้ ดี ได้ แ ก่ ธุ ร กิ จ ของตกแต่ ง บ้ า น ธุ ร กิ จ บริ ก าร 24 ชั่วโมง ธุรกิจแฟรนไชส์ในกลุ่มร้านอาหาร ความงาม สุขภาพ และธุรกิจแฟชั่น เสื้อผ้า เครื่องประดับ เป็นต้น

42 / วารสารอุตสาหกรรม

Mega Trends ที่ Digital Lifestyle

2

Digital Lifestyle หรื อ วิ ถี ชี วิ ต ในยุ ค ดิ จิ ทั ล ในยุ ค แห่ ง เทคโนโลยีนี้ทำ�ให้ธุรกรรมทางเศรษฐกิจและการสื่อสารเชื่อมโยง กั น ด้ ว ยเครื อ ข่ า ยไร้ ส ายมากขึ้ น ดิ จิ ทั ล ได้ ต อบโจทย์ ก าร เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมผู้บริโภค ตั้งแต่กลุ่ม Generation Y , X รวมทั้ง Baby Boomer ส่งผลให้เกิดนวัตกรรมใหม่ ๆ เกิดรูปแบบ ธุ ร กิ จ ใหม่ ที่ ใช้ อิ น เทอร์ เ น็ ต เป็ น พื้ น ฐานที่ ทั น สมั ย เป็ น ช่ อ งทาง การทำ�ตลาดใหม่เพิ่มมากขึ้น ภายใต้โลกแห่งดิจิทัลไลฟ์สไตล์ เรา ใช้ ชี วิ ต อยู่ บ นโทรศั พ ท์ มื อ ถื อ กั น มากขึ้ น และด้ ว ยเทคโนโลยี ก าร พัฒนาคอนเทนท์ของธุรกิจต่าง ๆ เช่น ธุรกิจบันเทิง ช้อปปิ้ง ท่ อ งเที่ ย ว บริ ก ารทางการเงิ น และการศึ ก ษาที่ อ ยู่ ใ นระบบ Ecosystem ทำ � ให้ เ กิ ด เศรษฐกิ จ ใหม่ บ น Digital Economy ที่ มี แ นวโน้ ม ที่ เ ติ บ โตมากขึ้ น และจะมี มู ล ค่ า มหาศาล โดย เ ฉ พ า ะ ก า ร นำ � ม า เ ป็ น เ ค รื่ อ ง มื อ ช่ ว ย ส ร้ า ง ค ว า ม ได้ เ ปรี ย บทางการแข่ ง ขั น ให้ แ ก่ SMEs ช่ ว ยลดต้ น ทุ น ประหยั ด เวลา ทำ � ให้ เข้ า ถึ ง ตลาดได้ ก ว้ า งและง่ า ยขึ้ น


Mega Trends ที่ Greening Economy

3

Mega Trends ที่ Aging Society

4

Greening Economy หรือยุคเศรษฐกิจสีเขียว ซึง่ ความเป็นมิตร ต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มได้ ก ลายมาเป็ น กติ ก าใหม่ ข องโลกปั จ จุ บั น โดย ผูป้ ระกอบการเริม่ เห็นความสำ�คัญในการปรับพัฒนาสินค้าและบริการ โดยคำ�นึงถึงความเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม สามารถช่วยลดค่าใช้จ่าย ในการลงทุ น และเกิ ด ความยั่ ง ยื น ต่ อ ธุ ร กิ จ และสั ง คมด้ ว ยเช่ น กั น ขณะที่ผู้บริโภคเริ่มมีการเรียนรู้มากขึ้นว่าตนเองก็มีส่วนสนับสนุน หรือช่วยโลกใบนี้ได้อีกทางหนึ่ง มีองค์กรจำ�นวนมากได้นำ�ประเด็น ความเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมาเป็นกลยุทธ์ธุรกิจมากขึ้น ดังนั้น SMEs จึงต้องปรับกลยุทธ์เจาะโอกาสทางธุรกิจสีเขียวนี้และนำ�พา ธุรกิจส่วนหนึ่งเข้ามาอยู่ในห่วงโซ่คุณค่าของ Green Supply Chain ให้ได้ ซึ่งจะเกิดผลเชิงบวกต่อธุรกิจที่จะตอบสนองความต้องการ ของลูกค้าและการรักษ์สิ่งแวดล้อมให้อยู่ยั่งยืนได้ โดยมีตลาดใหญ่ เป็นกลุ่มอุตสาหกรรมที่ขายสู่กลุ่มผู้ใช้ที่มีอยู่ทั่วโลกและกลุ่มที่เป็น อุตสาหกรรมสนับสนุนให้แก่แบรนด์หรือบริษทั การค้าระดับโลก กลุม่ ภาคบริการ เช่น การท่องเทีย่ วการขนส่ง , กลุม่ อุตสาหกรรม แฟชั่น เป็นต้น โดยสิ่งที่จะขาดเสียไม่ได้ คือ นวัตกรรมและ เทคโนโลยี ที่เป็นหัวใจสำ�คัญในการขับเคลื่อนภาคธุรกิจ อุตสาหกรรมสีเขียวให้สามารถเติบโตอย่างยั่งยืน

สังคมผู้สูงอายุ ซึ่งปัจจุบันประเทศไทยกำ�ลังเข้าสู่สังคมของ ผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ ภายในปี 2568 โดยจากผลสำ�รวจของวิทยาลัย การจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล ในเรื่อง Aging Society ชี้ให้เห็นว่า กลุ่มอายุ 48-57 ปี ในปัจจุบันกำ�ลังจะกลายเป็นผู้สูงอายุในอีกไม่กี่ปี ข้างหน้า โดย 30% มีรายได้เฉลี่ยเดือนละ 3-6 หมื่นบาท และอีก 30 กว่า% มีรายได้ 6 หมื่น – 1 แสนบาท ซึ่งจัดว่าเป็นกลุ่มที่มีรายได้สูง มีความสามารถในการใช้เงิน มีอัตราการออมและลงทุนสูงถึง 25% ของรายได้ ขณะทีไ่ ลฟ์สไตล์ของอนาคตผูส้ งู วัยกลุม่ นี้ กลายเป็นตัวชีน้ �ำ ความต้องการใหม่ๆ ของกลุม่ ผูบ้ ริโภคทีม่ อี �ำ นาจการซือ้ ไม่ตา่ งจากกลุม่ ผู้บริโภคกลุ่มอื่น แนวโน้มตลาดสินค้าและบริการที่จะมารองรับคน กลุ่มนี้จึงเป็นตลาดที่ใหญ่มากนับเป็นโอกาสทางธุรกิจใหม่ ๆ ที่จะ ตามมามหาศาล ดังนั้น SMEs จึงควรวิเคราะห์พฤติกรรมลูกค้าเชิงลึก เจาะตลาด Aging Segment และวางกลยุทธ์การตลาดที่เหมาะสมทั้ง ด้านราคา คุณภาพที่เชื่อถือได้ การออกแบบบริการที่ใส่ใจดูแลเป็น พิเศษ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่ม Pre-Aging Segment ที่เป็นโอกาส ทางธุรกิจสำ�หรับการดูแลสุขภาพก่อนเข้าสู่ภาวะผู้สูงวัย อาทิ การ เดินทางเพื่อการแสวงบุญและหาความสงบทางจิตใจ นันทนาการ เพื่อผู้สูงวัยกลุ่มเพื่อการออมและการลงทุน เป็นต้น

Mega Trends ที่ She - Conomy

Mega Trends ที่

5

พลังสตรีที่ขับเคลื่อนเศรษฐกิจ โดยแนวโน้มของกลุ่มสตรีมี บทบาททางสังคม การเมืองและเศรษฐกิจทีม่ เี พิม่ สูงขึน้ อย่างเห็นได้ชดั ผลจากการเปลี่ยนแปลงทางสังคมโลกที่เปิดโอกาสความก้าวหน้า ต่างๆ ทั้งด้านการศึกษาและการเข้ามามีบทบาทในภาคการทำ�งาน ในส่วนต่าง ๆ อย่างมีนยั ยะสำ�คัญในทศวรรษนี้ การเข้าสูต่ ลาดผูห้ ญิง ยุค She - Conomy ในการเป็นส่วนหนึ่งของการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ดังนั้นจึงจำ�เป็นต้องเรียนรู้การใช้กลยุทธ์แบ่งตลาด ต้องรู้ข้อมูลเชิงลึก Woman Insight คือ ข้อมูลสำ�คัญของการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการ ใหม่ๆ ธุรกิจทีน่ า่ สนใจและมีแนวโน้มสำ�คัญ เช่น กลุม่ สินค้าทีเ่ ชือ่ มโยง กับความสุขของครอบครัว กลุ่มบริการทางการท่องเที่ยวเฉพาะและ กลุ่มบริการเพื่อการดูแลความสวยความงาม เช่น บริการสปา ธุรกิจ การจับคู่ Match Maker เป็นต้น

6

Hi-Speed & Coverage Logistics

โลจิสติกส์ความเร็วสูง เนื่องจากแนวโน้มของระบบโลจิสติกส์ จะเป็นต้นทุนสำ�คัญของการผลิตและมีส่วนสำ�คัญในการสร้างความ สามารถทางการแข่งขันของประเทศ โดยการพัฒนาด้านเทคโนโลยีการ ขนส่งทีร่ วดเร็วมีประสิทธิภาพและมีตน้ ทุนต่�ำ ลง พร้อมทัง้ การเชือ่ มโยง กับ Mobile Ecosystem นอกจากนีป้ ระเทศไทยยังมีความได้เปรียบของ ทำ�เลที่ตั้งเชิงยุทธศาสตร์ของประเทศ ทำ�ให้เรามีความสามารถขยาย เครือข่ายขนส่งไปสู่กลุ่มตลาดต่างประเทศ ได้แก่ AEC , GMS , BIMS TEC (บังคลาเทศ ศรีลังกา อินเดีย ไทย พม่า เนปาลและภูฏาน) และ EU ซึ่งจะทำ�ให้สินค้าไทย โดยเฉพาะกลุ่มภาคการเกษตรแปรรูป จะมีตน้ ทุนทีต่ �่ำ ลงและจะสามารถเพิม่ มูลค่าเชิงเศรษฐกิจสูงขึน้ ดังนัน้ สำ�หรับผู้ประกอบการ SMEs ควรมี ก ารรวมกลุ ่ ม เพื ่ อ บริ ห ารระบบ โลจิสติกส์เป็นหนึ่งเดียวแบบไร้รอยต่อและเชื่อมสู่ระบบขนส่งใหญ่ ทั้งในและต่างประเทศเพื่อขยายตลาดใหม่ๆ รองรับ Asean + 3 ซึ่ง นับเป็นโอกาสแก่ SMEs ที่สามารถพัฒนาความสามารถทางการ แข่งขันโดยการผนึกกำ�ลังรวมตัวทำ�ตลาดร่วมกันได้

วารสารอุตสาหกรรม / 43


มองไปข้างหน้า...กับปลัดสมชาย โดย สมชาย หาญหิรัญ

ธุ

ลูกค้ามีความสุข ธุรกิจก็จะมีความสุข รกิจใดก็ตามหากสามารถทำ�ให้ลก ู ค้ามีความสุข ธุรกิจนัน ้ ก็จะมีกำ�ไร ซึง่ การวาง

ยุทธศาสตร์ของการทำ�ธุรกิจควรเริม ่ มองทีล ่ ก ู ค้าก่อนว่าลูกค้าคือใคร ต้องการอะไร จากนั้ น ก็ กำ � หนดรู ป แบบทางธุ ร กิ จ เพื่ อ ตอบโจทย์ ลู ก ค้ า ของเรา ฟั ง ดู เ หมื อ นง่ า ย แต่กระบวนการในการหาโจทย์ของความต้องการของลูกค้าอาจต้องแสวงหาข้อมูล เฝ้าติดตาม สอบถาม กำ�หนดลูกค้าเป้าหมายและลงไปถึงยุทธศาสตร์การสร้าง คุณค่าและมูลค่าสินค้าของเราเพื่อให้ลูกค้าได้รับสิ่งที่ดีกว่าเดิม

ผมมีโอกาสไปจังหวัดเลยและได้พดู คุยกับผูป้ ระกอบการ หนุ่มไฟแรง ธีรวัฒน์ บรรจงเลี้ยง ผู้ซึ่งหันหลังให้อาชีพด้าน นิเทศศาสตร์ที่ร่ำ�เรียนมาและมาทำ�ธุรกิจน้ำ�ดื่มในจังหวัดเลยซึ่ง เป็นบ้านเกิด โดยธุรกิจน้ำ�ดื่มในจังหวัดเลยมีมูลค่ากว่าร้อยล้าน บาทต่อเดือน เคลื่อนไหวตามจำ�นวนนักท่องเที่ยวที่เข้ามาใน จังหวัดแต่ละช่วงเวลา คุณธีรวัฒน์เริ่มธุรกิจโดยการจ้างคนอื่นผลิตน้ำ�ดื่มให้และ ตัวเองลงไปพบปะพูดคุยกับลูกค้าเอง ส่งน้�ำ เอง โดยใช้ชอื่ แบรนด์ “ใช่เลย…ก๋อ” เพือ่ แสดงความเป็นพืน้ ที่ ซึง่ ต้องแข่งขันกับแบรนด์ ขนาดใหญ่ที่เป็นเจ้าของตลาดอยู่ เช่น น้ำ�ดื่มสิงห์ เนสเล่ท์และ สปริงเคิล ฯลฯ โดยอาศัยความเป็นกันเองและการพูดคุยกับลูกค้า

44 / วารสารอุตสาหกรรม


“ใช่เลย….ก๋อ” ออกมาเพื่อ สนองความต้องการลูกค้า ในรูปแบบสินค้าของเมืองเลย เพื่อคนเมืองเลย ธุรกิจแบบ คนเมืองเลยด้วยกันเอง ทำ�ให้ ลูกค้าสบายใจและมีความสุข

ทำ�ให้เกิดความสัมพันธ์กับลูกค้าได้ดี ลูกค้ากล้าเล่าความต้องการไม่ว่า เกีย่ วกับตัวสินค้า บริการ หรือ แม้แต่การบรรจุภณ ั ฑ์ ไม่ใช่เฉพาะแต่ของเขา แต่ของรายอืน่ ๆ ด้วย ทำ�ให้เขาได้รบั ข้อมูลทีส่ �ำ คัญของความต้องการและ ความพอใจของลู ก ค้ า ว่ า น้ำ � ดื่ ม ที่ ดี ใ นสายตาของลู ก ค้ า ควรเป็ น อย่างไร การส่งมีปญ ั หาอะไร มากไปกว่านัน้ รูว้ า่ คูแ่ ข่งสำ�คัญทีเ่ ป็นผลิตภัณฑ์ ระดับประเทศมีจุดแข็งอะไร จุดอ่อนอะไร ทั้งตัวผลิตภัณฑ์ การวาง ตำ�แหน่งในตลาด รูปแบบธุรกิจและราคา ทำ�ให้เขามองเห็นช่องว่าง ทางการตลาดทีเ่ ขาสามารถเข้าไปได้ ธีรวัฒน์ เล่าอย่างตืน่ เต้นว่าการลงไป คลุกคลีกบั ลูกค้าพบว่าน้�ำ ดืม่ ทีม่ คี ณ ุ ภาพทีล่ กู ค้าต้องการนัน้ ต้องไม่มกี ลิน่ ไม่มีรสและการขายต้องกันเองไม่สร้างแรงกดดันในร้านค้าในการสั่งซื้อ สินค้าและการรับคืนสินค้าที่ขายไม่ได้ เพราะเขาคิดว่า ร้านค้าต่างๆ คือ ลูกค้าเขา ต้องมีความสุขในการทำ�ธุรกิจกับเขาด้วย ดังนัน้ “ใช่เลย...ก๋อ” จึงออกมาเพือ่ สนองความต้องการลูกค้าใน รูปแบบสินค้าของเมืองเลย เพื่อคนเมืองเลย ธุรกิจแบบคนเมืองเลยด้วย กันเอง ทำ�ให้ลูกค้าสบายใจและมีความสุข มองน้ำ�ดื่มของเขาแบบ… ใช่เลย… และขวดน้ำ�เขาจะมีฉลากเก๋ๆ สมกับที่ออกแบบเองโดยหนุ่ม เจ้าของที่ผ่านงานด้านนิเทศศาสตร์มา วันนี้ ธีรวัฒน์คิดไปไกลกว่าเดิม เขามองโอกาสทางธุรกิจน้ำ�ดื่ม ของเขาไปอีกระดับหนึ่ง โดยมองความสุขของลูกค้าและผู้บริโภคเป็น จุดศูนย์กลาง ดังนัน้ โครงการ “Happy Water” จึงถือกำ�เนิดมาจากจุดเริม่ ต้น ที่คิดว่าเขาจะให้ความสุขกับลูกค้าที่เป็นเป้าหมายของเขาอย่างไรบ้าง ความสุขที่ได้สินค้าที่มีคุณภาพดี ราคาดีและสะดวกสบายในบริการดี ซึง่ เป็นวิธคี ดิ ทีด่ ี โดยเขาจะทำ�ให้ลกู ค้าได้รบั รูค้ ณ ุ ค่าของสินค้าและมีความ พอใจมากขึ้นอย่างไร จากนั้นเขาก็กำ�หนดยุทธศาสตร์ต่างๆ ออกมา รายรอบเป้าหมายนี้ ซึ่งต่างกับส่วนมากที่พอเริ่มคิดก็คิดแต่ว่าจะทำ�กำ�ไร ให้กับตัวเองอย่างไร คุณภาพของน้ำ�ดื่มในโครงการนี้จะมองรวมทั้งตัวน้ำ�ดื่มและ บรรจุภัณฑ์ เพื่อให้ได้น้ำ�ดื่มที่มีคุณภาพ คือ ไม่มีกลิ่นและไม่มีรส เขาใช้ ระบบโอโซนแทนคลอรีนในการทำ�ความสะอาดให้กับน้ำ�ดื่มและการล้าง ถังบรรจุ ซึ่งน้ำ�ดื่มทั่วไปในระดับธรรมดาจะเลือกใช้คลอรีนเพราะสะดวก และราคาถูก บางแห่งใช้น้ำ�ประปาที่มีกลิ่นคลอรีนอยู่แล้ว แต่โรงงานเขา ออกแบบการผลิตทีผ่ ลิตภัณฑ์จะถูกผลิตและบรรจุโดยเครือ่ งจักรทัง้ หมด

ไม่สมั ผัสมือคนจนกว่าจะปิดขวดสนิทแล้ว ทำ�ให้มนั่ ใจได้วา่ สะอาดจริงๆ แม้จะต้องลงทุนเครือ่ งจักรเพิม่ ขึน้ ก็ตาม โครงการนี้จะขายน้ำ�แบบบรรจุถัง และกำ�หนดราคาต่ำ�กว่าคู่แข่งระดับชาติ แต่สูงกว่าน้ำ�ดื่มแบรนด์ใน จังหวัด เพื่อกำ�หนดตำ�แหน่งสินค้าสอดคล้องกลุ่มเป้าหมายที่เป็นกลุ่ม ที่ต้องการน้ำ�ดื่มสะอาดและคุณภาพดี โดยเขาเสนอน้ำ�ดื่มที่ปราศจาก การใช้คลอรีนในทุกขั้นตอนผลิตและบรรจุภัณฑ์ใช้วัสดุในการผลิตที่มี คุณภาพทัง้ สะอาด ปลอดภัยและแข็งแรง แบบเดียวกับทีบ่ ริษทั ยักษ์ใหญ่ ทั่วไปใช้กัน แต่จำ�หน่ายราคาที่ต่ำ�กว่า ลูกค้าต้องเป็นสมาชิก มีรหัสเลขบัตรสมาชิกและจำ�แนกประเภท สมาชิกลูกค้าว่าเป็นแบบบุคคล สำ�นักงาน หรืออืน่ ๆ ซึง่ การเป็นสมาชิกก็ ช่วยป้องกันไม่ให้ถงั ของบริษทั ถูกนำ�ไปใช้โดยเจ้าอืน่ ๆ และประมาณการ การผลิตได้ง่าย เพราะสมาชิกแต่ละรายแต่ละประเภทต้องมีคำ�สั่งซื้อ ขั้นต่ำ�ในแต่ละอาทิตย์ ซึ่งดูแล้วก็ในจำ�นวนสมเหตุสมผล เช่น สมาชิก ประเภทบุคคลกำ�หนดสั่งซื้ออาทิตย์ละถัง เหตุที่มีข้อกำ�หนดนี้เพราะ ไม่ตอ้ งการให้ถงั อยูก่ บั ลูกค้านานเป็นเดือนๆ เขาต้องการทำ�ความสะอาด ถังน้ำ�ดื่มทุกอาทิตย์เพื่อให้ลูกค้าแน่ใจว่าสะอาดจริงๆ นอกจากนี้ ธีรวัฒน์ยงั ได้น�ำ ระบบดิจทิ ลั มาใช้ในการบริหารระบบ สมาชิกแล้ว ยังใช้บริหารการจัดส่งน้ำ�ดื่มของเขาด้วย ฐานข้อมูลสมาชิก ของเขาจะถูกกำ�หนดพิกดั ทีต่ งั้ ในแผนที่ GPS รวมทัง้ ข้อมูลอืน่ ๆ ทัง้ หมด ของลูกค้าจะถูกบันทึกไว้ ทั้งนี้เพื่อการบริการลูกค้าที่ดี จัดส่งถูกต้อง ตรงเวลา เขาสามารถเช็คว่าแต่ละวันเส้นทางไหนจะมีลกู ค้ารายใดทีต่ อ้ ง สัง่ สินค้า จำ�นวนเท่าใด เขาสามารถกำ�หนดทุกอย่างในแต่ละวันล่วงหน้า ได้สะดวกในการส่งทีต่ รงเวลาและลดต้นทุนการขนส่ง แต่ส�ำ หรับสิง่ ทีม่ คี า่ สำ�หรับเขาแล้ว คือ ฐานข้อมูลของลูกค้าที่จะช่วยให้เขาพัฒนาธุรกิจใน ปัจจุบันได้อย่างมีประสิทธิภาพและต่อยอดธุรกิจอื่นๆ ในอนาคตเขายัง มองถึงการเชื่อมโยงสมาชิกของเขากับธุรกิจอื่นๆ ในจังหวัดเลย เช่น การทำ�โปรโมชั่นร่วมกับร้านอาหาร หรือธุรกิจอื่นๆ สมาชิกไปทาน ร้านอาหารได้ลดราคาพิเศษ ฯลฯ ดังนั้น การกำ�หนดกลยุทธ์ธุรกิจที่ดีต้องเริ่มว่าเราจะทำ�ให้ ลูกค้ามีความสุขขึน้ กว่าเดิมอย่างไร เพราะเมือ่ ลูกค้ามีความสุขจาก การทำ�ธุรกิจกับเรา ธุรกิจของเราก็มีความสุขเอง

วารสารอุตสาหกรรม / 45


Special Report เปิดแผนขับเคลื่อน 3 อุตสาหกรรมเป้าหมาย

ยานยนต์-หุ่นยนต์-อาหาร ดันเศรษฐกิจไทยทะยานสู่อนาคต

ารผลักดันให้เกิด 10 อุตสาหกรรมเป้าหมาย เพื่อ เป็นเครื่องจักรตัวใหม่ในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย

ในภาวะที่ เ ครื่ อ งจั ก รเศรษฐกิ จ เดิ ม เริ่ ม อ่ อ นแรงจนไม่

สามารถแข่งขันกับประเทศที่มีเทคโนโลยีสูงกว่า แม้กระทั่ง

ประเทศเศรษฐกิ จ ใหม่ ท่ ม ี ี ต้น ทุ น ต่ำ� กว่ า และมี ท รั พ ยากร

ธรรมชาติ ส มบู ร ณ์ ซึ่ ง ที่ ผ่ า นมารั ฐ บาลได้ เ ร่ ง ออก ยุ ท ธศาสตร์ อุ ต สาหกรรมเป้ า หมาย 3 กลุ่ ม ได้ แ ก่

ยุท ธศาสตร์ ส่ ง เสริ ม ในอุ ตสาหกรรมยานยนต์ ส มั ยใหม่

ที่ได้ผ่านการพิจารณาของคณะรัฐมนตรี (ครม.) ไปแล้ว และกำ�ลังจะออกยุทธศาสตร์สง่ เสริมอุตสาหกรรมหุน ่ ยนต์ และอุตสาหกรรมอาหาร ตามลำ�ดับ

46 / วารสารอุตสาหกรรม


1. มาตรการส่งเสริมอุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่ คณะ กรรมการส่งเสริมการลงทุน (บอร์ดบีโอไอ) ได้ให้การสนับสนุน สำ�หรับ สิทธิประโยชน์ท่ีให้กับกิจการผลิตรถยนต์ไฟฟ้าแบบแบตเตอรี่ โดย จะต้องเสนอแผนงานเป็นเหมารวมทั้งชุด (Package) ประกอบด้วย โครงการประกอบรถยนต์และโครงการผลิตหรือใช้ชิ้นส่วนสำ�คัญ ยืน่ คำ�ขอรับการส่งเสริมการลงทุนภายในวันที ่ 31 ธ.ค. 2561 จะได้รบั การยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลตั้งแต่ 5-8 ปี ตามอัตราความเร็ว ในการผลิต เช่น หากผลิตได้ในปีที่ 3 จะได้รับการยกเว้น 8 ปี ผลิตได้ ปีที่ 4 ได้รับการยกเว้น 7 ปี ตามลำ�ดับ ทั้งนี้หากมีการผลิตหรือใช้ ชิ้นส่วนสำ�คัญมากกว่า 1 ชิ้น ได้รับสิทธิยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล เพิ่มอีกชิ้นละ 1 ปี แต่รวมกันแล้วไม่เกิน 8 ปี ทั้งนี้ได้รับประโยชน์ ในการยกเว้นอากรขาเข้าเครื่องจักรด้วยและหากเป็น SMEs ไทย จะได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลมากกว่าเกณฑ์ปกติเพิ่มอีก 2 ปี เพือ่ สนับสนุนให้ผปู้ ระกอบการไทยเข้าสูอ่ ตุ สาหกรรมนีไ้ ด้งา่ ยขึน้ ขณะที่การส่งเสริมกิจการผลิตรถยนต์ไฟฟ้าแบบผสมเสียบ ปลั๊กไทย จะต้องเสนอแผนงานเป็นเหมารวมทั้งชุด (Package) ประกอบด้วย โครงการประกอบรถยนต์และโครงการผลิตหรือใช้ชิ้น ส่วนสำ�คัญ โดยจะต้องยื่นคำ�ขอรับการส่งเสริมการลงทุนภายใน วันที่ 31 ธ.ค. 2561 ได้รบั การยกเว้นอากรขาเข้าเครือ่ งจักร และยกเว้น ภาษีเงินได้นิติบุคคล 3 ปี และหากมีการผลิตชิ้นส่วนสำ�คัญมากกว่า 1 ชิ้น จะได้รับสิทธิยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลเพิ่มขึ้นชิ้นละ 1 ปี แต่รวมแล้วไม่เกิน 6 ปี นอกจากนี้ บีโอไอได้กำ�หนดชิ้นส่วน 13 รายการ ที่ให้การ ส่งเสริมจะยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล 8 ปี ได้แก่ (1) กิจการผลิต แบตเตอรี่ (2) กิจการผลิตเครื่องลาก (Traction) (3) กิจการผลิตระบบ ปรับอากาศด้วยไฟฟ้าหรือชิ้นส่วน (4) กิจการผลิตระบบบริหาร จัดการแบตเตอรี่ (5) กิจการผลิตระบบควบคุมการขับขี่ (6) กิจการ ผลิต On-Board Charger (7) กิจการผลิตสายชาร์จแบตเตอรี่พร้อม เต้ารับ-เต้าเสียบ (8) กิจการผลิต DC/DC Converter (9) กิจการ ผลิต Inverter (10) กิจการผลิต Portable Electric Vehicle Charger (11) กิจการผลิต Electrical Circuit Breaker (12) กิจการพัฒนาระบบ อัดประจุไฟฟ้าอัจฉริยะ และ (13) กิจการผลิตคานหน้า/คานหลัง สำ�หรับรถโดยสารไฟฟ้า

ทั้งนี้ หากโครงการลงทุนรถยนต์ไฟฟ้าตั้งโรงงานในพื้นที่ ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (อีอซี )ี และยืน่ ขอรับส่งเสริม ภายในวันที่ 29 ธันวาคม 2560 จะได้รับสิทธิประโยชน์เพิ่มเติม ได้แก่ การลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคล 50% เป็นเวลา 5 ปี สำ�หรับกิจการสถานีบริการอัดประจุไฟฟ้า ต้องยื่นคำ�ขอรับการ ส่งเสริมการลงทุนภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2561 โดยให้ได้รับการ ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล 5 ปี และยกเว้นอากรขาเข้าเครื่องจักร 2. ยุทธศาสตร์อุตสาหกรรมหุ่นยนต์และเครื่องจักร อัตโนมัติ ในเบื้องต้นจะประกอบด้วย 3 มาตรการ ได้แก่ 1) มาตรการทางการตลาด เพื่ อ กระตุ้ น ให้ ภ าคอุตสาหกรรม การผลิ ต และบริ ก ารใช้ ห่ ุน ยนต์ แ ละระบบอั ต โนมั ติ ม ากขึ้ น ผ่านมาตรการลดหย่อนภาษี และการใช้เงินกองทุนต่างๆ สำ�หรับ ผูป้ ระกอบการทีใ่ ช้หนุ่ ยนต์และระบบอัตโนมัติ เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภิ าพ การผลิต และสนับสนุน เงินกู้ดอกเบี้ยต่ำ�จากเงินกองทุนพัฒนา เอสเอ็มอีตามแนวทางประชารัฐ รวมทั้งส่งเสริมการวิจัยพัฒนา โดยยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลสำ�หรับผู้ประกอบการที่มีการวิจัย และพัฒนาเทคโนโลยีหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ ตลอดจนการ สนับสนุนงบประมาณสำ�หรับหน่วยงานรัฐในการจัดซื้อจัดจ้าง หุ่ น ยนต์ แ ละระบบอั ต โนมั ติ ที่ ผ ลิ ต ภายในประเทศเพื่ อ บริ ก าร ประชาชน เป็นต้น

2) มาตรการเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขัน โดยผลักดัน ให้ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมหุ่นยนต์และเครื่องจักรอัตโนมัติ ในประเทศติ ด ตั้ ง ระบบให้ เ พี ย งพอต่ อ การขยายตั ว ของ อุตสาหกรรมดังกล่าวในอนาคต พร้อมสร้างความเข้มแข็งโดยการ ลดต้นทุนการผลิตให้กบั ผูป้ ระกอบการภายในประเทศ แก้ไขปัญหา ความลักลั่นของอากรนำ�เข้าระหว่างสินค้าสำ�เร็จรูปและชิ้นส่วน อุปกรณ์ที่นำ�เข้ามาผลิตและพิจารณาการปรับเพิ่มสิทธิประโยชน์ ส่งเสริมการลงทุนในระดับ A1 ยกเว้นภาษีเงินได้ 8 ปี ไม่จำ�กัด วงเงิน ยกเว้นอากรเครื่องจักร วัตถุดิบ Non-tax สำ�หรับกิจการ ผลิตเครื่องจักรและ/หรืออุปกรณ์อัตโนมัติและกิจการออกแบบ ระบบอัตโนมัติ รวมทั้งยังส่งเสริมให้เกิดการลงทุนในเทคโนโลยี หุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติผ่านกองทุนเพิ่มขีดความสามารถใน การแข่งขันสำ�หรับอุตสาหกรรมเป้าหมายที่จะได้รับการยกเว้น ภาษีเงินได้นิติบุคคลสูงสุดถึง 15 ปี

วารสารอุตสาหกรรม / 47


ยุทธศาสตร์อุตสาหกรรมหุ่นยนต์ และเครื่องจักรอัตโนมัติ ในเบื้องต้น จะประกอบด้วย 3 มาตรการ ได้แก่ 1) มาตรการทางการตลาด 2) มาตรการเพิ่มขีดความสามารถ การแข่งขัน 3) มาตรการยกระดั บ เทคโนโลยี หุ่นยนต์ ฯ

48 / วารสารอุตสาหกรรม

3) มาตรการยกระดั บ เทคโนโลยี หุ่ น ยนต์ ฯ โดยการจั ด ตั้ ง Center of Excellence (CoE) เพือ่ เป็นเครือข่ายขับเคลือ่ นเทคโนโลยี นีจ้ ากสถาบันการศึกษาและหน่วยงานวิจยั ไปสูก่ ารผลิตเชิงพาณิชย์ โดยให้สถาบันไทย-เยอรมัน เป็นหน่วยงานหลัก มีจดุ ประสงค์ให้เกิด การพัฒนาต้นแบบหุ่นยนต์ เช่น หุ่นยนต์ภาคสนาม หุ่นยนต์ใช้ใน อุตสาหกรรม หุ่นยนต์ทางการแพทย์ หุ่นยนต์บริการและหุ่นยนต์ ทางทหารและเชื่อมโยงงานวิจัยสู่การผลิตในเชิงพาณิชย์จำ�นวน 200 ผลิตภัณฑ์ภายใน 5 ปี และการให้คำ�ปรึกษาแนะนำ�การ ถ่ายทอดเทคโนโลยีหนุ่ ยนต์ตา่ งๆ ไปสูผ่ ปู้ ระกอบการ 100 รายต่อปี จัดทำ�ฐานข้อมูลเชิงลึกสำ�หรับอุตสาหกรรมหุ่นยนต์ ตลอดจน ฝึกอบรมบุคลากรด้านหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ 2 พันคนต่อปี ทั้งนี้คาดว่าในปี 2561 จะมีเอกชนขนาดใหญ่และขนาด กลางทั้งไทยและต่างชาติ จำ�นวน 9 ราย ลงทุนในอุตสาหกรรม หุน่ ยนต์และระบบอัตโนมัติ มูลค่าลงทุนในปี 2561 ไม่ต�่ำ กว่า 1 หมืน่ ล้านบาท เป้าหมายระยะกลาง 5 ปี จะกระตุน้ ให้มกี ารผลิตหุน่ ยนต์ และระบบอัตโนมัติขึ้นในประเทศไม่น้อยกว่า 30% ของมูลค่าการ นำ�เข้าและโรงงานอย่างน้อย 50% ใช้หุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ ระดับสูง ส่วนเป้าหมายระยะยาว 10 ปี จะสนับสนุนให้ผู้ผลิต ไทยมีเทคโนโลยีของตัวเอง เกิดความร่วมมือกับบริษัทข้ามชาติ รายใหญ่พัฒนาด้วยเทคโนโลยีขั้นสูง


3. ยุทธศาสตร์อตุ สาหกรรมอาหาร แผนงานหลักๆ จะเพิม่ “นักรบพันธุ์ใหม่” หรือผู้ประกอบการอุตสาหกรรมรายใหม่ที่มี ความเข้มแข็งและมีเทคโนโลยีให้ได้ 3.5 หมืน่ รายภายใน 20 ปี หรือ เพิม่ ปีละ 1,750 ราย และยกระดับผูป้ ระกอบการขนาดกลางไปเป็น รายใหญ่ได้ประมาณ 200-300 ราย เพื่อขยายฐานการผลิตให้ กว้างขึน้ จากปัจจุบนั ทีม่ โี รงงานอุตสาหกรรมอาหารประมาณ 1.1 แสนราย ซึง่ ในจำ�นวนนีม้ ถี งึ 99.5% ทีเ่ ป็น SMEs และมีขนาดใหญ่ เพียง 0.5% หรือประมาณ 600 ราย แต่ในจำ�นวนนีม้ สี ดั ส่วนมูลค่า การผลิตถึง 65% ของทัง้ อุตสาหกรรมอาหาร ดังนัน้ จึงต้องเร่งสร้าง ผูป้ ระกอบการ SMEs ทีเ่ ข็มแข็งเพือ่ ให้ฐานของ SMEs ด้านอาหาร มีความแข็งแกร่งขึ้น นอกจากนี้ ยังได้จดั ตัง้ “ฟูด้ วัลเลย์” หรือนิคมอุตสาหกรรม อาหารครบวงจร ภายใต้แนวคิดอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ มีการนำ� เทคโนโลยีมาใช้ในการผลิตและแปรรูปอาหารเพือ่ สร้างมูลค่าเพิม่ การพัฒนาธุรกิจ การลดต้นทุนให้กบั ผูป้ ระกอบการ ตลอดจนสร้าง เครือข่ายธุรกิจ ซึง่ จะช่วยเพิม่ ศักยภาพและขีดความสามารถให้กบั ผู้ผลิตอาหารไทยยิ่งขึ้น โดยในขณะนี้ได้นำ�ร่องตั้งฟู้ดวัลเลย์แล้ว 3 แห่ง จากปัจจุบันที่กระทรวงอุตสาหกรรมได้มีการลงนามกับ บริษัท สิงห์ คอร์เปอเรชั่น จำ�กัด จัดตั้งฟู้ดวัลเลย์ ไปแล้ว 1 แห่ง ที่ จ.อ่างทอง เนื้อที่ 1.3 พันไร่ หลังจากนี้จะลงนามร่วมกับ บริษัท น้�ำ ตาลราชบุรี ตัง้ ฟูด้ วัลเลย์ ที่ จ.ราชบุรี ซึง่ จะเป็นแหล่งผลิตอาหาร ที่ต่อยอดมาจากอ้อยเป็นหลักและร่วมกับ บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำ�กัด (มหาชน) ตัง้ ฟูด้ วัลเลย์ ที่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา มีเนือ้ ที่ ประมาณ 3-4 พันไร่ จะเน้นในอุตสาหกรรมเครื่องดื่มและอาหาร ทีม่ นี วัตกรรม โดยผูป้ ระกอบการทีเ่ ข้าไปลงทุนในพืน้ ทีน่ ไี้ ด้รบั สิทธิ ประโยชน์พิเศษยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลเพิ่มเติมจากมาตรการ ส่งเสริมของบีโอไอและผู้เชี่ยวชาญที่เข้ามาทำ�งานในพื้นที่ก็จะได้ รับการยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและจะมีสิทธิพิเศษอื่นๆ อีก ซึง่ การส่งเสริมการลงทุนต่างๆ เหล่านีอ้ ยูร่ ะหว่างการพิจารณา

อัตราที่เหมาะสม คาดว่าจะนำ�เสนอเข้าสู่การพิจารณาของคณะ รัฐมนตรี (ครม.) ได้ภายในเดือนกันยายน – ตุลาคมนี้ จากยุทธศาสตร์อาหารดังกล่าว คาดว่าจะยกระดับการ ส่งออกอาหารของไทยจากปัจจุบันที่อยู่ในอันดับ 13 ของโลก ให้ขึ้นมาอยู่ในอันดับ 10 ของโลกให้ได้ภายใน 5 ปี เพื่อให้มียอด การส่งออกไม่ต�่ำ กว่า 2.3 ล้านล้านบาท โดยแนวทางหลักๆ จะต้อง เพิม่ การแปรรูปวัตถุดบิ การเกษตรให้มากขึน้ เช่น การเพิม่ การแปรรูป ข้าว 30% จากเดิมที่ส่งออกเป็นข้าวสารทั้งหมด ส่วนเป้าหมาย ระยะยาว 20 ปี จะต้องยกระดับขึ้นมาเป็นผู้ส่งออกอาหารอันดับ 1 ใน 5 ของโลก มีมูลค่าไม่ต่ำ�กว่า 6 ล้านล้านบาท ซึ่งการที่ไปถึง จุดนี้ได้ จะพึ่งการแปรรูปทั่วไปเพียงอย่างเดียวไม่ได้ จะต้อง ยกระดับไปสูก่ ารแปรรูปเป็นอาหารฟังก์ชนั่ นอล จำ�พวกอาหารเพือ่ สุขภาพ อาหารตามวัยอายุ อาหารเพือ่ ผูป้ ว่ ย เป็นต้น ให้มสี ดั ส่วน เป็น 25% ของการส่งออกอาหารทั้งหมด ซึ่งอาหารเหล่านี้จะมี มู ล ค่ า เพิ่ ม สู ง ขึ้ น ทำ � ให้ เ พิ่ ม ยอดการส่ ง ออกได้ โ ดยไม่ ต้ อ งเพิ่ ม ปริมาณการผลิตมากนักสอดคล้องกับความต้องการของตลาดโลก

วารสารอุตสาหกรรม / 49


รู้ไว้ใช่ว่า Lean ......องค์กรให้แข็งแรง

ดยทั่วไปเมื่อพูดคำ�ว่า “Lean” เราจะเข้าใจถึง ความผอม ,

เพรียว , บาง ถ้าเปรียบเทียบกับคนในความหมายเชิงบวกหมายถึง

คนทีม ่ ร ี า่ งกายสมส่วน ปราศจากชัน ้ ไขมัน , แข็งแรง , ว่องไวและ

กระฉับกระเฉง ถ้าเปรียบเทียบกับองค์กรก็หมายถึงองค์กรที่

ดำ�เนินการโดยไม่มีความสูญเปล่าในทุก ๆ กระบวนการ ใช้ทก ุ สิ่ง

ทุกอย่างน้อยลงอย่างคุม ้ ค่าโดยมีมาตรฐานเหมือนเดิม

50 / วารสารอุตสาหกรรม


เปรียบเทียบระบบการผลิตในแต่ละยุค 1. Craft 2. Mass 3. Lean

คิดอย่าง Lean?

Lean คือ แนวคิดในการบริหารจัดการ การผลิตหรือองค์กรให้มี ประสิทธิภาพสูงสุด โดยปราศจากความสูญเปล่า (Waste) ต้นความคิดมา จากประเทศญี่ป่นุ ที่ทำ�อุตสาหกรรมรถยนต์แบบจำ�นวนมาก (Mass Product) การบริหารจัดการระบบและพัสดุคงคลังมีความจำ�เป็นอย่างยิง่ จึงเริม่ มีการจัดการ ระบบ Lean ขึน้ มา ภาษาญีป่ นุ่ เรียก “มุดะ” ( Muda ) ซึง่ หมายถึงความสูญเปล่า มีการพัฒนาต่อมาจนเป็นระบบทีส่ ามารถลดการสูญเสียได้ เรียกว่า “Kaizen” ความหมายของไคเซ็ น ก็ คือ “การปรั บ ปรุ ง อย่ า งต่ อ เนื่อ ง” จากจุ ด เริ่ม ที่ ประเทศญี่ ปุ่ น ได้ ก ลายเป็ น แนวคิ ด ให้ นั ก วิ ช าการพั ฒ นาต่ อ เพื่ อ เพิ่ ม ประสิทธิภาพการบริหารต้นทุนโรงงานและองค์กร ในปี 1990 James P. Womack เขียนหนังสือชื่อ The Machine Changed The World ซึ่งกล่าวถึง ประวัติการผลิตรถยนต์ รวมถึงศึกษาวิเคราะห์โรงงานประกอบรถยนต์ของ ญี่ปุ่น อเมริกาและยุโรป ทำ�ให้เกิดคำ�ว่า “Lean Manufacturing” และได้นำ� ไปใช้ในระบบการผลิตของโรงงานต่อมาเรียกว่าเป็นต้นแบบทำ�ให้โรงงานต่างๆ เริม่ นำ�ไปใช้ปรับปรุงคุณภาพด้วยเช่นกัน

ลักษณะของการผลิตแบบ Lean

- มีของเสียน้อย - Lead Time ในการผลิตสัน้ - รุน่ การผลิตมีขนาดเล็กลง - พัสดุคงคลังมีปริมาณน้อย - ผูร้ บั ช่วงการผลิตมีจ�ำ นวนน้อยราย แต่เชือ่ ถือได้มาก - มีสายการผลิตทีเ่ ฉพาะซึง่ มีขนาดเล็กกว่า - ความถีใ่ นการเปลีย่ นแผนการผลิตต่�ำ กว่า - ลดจำ�นวนการเกิดสภาพคอขวด - ใช้พนักงานจำ�นวนน้อย แต่มคี วามชำ�นาญสูงกว่า - เครือ่ งจักร เครือ่ งมือต่างๆ มีความยืดหยุน่ มากกว่า

ทำ�ทีละชิน้ เป็นการทำ�ธุรกิจขนาดเล็กสินค้าไม่หลากหลาย ลูกค้าไม่มที างเลือก ผลิตครัง้ ละมากๆ เพือ่ ลดค่าใช้จา่ ยในการผลิตตรวจสอบ คุณภาพได้ดว้ ยการสุม่ ตรวจ ผลิตเท่าที่จำ�เป็น เน้นเพิ่ม “คุณค่า” ให้สินค้าและต้อง หยุ ด กระบวนการทั น ที หากพบข้ อ ผิ ด พลาด ทำ � ให้ กระบวนการผลิตมีความยืดหยุน่ เพือ่ ลดการสูญเสีย

เมื่อจัดกลุ่มการผลิตสินค้าได้แล้วการออกแบบโรงงานรวมถึง บุคลากรก็จะดำ�เนินการได้อย่างเหมาะสม เติมเต็ม E.C.R.S เพื่อเริ่มต้น กระบวนการปรับปรุงระบบงาน โดยมีองค์ประกอบ คือ E = Eliminate การตั ด ขั้น ตอนการทำ � งานที่ไ ม่ จำ� เป็ น ในกระบวนการออกไป C = Combine การรวมขั้นตอนการทำ�งานเข้าด้วยกัน R = Rearrange การจัดลำ�ดับงานใหม่ให้เหมาะสม S = Simplify ปรับปรุงวิธกี ารทำ�งาน หรือ สร้างอุปกรณ์ ช่วยให้ท�ำ งานได้งา่ ยขึน้

เทคนิคการปรับเปลีย ่ นกระบวนการทำ�งาน

1. Pull System – ระบบดึง คือ ทำ�ให้มีสินค้าอยู่ตลอดแต่ไม่ มากเกินไป เมือ่ มีการดึงไปใช้กจ็ ะมีการเติมใหม่อยูเ่ สมอ โดยจะผลิตออกมา ตามจำ�นวนที่ต้องการเท่านั้น 2. One Piece Flow – แนวทางการผลิ ตและส่ ง ออกชิ ้ น งาน แบบ 1 ชิน้ ต่อ 1 ชิน้ 3. Take time – ความเร็วในการผลิตต่อชิน้ เป็นไปตามทีล่ กู ค้าต้องการ 4. Zero defect – การไม่ให้มขี องเสียเลยในกระบวนการผลิต มีการ พัฒนาทำ�ให้ดกี ว่าเดิมไปเรือ่ ย ๆ

LEAN วันนีด ้ ว ี น ั หน้า

LEAN คือ การเปลี่ยนแปลงการบริหารจัดการในองค์กรเพื่อ ลดการสูญเปล่าที่ไม่จำ�เป็น เปลี่ยนจากความสูญเปล่า (Waste) ไปสู่ คุณค่า (Value) เป็นเรื่องสำ�คัญที่ต้องเร่งดำ�เนินการ เพราะนั่นหมายถึง องค์กรสามารถบริหารต้นทุนได้มีกำ�ไรเพิ่มส่วนการสร้างคุณค่าจากสิ่ง ที่ปฏิบัติเป็นประจำ� นับเป็นการสร้างโอกาสให้องค์กร วันนี้ชวนให้นำ� LEAN ไปสร้างความเข้มแข็งให้องค์กรเพือ่ ความยัง่ ยืน

ข้อมูลอ้างอิงจาก สัมมนาเชิงปฏิบตั กิ าร “แนวคิดการผลิตแบบลีนเพือ่ มุง่ สูล่ นี ” (Lean Manufacturing) จัดโดย งานนโยบายและพัฒนาคุณภาพ ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติ คณะวิทยาศาสตร์ ม.มหิดล

วารสารอุตสาหกรรม / 51


Work Life Balance โดย ผจญ เฉลิมสาร

คุณภาพชีวิต กับ การทำ�งาน

ารทำ�งานมีความสำ�คัญกับชีวิตมนุษย์...การทำ�งานเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตที่เราให้เวลา

มากกว่าการปฏิบัติกิจกรรมอื่น ๆ ในแต่ละวัน

คุ ณ ภาพชี วิ ต ของการทำ � งานมี ค วามสำ � คั ญ ยิ่ ง ในการ ทำ�งาน เพราะคนเป็นทรัพยากรทีส่ �ำ คัญ ดังนัน้ เพือ่ นร่วมงานและ สิง่ แวดล้อม บรรยากาศในทีท่ �ำ งานจึงมีความสำ�คัญยิง่ ทีท่ �ำ ให้เกิด ความสุข ความมั่นคง ส่งผลดีต่อทั้งตัวบุคคลและองค์กร คุณภาพ ชีวิตการทำ�งานส่งผลต่อองค์กร 3 ประการ คือ

ช่วยเพิ่มผลผลิตขององค์กร

การสร้างสมดุลชีวต ิ กับการทํางาน Work Life Balance คืออะไร สมดุลชีวติ กับการทาํ งาน Life Balance / Work Life Balance คือ ความสามารถในการบริหารทรัพยากรที่ตนเองมีอย่างจำ�กัด ให้เกิดประโยชน์สูงสุด การจัดสรรเวลา การแบ่ ง เวลาอย่ า งมี ประสิทธิภาพ เพื่อทำ�ให้มีคุณภาพชีวิตดี มีความสุข ครอบครัวมี ความอบอุ่นจึงเป็นเรื่องสำ�คัญโดยเฉพาะสังคมปัจจุบัน

ช่วยเพิ่มขวัญและกำ�ลังใจของ ผู้ปฏิบัติงานตลอดจนเป็นแรง จูงใจในการปฏิบัติงาน ช่วยปรับปรุงศักยภาพของ ผู้ทำ�งาน

นอกจากนี้ Richard E. Walton ได้ให้แนวคิดเกี่ยวกับ ลักษณะสำ�คัญในความหมายคำ�ว่า “คุณภาพชีวิตการทำ�งาน” ในหนังสือ Criteria for Quality of Working Life ประเด็นหนึง่ ที่ น่าสนใจ คือ ความสมดุลระหว่างชีวิตกับการทำ�งาน ซึ่งหมายถึง การแบ่งหรือจัดสรรเวลาการทำ�งานและการใช้ชีวิตนอกเวลางาน อย่างสมดุล

52 / วารสารอุตสาหกรรม

Career

Family

Life Balance Health

Friends


วิธีสร้างสมดุลชีวิตกับการทำ�งาน Work Life Balance

เดินทางสายกลาง

การจัดสรรเวลา 8-8-8

ไม่ตึงเกินไปและไม่หย่อนเกินไป เรียนรู้ทุกเรื่องจากการลงมือทำ� อย่ากังวลมากจนเกินไป

สร้างสมดุลการใช้เวลา แบ่งเวลา 8 ชัว่ โมง สำ�หรับการทำ�งาน 8 ชัว่ โมง เพื่อการนอนหลับพักผ่อน ส่วนอีก 8 ชั่วโมง สำ�หรับการทำ�กิจกรรม นันทนาการ

การสร้างสมดุลด้านการเงิน แบ่งเงินออกเป็นก้อนๆ เช่น เงิน สำ�หรับลงทุน เงินสำ�หรับค่าใช้จา่ ย เงินสำ�หรับค่าใช้จา่ ยฉุกเฉิน สำ�หรับ กรณีเจ็บป่วย

ความยุตธิ รรม การแบ่งปัน การเสียสละ หลังจาก ประสบความสำ�เร็จในชีวติ ต้องรูจ้ กั คำ�ว่า “ให้”

การสร้างสมดุลทรัพยากรทีม่ ี ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงแบ่งที่ดิน ออกเป็นสัดส่วน 30 - 30 - 30 - 10 โดย 30% สำ�หรับปลูกข้าว 30% สำ�หรับการ ปลูกพืชไร่ พืชสวนและเลี้ยงสัตว์ 30% สำ�หรับการขุดบ่อกักเก็บน้ำ�และ 10% สำ�หรับสร้างที่อยู่อาศัย

จงค้นหางานที่ทำ�ให้เรา ได้ใช้ชีวิต ไม่ใช่งานที่แค่ได้เงิน แต่ต้องได้ ทั้งเวลาและได้ทั้งเงิน

วางแผนชีวติ วางแผนชีวิตในแต่ละช่วงอายุขัย ของตนเอง เตรี ย มพร้ อ มและ ลดความเสีย่ งด้านต่างๆ

การสร้างสมดุลแห่งชีวิต เริ่มขึ้นจากวิธีคิด ความคิดเปลี่ยน ชีวิตเปลี่ยน Work Life Balance การบริหารชีวิตให้สมดุลและ มีความสุขกับชีวิต

ข้อมูลอ้างอิงจาก ผจญ.เฉลิมสาร , คุณภาพชีวิตการทำ�งาน www.m-society.go.th วารสารอุตสาหกรรม / 53


ม ร ร ก ห า ส ต ุ อ ร า ส ร วา

แบบสอบถาม วารสารอุตสาหกรรม

สำ � นั ก งานปลั ด กระทรวงอุ ต สาหกรรม ขอเชิ ญ ท่ า นผู้ อ่ า นแสดงความคิ ด เห็ น และ ข้ อ เสนอแนะ เพื่ อ เป็ น แนวทางในการพั ฒ นา และปรับปรุง “วารสารอุตสาหกรรม” เพื่อให้เกิด ประโยชน์และความพึงพอใจต่อท่านผู้อ่านต่อไป

เพศ หญิง ชาย ต่ำ�กว่า 30 ปี 31-40 ปี อายุ 41-50 ปี 51-60 ปี มากกว่า 61 ปีขึ้นไป การศึกษาขั้นสูงสุด ต่ำ�กว่าปริญญาตรี ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก อาชีพ ข้าราชการ/พนักงานของรัฐ ผู้ประกอบการ นักศึกษา อื่น ๆ (โปรดระบุ) ..................................

ข้อเสนอแนะ

1. ท่านคิดว่าเนือ้ หาสาระของวารสารอุตสาหกรรมอยู่ ในระดับใด เมื่อเทียบกับวารสารราชการทั่วไป

ดีมาก พอใช้

ดี ปรับปรุง

ปานกลาง

2. การออกแบบปกและรูปเล่มอยู่ในระดับใด ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช้ ปรับปรุง 3. ข้อมูลที่ท่านต้องการให้มีในวารสารนี้มากที่สุด (ใส่หมายเลข 1...2...3... ตามลำ�ดับ)

การตลาด การให้บริการของรัฐ สัมภาษณ์ผู้ประกอบการ ข้อมูลอุตสาหกรรม อื่น ๆ ระบุ................

4. คอลัมน์ที่ท่านชอบมากที่สุด (ใส่หมายเลข 1...2...3... ตามลำ�ดับความชอบ) 5.

Interview (สัมภาษณ์ผู้บริหาร) R&D (วิจัยและพัฒนา) Biz Law (กฎหมายทางธุรกิจ) Sustainable Show Case Innovation Industry (นวัตกรรม) Marketing (การตลาด) Special Report (รายงานพิเศษ) อื่น ๆ ระบุ...................................

ได้ประโยชน์มาก ได้ประโยชน์พอสมควร ได้ประโยชน์น้อย ไม่ได้ใช้ประโยชน์

ท่านได้รับประโยชน์จากวารสารอุตสาหกรรมมาก น้อยแค่ไหน

ขอบคุณทุกท่านที่ให้ความร่วมมือ

จ่าหน้าซองถึง

54 / วารสารอุตสาหกรรม

บรรณาธิการวารสารอุตสาหกรรม กลุ่มประชาสัมพันธ์ สำ�นักงานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม ถนนพระรามที่ 6 เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรสาร หมายเลข 0 2202 3268 อีเมล : pmarai03@gmail.com




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.