INNOLAB magazine #209

Page 1


เวทีแรก และเวทีเดียว สำหรับนักวิทย์ที่มีใจรักษ์โลก ร่วมเป็นผู้หนึ่งในการอนุรักษ์ และพื้นฟูสิ่งแวดล้อม โดยเข้าร่วมกิจกรรม

• Road show ตามมหาวิทยาลัยชื่อดัง เพื่อเฟ้นหาตัวแทนที่จะ มาชิงชัยกันเพื่อเป็น Science Star รุ่นที่ 1 • การจัด งานสัมมนาสำหรับผู้ผลิตอาหาร ยา และเครื่องสำอาง และผู้ที่เกี่ยวข้อง • งานแสดงสินค้าและนวัตกรรมทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี • กิจกรรมเชิงสร้างสรรค์อน่ื ๆ ทีค่ ณ ุ ไม่ควรพลาด

Entry no.b006


THE MAGIC OF PRECISION. MADE IN GERMANY.

With over 120 years of experience, the DURAN Group has developed borosilicate 3.3 glass into the world’s leading laboratory glassware brand: DURAN®. Based on our comprehensive know-how und cutting-edge technology, we offer you a broad range of approved products as well as customized solutions from a single source. Our commitment to premium quality and utmost precision have resulted in DURAN® being a synonym for trust, reliability and safety – brand values that also characterize our corporate philosophy. Find out more about what we can do for you and discover the magic of precision.

www.duran-group.com Authorized dealers: www.becthai.com www.italmarth.com www.panapolytech.co.th

100431_DURAN10156_Anz_Image_RZ.indd 1

Entry no.b010

03.05.2010 10:12:00 Uhr


Entry no.b001


Entry no.b002


Editor’s NOtE

GET SET, READY, GO! คุณพร้อมหรือยัง? ทีมงานนิตยสารอินโนแล็บพร้อมแล้วทีจ่ ะต้อนรับทุกๆ ท่านเข้าสูง่ าน Propak ASIA 2010 ณ ไบเทค บางนา กรุงเทพฯ งานนี้เป็นเวทีด้านเทคโนโลยีงานแรกของปี ในงานนี้เราน่าจะได้ เห็นนวัตกรรมและพัฒนาการของภาคอุตสาหกรรมอาหาร เครื่องดื่ม และเวชภัณฑ์ ซึ่งน่าจะช่วยให้ เราประเมินความสามารถในการแข่งขันในเวทีธุรกิจในปัจจุบันได้ เราคงไม่สามารถไม่กล่าวถึงสถานการณ์ทางการเมืองทีเ่ กิดขึน้ ในใจกลางกรุงเทพฯ ตัง้ แต่ปลายเดือน มีนาคมที่ผ่านมาจากเหตุการณ์นี้ สำนักนโยบายเศรษฐกิจมหภาคสำนักงานเศรษฐกิจการคลังการ คาดการณ์ว่าจีดีพีของประเทศปีนี้จะลดลงประมาณ 0.5% และจะมีการคาดการณ์กันใหม่ในเดือน มิถุนายนนี้ ในขณะที่สภาพัฒน์หรือ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติแถลงว่าในไตรมาสแรกของปีนี้ จีดีพีของไทยพุ่งขึ้นสูงสุดในรอบ 15 ปี ซึ่งเท่ากับ 12% และเหตุการณ์นจ้ี ะมีผลทำให้จดี พี ลี ดลง 1.5% แต่ในด้านผลกระทบทางสังคมใครเล่าจะประเมินได้... ทีมงานนิตยสารอินโนแล็บขอร่วมไว้อาลัยกับผู้เสียชีวิต และขอเป็นกำลังใจให้กับผู้ที่ได้รับบาดแผล ทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ เมื่อเหตุการณ์คลี่คลายเรา เชื่อว่าจะต้องมีสิ่งดีๆ เกิดขึ้น และจะต้องดี กว่าที่เคยเป็นอย่างแน่นอน ฟ้าหลังฝนย่อมสดใสเสมอ

A

re you ready? INNOLAB team would like to welcome you to Propak ASIA 2010 at Bitec, Bangna, Bangkok. This event is the first technological platform of this year. We will see the innovation and also the development of F&B and medical industry. This could help us estimate our business competitive capabilities. We cannot skip the agenda on Thai red shirt protests in Central Bangkok. They had started their rally from the end of March. This had already caused economic growth to drop by more than 0.5 percent and the projected economic figure would be revised again in June, the Macro Economic Policy office announced. While National Economics and Social Development Board (NESDB) revealed that the Thai economy hit a 15-year high at 12 percent growth in the first quarter of this year but the recent political violence could pull growth down by 1.5 percent. By the way, no one can predict the negative impact of our society…. INNOLAB team is mourning for the deaths. People who got hurt by the violence, please accept our encouragement. When this political situation is eased up, we believe that there is a thing, as such, a better thing waiting for us. After a storm comes a calm.

www.media-matter.com

กรุณา จีนถนอม บรรณาธิการ Karuna Ch. Editor


Entry no.b007


Content

Teamwork MANAGING DIRECTOR

กรกนก กมลรัตน์ KORNKANOK KAMOLRAT kk@media-matter.com

28

EDITOR

กรุณา จีนถนอม KARUNA CHINTHANOM kc@media-matter.com ART DIRECTOR

34

10 Special Interview

วสันติ มีทอง WASANTI MEETONG wm@media-matter.com

• ศ.ดร. ยงยุทธ ยุทวงศ์: A Challenged Career…Researcher

READER RELATION MANAGER

ศุภวัชร์ สุขมาก SUPAWAT SUKMARK ss@media-matter.com

BUSINESS DEVELOPMENT MANAGER

10

โสรดา รุกขะวัฒน์ Sorada Rukkhawat sr@media-matter.com

Cover Story • Food Safety Issue 13 R&D Review • Save Me from Food Allergy 22 • Stevia another Sweetener for Sweet Lovers 25 Envi & Society • Green Technology for a Green Planet (Episode I) 28 LAB Review • Risk Control by Spectroscopy Technique 32 • Cutting Edge Technology of Foodborne Pathogens Detection 34 • Choosing the proper Gas for the Laboratory Analyzers

38

• Mercury 101

42

LAB TIPs • Cleaning Tips

30

LAB Recommended • Propack 2010 VARIETY • Thamma Therapy by Thammatipo • Around the World

Event REVIEW • NAC 2010 Upcoming Events News

SUB-EDITOR

ตะวัน เต่าพาลี Tawan Taopalee tt@media-matter.com วโรดม วิโรจน์ศิรศักดิ์ Warodom Wirojsirasak ww@media-matter.com ADVERTISING EXECUTIVE

โสรดา รุกขะวัฒน์ Sorada Rukkhawat ae@media-matter.com

CONTRIBUTING WRITERS

คุณธวัชชัย สังข์ทอง Tawatchai Sunkthong Sales and Marketing Executive Thai Special Gas Co., Ltd. tsunkthong@hotmail.com คุณพรรษา เริงพิทยา Punsa Roengpithya President and Specialist on Chemical Cleaning Viptel Co., Ltd. punsa@viptel.co.th ญานี ลีตะนันท์ Yanee Leetanan Assistant Product Manager, Chemoscience (Thailand) Co., Ltd. yanee@chemoscience.co.th

54

ADVISORY BOARD

ปราโมทย์ ธรรมรัตน์ PRAMOTE TAMMARATE Institute of Food Research and Product Development, KU ifrpmt@yahoo.com สมคิด รื่นภาควุฒิ SOMKID RUENPARKWOOT Senior Expert on Agricultural Products Department of Agriculture Ministry of Agriculture and Cooperatives somkid-doa@hotmail.com จรรยาวีร์ เจียมสวัสดิ์ JANYAWEE CHEAMSAWAT Committee Support Council, Rajamangala University of Technology Rattanakosin cv2006@yahoo.com

44 45 46 48 50

List of Advertisers

www.media-matter.com

Asia Business Forum Chemoscience Design Alternative FiASIA MEDIA MATTER the Agency ProPAK 2010 Seminar on “Investigating Microbiology” SCHOTT Science Star Challenge SM Chemical Supplies Venus Technology

21 4, 5 41 7 BC IBC 37 3 IFC 27 35

PUBLISHER

MEDIA MATTER Company Limited 43/308 Moo 1, Jomthong Road, Jomthong Bangkok 10150 Thailand T 087 517 1651 T/F 0 2878 1026, innolab@media-matter.com http://www.media-matter.com The publisher endeavors to collect and include complete, correct and current information in INNOLAB but does not warrant that any or all such information is complete, correct or current. The publisher does not assume, and hereby disclaims, and liability to any person or entity for any loss or damage caused by errors or omissions of any kind, whether resulting from negligence, accident or any other cause. INNOLAB does not verify any claims or other information appearing in any of the advertisements contained in the magazine, and cannot take any responsibility for any losses or other damages incurred by readers in reliance on such content.


Features

Mar - Apr 10

DURAN® Volumetric flasks

SCHOTT Singapore Pte Ltd. (Thailand Branch Office) DURAN® volumetric flasks are being used for the accurate measurement of specific quantities of liquid, like virtually all volumetric glassware, quantitative analysis aids. The flasks are manufactured from borosilicate glass 3.3 with its excellent chemical and thermal resistance and calibrated to contain (“In”) for a reference temperature of 20°C. The volume content tolerances for class “A” volumetric flasks meet the accuracy limits of the German weights and measures regulations as well as the ISO and DIN guidelines. DURAN® volumetric flasks are completed with PE stopper and delivered within consumer-friendly packaging units, containing two resp. one flasks. Furthermore, they are supplied with a dated batch identifier and enclosed batch certificate as part of the original packaging. Entry no.b011

3” Compact Temperature Recorder, 24 hour or 7-day

Chemoscience (Thailand) Co., Ltd. High accuracy and resolution for regulatory compliance monitoring or quality control Use these compact temperature recorders for monitoring and recording data in almost any location. These recorders are calibratable for accurate recording in refrigerators, freezers, incubators, and more. Units are °F/°C and 24-hour or 7-day selectable with a study case that protects the recorders from damage in harsh environments. Units are wall-mountable or freestanding depending on your application requirements. Entry no.b012

TitraXXX

Envi Science Co.,Ltd. เครื ่ อ งไทเทรตอั ต โนมั ต ิ (titrator) เหมาะสำหรั บ ใช้ ง านในห้ อ งปฏิ บ ั ต ิ การวิเคราะห์คุณภาพน้ำ และอุตสาหกรรมต่างๆ เช่น อุตสาหรรมอาหาร ยา เวชสำอาง การชุ บ โลหะ เคมี และปิ โ ตรเคมี ด้ ว ยระบบปฏิ บ ั ต ิ ก าร ของตัวเครื่องแบบ Clear-text message ซึ่งแสดงข้อความที่เข้าใจง่าย กอปรกับสามารถตั้งค่า User program method, Electrode library, Reagent library และ Titrant รวมทั้งสามารถเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ เครื่องพิมพ์ และ Sampler charger ในกรณีที่มีหลายตัวอย่าง จึงทำให้สะดวกต่อการใช้งาน มีหลายรุ่นให้เลือกใช้เพื่อให้สอดคล้องกับงานประจำและงานเฉพาะด้านที่ต้อง การเทคนิครองรับ และยังสามารถเพิ่มจำนวน Burette motor และ Electrode ได้อีกอย่างละ 4 หน่วย เพื่อรองรับการขยายงานในอนาคต Entry no.b013 www.media-matter.com


SPECIAL INTERVIEW ประสบการณ์และเกียรติประวัติ • รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2549-2551) ในคณะรัฐมนตรีของ พลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ โดยไดร้ บั โปรดเกล้าฯ ใหด้ ำรงตำแหน่งเมอ่ื วันที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2549 • ผู้อำนวยการคนแรกของสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (2535-2541) และเป็นผู้อำนวยการศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (2528-2534) • ได้รับรางวัล “นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น” จากมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีใน พระบรมราชูปถัมภ์ (2527) • รางวัล ASEAN Science and Technology Meritorious Service Award จากองค์การอาเซียน (2541) • รางวัลนักเรียนทุนรัฐบาลดีเด่น (2545) • รางวัลผลงานวิจัยเกียรติยศ สกว. จากการได้รับการอ้างอิงผลงานวิจัยสูงสุด (2546) • รางวัล Nikkei Asia Prize for Science, Technology and Innovation จากนิกเกอิ ญีป่ นุ่ (2547) ไดร้ บั การคัดเลือกเปน็ บุคคลดีเดน่ ของชาติ โดยคณะกรรมการเอกลักษณ์ของชาติ (2547) และหนังสือพิมพ์ The Nation ได้จัดให้เป็นหนึ่งในสามสิบห้าคนผู้มีบทบาทสูงต่อ ประเทศไทยในช่วงสามสิบห้าปีที่ผ่านมา (2549) • ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก และมหาวชิรมงกุฏ และได้รับพระราช ทานปริญญาดุษฏีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ์ จากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (2441) มหาวิทยาลัย มหิดล (2448) และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (2552)

Special Interview ศาสตราจารย์ ดร. ยงยุทธ ยุทธวงศ์ ประธานมูลนิธิโทเร เพื่อการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ประเทศไทย/ นักวิจัยอาวุโส ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ Prof. Dr. Yongyuth Yuthavong President, Thailand Toray Science Foundation/Senior Researcher National Center for Genetic Engineering and Biotechnology

A Challenged Career…

RESEARCHER เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2553 ที่ผ่านมาทางนิตยสารอินโนแล็บได้มี โอกาสเข้าร่วมงานแถลงข่าวประกาศผล “รางวัลวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีประจำปี พ.ศ. 2552” และมอบทุนสนับสนุนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีให้กับสถาบันการศึกษาที่มีผลงานโดดเด่น โดยมูลนิธิโทเร เพื่อการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ประเทศไทย ซึ่งเราได้ รายงานข่าวไปในฉบับที่ผ่านมา หลังงานดังกล่าว เราได้รับเกียรติ จากศาสตราจารย์ ดร. ยงยุทธ ยุทธวงศ์ ประธานมูลนิธิโทเรเพื่อ การส่งเสริมวิทยาศาสตร์ประเทศไทย และเป็นนักวิจัยอาวุโสศูนย์ พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ ท่านเคยได้รับรางวัล นักวิทยาศาสตร์ดเี ด่นสาขาเคมี และเป็นอดีตรัฐมนตรีวา่ การกระทรวง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซึ่งนับได้ว่าเป็นบุคคลหนึ่งที่มีบทบาทใน การศึกษาและวิจัยด้านวิทยาศาสตร์ในประเทศไทย ศาสตราจารย์ ดร. ยงยุทธ ได้ให้สัมภาษณ์ทั้งในบทบาทของการเป็นประธานมูลนิธิ และในฐานะของนักวิจยั พร้อมให้แนวคิดในการทำงานไว้อย่างน่าสนใจ 10

www.media-matter.com

ความเป็นมาและบทบาทหลักของมูลนิธิโทเรฯ

มูลนิธิโทเรฯ เป็นมูลนิธิที่ทางบริษัทโทเรประเทศญี่ปุ่นมีความคิด ริเริ่มให้จัดตั้งขึ้น โดยจุดมุ่งหมายเพื่อส่งเสริมงานทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในประเทศที่สนใจและมีศักยภาพ เพื่อผลัก ดันให้ประเทศเหล่านี้มีความเจริญก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี โดยมิได้มุ่งทางด้านการค้าเป็นสำคัญ โดยประเทศ ที่ท างมู ล นิ ธ ิ ไ ด้ เ ลื อ กมี ด ้ ว ยกั น 3 ประเทศเริ ่ ม จากประเทศไทย มาเลเซีย และอินโดนีเซีย ที่ผ่านมาทางมูลนิธิโทเรฯ ได้มอบรางวัล และทุนสนับสนุนทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีด้วยกัน 3 ด้านอันได้แก่ รางวัลนักวิจยั ทีม่ คี วามดีเด่นคือ รางวัลวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี เงินทุนช่วยเหลือทางด้านวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และรางวัลการศึกษาวิทยาศาสตร์ในสถาบันการศึกษาต่างๆ โดยเริ่ม แรกของการก่อตั้งมูลนิธิโทเรฯ ได้ศาสตราจารย์ ดร. เกษม สุวรรณกุล ดำรงตำแหน่งประธานมูลนิธิ หลังจากนั้นได้ส่งต่อให้ศาสตราจารย์ ดร. สิปปนนท์ เกตุทตั และปัจจุบนั คือผม โดยตลอดระยะเวลา 15 ปีของ


Mar - Apr 10

การวิจัยคือการที่ได้ขึ้นมาบนยอดเขา ที่ยังไม่เคยมีใครขึ้นมาก่อน มันเป็นความรู้สึกที่...สุดยอด การดำเนินงานได้รบั เกียรติอย่างสูงจาก ฯพณฯ พล.อ. เปรม ตณ ิ สูลานนท์ ประธานองคมนตรีและรัฐบุรษุ เป็นประธานในการมอบรางวัลตลอดมา แต่สำหรับครั้งที่ 16 คือปีนี้ได้รับเกียรติอย่างสูงจาก ฯพณฯ พล.อ. สุรยุทธ์ จุลานนท์ องคมนตรี โดยสาขาทีม่ ลู นิธมิ อบทุนสนับสนุนมีหลาย สาขาด้วยกันอันได้แก่ สาขาฟิสกิ ส์ เคมี วิศวกรรมศาสตร์ เกษตรศาสตร์ และชีววิทยา สำหรับสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ยกเว้นการ มอบทุนสนับสนุน คือ ทางด้านการแพทย์และคณิตศาสตร์ ซึ่งทุนสนับ สนุนได้รับจากมูลนิธิโทเรประเทศญี่ปุ่นและกลุ่มบริษัทในเครือโทเรฯ ประเทศไทยเป็นผู้มอบ

สถานะภาพด้านงานวิจัยและพัฒนาของไทย

เมื่อประมาณ 30-40 ปีที่แล้วงานวิจัยของประเทศเรามีน้อยมาก โดย หากจะมองจริงๆ แล้วมีจุดเริ่มต้นการสร้างงานวิจัยและบัณฑิตทาง ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพียงแห่งเดียวคือจากมหาวิทยาลัย มหิดล เริ่มแรกผมได้มีส่วนช่วยในการจัดตั้งกระทรวงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี (เดิมเรียก วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและการพลังงาน) จากนั้นร่วมตั้งสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั (สกว.) เพือ่ สนับสนุน งานวิจัยให้สามารถทำได้จริง หลังจากนั้นจึงเริ่มมีหน่วยงานอื่นให้การ สนับสนุนมากขึ้นจนส่งผลให้งานวิจัยในประเทศมากขึ้นตามไปด้วย ซึ่งจะเห็นได้จากสิ่งตีพิมพ์หรืองานวิจัยที่มากขึ้น ปัจจุบันประเทศไทย ได้ดำเนินมาถึงในระดับขั้นกลางและในขั้นต่อไปที่ผมอยากเห็นแต่ยัง ไม่เกิดขึ้น ซึ่งอาจเกิดขึ้นในอีก 10-20 ปีข้างหน้า คือการที่นักวิจัยเข้า ไปมีสว่ นร่วมกับภาคเอกชนและภาคเอกชนก็ให้การสนับสนุนการวิจยั ที่ภาคเอกชนเองจะได้สินค้าหรือบริการที่สามารถนำไปแข่งขันหรือใช้ ประโยชน์ได้ แต่ปัจจุบันยังไม่เกิดขึ้นมากนักเพราะเอกชนพึ่งพาเทคโนโลยีจากต่างประเทศอยู่มาก หากเกิดขึ้นได้นับว่าประเทศไทยมีการ พัฒนาที่สมบูรณ์แต่อาจยังไม่เกิดขึ้นในเร็ววันนี้เพราะภาคเอกชนยัง เคยชินอยูก่ บั การทีว่ า่ สิง่ เหล่านีร้ ฐั ต้องเป็นผูใ้ ห้และเอกชนต้องสามารถ นำไปใช้ได้เลย แต่ในความเป็นจริงแล้วรัฐสามารถทำได้ในระดับหนึ่ง และหลังจากนั้นเอกชนต้องนำไปดำเนินการต่อเพื่อให้เกิดการแข่งขัน และเกิดลักษณะเด่นของผลิตภัณฑ์ รัฐเป็นเพียงผูต้ ง้ั แท่นให้เอกชนดำเนินการต่อ ภาคเอกชนส่วนใหญ่มกั เป็นวิสาหกิจขนาดกลางและขนาด ย่อมหรือ SMEs ซึง่ มีทนุ วิจยั น้อย บริษทั เอกชนทีจ่ ะสามารถทำงานวิจยั ได้นั้นส่วนใหญ่มักเป็นบริษัทขนาดใหญ่ แต่ที่น่าสนใจคือกลุ่ม SMEs ทางด้านการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศและซอฟต์แวร์ที่มีการ ทำวิจยั และพัฒนากันมาก นอกจากการสนับสนุนทางด้านการวิจยั แล้ว สิ่งหนึ่งที่ประเทศไทยยังขาดคือการมีกองทุนเสี่ยง (venture capital) ซึ่งสามารถที่จะลงทุนและมีผลประโยชน์การลดหย่อนภาษีได้ซึ่งใน สหรัฐฯ ได้ดำเนินการมาระยะหนึง่ แล้วแต่ยโุ รปและญีป่ นุ่ รวมถึงประเทศ ไทยยังมีไม่มากนัก ซึง่ ค่อนข้างจะสอดคล้องกับการดำเนินงานของ BOI ที่กำลังดำเนินงานและพัฒนาอยู่ในปัจจุบัน

อุตสหกรรมยาในประเทศไทย

อุตสาหกรรมยาของเราขึ้นมาอยู่ในระดับที่เรายังไม่สามารถทำตัวยา หรือ API (Active Pharmaceutical Ingredients) ได้เอง ซึ่งยังต้องพึ่ง พาการนำเข้าอยู่และนี่คือจุดอ่อนของเราจุดหนึ่งที่ต้องแก้ไข แต่ประเทศยักษ์ใหญ่หรือประเทศที่พัฒนาอย่างอินเดีย จีน เกาหลี ไต้หวัน สามารถเริม่ ทำ API ได้เองนัน่ คือเป้าหมายทีเ่ ราจะต้องเดินไปให้ถงึ โดย อาจเริ่มจากตัวยาที่หมดสิทธิบัตรก่อน และตัวยาที่น่าสนใจมากใน ปัจจุบนั ทีถ่ กู เรียกว่ายาไบโอเทคซึง่ ได้แก่ ฮอร์โมน โปรตีน หรือแอนติบอดี ซึง่ ยังมีตลาดที่สามารถรองรับอยู่อกี มากและถือเป็นจุดหมายและก้าว ที่ท้าทายของคนไทยที่จะต้องก้าวต่อไป

ลักษณะเด่นของนักวิจัย

ผมคิดว่าคนทัว่ ไปทีม่ สี ติปญ ั ญาพอควรล้วนสามารถเป็นนักวิจยั ได้ในระ ดับต่างๆ กัน แต่สว่ นทีส่ ำคัญของการเป็นนักวิจยั คือ ต้องรูจ้ กั ตัง้ คำถาม ให้เป็น ช่างคิด ช่างถาม และสามารถมองเห็นในสิ่งที่ควรปรับปรุง หรือสร้างใหม่ได้ และใฝ่ที่จะตั้งคำถามเกี่ยวกับความรู้ที่มีอยู่หรือเล่า เรียนมาว่าถูกหรือไม่ การเชือ่ ตามผูอ้ น่ื ได้กล่าวไว้นน่ั คือคุณสมบัตหิ นึง่ ที่ นักวิจยั จะต้องตัดทิง้ แต่ไม่ใช่ไม่เชือ่ อย่างไร้เหตุและผล เพราะบางสิง่ ได้ ตอบชัดเจนในตัวอยู่แล้วหรือบางอย่างที่ไม่ชัดเจนต้องหยิบยกขึ้นถาม และหาเหตุผลที่ดีกว่าว่ามีหรือไม่ โดยไม่จำเป็นต้องเป็นอัจฉริยะหรือ หัวกะทิของประเทศ การที่วิทยาศาสตร์บ้านเรายังเดินหน้าไปได้ไม่เร็วนักอาจ มาจากการที่สังคมยังมองนักวิทยาศาสตร์หรือนักวิจัยอย่างไม่เข้าใจ เยาวชนส่วนใหญ่ให้ความสำคัญและยอมรับกับงานทางด้านแพทย์ วิศวกร นั่นก็เป็นสิ่งที่ดีแต่ความรู้พื้นฐานก็มาจากวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี เราจึงต้องมานั่งคิดกันต่อว่าทำอย่างไรจึงจะสามารถทำ ให้เยาวชนเล็งเห็นได้ว่าอาชีพนี้เป็นอาชีพที่ดี มีเกียรติและมีรายได้ แต่ ในความเป็นจริงแล้วไม่ใช่สังคมไม่ให้การยอมรับนับถือ การที่เรียกว่า อาจารย์กแ็ สดงว่าคนทัว่ ไปให้การยอมรับในระดับหนึง่ แล้วแต่อาจมอง อย่างไม่เข้าใจมองว่าไม่เกี่ยวกับเรา อาจไม่ได้ขึ้นอยู่ที่คนมองแต่เพียง อย่างเดียวนักวิจยั เองก็จะต้องเข้ามาหาสังคมด้วย ถ้าหากฉีกตัวออกไป คนรุน่ ใหม่ๆ ก็อาจไม่อยากเข้าร่วมก็เป็นได้ แต่นกั วิทยาศาสตร์รนุ่ ใหม่ๆ ปัจจุบันเริ่มสนใจและมีความรู้สึกว่าอยากเข้ามามีส่วนร่วมชี้นำสังคม ด้วยซ้ำว่าสิ่งที่ถูกคืออะไร ปัจจุบันในมุมมองของผมเมืองไทยเจริญพอ ใช้เมื่อเทียบกับประเทศในแถบนี้ ถือว่าเราไปไกลแล้วแต่ก็มีอีกหลาย ขั้นตอนที่ต้องข้ามไปโดยมีการวิจัยเป็นแก่นนำ

www.media-matter.com 11


หลากหลายและเชื่อมโยง

ผมเชื่อว่าคนเราสามารถใช้ความรู้ความสามารถของตัวเองที่มีอยู่ได้ ในทางที่หลากหลาย แต่หากความหลากหลายนั้นไม่ได้เชื่อมโยงหรือ เกี่ยวเนื่องกันอาจทำให้เกิดปัญหาได้ แต่ถ้าเราใช้ความสามารถของ เราในด้านกว้างแต่เกี่ยวโยงกันอย่างเช่น การศึกษา วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีหรือในเชิงนโยบายจะสามารถส่งเสริมกันได้ ซึ่งการที่ผม เป็นนักวิจัยก็สามารถจะทำงานในส่วนของการวางระบบการวิจัยได้ โดยผมทำอย่างนี้มาตั้งแต่เริ่มทำงานและเห็นว่าการทำงานที่ดีนั้นควร มองหาจุดอ่อนหรือจุดบกพร่องทีส่ ำคัญให้เจอและหนึง่ ในจุดบกพร่องที่ ผมมองเห็นในงานทีผ่ มทำก็คอื การขาดทรัพยากรทางด้านงานวิจยั และ พัฒนา ผมจึงคิดว่าต้องมีองค์กรเข้ามาช่วยสนับสนุน เพียงสภาวิจัย อย่างเดียวคงไม่เพียงพอ ผมจึงช่วยกันกับฝ่ายบริหารจัดตัง้ องค์กรอย่าง กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ สวทช. ขึ้นเพื่อให้สามารถทำงานได้คล่องตัว มีประสิทธิภาพและสามารถตอบสนองแนวนโยบายของรัฐบาลและ ความต้องการทรัพยากรด้านนั้นๆ ได้อย่างดี เพื่อรองรับความก้าวหน้า ทางวิทยศาสตร์ได้อย่างทันท่วงที

คติในการดำเนินชีวิตและการทำงาน

ผมคิดว่าเราจะเป็นนักวิทยาศาสตร์หรือไม่นั้นไม่สำคัญเท่ากับเราเป็น คนทีด่ ี และการเป็นคนทีด่ กี ค็ อื เราเองสามารถอยูก่ บั ตัวเราได้อย่างสุขใจ หรือไม่และสามารถทำตัวให้เป็นประโยชน์กบั สังคมได้มากทีส่ ดุ หรือไม่ บางคนพบว่าการเป็นนักวิจัยทำได้ดีที่สุดเพราะเขาถนัด ชอบซัก ชอบ ถาม ชอบแก้ปัญหา ชอบประดิษฐ์คิดค้นก็เดินไปในทางนั้น บางครั้ง ความสุขของการใช้ชวี ติ ก็เพียงแค่มคี วามพอใจในตัวเองเกิดขึน้ เมือ่ แก้ ปัญหาอะไรได้มันเป็นความสุข ชีวิตของคนเราบางทีก็ไม่ขึ้นอยู่กับเงิน หรือชือ่ เสียง เพียงขึน้ อยูก่ บั ว่าเราอยูก่ บั ตัวเราเองอย่างมีความสุขมาก เพียงใด ดังนั้นนักวิจัยต้องดูว่าเราชอบสิ่งเหล่านี้จริงหรือไม่ถ้า ไม่ใช่ก็ อย่าไปฝืน ตราบใดทีเ่ รามีความสุจริตและทำอะไรไม่ได้มองเข้ามาเพียง แค่ตวั เราอย่างเดียวมองออกไปข้างนอกให้มากเราจะสามารถเป็นประโยชน์กับสังคมได้ไม่เฉพาะเป็นนักวิจัยเท่านั้นเป็นอะไรก็ได้

อีกหนึ่งโอกาสที่หายไป

สิ่งหนึ่งที่ผมคิดอยู่เสมอแม้แต่ตอนนี้คือผมคิดผิดหรือไม่ที่ตัดสินใจมา เป็นนักวิจัย เนื่องจากช่วงหนึ่งของชีวิตผมได้มีโอกาสสอบชิงทุนของ ธนาคารแห่งประเทศไทยเพื่อไปศึกษาต่อในสายเศรษฐศาสตร์ แต่ผม กลับปฏิเสธโอกาสนัน้ ด้วยว่าผมไม่คนุ้ เคยและรูจ้ กั กับเศรษฐศาสตร์เลย กอปรกับลุงของผมดร. ป๋วย อึง้ ภากรณ์ ท่านเป็นนักเศรษฐศาสตร์ทเ่ี ก่ง มาก ผมคิดว่าถึงผมจะเก่งเพียงใดไม่มที างเลยทีจ่ ะเก่งกว่าลุงไปได้มแี ต่ เสมอตัวกับแย่กว่าและอีกสิง่ หนึง่ คือผมชอบวิทยาศาสตร์ ชอบชีววิทยา จึงได้ตัดสินใจเรียนวิทยาศาสตร์ตั้งแต่นั้นมา

กล้าที่จะไต่เขาสูง

ผมคิดว่าเราต้องพยายามมองดูตัวเองก่อนว่ามีความสามารถตรงจุด ไหนหรือชอบตรงจุดไหน เดินไปตามสิ่งที่เราชอบ อย่าฝืนความรู้สึก ของตัวเองแต่ขณะเดียวกันก็ต้องมีวินัยด้วย หากเราชอบเล่นเกมเรา ก็ต้องพยายามหาประโยชน์จากมันเช่นว่าเราสามารถนำมาพัฒนา ซอฟต์แวร์สำหรับการทำเกมได้หรือไม่ มันก็เป็นอะไรที่ท้าทายอย่าง หนึ่งซึ่งนั่นเป็นคำถามที่นักวิจัยอย่างเราต้องตั้งคำถามนี้กับตัวเองอยู่ เสมอว่าอะไรเป็นสิง่ ทีท่ า้ ทายสำหรับงานของเราและเราสามารถสูแ้ ละ ยอมรับได้มากเพียงใด เพราะสิง่ เหล่านีต้ อ้ งใช้เวลาและความสามารถ 12

www.media-matter.com

มีความผิดหวังมากมาย ถ้าชอบทางง่ายก็อย่ามาเป็นนักวิจยั แต่หากเรา ตัดสินใจและได้พยายามอย่างเต็มความสามารถในทีส่ ดุ ของจุดหมาย ปลายทางแล้วจะได้ผลที่เหมือนกับการไต่เขางานวิจัยเหมือนกับการ ไต่เขาทีไ่ ม่งา่ ยบางทีอาจจะหกล้มบ้างแต่พอไต่เขาขึ้นไปสูย่ อดเขาเมือ่ ถึงยอดเขาแล้วไม่ตอ้ งอธิบายหรอกว่าทำไมถึงต้องขึน้ ยอดเขาเพราะว่า การที่อยู่ที่นั่นมีลมพัดเย็นๆ เรามองลงมาเห็นภาพข้างล่างทั้งหมดแล้ว รู้สึกว่าเราได้ขึ้นมาในที่ที่ไม่มีคนได้ขึ้นมาก่อนเลย คือยอดเขาทั่วไปมี คนขึ้นมามากแล้วแต่วิจัยสำหรับผมคือการที่ได้ขึ้นมาบนยอดเขาที่ยัง ไม่เคยมีใครขึ้นมาก่อนเลยมันเป็นความรู้สึกที่สุดยอดแต่สำหรับบาง คนกลับมองว่าไม่ได้เป็นเรื่องเท่อะไรเลย

มองโลกมุมใหม่ มองอย่างวิทยาศาสตร์

คนรุ่นหนุ่มสาวปัจจุบันโตมาพร้อมกับความสะดวกสบายเลยอาจหลง คิดไปว่าของทุกสิ่งรอบตัวง่ายดายไปหมด ไม่ว่าจะเป็นโทรศัพท์มือ ถือรุ่นใหม่ๆ ที่ออกมาแข่งขันกันไม่เว้นแต่ละวันหรือจะเป็นเครื่อง อำนวยความสะดวกทั้งหลายที่ช่วยให้ชีวิตดูง่ายขึ้นต่างก็สามารถซื้อ หาได้ไม่ยากนัก แต่เราลืมมองกลับไปหรือไม่ว่าทุกสิ่งทุกอย่างไม่ได้ๆ มาง่ายดายเช่นนั้นเลย กลับตรงกันข้ามทุกสิ่งอย่างนั้นล้วนแล้วแต่ เกิดขึน้ มาได้จากการบ่มเพาะด้วยงานวิจยั และพัฒนาซึง่ ต้องอาศัยเวลา และการศึกษาอย่างเป็นลำดับขั้นสำหรับงานแต่ละชิ้น เพราะฉะนั้น เราอาจจะต้องย้อนกลับมาครุ่นคิดบ้างว่าจะทำอย่างไรเพื่อให้คนรุ่น หลังต่อไปได้สิ่งที่ดีกว่า เรายังดีพอมีสตางค์ที่จะสามารถหาซื้อของ เหล่านี้มาบำรุงบำเรอความสุขได้ แต่ยังมีคนจนอีกจำนวนไม่น้อยทั่ว โลกที่ไม่ได้รับโอกาสเช่นเรา ผมอยากให้คนหนุ่มสาวลองมองออกไปนอกตัวให้มากกว่า มองมาที่ตัวเอง ช่วยกันแก้ปัญหาสังคม คนยากคนจนแก้ปัญหาคน ไทยตีกัน ซึ่งปัญหานี้หากมองให้ดีมองในเชิงของวิทยาศาสตร์ เชิงวิจัย หรือเชิงการศึกษาด้วยแล้วจะเห็นว่าไม่จำเป็นเลยที่ต้องตีกัน เพราะ คนเราย่อมมีความเห็นที่แตกต่างกันได้เสมอ นี้คือเรื่องธรรมชาติของ มนุษย์ที่ไม่มีใครจะมีความเห็นเหมือนกันไปได้ตลอด แต่การที่มนุษย์ สามารถเป็นมนุษย์อยู่ได้นั้นเพราะถึงแม้จะมีความเห็นที่หลากหลาย หรือต่างกันเพียงใดก็สามารถคุยกันได้อย่างเข้าใจเสมอ อย่างพรรค การเมืองที่มีความเห็นต่างกันในสหรัฐฯ ระหว่างพรรคเดโมแครตและ พรรครีพับลิกัน แต่พอถึงจุดที่เขาต้องทำงานร่วมกันอย่างปัญหาเฮติ บิล คลินตัน สามารถที่จะยืนขึ้นมาร่วมทำงานกับจอร์จ ดับเบิลยู บุช ช่วยเฮติได้อย่างไม่มีปัญหา ผมอยากเห็นคนไทยก้าวเข้าสู่ภาวะเช่นนี้ และคนหนุ่มสาววันนี้จะเป็นคนชี้ทางอนาคตของชาติต่อไป

ข้อคิดและประสบการณ์จากศาสตราจารย์ ดร. ยงยุทธ ยุทธวงศ์ ทีไ่ ด้ในครัง้ นี้ นอกจากจะชีใ้ ห้เราเห็นความสำคัญของวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแล้ว ยังทำให้เราได้ขอ้ คิดอย่างหนึง่ ว่างานวิจยั มีสว่ นอย่าง ยิ่งที่จะเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันให้กับประเทศไทยอีกด้วย Entry no.a001


Cover Story

Mar - Apr 10

FOOD

SAFETY ISSUE จากรายงานของหน่วยงานสาธารณสุขแห่ง ชาติของสหรัฐอเมริกาซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ National Health and Nutritional Examination Survey (NHANE)

ที่มีการทำทุกๆ สองปีนั้นระบุว่า จำนวนของ สารเคมีปนเปื้อนที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพนั้น เพิ่มขึ้นอย่างมากตั้งแต่รายงานฉบับแรกที่ ทำขึ้นตั้งแต่ ค.ศ. 2001 • รายงานฉบับแรก ค.ศ. 2001 มีสารเคมีจำนวน 27 ชนิด • รายงานฉบับที่สอง ค.ศ. 2003 มีสารเคมีจำนวน 116 ชนิด • รายงานฉบับที่สาม ค.ศ. 2005 มีสารเคมีจำนวน 148 ชนิด • รายงานฉบับที่สี่ ค.ศ. 2008 มีสารเคมีจำนวน 275 ชนิด

ผู้บริโภคทุกคนนั้นมีสิทธิ์อย่างเต็มที่ในการคาดหวัง และได้บริโภคอาหารที่ มีคุณภาพ และความปลอดภัยในราคาที่เหมาะสม ฉะนั้นประเด็นทางด้าน ความปลอดภัยทางอาหาร และการปกป้องผู้บริโภคจึงกลายมาเป็นหัวข้อ ที่สำคัญที่ผู้ผลิตอาหารต้องคำนึงถึงเป็นอันดับแรกจากการที่อาหารที่มีการ บริโภคกันอยูใ่ นปัจจุบนั นัน้ มาจากหลายๆ แหล่ง ซึง่ เราไม่สามารถทีจ่ ะทราบ ได้เลยว่าอาหารที่เราบริโภคกันอยู่มีความปลอดภัยมากน้อยเพียงใดหลาย ครั้งที่มีปรากฏเป็นข่าวตามสื่อต่างๆ ว่ามีผู้ที่ป่วยจาก การบริโภคอาหาร ที่ไม่มีความปลอดภัย เช่น กรณีเกี๊ยวซ่าจากจีนที่ส่งออกไปยังประเทศญี่ปุ่น ที่พบการปนเปื้อนของยาฆ่าแมลง การปลอมปนเมลามีนในผลิตภัณฑ์นมที่ ผลิตในประเทศจีนที่มีผู้ป่วยจำนวนหลายพันคน และมีผู้เสียชีวิตจากกรณีนี้ ซึง่ ส่งผลให้สนิ ค้าทีม่ าจากประเทศจีนโดยเฉพาะผลิตภัณฑ์อาหารนัน้ ถูกมอง ในแง่ลบจากสายตาชาวโลกว่า เป็นผลิตภัณฑ์ที่ไร้คุณภาพและไม่มีความ ปลอดภัยในการบริโภค สินค้าอาหารของประเทศไทยยังไม่พบปัญหาการปนเปือ้ นในระดับที่ รุนแรง ถึงแม้จะมีกพ็ บการปนเปือ้ นในสัดส่วนทีไ่ ม่มากนัก เช่น พบ Aflatoxin ในผลิตภัณฑ์ที่มีธัญพืชเป็นวัตถุดิบ และการปนเปื้อนของเชื้อจุลินทรีย์ที่เกิน มาตรฐานแต่ไม่ใช่กลุ่มที่ทำให้เกิดโรค แต่อาหารพื้นถิ่นที่บริโภคภายใน ประเทศกลับมีปัญหาด้านการปนเปื้อนอยู่เป็นประจำ เช่น การปนเปื้อนของ Botulinum toxin ในผลิตภัณฑ์หน่อไม้ปี๊บที่จังหวัดตาก ลำปาง และน่าน ที่ส่งผลให้มีผู้เจ็บป่วยนับร้อยราย จนต้องใช้ยาต้านพิษเกือบทั้งหมดที่มี ในโลก และสิ้นเปลืองงบประมาณไปกว่า 50 ล้านบาท ซึ่งเป็นเหตุผลให้ การระมัดระวังในเรื่องของการตรวจสอบคุณภาพ และความปลอดภัยนั้น เป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ ที่จะต้องคำนึงถึงทั้งในอาหารสำหรับการส่งออก และอาหารที่มีการบริโภคภายในประเทศ www.media-matter.com 13


Emerging Food Contaminants

ปัญหาทางด้านความปลอดภัยของอาหารนั้น โดยส่วนใหญ่แล้วทั่วไป จะคำนึงถึงปัญหาจากเชื้อจุลินทรีย์ที่ก่อโรคในอาหาร โดยในช่วง 2-3 ปีทผ่ี า่ นมาก็มขี า่ วปรากฏออกมาให้เห็นอยูบ่ อ่ ยครัง้ ทำให้เกิดการตืน่ ตัว ในการเข้ามาควบคุม หาวิธจี ดั การให้เกิดความปลอดภัยของอาหารจาก เชื้อที่ก่อให้เกิดโรคที่จะปนเปื้อนมากับอาหาร ซึ่งในปัจจุบันก็พบว่ามี กลไกในการควบคุมทีม่ มี าตรฐานทีด่ ใี นระดับหนึง่ แล้ว ในขณะทีค่ วาม ปลอดภัยทางอาหารทีเ่ กีย่ วกับเชือ้ จุลนิ ทรียน์ น้ั เป็นประเด็นทีส่ ำคัญทีผ่ ู้ ผลิตอาหาร ผูท้ ม่ี หี น้าทีอ่ อกระเบียบข้อบังคับ และผูบ้ ริโภคนัน้ จะคำนึง ถึงเป็นอย่างแรก แต่ ณ ขณะนี้ประเด็นของสารเคมีที่ปนเปื้อนมากับ อาหารที่เกิดขึ้นในสายโซ่ของกระบวนการผลิตอาหารนั้น กำลังเริ่มที่ จะส่งผลกระทบกับทั้งผู้ผลิตและผู้บริโภค และเริ่มได้รับความสนใจ จากผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องที่ดูแลในเรื่องของความปลอดภัยในอาหาร เทคโนโลยีการเกษตรและการผลิตอาหารในปัจจุบนั นัน้ มีความ ก้าวหน้าไปอย่างมากทำให้กระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร และอาหารมีประสิทธิภาพสูง ไม่ว่าจะเป็นในด้านของกำลังการผลิต การขนส่ง รูปลักษณ์ และคุณประโยชน์ โดยที่กระบวนการในการผลิต อาหารนั้นมีการใช้สารเติมแต่งต่างๆ มากขึ้น ทั้งที่เป็นสารเติมแต่ง ทีม่ ใี ช้กนั อยูแ่ ล้ว และสารเติมแต่งทีม่ กี ารพัฒนาขึน้ มาใหม่ ประกอบกับ การใช้สารเคมีที่มากขึ้นในกระบวนการผลิตวัตถุดิบ โดยเฉพาะวัตถุ

ดิบทางการเกษตรทีจ่ ะนำมาแปรรูปเป็นอาหาร ซึง่ สาเหตุทก่ี ล่าวมาส่ง ผลให้เกิดความเสี่ยงอุบัติใหม่ (emerging risk) ขึ้น ที่ทำให้เกิดความ เสี่ยงต่อสุขภาพของมนุษย์ สัตว์ และสิ่งแวดล้อมทั้งในปัจจุบันและใน อนาคตต่อไป สิ่งปนเปื้อนในอาหารหลายๆ ชนิดเป็นที่รู้จักกันดี และได้มี การศึกษาถึงความอันตราย การหาวิธีป้องกัน และระวังไม่ให้เกิด อันตรายต่อผู้บริโภคมาเป็นเวลานานแล้ว โดยประเด็นทางด้านของ ความเสี่ยงที่เกิดจากสารเคมีที่มีปนเปื้อนมาในอาหารนั้นกำลังเป็นที่ สนใจอย่างแพร่หลาย เนื่องมาจากมีหลายๆ กรณีที่มีสารเคมีใหม่ๆ ปนเปื้อนมากับอาหารทั้งๆ ที่เป็นสารเคมีที่ปนเปื้อนมาโดยไม่ตั้งใจ หรือบางครั้งปนเปื้อนมาโดยความตั้งใจของผู้ผลิตที่ต้องการลดต้น ทุนในการผลิต โดยขาดจิตสำนึกที่ดีต่อความปลอดภัยของผู้บริโภค หลั ก ฐานทางวิ ท ยาศาสตร์ ใ หม่ ๆ มี ผ ลชี ้ ใ ห้ เ ห็ น ว่ า สารเคมี น ั ้ น ๆ มีผลต่อสุขภาพของมนุษย์ โดยบางชนิดเป็นสารใหม่ และบางชนิดเป็น สารเดิมทีร่ จู้ กั กันอยูแ่ ล้ว แต่มกี ารค้นพบว่าการเปลีย่ นรูปของสารนัน้ จะ ก่อให้เกิดพิษมากขึ้น โดยการปนเปื้อนของสารเคมีในอาหารนั้นเกิด ขึ้นตั้งแต่ในกระบวนการของการผลิตวัตถุดิบ กระบวนการแปรรูป ขั้นตอนในการเก็บรักษา กระบวนการขนส่ง การจำหน่ายสินค้า การเตรียมอาหารเพื่อบริโภค จนถึงขณะที่บริโภคอาหาร

ตารางที่ 1 แหล่งของอันตรายจากสารเคมีที่ปนเปื้อนในอาหารที่มาจากสายโซ่ต่างๆ ในการผลิตอาหาร1

14

แหล่งของอันตราย

รายละเอียด

เกษตรกรรม

ยาฆ่าแมลง ยาปราบศัตรูพืช ปุ๋ย และยาสำหรับสัตว์

สิ่งแวดล้อมและอุตสาหกรรม

โลหะหนัก (ตะกั่ว แคดมียม ปรอท สารหนู) PCBs Dioxins Radionuclides Organic Chemicals (benzene)

สารพิษที่เกิดขึ้นระหว่างกระบวนการผลิต และการเก็บรักษา

สารที่เกิดจากกระบวนการผลิตที่ใช้ความร้อน (acrylamide, furan, heterocyclic aromatic amines , polycyclic aromatic hydrocarbons, N-nitrosamines และผลิตภัณฑ์ ที่เกิดจากการสลายตัวของน้ำมัน) สารที่เกิดจากกระบวนการในการผลิตที่ไม่ใช้ความร้อน และ วีธีการเก็บรักษา (trans fatty acids, benzene, ethyl carbamate)

ภาชนะ และบรรุจภัณฑ์

Monomers (vinyl chloride, styrene, acrylonitrile) Pigments (lead) Plasticizers (phthalates) Others (BPA, semicarbazide)

สารก่อภูมิแพ้ สารพิษจากธรรมชาติ

อาหารที่ก่อให้เกิดการแพ้ เช่น นม ไข่ ถั่ว อาหารทะเล เป็นต้น Mycotoxins (aflatoxins, deoxynivalenol, patulin, T-2 toxin, ochratoxin) Plant toxins (cyanogenic glycosides, alkaloids, trypsin inhibitor, hydrazine) Seafood toxins (paralytic shellfish toxins, okadaic acid, yessotoxins, brevatoxins, azaspiracids)

อื่นๆ

Adulterants (melamine) chemical threat agents (ricin, picrotoxin, nicotine, heavy metals)

www.media-matter.com


Mar - Apr 10

จะเห็นได้วา่ ความเสีย่ งอุบตั ใิ หม่ทเ่ี กิดขึน้ จากสารเคมีทป่ี นเปือ้ น มากับอาหารตามตารางที่ 1 นั้น สามารถเกิดได้ในทุกๆ กระบวนการ ของสายโซ่ในการผลิตอาหาร ซึ่งถ้าหากขาดระบบการตรวจติดตาม (monitoring) และการทวนสอบ (verification) ที่สามารถแสดงผลยืน ยันคุณลักษณะ และคุณภาพของผลิตภัณฑ์แล้ว ก็จะไม่สามารถแน่ ใจได้เลยว่าผูบ้ ริโภคนัน้ จะมีความปลอดภัยในการบริโภคอาหารหรือไม่ ซึ่งจะส่งผลกระทบออกไปไม่เพียงแต่ในด้านของสุขภาพของผู้บริโภค ทีเ่ ป็นผลกระทบทางด้านสังคม แต่ยงั ส่งผลไปถึงด้านเศรษฐกิจอีกด้วย เนือ่ งจากอาหารทีม่ กี ารผลิตเพือ่ บริโภคภายในประเทศเอง หรือเพือ่ การ ส่งออกนั้นไม่มีคุณภาพ และความปลอดภัย อาจจะนำมาซึ่งการห้าม นำเข้าสินค้าของประเทศไทยในประเทศคูค่ า้ ได้ โดยใช้ผลทางด้านความ ปลอดภัยในการห้ามนำเข้าสินค้า ตัวอย่างในกรณีนี้นั้นเกิดขึ้นมาแล้ว กับประเทศจีน จากเรื่องการตรวจพบสารเมลามีนในผลิตภัณฑ์นม

Key Solution: Development in Lab and Testing

ไม่ใช่แต่เพียงในกลุ่มของผู้ผลิตและผู้บริโภคอาหารเท่านั้นที่กำลังให้ ความสนใจกับเรื่องของสารเคมีอุบัติใหม่ที่ปนเปื้อนมากับอาหาร กลุ่มนักวิทยาศาสตร์ที่ทำงานในด้านของการเกษตรและอาหารก็ กำลังให้ความสนใจเช่นกัน ในส่วนของการหาวิธีที่จะตรวจหาสารเคมี ที่ปนเปื้อนมากับอาหาร โดยความสำคัญของการพัฒนาในการตรวจ วิเคราะห์หาสารปนเปือ้ นทีม่ อี ยูใ่ นอาหารนัน้ มีความสำคัญเป็นอย่างยิง่ เพือ่ ประโยชน์ตอ่ ความปลอดภัยของผูบ้ ริโภคเอง และประโยชน์ในการ เพิ่มความสามารถในการแข่งขันทางการค้า โดยการพัฒนามีจุดมุ่ง หมายอยู่ที่การหาวิธีใหม่หรือการพัฒนาเพื่อการแก้ปัญหาใหม่ และ การพัฒนาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพวิธีการเดิมที่มีอยู่แล้ว โดยเทคนิคที่ ใช้ในการตรวจวิเคราะห์หาสารเคมีปนเปือ้ นประเภทต่างๆ ในอาหารนัน้ แสดงตัวอย่างไว้ได้ดังนี2้

ตารางที่ 2 เทคนิคที่ใช้ในการวิเคราะห์สารเคมีที่ปนเปื้อนในอาหาร

สารเคมีที่ปนเปื้อนในอาหาร

เทคนิคที่ใช้ในการวิเคราะห์

Agrochemicals Pesticide residues (e.g., herbicides, insecticides and fungicides) Pharmaceuticals

GC-MS, GC-MS*, LC-MS, LC-MS*

Pharmaceutical and veterinary drug residues Environmental contaminants

LC-MS, LC-MS*, GC-MS

Industrial chemicals Polychlorinated biphenyls (PCBs) Brominatedf flame retardants (BFRs) Pefluorinated alkylated compounds (PACs)

GC-HRMS, GC-MS, GC-MS* GC-MS, GC-MS*, LC-MS GC-MS, LC-MS, LC-MS*

Industrial by-products Polychlorinated dibenzo-p-dioxins/furans (PCDD/Fs)

GC-HRMS, GC-MS*, GCxGC, GC-MS, LC-Fl

Polycyclic aromatic hydrocarbons (PAHs) Metals Cadmium (Cd), Lead (Pb) Arsenic (As) Mercury (Hg), Methyl-mercury (CH3-Hg)

AAS, ICP-OES, ICP-MS AAS, LC-ICP-MS GC-MS, LC-ICP-MS

Contaminants in food processing Heating Acrylamide, Fermentation Ethyl carbamate

GC-MS, LC-MS* GC-MS

Materials in contact with food Melamine Phthalates

LC-UV, LC-MS*, GC-MS GC-MS

Natural toxins Mycotoxins Phycotoxins

LC-FLD, LC-MS MBA, LC-MS

Note: GC, Gas Chromatography; LC, Liquid chromatography; MS, Mass spectrometry; MS*, Tandem mass spectrometry; UV, Ultraviolet detector; GC·GC, Comprehensive two-dimensional gas chromatography; FLD, Fluorescence detector; ICP-OES, Inductively coupled plasma-optical emission spectrometry; ICP-MS, Inductively coupled plasma-MS; MBA, Mouse bioassay. www.media-matter.com 15


นอกจากเทคนิคที่นิยมใช้ในการตรวจวิเคราะห์หาสารเคมีปน เปื้อนในอาหารคือ GC-MS และ LC-MS ดังที่กล่าวไปข้างต้นแล้ว ใน ปัจจุบันยังได้มีการพัฒนาเทคนิคใหม่ๆ ขึ้นมาเพื่อที่จะรองรับสารเคมี ปนเปื้อนอุบัติใหม่ที่อาจจะมีเกิดขึ้นในอนาคตและเพื่อทำให้การตรวจ วิเคราะห์นั้นสามารถที่จะทำได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้อง และแม่นยำมาก ยิ่งขึ้นด้วย ตัวอย่างเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่มีการพัฒนาขึ้นมา เช่น DNA microarray, Bioassay และการประยุกต์นาโนเทคโนโลยีในการตรวจ วัด เป็นต้น สิ่งที่สำคัญของห้องปฏิบัติการคือประสิทธิภาพในการจัดการ หากมีจุดประสงค์เพื่อการสาธารณสุขจะต้องมีการการวิเคราะห์ข้อมูล อย่างถูกต้องเพื่อนำผลที่ได้ไปใช้ในการวางนโยบาย และพัฒนาให้ทัน กับการเกิดของอันตรายในอาหารใหม่ๆ แต่ถ้าหากห้องปฏิบัติการ ถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อการตรวจสอบสินค้า จะต้องให้ผลที่สามารถ อ้างอิงถึงมาตรฐานนานาชาติและให้ผลการวิเคราะห์ตรงตามเวลาทีผ่ ู้ ผลิตวางแผนไว้ นอกจากนัน้ ปัญหาทีส่ ำคัญอีกประการคือ ผลกระทบต่อ การค้าจากเหตุผลด้านความปลอดภัย เช่น ใช้ขอ้ อ้าง ว่าห้องปฏิบตั กิ าร ในประเทศผูผ้ ลิตไม่มมี าตรฐานหรือไม่มเี ครือ่ งมือตรวจสอบทีเ่ พียงพอ ทำให้สนิ ค้าอาจต้องรอผลตรวจหรือรอการอนุญาตนำเข้าเป็นเวลานาน ดังนั้นประเทศที่ต้องพึ่งพาการส่งออกอย่างประเทศไทยจึงจำเป็นต้อง พัฒนาระบบเครือ่ งมือ และการวิเคราะห์ให้มคี วามทัดเทียมกับประเทศ คู่ค้าเพื่อลดปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นตามมา ถึงแม้ว่าจะไม่สามารถทำนายได้ว่าวิกฤตจากความปลอดภัย ทางเคมีในอาหารทีจ่ ะเกิดขึน้ ต่อไปนัน้ คืออะไร อย่างเช่นทีม่ กี ารเกิดขึน้ มาแล้วในกรณีของ Acrylamide หรือ Melamine แต่อย่างไรก็ตาม โดยทั่วไปก็ยังคงสามารถประเมินสถานการณ์ในด้านความปลอดภัย

16

www.media-matter.com

เบื้องต้นได้อยู่ เช่น การตรวจพบสารเคมีใหม่ สารเคมีที่เกิดขึ้นมาจาก กระบวนการที่ใช้ความร้อนในการผลิตอาหาร และสารเคมีประเภท Mycotoxins ที่มีการศึกษาวิจัยอย่างต่อเนื่องในปัจจุบัน หรือการที่ จำนวนและปริมาณของการนำเข้าส่วนผสมทีน่ ำมาใช้ผลิตอาหารทีเ่ พิม่ สูงขึ้น ก็จะส่งผลให้เกิดกรณีของการมีสารเคมีปนเปื้อนในอาหารเพิ่ม มากขึ้นตามไปด้วย ทั้งที่ตั้งใจหรือไม่ตั้งใจให้เกิดก็ตาม ก็ทำให้มีการ เฝ้าระวังที่เข้มงวดมากยิ่งขึ้น ทั้งสำหรับประเทศที่เป็นผู้ส่งออก และ ประเทศทีเ่ ป็นผูน้ ำเข้า นอกจากนี้ การทีม่ วี สั ดุชนิดใหม่ๆ ทีน่ ำมาใช้สำหรับ ทำบรรจุภัณฑ์ โดยการนำนาโนเทคโนโลยีเข้ามาใช้เพื่อปรับปรุงคุณ สมบัติของวัสดุ ซึ่งอาจจะทำให้เกิดความเป็นพิษที่แตกต่างจากวัสดุ เดิมๆ ที่เคยมีใช้อยู่ทั่วๆ ไปก็เป็นได้ ดังนั้นการศึกษาวิจัยเพื่อหาข้อมูล ด้านความปลอดภัยในการนำวัสดุนาโนมาใช้ทำเป็นบรรจุภณ ั ฑ์นน้ั ก็มี ความจำเป็นอย่างยิ่งในอนาคตต่อไป ท้ายที่สุดการระบุ และจัดอันดับความเสี่ยงของสารเคมีอุบัติใหม่ที่ ปนเปื้อนในอาหารนั้น เป็นสิ่งที่มีประสิทธิภาพสูงสุดที่จะทำให้บริษัท ผลิตอาหารสามารถควบคุมและป้องกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นจากการ ปนเปื้อนได้ โดยในการประเมินความเสี่ยงนั้น จำเป็นที่จะต้องใช้ความ รู้ในเรื่องของพิษวิทยาที่มีการศึกษาอย่างต่อเนื่องและมีความทันสมัย ประกอบกับการเริ่มออกกฎ ระเบียบ และข้อบังคับต่างๆ ที่มีส่วน เกีย่ วข้อง ซึง่ รวมไปถึงองค์ประกอบของอาหารแต่ละชนิดและปฏิกริ ยิ า ต่างๆ ทีเ่ กิดขึน้ ทัง้ ในส่วนของตัวอาหารเอง และในส่วนของภาชนะและ บรรจุภัณฑ์ที่มีการสัมผัสกับอาหาร สิ่งต่างๆ เหล่านี้ล้วนแล้วแต่จะ เป็นประโยชน์กับทางบริษัทผู้ผลิตอาหารเองในการทำธุรกิจ อีกทั้งก็ จะเป็นประโยชน์กับผู้บริโภคในด้านของความปลอดภัยด้วยเช่นกัน


Cover Story

FOOD

Mar - Apr 10

SAFETY ISSUE

C

onsumers have the right to expect and demand good-quality and safe food at affordable prices. At the present, food safety and consumer protection are topics of highest priority for food industry. There are much of consumed food come from various continentals of the world. How do we know which we can trust the safety of food. Some cases of patients who consume unsafely foods were known on news such as the Japanese dumpling made in China exported to Japan which found the pesticides contamination. Followed by the case of melamine contaminated milk and dairy products which manufactured in China caused thousands of patients and some people died. Since then, the goods from China especially food products are banned from almost market in the world which they think food products from China are low quality and unsafe to consume. Thai food products haven’t been found the contamination problem in a serious level. Some contamination found in a little amount. For examples, Aflatoxins in cereal products and non-pathogenic bacterial contaminations. However, the contamination problem found in traditional food products for local consumption, such as Botulinum Toxin contamination in square canned bamboo shoot in the north; Lampang, Nan and Tak provinces. The bamboo shoot incidence caused serious illness. The government spent over 50 million baht in getting antidotes from all over the world to heal those victims. From the reasons above make the food quality and safety control are undoubtedly to concern for export and local consume food products.

www.media-matter.com 17


Emerging food contaminants

The foodborne illness outbreaks associated with the microbiological contamination of food products are the majority of food safety-related headlines in few years ago. The result is food industry and regulators to speed the development and application of risk-based food protection strategies and initiatives which make good controlling mechanism and standard. While microbiological food safety issues are top-ofmind for many food companies, regulators and consumers, the challenge of assessing the risk posed by emerging chemical contaminants in the food supply is steadily gaining ground in the media spotlight. Nowadays, agriculture and food technologies are very advanced resulting in high efficiency of agriculture and food production which include production capacity, transportation, product attributes and benefits. The additives are more use in food production process both of known additives and

new developed additives associate with more chemical in production of agricultural products such as pesticides and chemical fertilizers. The following result is emerging risk which effect to health of humans and animals and environment. Many known chemical contaminants in food are studied about their hazard, safety and consumer protection. Nowadays, chemical food safety issues are in the spotlight because there are many cases found emerging chemical contaminants both of accident and were not by accident but by intention for cost reduction or additional profits without considering the consumers safety. The new scientific evidences reveal those chemical contaminants effect to human’s health which include new chemicals contaminants and known chemicals which transformation make higher toxicity. Chemical hazards in food can be introduced at any point in to food chain, including during production, processing, retail distribution, food preparation and consumption.

Table 1 Chemical Hazards in Food1 CHEMICAL HAZARD

SUBCATEGORY OF CHEMICAL HAZARD

Agrochemical

Pesticides, Fungicides, Fertilizers, Herbicides, Veterinary drugs

Environmental and Industrial contaminants

Heavy metals (lead, cadmium, mercury) PCBs Dioxins Radionuclides Organic Chemicals (benzene)

Toxins produced during processing and storage

Heat-produced chemical hazards (acrylamide, furan, heterocyclic aromatic amines, polycyclic aromatic hydrocarbons, N-nitrosamines and lipid degradation products) Chemical hazards produced during nonthermal processing and storage (trans fatty acids, benzene, ethyl carbamate)

Packaging-derived hazards

Monomers (vinyl chloride, styrene, acrylonitrile) Pigments (lead) Plasticizers (phthalates) Others (BPA, semicarbazide)

Allergens

Major food allergens (milk, peanut, egg, peanut, tree nut, soy, fin fish, crustacean shellfish)

Natural toxins

Mycotoxins (aflatoxins, deoxynivalenol, patulin, T-2 toxin, ochratoxin) Plant toxins (cyanogenic glycosides, alkaloids, trypsin inhibitor, hydrazine) Seafood toxins (paralytic shellfish toxins, okadaic acid, yessotoxins, brevatoxins, azaspiracids)

Unconventional chemical hazards

Adulterants (melamine) Chemical threat agents (ricin, picrotoxin, nicotine, heavy metals)

Chemical hazards in food can be introduced at any point into the food chain. if lack of effective monitoring and verification system to guarantee its characteristics and quality, it will resulting in consumers safety that effect to not only consumer’s health which is social impact and also impact 18

www.media-matter.com

to economy because if the food products for export or local consume haven’t quality and safety ,Thai food products will be banned from other countries which use food safety issues claim to ban food products such as in the case of melamine contamination in China dairy products.


Mar - Apr 10

Key Solution: Development in Lab and Testing

Besides food manufacturers and consumers, the scientists working in the agriculture and food scientific concern in emerging chemical contaminant issues too. They focus on techniques and methods for chemical contaminant detection in food products. The development in chemical contaminant detection in food is very important which its goals are consumer safety and leverage competition. These techniques and methods are developed for new development of methods and development on existing methods. The examples of techniques for chemical contaminant detection in food are shown as this table 2.

The nation’s public health agency reports its biomonitoring results every two years as part of the National Health and Nutritional Examination Survey (NHANE). The number of chemical contaminants with public health implications has risen exponentially since the first report was issued in 2001: • First report, 2001: 27 chemicals • Second report, 2003: 116 chemicals • Third report, 2005: 148 chemicals • Fourth report, due in 2008: 275 chemicals

Table 2 Analytical Techniques of Chemical Contaminants CHEMICAL CONTAMINANTS IN FOOD

ANALYTICAL TECHNIQUES

Agrochemicals Pesticide residues (e.g., herbicides, insecticides and fungicides) Pharmaceuticals

GC-MS, GC-MS*, LC-MS, LC-MS*

Pharmaceutical and veterinary drug residues Environmental contaminants

LC-MS, LC-MS*, GC-MS

Industrial chemicals Polychlorinated biphenyls (PCBs) Brominatedf flame retardants (BFRs) Pefluorinated alkylated compounds (PACs)

GC-HRMS, GC-MS, GC-MS* GC-MS, GC-MS*, LC-MS GC-MS, LC-MS, LC-MS*

Industrial by-products Polychlorinated dibenzo-p-dioxins/furans (PCDD/Fs)

GC-HRMS, GC-MS*, GCxGC, GC-MS, LC-Fl

Polycyclic aromatic hydrocarbons (PAHs) Metals Cadmium (Cd), Lead (Pb) Arsenic (As) Mercury (Hg), Methyl-mercury (CH3-Hg)

AAS, ICP-OES, ICP-MS AAS, LC-ICP-MS GC-MS, LC-ICP-MS

Contaminants in food processing Heating Acrylamide, Fermentation Ethyl carbamate

GC-MS, LC-MS* GC-MS

Materials in contact with food Melamine Phthalates

LC-UV, LC-MS*, GC-MS GC-MS

Natural toxins Mycotoxins Phycotoxins

LC-FLD, LC-MS MBA, LC-MS

Note: GC, Gas Chromatography; LC, Liquid chromatography; MS, Mass spectrometry; MS*, Tandem mass spectrometry; UV, Ultraviolet detector; GC·GC, Comprehensive two-dimensional gas chromatography; FLD, Fluorescence detector; ICP-OES, Inductively coupled plasma-optical emission spectrometry; ICP-MS, Inductively coupled plasma-MS; MBA, Mouse bioassay. www.media-matter.com 19


The general techniques for chemical contaminants in food are GC-MS and LC-MS which are mentioned above. Nowadays, some new techniques are developed to support emerging chemical contaminants will be occur in the future and aim to increase efficiency, precision, accuracy and more rapid. The examples of new developing technology are DNA microarray, Bioassay and application of nanotechnology for detection (E-nose and E-tongue). The important aspects are operational management and data implementation in laboratory. At a public heath level, precise data analysis is necessary for policy making and improving laboratory methodologies to catch up with possible new emergencies. At a commercial product inspection level, the results from laboratory have to reliably comply with international standards and be punctual as planned. Furthermore, another main problem is an impact derived from the safety issue. For example, an export product delayed at the destination country because of an excuse of insufficient or inappropriate testing instruments at the producer’s country. Therefore, food export country like Thailand has to adopt reliable laboratory instruments and testing methods equally to the destination country’s standards. เอกสารอ้างอิง 1. Lauren S. Jackson, 2009, Chemical Food Safety Issues in the United States: Past, Present, and Future, Journal of Agricultural and Food Chemistry, Vol. 57, No. 18, pp.8161-8170 2. J.L.C.M. Dorne et al., 2009, Combining analytical techniques, exposure assessment and biological effects for risk assessment of chemicals in food Trends in Analytical Chemistry, Vol. 28, No. 6, pp.695-707 3. L. Gilardi and L. Fubini, 2005, Food safety: A guide to internet resources, Toxicology, Vol.212, pp.54–59

Although it is impossible to predict the next chemical food safety crisis such as Acrylamide or Melamine, some general predictions can be made for example undiscovered heat-produced toxins and Mycotoxins will likely be found in foods, as the number and volume of imported ingredients increase, there will likely be more occurrences of both intentional and unintentional chemical contamination events. Finally, new food packaging materials are being designed with nanotechnology for the purpose of increasing properties and they also may have toxicological properties different from those of conventional material (108). Research is needed to establish the safety of these new food packaging materials. Ultimately, identifying and ranking the risks posed by emerging chemical contaminants is the food company’s best bet in establishing effective prevention, mitigation and/or control measures that will result in the greatest level of food protection. Maintaining a good working knowledge of the latest toxicological studies and regulatory initiatives associated with emerging chemical contaminants in foods and understanding the composition and interaction of foods and food-contact materials. These are best for food manufacturers and their Entry no.b002 consumer’s safety. Article info

M. T. BenKinney, 2008, How to Assess the Risk of Emerging Chemical Contaminants in Foods (Online), Available: http://www.foodsafetymagazine. com/article.asp?id=2266&sub=sub1 [28 March 2010] Michel W.F. Nielen and Hans J.P. Marvin, 2008, Challenges in Chemical Food Contaminants and Residue Analysis, Comprehensive Analytical Chemistry: Food Contaminants and Residue Analysis, Vol. 51, pp.1-27

แหล่งข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตที่ให้ข้อมูลที่มีประโยชน์สำหรับการดำเนินการในการประเมินความเสี่ยง3 CODEX ALIMENTARIUS CODEX ALIMENTARIUS: pesticide residues in food CODEX ALIMENTARIUS: veterinary drug residues in food EMEA-European Medicines Agency Maximum Residue Limits (MRLs) Environmental Protection Agency (EPA)-Pesticides (U.S.) European Food Safety Authority (EFSA) European Mycotoxins Awareness Network EXTOXNET-The EXtension TOXicology NETwork Fiches toxicologiques Food Safety Risk Analysis Clearinghouse Food Standard Agency (U.K.) FOSIE-Food Safety in Europe, risk assessment of chemical in food International Programme on Chemical Safety JECFA-Monographs and evaluations JECFA: Joint FAO/WHO Expert Committee on Food Additives JMPR: Joint FAO/WHO Meeting on Pesticide Residues JMPR-Monographs and evaluations National Health Institute (Italy) PESTIDOC PESTICIDE DATA SHEET SCIENTIFIC COMMITTEE ON FOOD Summary of evaluations performed by the Joint FAO/WHO Expert Committee on Food Additives (JECFA 1956–2003) U.S. Food and Drug Administration-Center for Food Safety and Applied Nutrition (U.S.) TOXNET World Health Organization-Department of Food Safety 20

www.media-matter.com

http://www.codexalimentarius.net/web/index en.js http://faostat.fao.org/faostat/pestdes/jsp/pest q-e.jsp http://faostat.fao.org/faostat/vetdrugs/jsp/vetd q-e.jsp http://www.emea.eu.int/htms/vet/mrls/a-zmrl.htm http://www.epa.gov/pesticides/index.htm http://efsa.eu.int/ http://www.mycotoxins.org http://extoxnet.orst.edu/ghindex.html http://www.inrs.fr/ http://www.foodrisk.org/ http://www.food.gov.uk/ http://www.ilsi.org/europe/fosie/index.html http://www.who.int/ipcs/en/ http://www.inchem.org/pages/jecfa.html http://www.who.int/ipcs/food/jecfa/en/ http://www.who.int/ipcs/food/jmpr/en/ http://www.inchem.org/pages/jmpr.html http://www.iss.it http://www.icps.it/ITALIANO/Pestidoc/index.htm http://www.inchem.org/pages/pds.html http://europa.eu.int/comm/food/fs/sc/scf/index en.html http://jecfa.ilsi.org/search.cfm http://www.cfsan.fda.gov/ http://toxnet.nlm.nih.gov/) http://www.who.int/foodsafety/en/


Entry no.b012

www.media-matter.com 21


R&D Review

SAVE ME FROM

FOOD ALLERGY ช่วงเวลาในการรับประทานอาหารสำหรับหลายๆ คนนับว่าเป็นช่วงเวลา ทีม่ คี วามสุขมากทีส่ ดุ ช่วงหนึง่ ยิง่ ถ้าอาหารทีร่ บั ประทานนัน้ เป็นอาหาร ทีช่ น่ื ชอบและมีความอร่อยด้วยแล้วก็จะยิง่ เพิม่ ความสุขในการรับประทานมากขึน้ ไปอีก แต่ทราบหรือไม่วา่ การรับประทานอาหารทีเ่ ป็นความ สุขของหลายๆ คนนัน้ กลับกลายเป็นความทุกข์ของคนอีกส่วนหนึง่ ทีอ่ าจ จะทุกข์ทรมาน หรือเฉียดความตายจากการรับประทานอาหารมาแล้ว สาเหตุนน้ั เกิดมาจากการแพ้อาหาร (food allergy) ทีเ่ ป็นการผิดปกติของ ร่างกายเมือ่ ทานอาหารบางอย่างเข้าไป โดยสาเหตุของความผิดปกติเกีย่ ว ข้องกับระบบภูมคิ มุ้ กันของร่างกาย ซึง่ อาการไม่พงึ ประสงค์จากอาหาร (Adverse Food Reaction; AFR) สามารถแบ่งออกเป็น 2 กลุม่ 1 คือ 1. เกี่ยวข้องกับระบบภูมิคุ้มกัน แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มย่อย • lgE mediated reaction เช่น อาการแพ้ถว่ั ลิสงทีเ่ กิดขึน้ ภาย ใน 1 นาทีหลังจากกินเข้าไป • Non lgE mediated reaction ส่วนใหญ่จะเกิดภายในเวลา ไม่เกิน 2 ชัว่ โมง 2. Food intolerances ที่ไม่เกี่ยวกับระบบภูมิคุ้มกัน แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มย่อย • Toxic reaction เช่น อาหารเป็นพิษ หรือได้รบั พิษจากปลา • Non-toxic reaction เช่น การแพ้แลคโตสในนม (lactose intolerances) ภูมแิ พ้จ ากอาหารสามารถพบประมาณร้อ ยละ 2-5 ของประชากร ในผูใ้ หญ่ป ระมาณ 2% (1 ใน 50) ในเด็กประมาณ 5% (1ใน 20) เช่น ในสหรัฐอเมริกา ประชากรประมาณ 11 ล้านคน ทีม่ ภี าวะภูมแิ พ้จ าก อาหารโดยมากกว่า 6 ล้านคนแพ้ป ลาและกุง้ อีกมากกว่า 3 ล้านคนแพ้ถ ว่ั อาหารหลายร้อยชนิดเป็นสาเหตุของภูมแิ พ้แต่ 90% ของภาวะภูมแิ พ้ เกิดจากอาหาร 8 กลุม่ 2 คือ Milk Egg Peanuts Soy Wheat Tree nuts Fish Shellfish 22

www.media-matter.com

คนบางคนนัน้ อาจจะไม่แ พ้อ ะไรเลยในขณะทีบ่ างคนแพ้เ ฉพาะ อาหารบางอย่างเท่านั้น และในแต่ละวัยอาจพบอาการแพ้ที่ไม่เหมือน กัน นอกจากนีป้ ริมาณสารทีท่ ำให้เกิดการแพ้อ าจจะแตกต่างกันในแต่ ละคน ขึ้นอยู่กับความไว (sensitivity) หากมีความไวมากแม้ได้รับสาร ก่อภูมิแพ้ในปริมาณน้อยก็เกิดการแพ้ได้ ขณะทีม่ อี าการแพ้การรักษาทำได้โดยใช้ยาแก้แพ้ ซง่ึ ทางทีด่ นี น้ั ควรหลีกเลี่ยงอาหารที่ทำให้แพ้ตั้งแต่แรก โดยต้องทราบว่าอาหาร ที่กินนั้นมีสารก่อภูมิแพ้หรือไม่ แต่ปัญหาจะอยู่ที่ว่าส่วนประกอบของ อาหารนัน้ มีความซับซ้อน และไมรวู้ า่ แพ้อ ะไร หรือไม่รวู้ า่ อาหารทีก่ นิ นัน้ มีสว่ นประกอบทีท่ ำให้แพ้หรือไม่ ทำให้บางครัง้ นัน้ ยากทีจ่ ะหลีกเลีย่ งได้ ถึงแม้ในบางประเทศจะมีขอ้ บังคับให้มกี ารติดฉลากในส่วนของอาหาร ที่มีสารที่ก่อให้เกิดอาการแพ้ แต่ก็ได้ผลในระดับหนึ่งเท่านั้น ดังนั้นใน อุตสาหกรรมอาหารจึงมีการคิดค้นนวัตกรรมที่จะช่วยให้ผู้ที่มีอาการ แพ้สารบางอย่างที่มีอยู่ในอาหาร สามารถที่จะบริโภคอาหารเหล่านั้น ได้อย่างปลอดภัยโดยทีไ่ ม่ตอ้ งกังวลถึงอันตรายทีจ่ ะตามมาจากอาการ ภูมิแพ้อาหาร ซึ่งในบทความนี้จะยกตัวอย่างของการคิดค้นนวัตกรรม ทางอาหารที่จะช่วยให้ผู้ที่มีอาการแพ้แลคโตส และอาการแพ้กลูเตน สามารถบริโภคอาหารได้อย่างปลอดภัย ทราบหรือไม่ว่ากว่า 75% ของประชากรทั่วโลกนั้นมีอาการ แพ้แลคโตส (lactose intolerance) ซึ่งเกิดจากการที่ร่างกายนั้นไม่ สามารถย่อยน้ำตาลแลคโตสทีม่ าจากอาหารประเภทนมและผลิตภัณฑ์ ที่มีส่วนผสมของนมได้ จากการที่ร่างกายนั้นผลิตเอนไซม์แลคเตส ที่ใช้ในการย่อยน้ำตาลแลคโตสได้น้อยหรือเอนไซม์ที่มีอยู่ทำงานไม่ มีประสิทธิภาพ ส่งผลให้เกิดอาการแน่นท้อง ปวดท้องอย่างกะทันหัน มี แ ก๊ ส ในกระเพาะมากเกิ น ไป และอาจมี อ าการท้ อ งเสี ย ตามมา รูปภาพด้านล่างแสดงถึงการกระจายตัวของประชากรในโลกทีม่ อี าการ แพ้แลคโตส3


Mar - Apr 10

รูปภาพแสดง การกระจายตัวของประชากร ทีม่ อี าการแพ้แลคโตสทัว่ โลก3

จะเห็นได้ว่าประชากรที่อยู่ในแถบทวีปเอเชียและแอฟริกานั้น จะมีสดั ส่วนของประชากรทีม่ อี าการของการแพ้แลคโตสในอาหารประเภทนมค่อนข้างมากเมือ่ เทียบกับในสหรัฐอเมริกาและยุโรป ทัง้ นีอ้ าจมา จากประเภทของอาหารทีบ่ ริโภคทีแ่ ตกต่างกัน และอาจจรวมไปถึงพันธุกรรมที่แตกต่างกันด้วย การผลิตอาหารที่มีปริมาณแลคโตสในปริมาณน้อยหรือไม่มี เลยนั้นก็จะเป็นประโยชน์สำหรับผู้บริโภคที่มีอาการแพ้แลคโตส โดย ปัจจุบันมีการคิดค้นผลิตภัณฑ์ที่จะช่วยในการผลิตผลิตภัณฑ์นมหรือ ผลิตภัณฑ์ทม่ี สี ว่ นผสมของนมให้มปี ริมาณแลคโตสให้นอ้ ยลงหรือไม่มี เลย โดยการเติมเอนไซม์แลคเตสลงไปในตัวผลิตภัณฑ์เพื่อที่จะไปทำ การย่อยแลคโตสทีม่ อี ยูใ่ ห้กลายเป็นกลูโคสและกาแลคโตส ทำให้ผทู้ ม่ี ี อาการแพ้แลคโตสจากการที่มีเอนไซม์แลคเตสในลำไส้อยู่น้อย หรือ การทำงานของเอนไซม์นั้นผิดปกติ สามารถที่จะบริโภคผลิตภัณฑ์ได้ อย่างปลอดภัยโดยไม่เกิดผลข้างเคียงตามมา เอนไซม์แลคเตสทีน่ ำมา ใช้นั้นสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับผลิตภัณฑ์ได้หลากหลายชนิด เช่น นม โยเกิร์ต ไอศกรีม ของหวานที่มีส่วนผสมของนม และครีม ฯลฯ เอนไซม์แลคเตสที่มีการผลิตออกมาเป็นการค้าแล้วในปัจจุบัน สำหรับการผลิตอาหารนัน้ ยกตัวอย่างเช่น Lactozym® ของ Novozyme และ Maxilact® ของ DSM4 ผลิตภัณฑ์อกี รูปแบบหนึง่ คือการหาสารทด แทนทีจ่ ะนำมาใช้แทนนมในการทำผลิตภัณฑ์ตา่ งๆ เช่น Lamequick®

แลคโตสนัน้ พบได้ตามธรรมชาติในนมและผลิตภัณฑ์อน่ื ๆ ที่มีส่วนผสมของนม แต่ยังมีผลิตภัณฑ์บางชนิดที่มี แลคโตสอยู่แต่ผู้บริโภคอาจจะไม่ทราบ ซึ่งเรียกกันว่า Hidden sources of lactose ได้แก่4 Processed meat Cereals Instant potatoes Soups Breakfast drinks Salad dressings Candies and other snacks Slimming products Drugs

ของ Cognis ทีเ่ ป็น Whipping agent ทีท่ ำจากโปรตีนถัว่ เหลืองและน้ำ มันพืชซึง่ มีประสิทธิภาพดีเทียบเท่ากับ Whipping agent ทีไ่ ด้จากผลิต ภัณฑ์นมทั่วไป แต่ลดปัญหาจากการแพ้แลคโตสที่มีอยู่ในนมได้5 ในขณะเดียวกันผู้ที่ไม่มีอาการแพ้แลคโตสนั้นก็สามารถรับ ประทานอาหารที่มีแลคโตสในปริมาณน้อยได้เช่นเดียวกัน โดยจะมี ประโยชน์ตรงทีว่ า่ จะช่วยในเรือ่ งระบบการย่อยอาหารให้กบั ผูท้ บ่ี ริโภค ซึง่ การทำตลาดในส่วนนีน้ น้ั น่าจะมีโอกาสทีด่ โี ดยทีร่ าคาของผลิตภัณฑ์ ในกลุม่ นีเ้ องก็สามารถตัง้ ราคาทีส่ งู กว่าผลิตภัณฑ์ทว่ั ๆ ไปจากประโยชน์ ที่เหนือกว่าและความเฉพาะของตัวผลิตภัณฑ์ โรคแพ้กลูเตนเกิดขึ้นเมื่อรับประทานโปรตีนชนิดที่เรียกว่า กลูเตน ซึง่ พบมากในข้าวสาลี ข้าวบาร์เล่ย์ ข้าวไรย์ และธัญพืชชนิดต่างๆ เข้าไป จะทำให้ระบบภูมคิ มุ้ กันของลำไส้เล็กมีปญ ั หา ส่งผลให้ลำไส้เล็ก ถูกทำลาย นำไปสูก่ ารมีคณ ุ ภาพของระบบดูดซึมสารอาหารลดลง โดย เฉพาะสารอาหารประเภทไขมัน และเป็นสาเหตุของการเกิดโรคทีเ่ รียก ว่า Coeliac disease โดยร่างกายจะผลิตสารแอนติบอดีออกมาทำลาย เนือ้ เยือ่ ของลำไส้เล็กเมือ่ ร่างกายได้รบั กลูเตนเข้าไปทำให้มปี ญ ั หาเรือ่ ง ลำไส้อกั เสบซึง่ อาจจะมีอาการปวดท้อง ท้องเสียเล็กน้อยเรือ้ รังไปเรือ่ ยๆ www.media-matter.com 23


จากการศึกษาของคลินกิ Mayo ในประเทศสหรัฐอเมริกาพบ ว่าโรคแพ้กลูเตนเป็นโรคทีเ่ กิดขึน้ มากเมือ่ 50 ปีกอ่ น นับตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2493 เป็นต้นมา โรคนีไ้ ด้แพร่กระจายมากขึน้ โดยมีสดั ส่วนของผูท้ แ่ี พ้กลูเตนประมาณ 1 ใน 100 คน และมีความเสีย่ งต่อการเสียชีวติ เพิม่ ขึน้ เกือบ 4 เท่าตัว1 นักวิจยั เชือ่ ว่าการเปลีย่ นแปลงของสภาพภูมอิ ากาศและสิง่ แวด ล้อมมีผลต่อการแพร่กระจายของโรคดังกล่าว แต่ยังไม่ทราบสาเหตุที่ ชัดเจนของอัตราการเสียชีวติ ทีเ่ พิม่ สูงขึน้ อาหารสำหรับผูท้ ม่ี อี าการแพ้ ควรมีปริมาณกลูเตนน้อยกว่า 20 ppm จึงจะปลอดภัย2 Gluten Intolerance Fact Sheet2 • คนอเมริกนั ทุกๆ 133 คน มี 1 คนทีเ่ ป็นโรคแพ้กลูเตน (ประมาณ 3 ล้านคน) • คนอเมริกนั ทีแ่ พ้กลูเตนประมาณ 97% แพ้โดยไม่ทราบสาเหตุ • อายุ ถือว่าเป็นปัจจัยหลักในการหาสาเหตุของโรค ถ้าอายุระหว่าง 2-4 ปี มีโอกาสทีจ่ ะเกิดความผิดปกติของระบบภูมคิ มุ้ กัน 10.5% ถ้าอายุเกิน 20 ปี จะเพิม่ ขึน้ เป็น 34% • 30% ของจำนวนประชากรในสหรัฐอเมริกามียีนที่ก่อให้เกิดโรค แพ้กลูเตน • เด็กสหรัฐอเมริกาทีเ่ กิดทุกนาทีจะพบยีนทีก่ อ่ ให้เกิดโรคแพ้กลูเตน โดยเฉลีย่ 2.5 คน • มี 15 รัฐของสหรัฐอเมริกาทีม่ จี ำนวนประชากรน้อยกว่าจำนวนผูท้ ่ี แพ้กลูเตนทัง้ หมด • โรคแพ้กลูเตนส่งผลกระทบต่อประชากรในสหรัฐฯ มากกว่า Crohn’s Disease, Cystic Fibrosis, Multiple Sclerosis และ โรคพาร์กนิ สัน • 80% ของผู้ที่แพ้กลูเตนบริโภคอาหารนอกบ้าน มีจำนวนน้อยที่ เคยเข้ารับการวินจิ ฉัยโรคมาก่อน และน้อยกว่า 10% ของผูท้ แ่ี พ้เข้า ใจเกีย่ วกับอาหารทีป่ ราศจากกลูเตนดีถงึ ดีมาก • ผูป้ ว่ ยทีม่ อี ายุเฉลีย่ อยูท่ ่ี 11 ปี ทราบสาเหตุของโรคแพ้กลูเตนโดย ผ่านการตรวจเลือด • โครงการเกษตรกรรมแห่งสหรัฐอเมริกาคาดการณ์ว่าในปี ค.ศ. 2010 จะมีรายได้จากการขายสินค้าปราศจากกลูเตนถึง 1.7 พันล้านเหรียญ • อาหารทีป่ ราศจากกลูเตนโดยเฉลีย่ แล้วมีราคาแพงมากกว่าอาหาร ทีม่ กี ลูเตนถึง 242% • สหรัฐอเมริกาได้ออกกฎระเบียบคุม้ ครองผูบ้ ริโภคและฉลากสาร ก่อภูมแิ พ้ในอาหารเป็นกฎหมายในปี ค.ศ. 2006 โดยกำหนดให้ ระบุข้อความลงบนฉลากอาหารที่อ่านแล้วเข้าใจง่ายให้กับผู้ที่ แพ้กลูเตน • ประชากรสหรัฐอเมริกา 12% ทีป่ ว่ ยเป็นโรคดาวน์ซนิ โดรมจะพบ ว่าเป็นโรคแพ้กลูเตนด้วย •`ประชากรสหรัฐอเมริกา 6% ที่ป่วยเป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 1 จะพบว่าเป็นโรคแพ้กลูเตนด้วย • 1 ใน 22 คน ทีอ่ าจป่วยเป็นโรคแพ้กลูเตน คือผูท้ ม่ี คี วามสัมพันธ์ ลำดับแรกกับผูแ้ พ้ • ไม่มยี าชนิดใดทีส่ ามารถรักษาโรคแพ้กลูเตนได้ จากข้อมูลทีก่ ล่าวมานัน้ ทำให้ทราบได้วา่ การแพ้กลูเตน ก็เป็น ปัญหาใหญ่ทส่ี ง่ ผลกระทบต่อการบริโภคอาหารของประชากรในโลกเป็น อย่างมาก ซึง่ แนวโน้มทีจ่ ะมีผทู้ ม่ี อี าการแพ้กลูเตนเพิม่ สูงมากขึน้ ในอนาคต

24

www.media-matter.com

ซึ่งก็จะทำให้เกิดศักยภาพทางการตลาดสำหรับอาหารที่ไม่มีกลูเตน (gluten free) ด้วยเช่นกัน ปัจจุบนั ได้มกี ารพัฒนาส่วนผสมทีน่ ำมาใช้ สำหรับการผลิตอาหารสำหรับอาหารทีไ่ ม่มกี ลูเตน โดยการผลิตแป้งจาก แหล่งอืน่ ทีไ่ ม่ใช่ขา้ วก็เป็นอีกทางเลือกหนึง่ จะเป็นการผลิตแป้งจากพืช ทีร่ จู้ กั กันดีทว่ั ๆ ไป คือ ข้าวโพด มันฝรัง่ หรือการผลิตแป้งจากพืชทาง เลือกอืน่ ๆ เช่น Amaranth ทีเ่ ป็นพืชชนิดหนึง่ และเมล็ดเชีย (chia seed) ทีบ่ ริษทั AHD International นำมาผลิตเป็นแป้งเพือ่ อกจำหน่ายไว้ใช้ สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร ในขณะเดียวกันกลูเตนยังถูกนำมาใช้เพือ่ วัตถุ ประสงค์อน่ื ๆ สำหรับการผลิตอาหาร เช่น เป็น Stabilizer หรือ Thickener ทีใ่ ช้สำหรับการผลิตไอศกรีมและซอสมะเขือเทศ หรือเพือ่ วัตถุประสงค์ อืน่ ๆ ดังนัน้ จึงมีการวิจยั และพัฒนาสารทดแทนกลูเตนขึน้ มาสำหรับการ ประยุกต์ใช้งานในอุตสาหกรรมอาหาร ยกตัวอย่างเช่น METHOCEL™ ทีเ่ ป็น Methycellulose และ Hydroxypropyl methylcellulose ของบริษทั DOW ทีส่ ามารถประยุกต์ใช้ได้อย่างกว้างขวางตัง้ แต่เบเกอรี่ เครือ่ งดืม่ และขนมหวาน5 และ BriesSweet™ ทีเ่ ป็น Tapioca Maltodextrins ของบริษทั Briess Malt & Ingredients ใช้สำหรับเป็น Fat replacer, Filler, Thickener และ Stabilizer ทีส่ ามารถนำไปประยุกต์ใช้กบั ผลิตภัณฑ์อาหารและเครือ่ งดืม่ ทีไ่ ม่มกี ลูเตนได้เป็นอย่างดี6 หลักการที่ง่ายที่สุดสำหรับผู้ที่แพ้อาหารในการป้องกันตัวเองคือการ หลีกเลี่ยงอาหารที่จะก่อให้เกิดอาการแพ้ ซึ่งวิธีนี้ในทางปฏิบัติแล้วจะ ทำได้ยากเนื่องจากผู้บริโภคจะทราบได้ยาก หรือไม่สามารถทราบได้ เลยว่าผลิตภัณฑ์ชนิดใดจะมีสารที่ก่อให้เกิดอาการแพ้เป็นส่วนผสม นอกเสียจากผู้ผลิตจะมีการติดฉลากเอาไว้ ซึ่งในปัจจุบันการติดฉลาก นั้นก็ยังไม่ได้เป็นข้อบังคับโดยทั่วไปในทุกประเทศ ดังนั้นในอีกส่วน หนึ่งที่จะสามารถช่วยผู้บริโภคได้คือ ภาคอุตสาหกรรมผลิตอาหารตั้ง แต่ผู้ที่ผลิตส่วนผสมต่างๆ ไปจนถึงผู้ที่นำส่วนผสมไปแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์นั้นมีหน้าที่ต้องทำการคิดค้นวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ที่จะช่วย ทำให้ผู้ที่บริโภคอาหารนั้นมั่นใจและปลอดภัยในการบริโภคอาหาร โดยที่ไม่ต้องกังวลถึงอันตรายที่จะเกิดขึ้นจากการแพ้อาหารอีกต่อไป Entry no.b003

Article info เอกสารอ้างอิง 1. สมาคมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทางอาหารแห่งประเทศไทย Food Allergy and Food Allergen 2. http://www.ifrpd-foodallergy.com 3. http://www.dsm.com/le/en_US/maxilact/html/lactose_intolerance.htm 4. http://www.dsm.com 5. http://www.cognis.com 6. http://www.dow.com/methocel/food/index.htm 7. http://www.briess.com/food/Products/md.php


R&D Review

STEVIA ANOTHER SWEETENER FOR SWEET LOVERS

ประโยคที่ว่า “คนไทยติดหวาน” คงเป็นประโยคที่ใครต่อใครคุ้นหูและเป็นรสชาติของอาหารที่ คุ้นลิ้นกันมานาน สำหรับครัวไทยแล้วไม่ว่าจะเป็นเครื่องดื่ม อาหารว่างและแม้แต่อาหารจาน หลักเองมักถูกปรุงให้มีรสหวานโดดเด่นกว่ารสชาติอื่นๆ สาวสมัยใหม่ที่แม้จะห่วงใยความสวย ความงามและรูปร่างอันผอมเพรียว แต่หากขึน้ ชือ่ ว่าเป็นขนมหวานด้วยแล้วถึงจะเป็นสาวร่างเล็ก หรือสาวร่างใหญ่คงไม่อาจปฏิเสธการลองลิ้มชิมรสขนมหวานนั้นดูสักครั้ง ซึ่งอันตรายของความ หวานที่แฝงมากับความหอมอร่อยที่สาวๆ รวมถึงใครหลายๆ คนอาจมองข้ามไปนั้น นอกจาก ความหนาของรอบเอวที่เพิ่มขึ้นแล้ว ยังมีภัยเงียบที่อาจเกิดขึ้นได้อย่างไม่รู้เนื้อรู้ตัวอย่างความ เสี่ยงในการเกิดฟันผุ โรคเบาหวาน หรือแม้กระทั่งโรคความดันโลหิตสูง องค์การอนามัยโลก (World Health Organization; WHO) ได้แนะนำปริมาณการบริโภคน้ำตาลทีเ่ หมาะสมในแต่ละวัน ไม่ควรเกินร้อยละ 10 ของปริมาณพลังงานทั้งหมดหรือประมาณ 6 ช้อนชาหรือ 24 กรัม แต่จาก สถิติแล้วคนไทยรับประทานน้ำตาลอยู่ที่ประมาณ 23 ช้อนชาต่อวัน* ซึ่งมากกว่าที่กำหนดเกือบ 4 เท่า แต่จะทำอย่างไรหากคุณเป็นคนหนึ่งที่ติดอกติดใจกับความหวานอยู่ไม่น้อย และจะมีวิธี ใดบ้างที่ช่วยให้เราสามารถทานหวานได้อย่างไม่ต้องกังวลกับของแถมที่มากับความหวานนั้น Low Glycemic Index : A Way of Healthy ปกติคนส่วนใหญ่ได้รับน้ำตาลในปริมาณที่เพียงพอหรืออาจมากเกินความต้องการของร่างกาย อยู่แล้วจากอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรตรวมถึงผักและผลไม้ที่รับประทานในแต่ละวัน ดังนั้น การทีร่ า่ งกายได้รบั ปริมาณน้ำตาลเพิม่ ขึน้ จึงเปรียบเสมือนการนำสิง่ ทีม่ มี ากเกินพอเข้าสูร่ า่ งกาย ย่อมส่งผลเสียและนำมาซึ่งโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ในอดีตผลิตภัณฑ์อาหารส่วนใหญ่มักนิยมใช้น้ำตาลซูโครสหรือน้ำตาลทรายเป็นสารให้ ความหวาน (sweetener) แต่ปจั จุบนั ได้มกี ารศึกษาพบว่าในอาหารทีใ่ ส่นำ้ ตาลซูโครสซึง่ มีคา่ GI (glycemic index) สูงจะทำให้เกิดปัญหาทางด้านสุขภาพตามมา “มาถึงตอนนีห้ ลายๆ ท่านอาจ เกิดคำถามขึน้ ในใจว่าค่า GI คืออะไร เกีย่ วข้องอย่างไรกับการบริโภคน้ำตาลและสุขภาพ ของเรา” สำหรับค่า GI หากจะให้คำจำกัดความของค่าดังกล่าวจะหมายถึง ดัชนีในการปลดปล่อย หรือเพิม่ ระดับกลูโคสในกระแสเลือด (ดัชนีทใ่ี ช้ตรวจวัดคุณภาพของอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรต เมือ่ อาหารนัน้ ข้าสูร่ ะบบการย่อยและถูกดูดซึมเข้าสูร่ า่ งกายแล้วสามารถเพิม่ ระดับน้ำตาลในกระแสเลือดได้มากหรือน้อยเพียงใดโดยเปรียบเทียบกับสารมาตรฐาน คือ น้ำตาลกลูโคสหรือขนมปัง ขาวซึ่งมีค่า GI เท่ากับ 100) ค่า GI ดังกล่าวมีระดับอยู่ระหว่าง 0-100 ซึ่งหากอาหารมีค่า GI ที่สูง คาร์โบไฮเดรตทีไ่ ด้รบั เข้าสูร่ า่ งกายจะเกิดการย่อยสลายกลายเป็นน้ำตาลโมเลกุลเดีย่ วอย่างรวด เร็ว หลังจากนัน้ ระบบอัตโนมัตภิ ายในร่างกายจะเกิดการปัม๊ น้ำตาลเข้าสูร่ ะบบกระแสเลือดอย่าง รวดเร็วเช่นกัน ส่งผลให้ตบั อ่อนต้องรับภาระในการหลัง่ สารอินซูลนิ เพือ่ ควบคุมปริมาณน้ำตาลทีส่ งู ในกระแสเลือดให้อยูใ่ นระดับปกติทำให้ระดับน้ำตาลในกระแสเลือดลดระดับอย่างฉับพลัน ผลก็ คือภาวะระดับน้ำตาลในเลือดจะสูงๆ ต่ำๆ สลับกันไปโดยตลอดจนทำให้ตบั อ่อนทำงานหนักและ ผลิตอินซูลนิ ไม่ทนั ก่อให้เกิดปริมาณน้ำตาลสะสมในเลือดสูงซึง่ นีค่ อื สาเหตุหนึง่ ของโรคเบาหวาน นอกจากนีภ้ าวะดังกล่าวยังก่อให้เกิดการสะสมของไขมันในหลอดเลือดอีกด้วย เมือ่ รูอ้ ย่างนีแ้ ล้วหาก เรารับประทานอาหารประเภททีม่ คี า่ GI สูงจะทำให้ปริมาณน้ำตาลในกระแสเลือดเพิม่ สูงขึน้ และ

www.media-matter.com 25


การบริโภคอาหารให้ครบ 5 หมู่ ออกกำลังกายและดำเนินชีวิต ในแต่ละวันให้หลีกไกลจากความเสี่ยงของการเกิดโรคคงเป็น วิธีการป้องกันที่ดีกว่าการรักษา ลดต่ำอย่างรวดเร็วการทีร่ ะดับน้ำตาลในกระแสเลือดลดลงอยูใ่ นระดับต่ำอย่างรวดเร็วจึงเป็นสาเหตุหนึง่ ทีก่ ระตุน้ ให้เราหิวและมีความอยากรับประทานอาหารเพิม่ แต่หากเรารับประทานอาหาร ที่มีค่า GI ต่ำระดับน้ำตาลในกระแสเลือดจะค่อนข้างคงที่และคงอยู่ได้นานจึงทำให้เราๆ ท่านๆ ไม่รสู้ กึ หิวบ่อยนัน่ เอง ด้วยเหตุผลดังกล่าวคงทำให้สามารถเลือกรับประทานอาหารได้อย่างเหมาะ สมซึง่ จะเป็นการควบคุมอาหารในแต่ละมือ้ ได้ดยี ง่ิ ขึน้ และยังเป็นการลดความเสีย่ งต่อภาวะการ สะสมของไขมันในหลอดเลือดอันเป็นต้นเหตุของโรคภัยทีจ่ ะตามมาอีกมากมาย ดังนัน้ แนวคิดใน การพัฒนาสารให้ความหวานทีม่ คี า่ GI และระดับการให้พลังงานทีต่ ำ่ จึงเป็นกระแสทีน่ า่ สนใจสำหรับกลุม่ ผูบ้ ริโภคทีร่ กั สุขภาพ รวมไปถึงกลุม่ ผูท้ ม่ี คี วามเสีย่ งต่อการเกิดโรคเบาหวาน ซง่ึ ในปัจจุบนั ก็มกี ารพัฒนาสารให้ความหวานประเภทนีห้ ลายกลุม่ ไม่วา่ จะเป็นในกลุม่ ของน้ำตาลแอลกอฮอล์ (sugar alcohol) และน้ำตาลเทียมสังเคราะห์ในกลุม่ ทีไ่ ม่ให้คณ ุ ค่าทางโภชนาการ (non nutritive sweetener) หากรูอ้ ย่างนีแ้ ล้วน้ำตาลเทียมสังเคราะห์และผลิตภัณฑ์จากน้ำตาลเทียมสังเคราะห์ คงเป็นอีกหนึง่ ทางเลือกให้กบั ผูบ้ ริโภคทีช่ น่ื ชอบการรับประทานของหวานได้เลือกรับประทานให้ เหมาะสมกับความต้องการของร่างกาย ทุนทรัพย์ และการใช้ชวี ติ ของแต่ละท่านได้ โดยสารให้ความ หวานชนิดหนึ่งที่กำลังมาแรงและอยู่ในความสนใจของผู้บริโภครวมถึงนักวิจัยทั่วโลกคงหนี้ไม่ พ้นน้ำตาลเทียมสังเคราะห์จากพืชสมุนไพรทีใ่ ห้ความหวานสูงแต่มคี า่ GI รวมถึงพลังงานต่ำอย่าง สตีเวีย ที่ตลาดการบริโภคกำลังขยายตัวในวงกว้างอย่างรวดเร็ว Stevia : More Sweet & Less Harmful สตีเวีย มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Stevia rebaudiana Bertoni ถูกค้นพบครั้งแรกโดยนักวิทยาศาสตร์ ชาวอเมริกาใต้เมื่อปี ค.ศ. 1887 ทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศปารากวัย ซึ่งเป็นพืชพื้น เมืองที่ชาวปารากวัยนำมาใช้ชูรสหวานให้กับอาหาร ต่อมาประเทศญี่ปุ่นได้นำเข้ามาใช้และทำ การศึกษาอย่างกว้างขวางตัง้ แต่ปี ค.ศ. 1982 สำหรับประเทศไทยนัน้ เพิง่ มีการนำเข้ามาปลูกเมือ่ ปี พ.ศ. 2518 และรูจ้ กั กันในชือ่ ของหญ้าหวาน ความพิเศษของหญ้าหวานอยูท่ ส่ี ว่ นของใบทีส่ ามารถ ให้ความหวานได้มากกว่าน้ำตาลซูโครสถึง 10-15 เท่ารวมถึงมีสารจำพวกไกลโคไซน์กว่า 88 ชนิด ซึง่ สารสกัดทีส่ ำคัญทีไ่ ด้จากหญ้าหวานคือ สตีวโิ อไซด์ (stevioside) เป็นสารทีใ่ ห้ความหวานมาก กว่า 200-300 เท่าของน้ำตาล (ซูโครส) แต่ความหวานนีไ้ ม่มคี ณ ุ ค่าทางโภชนาการและไม่ถกู ย่อย ให้เกิดพลังงานแก่ร่างกาย (0 แคลอรี/กรัม) เนื่องจากเมื่อเข้าสู่ลำไส้แล้วจุลินทรีย์ในลำไส้ใหญ่ จะย่อยสตีวิโอไซด์เป็น สตีวิออล (steviol) และน้ำตาลกลูโคส สตีวิออลจะถูกดูดซึมเข้าสู่กระแส เลือดส่วนน้ำตาล กลูโคสจะถูกจุลินทรีย์ย่อยสลายไป นอกจากนี้สตีวิโอไซด์ยังให้รสหวานที่แตก ต่างจากน้ำตาลทรายคือแสดงรสหวานช้าและจางหายช้าอีกด้วย รวมถึงทนต่อความร้อนและ สภาวะความเป็นกรดด่างได้ดีเหมาะสำหรับใช้ปรุงอาหาร สำหรับในแง่ของความปลอดภัย และผลข้างเคียงนั้นมีงานวิจัยจำนวนมากศึกษาถึงคุณสมบัติและผลของการรับประทาน สตีวิโอไซด์แต่ยังไม่สามารถสรุป ได้ชัดเจนว่ามีผลข้างเคียงต่อผู้บริโภคมากน้อยเพียงใด ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 280 พ.ศ. 2547 เรื่องชาสมุนไพร มีการออกประกาศเพิ่ม เติมให้ใช้ใบหญ้าหวานเป็นวัตถุดิบสำหรับชาสมุนไพร ลงประกาศ ณ วันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2548 และมีผลการวิจัยในหนูทดลองพบว่า การได้รับสารสกัดจากหญ้าหวานในปริมาณ ที่มากเกินไป อาจจะทำให้มีผลกระทบต่อระบบสืบพันธุ์ ซึ่งคณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญของ อาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ องค์การอนามัยโลก ที่เกี่ยวกับสารเจือปนในอาหาร (Joint FAO/WHO Expert Committee on Food Additives : JECFA) ได้กำหนดค่าความปลอดภัย เบื้องต้นไว้ไม่เกิน 2 มิลลิกรัม/น้ำหนักตัวหนึ่งกิโลกรัม/วัน ขณะที่ในหลายๆ ประเทศเช่น ญี่ปุ่น 26

www.media-matter.com

จีน เกาหลีใต้ บราซิล และปารากวัย กลับมีการ บริโภคสารให้ความหวานชนิดนี้กันอย่างแพร่ หลายและให้การยอมรับอย่างเป็นทางการ บาง งานวิจัยกล่าวว่าสามารถรับประทาน สตีวิโอ ไซด์ได้สูงถึง 7.938 มก/กก. น้ำหนัก แต่อย่าง ไรก็ตามสำนักงานคณะกรรมการอาหารและ ยาเผยผลการประเมินการรับประทานหญ้า หวานของคนไทยสำรวจเมื่อปี 2549-2550 พบว่ า คนไทยรั บ ประทานหญ้ า หวานเฉลี ่ ย ประมาณ 1 กรัม/คน/วัน ซึ่งปริมาณดังกล่าว ไม่เกินค่าความปลอดภัยทีค่ ดิ จากค่าสารสำคัญ ในหญ้าหวานจึงสามารถวางใจได้ระดับหนึ่ง ถึงปริมาณการรับประทานที่ยังอยู่ในเกณฑ์ ที่ปลอดภัย ในปัจจุบันมีการนำสารให้ความ หวานดังกล่าวมาใช้สำหรับประกอบอาหาร และ เครือ่ งดืม่ บางประเภทโดยใช้แทนน้ำตาลทราย บางส่วนหรือทั้งหมด ซึ่งวัตถุประสงค์สำคัญ คือลดปริมาณแคลอรีในอาหารและเครื่องดื่ม สำหรับผู้ที่ต้องการลดความอ้วนหรือผู้ป่วย ที่เป็นโรคเบาหวานและผู้ที่ต้องการดูแลรักษา สุขภาพซึง่ ไม่สามารถบริโภคน้ำตาลในปริมาณ มากๆ ได้ จากข้อมูลดังกล่าวน่าจะเป็นอีกทาง เลือกหนึง่ ทีด่ สี ำหรับผูท้ ร่ี กั การรับประทานอาหาร หวานแต่ก็ไม่ลืมที่จะห่วงใยในเรื่องสุขภาพ อย่างไรก็ตามสารให้ความหวานหรือน้ำตาล


Mar - Apr 10

การแบ่งกลุ่มของอาหารซึ่งเป็นแหล่งของคาร์โบไฮเดรตตามค่า GI (glycemic index) สามารถแบ่งออกได้เป็นสามกลุ่มคือ 1. อาหารทีม่ คี า่ GI ต่ำ จะมีผลต่อการเปลีย่ นแปลงของระดับน้ำตาลในกระแสเลือด น้อยกว่าหรือเท่ากับ 55 2. อาหารที่มีค่า GI ปานกลาง จะมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของระดับน้ำตาลใน กระแสเลือดเท่ากับ 56-69 3. อาหารทีม่ คี า่ GI สูง จะมีผลต่อการเปลีย่ นแปลงของระดับน้ำตาลในกระแสเลือด มากกว่าหรือเท่ากับ 70 SWEETENER Glucose Fructose Lactose Sucrose Stevia Xylitol Mannitol Erythritol Lactitol Sorbitol Maltitol

GLYCEMIC INDEX (GI) 100 22 46 64 less than 1 13 0 0 6 9 36

Source: Livesey, op. cit., pp. 179, 180.

CALORIES/G 4.0 4.0 4.0 4.0 0 3.0 1.5 0.2 2.0 2.5 2.7

คงมิใช่ปจั จัยเดียวทีเ่ ป็นสาเหตุทำให้ผบู้ ริโภคหรือ ประชากรทัว่ โลกมีอตั ราการเกิดโรคอ้วนและโรค ที่เกิดจากความเสี่ยงของโรคอ้วนเพิ่มขึ้นเป็น จำนวนมากในแต่ละปี ประเด็นสำคัญคงต้องหัน กลับมาสนใจและใส่ใจกับการบริโภคอาหารให้ ครบ 5 หมู่ ออกกำลังกายและดำเนินชีวติ ในแต่ ละวันให้หลีกไกลจากความเสีย่ งของการเกิดโรค นั่นคงเป็นวิธีการป้องกันที่ดีกว่าการรักษาภาย หลังจากที่เกิดโรคแล้วอย่างแน่นอน Entry no.a006

Article info บทความเรื่อง หญ้าหวาน : ถึงเวลาหญ้าหวานกู้ชาติ โดยฝ่าย วิชาการสถาบันการแพทย์แผนไทย ดูได้ที่ http://ittm.dtam.moph.go.th/data_all/herbs/herbal09.htm ข่าวกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เรื่องสำรวจการบริโภค หญ้าหวานของคนไทยเพื่อกำหนดค่าความปลอดภัย วันที่ 2 สิงหาคม 2550 http://th.wikipedia.org http://www.tistr-foodprocess.net/food_health/food_ health4.htm http://www.fitsugar.com/Glycemic-Index-Where-DoSweeteners-Fall-3031565 อ้างอิง * ข้อมูลจากสำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทราย ปี 2550

Entry no.b003

www.media-matter.com 27


Environmental FocUS

Green Technology for a Green Planet (Episode I) CO2 : Greenhouse Gas towards

GLOBAL WARMING องศาความร้อนที่ปรับตัวสูงขึ้นจากสถานการณ์ความวุ่นวายต่างๆ ทั่วโลก ไม่ว่าจะเป็นกีฬาสีที่เกิดขึ้นในประเทศไทย การก่อจราจลเพื่อ ยึดอำนาจในสาธารณรัฐคีร์กีซสถาน หรือจะเป็นความขัดแย้งทาง ศาสนาระหว่างผู้ที่นับถือศาสนาคริสต์และอิสลามในประเทศไนจีเรีย รวมไปถึงสภาวะเศรษฐกิจที่ตกต่ำในช่วงหลายปีที่ผ่านมา สิ่งเหล่านี้ ต่างกระทบต่อความรู้สึกของคนทั่วโลกเป็นอย่างยิ่ง แต่หากทุกคน ลองมองออกไปให้ไกลจากตัวเองสักนิด มองให้รอบอีกสักหน่อยจะ พบว่าสิ่งที่เป็นมหันตภัยร้ายแรงไม่แพ้อุณหภูมิที่สูงขึ้นในใจของผู้คน เวลานี้คือ อุณหภูมิของโลกที่กำลังปรับตัวไต่ระดับสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ด้วยสาเหตุหลักจากก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่ส่งผลกระทบโดยตรง ไม่ทางใดก็ทางหนึ่งต่อการเพิ่มขึ้นของระดับอุณหภูมิของโลก ที่คนทั่ว โลกเริ่มสัมผัสได้ถึงความเป็นไปและได้แสดงให้เห็นแล้วผ่านสื่อต่างๆ ไม่วา่ จะเป็นอุณหภูมหิ รือระดับของน้ำทะเลทีส่ งู ขึน้ ภูเขาน้ำแข็งทีก่ ำลัง ละลายอย่างรวดเร็ว สภาพอากาศที่แปรปรวน ปะการังเกิดการฟอกสี การเกิดสึนามิ การเกิดโรคระบาด และส่งผลไปถึงการสูญเสียความ หลากหลายทางชีวภาพ ซึ่งทุกสิ่งที่กล่าวมาต่างถูกคาดการณ์ว่าน่าจะ มีสาเหตุหลักมาจากสภาวะของโลกที่ร้อนขึ้นในแต่ละปีนั่นเอง Less Natural Resource - More CO2 & Earth’s Temp ปัญหาการปรับตัวสูงขึ้นของอุณหภูมิบนพื้นผิวโลกและมหาสมุทรจน ในที่สุดกลายมาเป็นภาวะที่เราเรียกกันว่าโลกร้อน (global warming) ที่นับวันจะทวีความรุนแรงขึ้นทุกขณะ ถึงแม้ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา การรณรงค์ไม่วา่ จะเป็นการแยกขยะ การใช้พลังงานทดแทน การปลูกป่า และการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างประหยัดและคุ้มค่าจะถูกดึงมา เป็นมาตรการของภาครัฐรวมถึงองค์กรอิสระทั้งภายในและภายนอก ประเทศในการสร้างแรงจูงใจและความตระหนักรู้ให้กับประชาชน แต่ที่ผ่านมาดูเหมือนจะไม่ทำให้สภาวการณ์เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นลด น้อยลงแต่อย่างใด ปริมาณการใช้ทรัพยากรธรรมชาติรวมถึงการปล่อย ก๊าซเรือนกระจกที่เป็นต้นเหตุสำคัญของปรากฏการณ์ดังกล่าวกลับ เพิ่มสูงขึ้นทุกปี หากลำดับการใช้ทรัพยากรโดยเปรียบเทียบปริมาณ ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่ต่อสัดส่วนการใช้ของประชากรในปี 1990 แสดงให้เห็นว่าทรัพยากรโลกยังมีอยู่อย่างเพียงพอกับความต้องการ แต่ 12 ปีหลังจากนั้นการใช้ทรัพยากรเริ่มปรับตัวสูงขึ้นอย่างน่าวิตก โดยหากใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในปี 1990 เป็นฐานต้องใช้ทรัพยากรของ โลกทัง้ ใบและอีกครึง่ หนึง่ จึงจะเพียงพอกับความต้องการของประชากร ที่มีอยู่ ซึ่งหากการบริโภคทรัพยากรยังเป็นอย่างไม่หยุดยั้งเช่นนี้มีแนว โน้มที่น่าจะเป็นไปได้ว่าปี 2050 และ 2100 จะมีปริมาณการบริโภค ทรัพยากรสูงขึ้น เทียบได้กับการใช้ทรัพยากรของโลกทั้งโลกรวมกัน 2 และ 4 ใบตามลำดับ แน่นอนว่านั่นเป็นความสัมพันธ์โดยตรงกับการ เพิ่มขึ้นของก๊าซเรือนกระจกอย่างต่อเนื่องในปัจจุบันที่ไม่อาจปฏิเสธ ได้ จากการสำรวจพบว่า ปริมาณก๊าซดังกล่าวถูกปล่อยสูช่ น้ั บรรยากาศ 28

www.media-matter.com

ของโลกเฉลี่ยแล้วสูงถึง 128,255.4 พันตัน/ปี หรือ 4.2 พันตัน/คน/ปี โดยมีประเทศยักษ์ใหญ่ของโลกอย่างสหรัฐอเมริกาและจีน เป็น 2 ประเทศหลักในการปล่อยก๊าซเรือนกระจกออกสู่ชั้นบรรยากาศสูงที่ สุดเมื่อเทียบกับทุกประเทศทั่วโลก โดยสูงถึง 5,762,050 พันตัน/ปี และ 3,473,600 พันตัน/ปี ตามลำดับ ส่วนประเทศไทยนัน้ มาเป็นอันดับ ที่ 22 ของโลกอยู่ที่ประมาณ 171,696 พันตัน/ปี1 หากยังปล่อยให้การ ใช้ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่อย่างจำกัดสูญสิ้นไปอย่างไม่มีการจัด การเพื่อตอบสนองความต้องการอย่างไม่มีที่สิ้นสุดของประชากรโลก ย่อมหมายถึงการเพิ่มขึ้นอย่างไม่สามารถควบคุมได้ของปริมาณก๊าซ เรือนกระจกและอุณหภูมิโลกในอนาคตอันใกล้ Food, Pharmaceuticals and Cosmetics Industries & Global Warming ก๊าซเรือนกระจกที่ถูกปล่อยออกสู่ชั้นบรรยากาศมาจากหลายแหล่ง ด้วยกันไม่ว่าจะเกิดขึ้นเองในกระบวนการต่างๆ ทางธรรมชาติ จาก การดำเนินชีวิตในแต่ละวันของมนุษย์ การคมนาคมขนส่ง การเกษตร และอุตสาหกรรม ซึง่ ปัจจุบนั พบว่าก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ซง่ึ เป็นก๊าซ ที่ใช้เป็นตัวบ่งชี้และส่งผลโดยตรงต่อสภาวะโลกร้อนในปัจจุบันนั้นมี ปริมาณสูงถึง 370 ppm ของก๊าซทั้งหมดที่ล่องลอยอยู่ในอากาศและ คาดการณ์ว่าไม่เกินปี 2100 จะสูงถึง 700-1,000 ppm ซึ่งจะมีผลให้ อุณหภูมิที่พื้นผิวโลกสูงขึ้นอีก 6 องศาเซลเซียส หากตัวเลขการใช้พลัง งานและการใช้ทรัพยากรทุกด้านยังเพิ่มสูงขึ้น โรงงานอุตสาหกรรมถือได้ว่าเป็นตัวการหลักหนึ่งที่ปล่อย ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สู่บรรยากาศในปีๆ หนึ่งเป็นจำนวนมาก โดยจากการสำรวจในปี พ.ศ. 2548 พบว่ามีโรงงานอุตสาหกรรมใน ประเทศไทยทั้งสิ้นกว่า 121,940 โรงงาน ซึ่งในแต่ละอุตสาหกรรมมี การปล่อยมลพิษทางอากาศออกมาเป็นจำนวนมากและพบว่าอุตสาหกรรมที่มีการปล่อยสารมลพิษออกมามากที่สุดคืออุตสาหกรรมอโลหะ เคมีภัณฑ์ อาหารและเครื่องดื่ม มีปริมาณสารพิษที่ปล่อยออกมารวม ปีละ 34,952,510 ตัน 15,489,670 ตัน และ 5,306,560 ตันตามลำดับ โดยจะเห็นว่าถึงแม้โรงงานอุตสาหกรรมอาหาร ยา และเครื่องสำอาง (เคมี) จะมีปริมาณไม่มากนักเมื่อเทียบกับจำนวนโรงงานอุตสาหกรรมอื่นๆ แต่กลับมีสัดส่วนในการปล่อยก๊าซเรือนกระจกอย่างมาก โดยอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่มปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) สูงถึง 2,648,337 ตัน/ปี ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) 16,640 ตัน/ ปี และมีเทน (CH4) 2,130 ตัน/ปี สำหรับอุตสาหกรรมยาและเครื่อง สำอางมีการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สูงถึง 5,269,261 ตัน/ปี ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ 20,825 ตัน/ปี และมีเทน 161 ตัน/ปี


Mar - Apr 10

ปัจจุบันโรงงานอุตสาหกรรมหลายแห่งเริ่มตื่นตัวและเล็งเห็น ถึงปัญหาที่เกิดขึ้น จึงได้พยายามสร้างมาตรการและข้อกำหนดต่างๆ ในการสื่อสารต่อผู้บริโภคและสังคมโลกให้รู้ว่าผลิตภัณฑ์ที่ได้จาก การผลิตในอุตสาหกรรมนั้นๆ มีการใช้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และ มีความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากน้อยเพียงใดอย่างเช่น Carbon footprint, Carbon credit, Green product และ E-Co design เป็นต้น เพราะนอกจากจะเป็นการแสดงให้เห็นถึงความรับผิดชอบต่อสังคมแล้ว ยังเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันในการรับมือกับนโยบายการกีดกันทางการ ค้าระหว่างประเทศ ที่จะนำความรับผิดชอบต่อสังคมมาเป็นข้ออ้าง ในการกีดกันทางการค้า ตัวอย่างเช่น มาตรการเรื่องการใช้เทคโนโลยีสีเขียวของประเทศในกลุ่มสหภาพยุโรปหรือ EU และอีกหลายๆ ประเทศที่กำลังศึกษาและให้ความสนใจกับสิ่งแวดล้อมมากขึ้น Government’s Policies & Strategies จากการประชุมอนุสญ ั ญาสหประชาชาติวา่ ด้วยการเปลีย่ นแปลงสภาพ ภูมิอากาศ (United Nation Framework Convention on Climate Chamge ; UNFCCC) ณ กรุงโคเปนเฮเกน ประเทศเดนมาร์ก ที่อาจ กล่าวได้ว่าผลการประชุมประสบความล้มเหลว เนื่องจากไม่สามารถ หาข้อสรุปที่ชัดเจนได้เกี่ยวกับปีฐานและปริมาณที่ชัดเจนของการลด ก๊าซเรือนกระจกเมื่อปลายปีที่ผ่านมา ในการประชุมครั้งนั้นประเทศ ไทยถือได้ว่าเป็นอีกประเทศหนึ่งที่ประกาศต่อที่ประชุมอย่างชัดเจนถึง การลดการใช้พลังงานโดยจะหันมาให้ความสำคัญและเพิม่ การใช้พลัง งานทดแทนมากขึน้ จากเดิมทีใ่ ช้อยู่ 6.4% ให้เป็น 20% ในปี 2022 และ จะเพิ่มพื้นที่ป่าจากเดิมที่มีอยู่ 30% ของพื้นที่ทั้งหมดของประเทศเป็น 40% ในปี 2020 นอกจากนี้ภาครัฐเองยังได้วางแนวนโยบายและ ยุทธศาสตร์มากมายไว้รองรับการแก้ปัญหาดังกล่าวไม่ว่าจะเป็นยุทธ ศาสตร์แห่งชาติว่าด้วยการจัดการสภาวะโลกร้อน (2551-2555) ยุทธ ศาสตร์บรรเทาโลกร้อนด้วยเกษตร (2551-2554) ยุทธศาสตร์พลังงาน (2551-2565) ยุทธศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อม (2551-2554) ยุทธ ศาสตร์แก้วิกฤตโลกร้อนแผน 11 (2555-2559) โครงการวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีเพื่อชุมชน (2550-2559) และอีกหลากหลายโครงการ จึงเห็นได้ว่าประเทศไทยโดยการนำของรัฐบาลไม่ได้นิ่งนอนใจและให้ ความสำคัญรวมถึงตืน่ ตระหนักอย่างยิง่ ต่อการเปลีย่ นแปลงของโลกอยู่ ไม่น้อยในการที่จะหาทางแก้ไขและป้องกันอย่างเร่งด่วน

หลักการสำคัญของพิธีสารเกียวโต 1. กำหนดให้ประเทศภาคีในภาคผนวกที่ 13 ลดปริมาณการ ปล่อยก๊าซเรือนกระจกโดยรวม ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 5 จากระดับ การปล่อยโดยรวมของกลุ่มในปี พ.ศ. 2533 ภายในช่วง พ.ศ. 2551-2555 โดยปริมาณการลดการปล่อยก๊าซดังกล่าวจะ แตกต่างกันไปในแต่ละประเทศ เช่น ร้อยละ 8 ของปริมาณ การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในปี พ.ศ. 2533 สำหรับกลุม่ ประเทศประชาคมยุโรป ร้อยละ 10 สำหรับประเทศไอซ์แลนด์ ร้อยละ 6 สำหรับประเทศญี่ปุ่น เป็นต้น 2. กำหนดชนิดของก๊าซเรือนกระจกที่ควบคุม 6 ชนิด คือ คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) มีเทน (CH4) ไนตรัสออกไซด์ (N2O) ไฮโดรฟลูออโรคาร์บอน (HFCs) เปอร์ฟลูออโรคาร์บอน (PCFs) และซัลเฟอร์เฮกซาฟลูโอไรด์ (SF6) โดยกำหนดการ ลดก๊าซเหล่านีใ้ ห้คดิ เทียบเป็นปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2 equivalent)

ต้นไม้เป็นสิ่งมีชีวิตที่ขยันไม่เคยขี้เกียจสร้าง ประโยชน์ให้กับสรรพชีวิต เป็นทั้งบ้าน เป็นอาหาร และยังเป็นเครือ่ งฟอกอากาศอีกด้วย แล้วสิง่ มีชวี ติ ที่ประเสริฐที่สุดอย่างมนุษย์กำลังทำอะไรอยู่นอก จากใช้สง่ิ ทีธ่ รรมชาติสร้างให้อย่างไม่รจู้ กั พอ แม้ว่ารัฐบาลและองค์กรระดับชาติจะให้ความสำคัญและหัน มาสนใจกับสถานการณ์โลกร้อนมากเพียงใด แต่หากความร่วมมือของ ทุกภาคส่วนของประเทศไม่วา่ จะเป็นภาคการเกษตร ภาคอุตสาหกรรม ภาคการศึกษา รวมถึงภาคประชาชนไม่เกิดขึ้นอย่างจริงจัง นโยบาย และแผนที่ได้จัดทำขึ้นคงไม่ต่างอะไรกับกระดาษที่เขียนความผิด พลาดราคาแพงเอาไว้ รู้อย่างนี้แล้วเราจะยังคงดำเนินชีวิตแบบเดิมๆ ใช้ทรัพยากรอย่างไม่ยั้งคิดนั่งรอดูสิ่งที่จะเกิดขึ้นซึ่งเราทุกคนต่างรู้ดี แก่ใจว่าจะเกิดอะไรในอนาคตต่อไปอย่างนั้นหรือ ถึงเวลาแล้วหรือยัง ที่ทุกคนจะตระหนักรู้ ให้ความสำคัญ แก้ปัญหาอย่างจริงใจและหัน ออกจากกรอบความคิดแบบเดิมๆ ในการแก้ไขปัญหามาช่วยกันหาวิถี ทางป้องกันเหตุทจ่ี ะเกิดขึน้ ด้วยเทคโนโลยีสเี ขียว (green technology) ที่ถูกมองว่าจะเป็นเครื่องมือที่จะช่วยให้โลกผ่านวิกฤตครั้งนี้ไปได้ Entry no.a007

Article info เอกสารอ้างอิง 1. http://worldometers.info 2. ระบบเครือข่ายสารสนเทศด้านพลังงานและสิง่ แวดล้อมของประเทศไทย (Thailand Energy and Environment Network;TEENET) 3. ประเทศในภาคผนวกที่ 1 (Annex I Countries) หมายถึง กลุม่ ประเทศทีพ่ ฒ ั นาแล้ว (developed country) ในกลุม่ Organization for Economic Co-operation and Development (OECD) และประเทศในกลุม่ ยุโรปกลาง ยุโรปตะวันออก และ ประเทศรัสเซีย (ชือ่ ประเทศสมาชิกตรวจสอบได้จากเว็บไซด์ www.unfccc.int) http://www.npc-se.co.th/news_safety/npcse_03evi.asp?news_id=1809 http://www.jgsee.kmutt.ac.th/greenhouse/unfccc/unfccc.php http://www.unfccc.int www.media-matter.com 29


LAB TI Ps

Author info คุณญานี ลีตะนันท์ Assistant Product Manager Chemoscience (Thailand) Co., Ltd. yanee@chemoscience.co.th

CLEANING TIPS โรงงานอุตสาหกรรมโดยเฉพาะอย่างยิ่งอุตสาหกรรมอาหาร การทำ ความสะอาดถือเป็นสุขปฏิบัติขั้นต้นของผู้ปฏิบัติงานที่พึงมีเพื่อป้อง กันการปนเปือ้ นจากสิง่ สกปรก ฝุน่ ละออง หรือเชือ้ จุลนิ ทรีย์ สูผ่ ลิตภัณฑ์ ความเสี ่ ย งหนึ ่ ง ของการปนเปื ้ อ นมั ก มาจากอุ ป กรณ์ ท ี ่ ใ ช้ (cross contamination) การทำความสะอาดโดยทัว่ ไปจะใช้การขัดล้าง ด้วยน้ำ และสารขัดล้าง (detergent) การทำความสะอาดอุปกรณ์เป็นขั้นตอนที่สำคัญและจำเป็น ขั้นตอนแรกก่อนการทำลายเชื้อ และการทำให้ปราศจากเชื้อเนื่องจาก เชื้อจุลชีพจะฝังตัวอยู่ในอินทรียสาร และสิ่งสกปรกและส่งผลให้การ ทำลายเชื้อ หรือการทำให้ปราศจากเชื้อทำได้ยาก ดังนั้น การล้างจะ ช่วยขจัดเชื้อจุลชีพ ออกจากอุปกรณ์ช่วยให้การทำ ลายเชื้อและการ ทำให้ปราศจากเชื้อ ทำได้ง่ายขึ้น

ข้อแนะนำสำหรับการล้างอุปกรณ์

การล้างอุปกรณ์ ควรทำในบริเวณทีจ่ ดั ไว้สำหรับล้างอุปกรณ์โดยเฉพาะ • ในการล้างเครื่องมือแพทย์ ผู้ปฏิบัติจะต้องปฏิบัติด้วยความ ระมัดระวัง และสวมอุปกรณ์ป้องกัน เช่น ถุงมือยางอย่างหนา แว่นตา ผ้าปิดปากและจมูก ผ้ากันเปื้อนพลาสติก และรองเท้าบู๊ท • อุปกรณ์ทกุ ชิน้ ก่อนทีจ่ ะนำไปทำความสะอาด ควรได้รบั การตรวจ สภาพความสึกหรอ หรือ ชำรุด • ขณะล้างควรแยกชิน้ ของอุปกรณ์ตา่ งๆ ออกจากกัน เพือ่ ให้สามารถ ทำความสะอาดอุปกรณ์ได้สะอาดอย่างทั่วถึง • สำหรับอุปกรณ์ที่มีขนาดเล็ก และมีรอยแยก ควรล้างด้วยเครื่อง อุลตร้าโซนิค • การใช้สบู่ หรือ สารขัดล้าง มีความจำเป็น เนื่องจากการล้างด้วย น้ำเพียงอย่างเดียว ไม่สามารถขจัดคราบหรือสารที่ติดอยู่บนอุปกรณ์ เช่น ไขมัน น้ำมัน หรือ ขี้ผึ้งได้หมดจด สบู่จะช่วยลดแรงตึงผึวและรวม ตัวกับสารอินทรีย์ต่างๆ ได้ดี อย่างไรก็ตาม การล้างด้วยน้ำและสบู่ หรือสารขัดล้างเป็นเพียงการขจัดสิ่งเปรอะเปื้อนออกเท่านั้น แต่ไม่ สามารถทำลายเชื้อ หรือ ทำให้เชื้ออ่อนกำลังลงได้ 30

www.media-matter.com

วิธกี ารล้างทำความสะอาดอุปกรณ์ สามารถดำเนินการ ล้างได้หลายวิธี ได้แก่ 1. การล้างด้วยมือ (manual cleaning) ขั้นตอนแรกที่ควรปฏิบัติ คือ การแช่อุปกรณ์ลงในน้ำผสมสารขัดล้าง หรือ น้ำผสม Enzymatic detergent จากนั้นใช้แปรงขัดล้างอุปกรณ์ ทีละชิ้น ขณะใช้แปรงทำความสะอาดอุปกรณ์ แปรงและอุปกรณ์ ควรอยู่ใต้ระดับน้ำในภาชนะที่ใช้ล้างอุปกรณ์ (ขัดใต้น้ำ) และขัดล้าง อุปกรณ์ดว้ ยความระมัดระวัง ไม่ขดั อุปกรณ์ขณะเปิดน้ำไหลตลอดเวลา เพราะจะทำให้น้ำกระเด็นและเกิดการแพร่กระจายเชื้อ จากบริเวณที่ ล้างอุปกรณ์ได้ การขัดล้างจะต้องทำให้ทั่วถึงทุกซอกทุกมุมของอุปกรณ์ โดยเฉพาะอุปกรณ์ที่มีลักษณะมีซอก มุม มีล็อค มีลักษณะเป็นซี่ อุปกรณ์ หรือเครื่องมือที่มีรู เป็นท่อกลวง ควรล้างโดยใช้แปรง ที่มีขนาดพอเหมาะ หรือใช้วิธีฉีดน้ำเข้าไป เพื่อล้างภายในท่อ หรือ ภายในสายให้สะอาด


Mar - Apr 10

อุปกรณ์ที่มีส่วนประกอบหลายชิ้น ควรแยกส่วนประกอบแต่ ละชิ้นออกจากกัน เพื่อให้การล้างสะอาดขึ้น แต่จะต้องระมัดระวังไม่ ให้ชิ้นส่วนอุปกรณ์ขาดหายไป นอกจากนัน้ ควรเลือกสารเคมีทใ่ี ช้ในการล้างให้เหมาะสมไม่วา่ จะเป็นแบบผงละลายน้ำหรือแบบของเหลวเพื่อลดการตกค้างของ สารเคมีบนพื้นผิวของอุปกรณ์

3. การล้างด้วย Washer disinfectors ขัน้ ตอนในการล้างอุปกรณ์ โดยใช้ Washer disinfectors ประกอบด้วย • Pre-wash โดยการล้างด้วยน้ำสะอาดที่อุณหภูมิห้อง หรือ น้ำอุ่น เพื่อขจัดคราบ • Main wash ด้วยน้ำอุ่น อุณหภูมิประมาณ 40 องศาเซลเซียส ผสมสารเคมี หรือ Enzyme เพื่อทำความสะอาดคราบอินทรียสาร คราบไขมัน หรือสิ่งสกปรก • Rinse โดยใช้น้ำสะอาด ล้างอุปกรณ์อีกครั้งเพื่อขจัดสารขัดล้าง จากกระบวนการ Maim wash • Final rinse ใช้น้ำที่มีความสะอาดที่สุด ที่อุณหภูมิ 82-90 องศาเซลเซียส เพื่อให้เกิดการทำลายเชื้อ • Drying เป็นการเป่าอุปกรณ์ให้แห้ง เพื่อพร้อมใช้ในกระบวน การทำงานต่อไป โดยสารเคมีที่ใช้สำหรับการล้างด้วยเครื่อง ควรเป็นสารเคมี แบบมีฟองน้อย เพื่อให้ประสิทธิภาพของการล้างดีที่สุด

สารเคมีที่ใช้ในการล้างด้วยมือแบบผง ละลายน้ำ 2. การล้างด้วย Ultrasonic Cleaner ก่อนนำอุปกรณ์ไปล้างในเครื่อง Ultrasonic cleaner ควรล้าง คราบสกปรกที่เปรอะเปื้อนมากออกจากอุปกรณ์เสียก่อน หลักการทำงานของเครื่อง Ultrasonic cleaner คือคลืน่ เสียง Ultrasound ซึ่งเกิดจากการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของแรงดันบวก และแรงดันลบ (positive และ negative pressure) เมื่อผ่านคลื่นเสียง Ultrasound ไปในน้ำ คลืน่ เสียงซึง่ เกิดจากแรงดันบวก จะทำให้โมเลกุล ของน้ำถูกอัดเข้าหากัน ในขณะที่คลื่นเสียงแรงดันลบทำให้โมเลกุล ของน้ำแยกจากกัน ทำให้เกิดช่องว่าง หรือฟองอากาศขึ้น ฟองอากาศ จะเพิ่มปริมาณมากขึ้นและถูกแรงกดซ้ำ ทำให้ฟองอากาศแตกออก การเปลี่ยนแปลงที่เกิดกับฟองอากาศ ทำให้เกิดแรงดันของน้ำไป กระทบกับผิวของวัสดุ นอกจากนั้นการใช้ เครื่อง Ultrasonic cleaner ในการทำความสะอาดอุปกรณ์ ควรที่จะปิดฝาเครื่องด้วย นอกจากนั้น ควรเลือกสารเคมีที่ใช้ในการล้างให้เหมาะสมไม่ว่าจะเป็นแบบผงหรือ แบบของเหลวเพื่อลดการตกค้างของสารเคมีบนพื้นผิวของอุปกรณ์

เครื่องล้างแบบ

Washer disinfectors

สารเคมีที่ใช้ในการล้างกับเครื่อง

Washer disinfectors

ในการล้างทำความสะอาดอุปกรณ์ด้วยสารขัดล้าง ไม่ว่าจะเป็นการ ล้างด้วยมือ หรือการล้างด้วยเครือ่ งล้าง ควรล้างอุปกรณ์ดว้ ยน้ำสะอาด ให้แน่ใจว่าหมดคราบขัดล้าง เนื่องจากคราบสารขัดล้างที่ติดอยู่บน อุปกรณ์ สามารถทำให้เกิดการระคายเคืองต่อเนื้อเยื่อร่างกาย และ ยังส่งผลให้ประสิทธิภาพของการทำลายเชื้อ และการทำให้ปราศจาก เชื้อลดลง หลังจากนั้นควรเช็ด หรือ ผึ่งลม หรือเป่าลมร้อน เพื่อให้ อุปกรณ์แห้ง Entry no.a004 Article Info Cleaning solution by Cole-Parmer

เครื่อง Ultrasonic cleaner

สารเคมีที่ใช้ในการล้างกับ เครื่อง Ultrasonic cleaner แบบเป็นของเหลว www.media-matter.com 31


LAB Review

RISK CONTROL BY

SPECTROSCOPY TECHNIQUE ประเด็นหลักทีส่ ง่ ผลให้ผผู้ ลิตในอุตสาหกรรมอาหารหันมาให้ความสำคัญ กับการตรวจสอบผลิตภัณฑ์อย่างเข้มงวด คงหนีไม่พน้ เรือ่ งของคุณภาพที่ ผูผ้ ลิตจะต้องคำนึงถึงการยอมรับจากผูบ้ ริโภคเป็นหลัก โดยอยูบ่ นพืน้ ฐาน ของข้อกำหนดทางกฎหมาย และถูกวัดผลอย่างถูกต้องด้วยเครื่องมือ วิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์ที่มีประสิทธิภาพสูง กระบวนการผลิตในอุตสาหกรรมอาหารส่วนใหญ่มงุ่ เน้นไปทีก่ ารหาวิธกี ารใหม่ๆ เพือ่ เพิม่ ผลผลิต ลดค่าใช้จ่าย และลดปริมาณของเสียที่จะเกิดขึ้น โดยอาศัยมาตรฐาน ทางด้านกายภาพและทางเคมีเป็นตัวกำกับคุณภาพของผลิตภัณฑ์ที่ได้ นอกจากนี้ ในปัจจุบันการตรวจวิเคราะห์สารชีวเคมีและสารก่อภูมิแพ้ ในอาหารได้เข้ามามีบทบาทอีกทางหนึ่งสำหรับควบคุมคุณภาพและ สร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้บริโภค ดังนั้นเทคนิคการวิเคราะห์ไม่ว่าจะเป็น เทคนิคโครมาโตกราฟี (chromatographic) เทคนิคทางด้านวิทยาภูมิคุ้ม กัน (immunological) และเทคนิคสเปคโตสโครปี (spectroscopy) ใหม่ๆ จึงถูกนำเข้ามาใช้เป็นเครือ่ งมือในการวิเคราะห์หาสารตกค้าง สารปนเปือ้ น สารก่อภูิมแพ้ และชนิดของสารสำคัญต่างๆ รวมถึงใช้ตรวจหาส่วนผสม อาหารที่เป็นพิษหรือก่อให้เกิดโทษแก่ร่างกายตามที่มาตรฐานทางด้าน กฎหมายกำหนดมากขึ้น Risk Contaminants in Food สำหรับอุตสาหกรรมอาหารการปนเปือ้ นของผลิตภัณฑ์เป็นประเด็นทีต่ อ้ ง ให้ความใส่ใจเป็นอย่างยิง่ โดยสาเหตุหลักมักเกิดจากการปนเปือ้ นของเชือ้ จุลนิ ทรีย์ ยาฆ่าแมลง โลหะหนักและสารเคมี ในระหว่างสายโซ่ของกระบวน การผลิต ซึ่งหลายปีที่ผ่านมา ตัวเลขผู้ป่วยจากการบริโภคอาหารที่มีการ ปนเปือ้ นในสหรัฐอเมริกามีจำนวนสูงถึง 325,000 คน และเสียชีวติ ด้วยเหตุ ดังกล่าวถึง 5,000 คน นอกจากนี้ยังมีเหตุการณ์อื่นๆ ที่เกิดขึ้นทั่วโลกที่ แสดงถึงการปนเปือ้ นของอาหารตัวอย่างเช่น เหตุการณ์ทเ่ี คยเกิดขึน้ ทีเ่ มือง

มินามาตะของญี่ปุ่นที่มีผู้ป่วยจากการบริโภคปลาที่มีสารปรอทปนเปื้อน อยูท่ ำให้เด็กและผูใ้ หญ่จำนวนมากป่วยด้วยโรคทีเ่ กีย่ วกับระบบประสาท และสมอง หรือจะเป็นสารไดออกซินที่ปนเปื้อนในเนื้อหมูที่ผลิตจากประ เทศไอร์แลนด์ซง่ึ เป็นสาเหตุให้ผบู้ ริโภคมีโอกาสเสีย่ งต่อการเกิดโรคมะเร็ง และยังมีปลาฉลามสดแช่แข็งนำเข้าจากประเทศอินโดนีเซีย ผลิตภัณฑ์ อาหารเนื้อโคนำเข้าจากประเทศออสเตรเลีย ผลิตภัณฑ์อาหารปลาซีเลียนซีเบสแช่แข็งนำเข้าจากประเทศเกาหลี ผลิตภัณฑ์อาหารเห็ดหอมอบ แห้งนำเข้าจากประเทศจีนที่พบสารปรอทปนเปื้อนในปริมาณที่สูงเกิน มาตรฐาน สำหรับในประเทศไทยเองก็มกี ารรายงานจากกระทรวงสาธารณสุข ว่ามีคนไทยเจ็บป่วยจากการบริโภคอาหารและน้ำทีป่ นเปือ้ นสารเคมีปลี ะ กว่า 2 ล้านราย และยิง่ น่าเป็นห่วงมากขึน้ เมือ่ พบว่ามีผปู้ ว่ ยด้วยโรคมะเร็ง เพิ่มสูงขึ้นในแต่ละปี โดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งเกิดจากการบริโภคอาหาร ที่ปนเปื้อนสารเคมีเข้าไป และจากผลการสำรวจสถานการณ์ความ ปลอดภัยด้านอาหาร โดยเฉพาะอาหารสดทั่วประเทศ ในปี 2551 ที่ตรวจ การปนเปื้อนสารอันตรายห้ามใส่ในอาหาร 6 ชนิด ได้แก่ บอแรกซ์ สารกันรา สารฟอกขาว ฟอร์มาลิน ยาฆ่าแมลง และสารเร่งเนื้อแดง ทั้งหมด 159,684 ตัวอย่าง พบสารอันตรายปนเปื้อน 3,362 ตัวอย่าง ที่พบมากที่สุดได้แก่ ยาฆ่าแมลงในผักกินใบ เช่น ผักชี คะน้า ผักกาดขาว กะหล่ำปลี 2,449 ตัวอย่าง รองลงมาคือฟอร์มาลินในอาหารทะเล 376 ตัวอย่าง และสารฟอกขาวที่มักใช้ในถั่วงอก หน่อไม้ 83 ตัวอย่าง โดยรายละเอียดสารเคมีและโลหะหนักที่มักพบปนเปื้อนในผลิตภัณฑ์ อาหารดังแสดงในตารางที่ 1

ตารางที่ 1 แสดงชนิดสารเคมีและโลหะหนักอันตรายบางชนิดที่มักพบปนเปื้อนในผลิตภัณฑ์อาหาร สารเคมีและโลหะหนัก

ผลิตภัณฑ์อาหารที่พบ

ประกาศกระทรวงสาธารณสุข

บอแรกซ์ (borax)

เนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์ เช่น หมูสด หมูบด ปลาบด ทอดมัน ลูกชิ้น ไส้กรอก ผลไม้ดอง ทับทิมกรอบ ลอดช่อง

สารเคมีห้ามใช้ในอาหาร1

สารกันรา (salicylic acid)

ผักดอง ผลไม้ดอง แหนม หมูยอ และอาหารแห้ง

สารเคมีห้ามใช้ในอาหาร1

สารฟอกขาว (sodium hydrosulfite)

ถั่วงอก ขิงฝอย ยอดมะพร้าว กระท้อน หน่อไม้ดอง น้ำตาลมะพร้าว ทุเรียนกวน

สามารถใช้สารในกลุ่มซัลไฟต์ในอาหารบางชนิด ได้ส่วนสารไฮโดรซัลไฟต์ห้ามใช้ในอาหาร2

ฟอร์มาลิน (formalin) หรือฟอร์มาลดีไฮด์ (formaldehyde) สารเคมีกำจัดศัตรูพืช

32

อาหารทะเลสด เนื้อสัตว์สด เครื่องในสดและผักสดชนิดต่างๆ สารเคมีห้ามใช้ในอาหาร1 ผักสด ผลไม้สด ปลาตากแห้ง

ควบคุมการตกค้างไม่ให้เป็นอันตรายต่อผูบ้ ริโภค3

สารเร่งเนื้อแดง (beta-agronic)

เนื้อหมู

ห้ามไม่ให้พบการปนเปื้อนในอาหาร4

ปรอท (mercury)

สัตว์น้ำทะเลและน้ำจืด

0.5 มิลลิกรัม/อาหาร 1 กิโลกรัม5

ตะกั่ว (lead)

อาหารกระป๋อง

1 มิลลิกรัม ต่ออาหาร 1 กิโลกรัม5

สารหนู (arsenic)

อาหารทะเล ข้าว ผักสดและเนื้อสัตว์

2 มิลลิกรัม ต่ออาหาร 1 กิโลกรัม5

www.media-matter.com


Mar - Apr 10

จะเห็นว่าแม้เรื่องของคุณภาพและความปลอดภัยของอาหาร จะเป็นเรื่องสำคัญ แต่ในหลายๆ ประเทศที่เป็นผู้ผลิตอาหารส่งออกเลี้ยง ผู้คนทั่วโลกนั้น ยังประสบกับปัญหาด้านการปนเปื้อนของสารต่างๆ ใน ผลิตภัณฑ์อาหารที่จำหน่ายทั้งภายในและภายนอกประเทศอยู่ ด้วยเหตุ นี้จึงกระทบต่อความเชื่อมั่นของผู้บริโภคและโอกาสทางการค้าในตลาด ภายในและภายนอกประเทศในวงกว้าง ภาครัฐจึงได้กำหนดมาตรฐาน อาหารประเภทต่างๆ อย่างครอบคลุมและสุ่มตรวจสารปนเปื้อนสาร ตกค้าง และสิ่งปลอมปนที่จะส่งผลต่อคุณภาพและความปลอดภัยของ ผลิตภัณฑ์อาหารอย่างต่อเนือ่ ง รวมถึงวางมาตรการป้องกันและบทลงโทษ กับผู้ผลิตที่ผลิตผลิตภัณฑ์ด้อยคุณภาพเพื่อจำหน่ายให้กับผู้บริโภค ส่วน ภาคอุตสาหกรรมเองก็กลับมาให้ความสำคัญกับการควบคุมคุณภาพใน ทุกๆ ขั้นตอนของกระบวนการผลิตมากขึ้น โดยการแสวงหาเทคโนโลยีที่ ทันสมัยและมีประสิทธิภาพ ในการที่จะควบคุมและตรวจวิเคราะห์สาร ต่างๆ ให้มคี วามถูกต้องและแม่นยำทีส่ ดุ และทีส่ ำคัญคือต้องเป็นไปตาม มาตรฐานที่กฎหมายกำหนดไว้อย่างเคร่งครัด Chemical Technique: Risk Contaminants Controller เทคโนโลยีที่ใช้ในการตรวจวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมี รวมถึงสารปน เปื้อนและสารตกค้างต่างๆ ภายในอาหาร ถูกพัฒนาอย่างต่อเนื่องเพื่อให้ มีประสิทธิภาพทีด่ ขี น้ึ และสามารถประยุกต์ใช้ในการตรวจวิเคราะห์กบั สาร ทีห่ ลากหลายได้ สำหรับรองรับการใช้งานทางด้านการควบคุมคุณภาพภาย ในอุตสาหกรรมอาหาร โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความเชื่อมั่นในด้าน คุณภาพและความปลอดภัยให้กับผู้บริโภค เทคนิคที่ถูกพัฒนาขึ้นนั้นมุ่ง เน้นไปทีก่ ารตรวจวิเคราะห์ทส่ี ะดวก รวดเร็ว ถูกต้อง และแม่นยำมากยิง่ ขึน้ ตัวอย่างเทคนิคการวิเคราะห์สารปนเปื้อนในอาหารแสดงดังตารางที่ 2

นอกจากเทคนิคที่นิยมใช้ในการตรวจวิเคราะห์หาสารเคมีปนเปื้อนใน อาหารดังแสดงในตารางข้างต้นแล้วปัจจุบนั ยังได้มกี ารประยุกต์ใช้เทคนิค อื่นๆ ตัวอย่างเช่น Raman spectroscopy, Electronic nose, DNA และ ELISA ในการวิเคราะห์เพื่อแบ่งแยกชนิดและแหล่งที่มาของส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์นั้นๆ ได้อีกด้วย ซึ่งถือได้ว่าเป็นอีกก้าวหนึ่งของวง การอุตสาหกรรมอาหารที่สามารถประยุกต์ใช้เครื่องมือสำหรับการตรวจ วิเคราะห์เพื่อยืนยั่นผลทางด้านคุณภาพอาหารมาจัดจำแนกชนิดของ Entry no.a010 องค์ประกอบได้อีกทางหนึ่ง Article info / เอกสารอ้างอิง 1. André, M. and Hans, S., 2007, Recent developments in instrumental analysis for food quality, Food Chemistry, vol.101, pp. 1136–1144 * Linda, M.R., Colm, P.O. and Gerard, D., 2006, Recent technological advances for the determination of food authenticity, Trends in Food Science & Technology, vol.17, pp. 344–353 1 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 151) พ.ศ.2536 2 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 281) พ.ศ.2547 3 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 288) พ.ศ.2548 4 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 269) พ.ศ.2546 5 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 98) พ.ศ.2529

ตารางที่ 2 แสดงเทคนิคการตรวจวิเคราะห์สารปนเปื้อนในอาหาร สิ่งปนเปื้อนในอาหาร

เทคนิคที่ใช้ในการวิเคราะห์

สารเคมี บอแรกซ์ (borax) สารกันรา (salicylic acid) ฟอร์มาลิน (formalin) หรือฟอร์มาลดีไฮด์ (formaldehyde) สารเคมีกำจัดศัตรูพืช โลหะหนัก ปรอท (mercury) ตะกั่ว (lead) สารหนู (arsenic) แคดเมียม (cadmium) โครเมียม (chromium)

ICP ICP, HPLC, GC-FTIR, GC-MS GC GC-MS, GC-MS-MS, LC-MS, LC-MS-MS ICP, Hg-Analyzer, EDSXRF, AAS, ICP-MS, ICP-OES ICP, AAS, EDSXRF, ICP-MS, ICP-OES ICP, AAS, EDSXRF, ICP-MS, ICP-OES ICP, AAS, EDSXRF, ICP-MS, ICP-OES ICP, AAS, UV-VIS spectrophotometer, EDSXRF, ICP-MS, ICP-OES

ICP, Inductively coupled plasma; HPLC, High performance liquid chromatography; GC-FTIR, Gas chromatography - Fourier transform infrared spectroscopy; GC-MS, GC-Mass spectrometry; LC-MS, Liquid chromatography-MS; EDSXRF, Energy dispersive x-ray fluorescence spectrometry; AAS, Atomic absorption spectroscopy; ICP-OES, ICP-Optical emission spectrometry; UV-VIS spectrophotometer; Ultraviolet visible spectrophotometer การประยุกต์ใช้เทคนิคต่างๆ ในการพิจารณาความถูกต้องของผลิตภัณฑ์อาหาร* Technique IR spectroscopy Raman spectroscopy NMR SNIF-NMR/IRMS Fluorescent spectroscopy UV–vis spectroscopy GC HPLC Electronic nose DNA ELISA Thermal analysis

Authentication issue Species/variety

Geographical

/ / / / /

/ / / /

/ / / / / /

/ / /

Manufacturing process

Selected applications

/

Fruit juice, wine, honey

/ /

Wine, orange juice

/

Food colouring

Olive oil, honey Wine, salmon Cheese Olive oils, fruit purée Cheese, wine

/

Olive oil, wine; honey Beef, lamb, pasta Meat, milk Palm oil, honey

IR spectroscopy, infrared spectroscopy; SNIF-NMR, site-specific nuclear isotopic fractionation resolution mass spectroscopy; IRMS, isotopic ratio mass spectroscopy; ELISA, enzyme-linked immunosorbent assay

www.media-matter.com 33


LAB Review

CUTTING EDGE TECHNOLOGY OF FOODBORNE PATHOGENS DETECTION APPLICATION OF ANTIBODY ARRAY FOR SIMULTANEOUS DETECTION อุตสาหกรรมอาหารเป็นอุตสาหกรรมที่มีความสำคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศไทยอย่างยิ่ง อาหารไม่วา่ จะส่งออกไปยังต่างประเทศหรือบริโภคภายในประเทศ จะต้องเป็นอาหารทีผ่ า่ นการ ตรวจสอบคุณภาพและความสะอาดให้ปราศจากเชือ้ ทีก่ อ่ โรคในอาหาร โดยเชือ้ ก่อโรคในอาหาร จะหมายถึง กลุ่มของเชื้อที่ก่อโรคในคนซึ่งติดต่อมาสู่คนผ่านทางอาหารเป็นหลักเช่น E. coli, Salmonella และ Listeria โดยสามารถทำให้เกิดความผิดปกติได้ 2 ลักษณะ คือ อาหารเป็นพิษ และโรคติดเชือ้ จากอาหาร เชือ้ เหล่านีท้ ำให้เกิดความเสียหายต่อสุขภาพผูบ้ ริโภคและอุตสาหกรรม อาหารอย่างมหาศาล โดยทีใ่ นสหรัฐอเมริกานัน้ พบว่ามีผทู้ ป่ี ว่ ยจำนวนกว่า 76 ล้านรายทีม่ สี าเหตุ การป่วยมาจากเชื้อก่อโรคในอาหารปัจจุบันมีปัจจัยที่ส่งเสริมให้มีอุบัติการณ์ของโรคจากอาหาร เพิ่มสูงขึ้นได้แก่ การเปลี่ยนแปลงอุตสาหกรรมการเลี้ยงสัตว์ การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของประชากร การพัฒนาการสือ่ สารคมนาคม การเพิม่ ความรุนแรงของเชือ้ การเปลีย่ นแปลงลักษณะของ ประชากร และการพัฒนาความสามารถในการตรวจวินิจฉัย 34

www.media-matter.com


Mar - Apr 10

ประเด็นหนึง่ ทีส่ ำคัญสำหรับการสร้างมาตรฐานความปลอดภัยให้กบั อุตสาหกรรมอาหาร ก็คอื วิธกี ารตรวจสอบและควบคุมคุณภาพ ซึง่ วิธกี ารทีใ่ ช้ในการตรวจหาเชือ้ ก่อโรคในอาหารนัน้ ก็ มีความสำคัญเป็นอย่างยิง่ เนือ่ งจากอาหารทีผ่ ลิตขึน้ ในปัจจุบนั จำเป็นทีจ่ ะต้องมีการยืนยันก่อน การนำออกจำหน่ายว่าไม่มีเชื้อก่อโรคในอาหารที่จะเป็นอันตรายต่อมนุษย์ โดยเฉพาะ E.coli O157:H7 และ Samonella spp. ที่ต้องไม่มีการตรวจพบเลย (zero tolerance) ในผลิตภัณฑ์ วิธีในการตรวจหาเชื้อก่อโรคในอาหารนั้นมีอยู่หลายวิธีด้วยกัน โดยวิธีที่นิยมใช้กันทั่วไปใน ปัจจุบัน คือ

การนับจำนวนเชื้อจุลินทรีย์ที่เพาะบนจานอาหาร (plate count technique)

การเพาะเชือ้ บนจานอาหารใช้วเิ คราะห์หาปริมาณของจุลนิ ทรียใ์ นอาหารโดยอาศัยหลักทีว่ า่ เซลล์ จุลินทรีย์ที่มีชีวิตหรือกลุ่มเซลล์ (clumps) จะเจริญและเพิ่มปริมาณภายในหรือบนผิวหน้าของ อาหารเลีย้ งเชือ้ ทีเ่ หมาะสมและทำให้เห็นโคโลนีซง่ึ สามารถนับจำนวนได้ โดยการเลือกอาหารเลีย้ ง เชือ้ ทีน่ ำมาใช้กม็ คี วามสำคัญกับการวิเคราะห์ ในเทคนิคนีด้ ว้ ย โดยจะใช้สำหรับวิเคราะห์คณ ุ ภาพทางจุลินทรีย์ของวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ สุดท้าย หรือใช้ควบคุมสุขลักษณะระหว่างการ ผลิตอาหาร นอกจากนัน้ อาจใช้ในการประมาณ อายุการเก็บรักษาของผลิตภัณฑ์และใช้ควบ คุมระดับการปนเปื้อนของสภาวะแวดล้อม การผลิตได้

ของยีนในการทำ PCR นี้ทำให้การตรวจสอบ หาเชื้อจุลินทรีย์ที่ปนเปื้อนได้อย่างมีความจำเพาะเจาะจงและมีความไวต่อเชื้อสูง Enzyme-Linked Immunosorbent Assay (ELISA) เป็นวิธีที่มีความเฉพาะเจาะจงสูง (highly specific) และสามารถตรวจวิเคราะห์เชื้อใน ระดับปริมาณที่ต่ำได้ดี นิยมใช้ในการตรวจ วิ เ คราะห์ Salmonella และ Listeria monocytogenes วิธี ELISA เป็นการใช้ปฏิกริ ยิ า

Biochemical Tests แบคทีเรียแต่ละชนิดมีความสามารถในการ ย่อยสารอาหารต่างกันมาก โดยวิธีนี้จะศึกษา ดูการเปลี่ยนแปลงทางชีวเคมีที่เกิดขึ้น การ เลี้ยงในอาหารเลี้ยงเชื้อชนิดต่างๆ ที่มีความ จำเพาะของสารอาหาร ธาตุอาหารบางอย่าง แล้วสังเกตการเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ ในอาหาร เลีย้ งเชือ้ นัน้ เช่น การเปลี่ยนสีของอาหารเลี้ยง เชื ้ อ การเกิ ด กรด-ด่ า ง การเกิ ด ก๊ า ซ และ การเกิดสารบางชนิด เป็นต้น โดยส่วนใหญ่ ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น มักเกี่ยวข้องกับการหมัก (fermentation) คาร์ โ บไฮเดรต และการ เสื่อมสลาย (decomposition) ของโปรตีน ตัวอย่างในการทดสอบ เช่น Motility tese, UreaseI test, Indole test, Malonate test และ Glucose เป็นต้น Polymerase Chain Reaction (PCR) เทคนิค PCR มีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มปริมาณ ดีเอ็นเอที่ต้องการให้มีปริมาณมากตามที่ต้อง การ สามารถเพิ่มดีเอ็นเอของตัวเชื้อที่ก่อโรค ในอาหารให้มปี ริมาณเพิม่ มากขึน้ โดยการเพิม่ ปริมาณยีนทีส่ นใจในหลอดทดลอง ซึง่ จะเพียง พอที่จะสามารถทำการตรวจวัดได้ทำให้การ ตรวจวัดนั้นเป็นไปอย่างถูกต้องและแม่นยำ โดยการทำ PCR นั้นสามารถเจาะจงไปถึงยีน ก่อโรคของเชื้อจุลินทรีย์ชนิดนั้นๆ ได้ เช่น ยีน sea ของ เชื้อ S.aureus ยีน invA ของเชื้อ Salmonella หรือ ยีน nheA สำหรับ B.cereus เป็นต้น ซึ่งการที่สามารถกำหนด Sequence Entry no.b009 www.media-matter.com 35


ที่เฉพาะเจาะจงของแอนติบอดี (antibody) และแอนติ เ จน (antigen) โดยใช้ เ อนไซม์ เช่ น เพอร์  อ อกซิ เ ดส (peroxidase) หรื อ แอลคาไลน์ฟอสฟาเทส (alkaline phosphatase) เพือ่ ช่วยทำให้สงั เกตสีทเ่ี กิดขึน้ เมือ่ ทำปฏิกริ ยิ า กับสารตั้งต้น (substrate) ซึ่งแสดงปฏิกิริยา ระหว่างแอนติเจนและแอนติบอดี และความ เข้มของสีที่เกิดขึ้นเป็นสัดส่วนกับปริมาณของ แอนติเจนทีป่ รากฏในตัวอย่างอาหาร วิธี ELISA นั้นนอกจากสามารถวิเคราะห์ปริมาณของ จุลนิ ทรียโ์ ดยตรงแล้ว ยังสามารถวิเคราะห์สาร พิษทีแ่ บคทีเรียสร้างขึน้ เช่น เอ็นเทอโรทอกซิน จาก S.aureus รวมทั ้ ง สารพิ ษ จากเชื ้ อ รา (mycotoxins) ด้วย ปัจจุบันมีเทคนิคใหม่ๆ ที่พยายามจะ ใช้ ค วามรู ้ ท างด้ า น Molecular-genetic ผนวกเข้ า กั บ เทคโนโลยี ท างด้ า นเซนเซอร์ และไมโครอะเรย์ เพื ่ อ สร้ า งระบบในการ ตรวจหาเชื ้ อ ก่ อ โรคในอาหารที่มีประสิทธิภาพสูง เช่น การใช้เซนเซอร์แบบ Surface Plasmon Resonance (SPR) ในการตรวจ วัดอย่างต่อเนื่องเพื่อหาเชื้อ E. coli O157: H7, Salmonella choleraesuis serotype typhimurium, Listeria monocytogenes, และ Campylobacter jejuni โดยการใช้ชปิ ทีเ่ คลือบ ด้วยทองคำร่วมกับเครือ่ ง SPR ในการตรวจวัด หรือการพัฒนาแอนติบอดิอะเรย์ที่สามารถ ใช้ในการตรวจหาเชื้อก่อโรคในอาหารหลายๆ ชนิดได้พร้อมๆ กัน โดยใช้การอ่านผลด้วย ฟลูออเรสเซนต์สแกนเนอร์วัดสัญญานที่เกิด ขึน้ ซึง่ เทคนิคทีก่ ล่าวมาทัง้ สองเทคนิคเป็นวิธที ่ี ให้ผลการตรวจวัดทีถ่ กู ต้องแม่นยำและสะดวก ขึ้นมากกว่าวิธีที่มีอยู่เดิม 36

www.media-matter.com

จากทีไ่ ด้กล่าวมาแล้วว่าการตรวจวัดเชือ้ ก่อโรคนัน้ มีมหี ลายวิธี เช่น การเพาะเชือ้ ELISA, PCR, Biosensor และแถบทดสอบ โดยแต่ละวิธมี ขี อ้ ดีขอ้ เสียแตกต่างกัน วิธกี ารเดิมทีม่ ใี ช้อยูน่ น้ั ใช้เวลานานและเสียค่าใช้จา่ ยมาก จึงมีการพัฒนาวิธกี ารตรวจทีส่ ามารถทำได้ครัง้ ละมากๆ เพือ่ ลดเวลาในการตรวจให้ครอบคลุมเชือ้ หลายชนิดซึง่ ก็คอื การพัฒนาไมโครอะเรย์เซ็นเซอร์ แต่อย่าง ไรก็ตามค่าใช้จา่ ยทีเ่ กิดขึน้ มานัน้ ก็สงู ตามไปด้วย เพราะฉะนัน้ วิธกี ารตรวจทีร่ วดเร็ว มีความแม่นยำ ถูกต้องและราคาไม่แพง และตรวจเชื้อได้หลายชนิดในเวลาเดียวกัน จึงเป็นทางเลือกที่น่าสนใจ ทางศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีแห่งชาติโดย ดร. นิศรา การุณอุทัยศิริ และคณะ ได้มีการพัฒนา แอนติบอดีอะเรย์สำหรับตรวจเชื้อก่อโรคในอาหาร3 ชนิดคือ E. coli O157:H7, Salmonella และ Listeria monocytogenes โดยการใช้แอนติบอดีอะเรย์ ซึ่งเป็นวิธีการที่นำ แอนติบอดีทจ่ี ำเพาะต่อเชือ้ ก่อโรคแต่ละเชือ้ พิมพ์ลงบนแผ่นสไลด์ในตำแหน่งทีต่ า่ งกัน เมือ่ นำตัว อย่างที่ต้องการตรวจการปนเปื้อนเติมลงบนแผ่นสไลด์ เชื้อที่ปนเปื้อนจะถูกจับโดยแอนติบอดี ที่อยู่บนสไลด์แล้วจึงเติมแอนติบอดีรวมที่จำเพาะต่อเชื้อทั้งสามที่ติดฉลากด้วยเอนไซม์เฉพาะ เติมซับสเตรทของเอนไซม์ วัดแสงที่ปล่อยจากระบบปฏิกิริยาเรืองแสง (chemiluminescence) ด้วยแผ่นฟิล์มเอ็กซเรย์ หรือเครื่องวัดความเข้มของแสง ถ้ามีการปนเปื้อนของเชื้อหนึ่งในสาม ชนิดนี้ก็จะมีจุดขึ้นที่ตำแหน่งนั้นๆ ซึ่งสามารถแปลผลได้ว่ามีการปนเปื้อนของเชื้ออะไรบ้าง โดยในการทดลองที่ผ่านมานั้นได้มีการนำไปทดลองกับตัวอย่างอาหารจริง คือ การตรวจหาเชื้อ ในผลิตภัณฑ์นม ซึ่งผลการทดลองที่ได้นั้นเป็นที่น่าพอใจอย่างยิ่ง คือสามารถทำการตรวจสอบ ได้อย่างถูกต้องแม่นยำ แอนติบอดีอะเรย์ที่พัฒนาขึ้นมีความไวต่อเชื้อเทียบเท่าวิธีมาตรฐาน เช่น ELISA แต่ใช้เวลาในการตรวจเพียงแค่ 1 ชั่วโมง ซึ่งจากเดิมต้องใช้เวลา 4 ชั่วโมง นอกจากนี้ยังใช้ แอนติบอดีในปริมาณที่น้อยมากทำให้ต้นทุนการผลิตถูกลง (ตารางที่ 1) สามารถตรวจเชื้อได้ หลายชนิดในเวลาเดียวกัน มีความถูกต้องสูง มีความแม่นยำเนื่องจากไม่มีปฏิกิริยาไขว้ (crossreaction) ระหว่างเชื้อที่ศึกษา โดยสรุปแล้วข้อดีของวิธีการดังกล่าว คือ ช่วยลดต้นทุนการผลิต และการตรวจวัด ประหยัดค่าใช้จ่ายสำหรับการตรวจ ลดเวลาในการตรวจแต่ละครั้ง สามารถรู้ ผลสำหรับเชื้อหลายชนิดในเวลาเดียวกัน สามารถพัฒนาเป็นชิปสำหรับการตรวจปริมาณมาก ซึ่งการวิจัยต่อไปนั้นจะเป็นการพัฒนาเพื่อให้สามารถตรวจหาเชื้อหลายๆ ชนิดได้พร้อมๆ กัน มากกว่าเดิมที่ตรวจหาเชื้อได้สามชนิดพร้อมๆ กัน และนำไปทดสอบกับตัวอย่างอาหารหลายๆ ชนิดเพือ่ ให้แน่ใจว่าสามารถนำไปใช้งานได้จริงในอุตสาหกรรม และทีส่ ำคัญคือการเพิม่ ความว่อง ไวในการตรวจวัดให้มีประสิทธิภาพที่สูงขึ้น และมีความถูกต้องแม่นยำมากที่สุด ซึ่งในที่สุดแล้ว สิง่ ทีพ่ ฒ ั นาขึน้ มาก็จะเป็นประโยชน์กบั ภาคอุตสาหกรรมเป็นอย่างมาก เป็นการช่วยผลักดันประเทศไทยให้ก้าวขึ้นมาเป็นผู้นำในการผลิตอาหารในระดับโลกได้


Mar - Apr 10

ตารางที่ 1 การเปรียบเทียบระหว่างเทคนิค ELISA กับ Antibody array ในการตรวจหาเชื้อก่อโรคในอาหาร 1 ELISA

Antibody array

Sensitivity

1 x 105 – 1x107 cfu/ml

8 x 104 – 5 x 107 cfu/ml

Assay time

4h (1 h/step)

75 min (15 min/step)

Reagents Capture antibody HRP antibody

250 ng/sample 100 ng/sample

4 ng/sample 12.8 ng/sample

Cost (approximately)

3 US dollars/sample

0.8 US dollars/sample

ในอนาคตนั้นการพัฒนางานวิจัยทางด้าน ดีเอนเอและแอนติบอดีอะเรย์นน้ั จะเข้ามา มีบทบาทที่สำคัญเป็นอย่างยิ่งในการที่ จะใช้สำหรับตรวจวัดหาเชือ้ ก่อโรคหลายๆ ชนิดที่มีอยู่ในอาหารได้พร้อมๆ กันโดยใช้ เวลาในการตรวจวัดทีส่ น้ั ลงและใช้ตวั แอนติ บ อดี ท ี ่ น ้ อ ยลงเพื ่ อ พั ฒ นาให้ ส ามารถ นำไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพในภาค อุตสาหกรรมจริง และการพัฒนานั้นก็คง จะไม่ได้จำกัดอยู่แค่ในเรื่องของการตรวจ เชือ้ ก่อโรคในอาหารเท่านัน้ แต่จะรวมไปถึง Entry no.a005 ด้านอื่นๆ ด้วย Article info แปลและเรียบเรียงจาก N. Karoonuthaisiri et.al., 2009, Development of antibody array for simultaneous detection of foodborne pathogens, Biosensors and Bioelectronics, Vol. 24, Issue 6, pp.1641-1648 เอกสารอ้างอิง 1. ดร. นิศรา การุณอุทัยศิริ, ศูนย์พันธุวิศวกรรมและ เทคโนโลยีชีวภาพแหงชาติ, 2553, เอกสารประกอบการบรรยาย “การนำเทคโนโลยีไม โครอะเรย์มาใช้ในการตรวจหาเชือ้ ก่อโรคในอาหาร”, การสัมมนานวัตกรรมใหม่ใน อุตสาหกรรมอาหาร 2. ดร. ธีรพร กงบังเกิด, ภาควิชาอุตสาหกรรม การเกษตรคณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2546, จุลชีววิทยาอาหาร, หน้า 175 – 196 3. อุษมาส วังชัยสุนทร, สาขาวิชาเทคโนโลยี อุตสาหกรรมอาหาร คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย, 2547, คุณภาพอาหาร ทางจุลชีววิทยาคืออะไร, วารสาร วิชาการมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ปีท่ี 24 ฉบับที่ 2 หน้า 51 - 63

Seminar on

INVESTIGATING MICROBIOLOGY & RISK ASSESSMENT for Poultry, Meat and Seafood products The ultimate solution to keep your product quality satisfied.

Keynote address : Assoc.Prof.Dr. Pravate Tuitemwong, Microbiology Department, Faculty of Science, King Mongkut’s University of Technology Thonburi Entry no.b011

MEDIA MATTER Co., Ltd. 43/308 Moo 1, Jomthong Road, Jomthong Bangkok 10150 Thailand T 087 517 1651 T/F 0 2878 1026 www.media-matter.com 37 innolab@media-matter.com, http://www.media-matter.com


LAB Review

CHOOSING THE PROPER GAS FOR

THE LABORATORY ANALYZERS หลายท่านที่ทำงานในห้องปฏิบัติการคงจะมีโอกาสใช้เครื่องมือวิเคราะห์ (laboratory analyzer) ต่ า งๆ เพื ่ อ การวิ เ คราะห์ เ ชิ ง คุ ณ ภาพ (qualitative analysis) หรื อ เชิ ง ปริ ม าณ (quantitative analysis) ของสารตั ว อย่ า งที ่ ต ้ อ งการตรวจสอบมาไม่ ม ากก็ น ้ อ ย โดยเฉพาะ การวิ เ คราะห์ ห าสารตั ว อย่ า งที ่ ม ี ป ริ ม าณความเข้ ม ข้ น น้ อ ยๆ ระดั บ ppm หรือ ppb นั้น คงปฏิเสธไม่ได้ว่าสิ่งที่มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง ก็คือประสิทธิภาพของเครื่องมือที่ใช้สำหรับการวิเคราะห์ ซึ่งประสิทธิภาพของเครื่องมือเหล่านี้ส่วนหนึ่งสามารถพิจารณาได้จากขอบเขต การตรวจวัด (detection limit) แต่สิ่งที่มีความสำคัญ ไม่ยิ่งหย่อนไป กว่าประสิทธิภาพของเครื่องมือดังกล่าวก็คือ การเลือกใช้สารเคมีหรือ อุปกรณ์ต่างๆ ที่มีคุณภาพเพื่อใช้สำหรับการวิเคราะห์ สารเคมีชนิดหนึ่งที่สามารถพบได้ทั่วไปในห้องปฏิบัติการ คือ ก๊าซ เช่น ก๊าซออกซิเจน (oxygen, O2) ก๊าซไนโตรเจน (nitrogen, N2) ก๊าซอาร์กอน (argon, Ar) ก๊าซฮีเลียม (helium, He) ก๊าซไฮโดรเจน (hydrogen, H2) หรือก๊าซผสม (mixed gas) เป็นต้น ก๊าซเหล่านี้ถูกนำ มาใช้เพื่อทำหน้าที่ต่างๆ กันไปตามแต่ละชนิดของเครื่องมือหรือเทคนิค การวิเคราะห์ที่นำมาใช้ เช่น ใช้เป็นก๊าซพา (carrier gas) ในเครื่อง Gas Chromatography หรือใช้เป็นก๊าซมาตรฐาน (standard gas) หรือก๊าซสอบเทียบ (calibration gas) ในเครื่องมือต่างๆ เป็นต้น ทั้งนี้เครื่องมือวิเคราะห์ที่มีการใช้ก๊าซอาจจำแนกออกเป็นกลุ่ม ต่างๆ ได้ดงั นี้ 1) Emission Spectroscopy 2) Absorption Spectroscopy 3) Mass Spectroscopy 4) Thermal Analysis 5) Gas Chromatography 6) Liquid or Supercritical Fluid Chromatography 7) Surface Analysis 8) Gas Analysis 9) Other Analysis ก๊าซที่ใช้กันอยู่ทั่วไปนั้นมีอยู่หลายเกรดด้วยกัน เช่น เกรด อุตสาหกรรม (industrial grade) เกรดความบริสทุ ธิส์ งู (high purity grade) เกรดความบริสุทธิ์สูงพิเศษ (ultra high purity grade) เป็นต้นซึ่งก๊าซจะมี ค่าความบริสุทธิ์ (purity) ตั้งแต่ 99.0% จนถึง 99.9999% นอกจากค่า ความบริสุทธิ์ดังกล่าวแล้วค่าสิ่งปนเปื้อน (impurity) ก็เป็นอีกปัจจัยหนึ่ง ที่มีความสำคัญเช่นกัน ซึ่งค่าสิ่งปนเปื้อนเหล่านี้หากมีมากเกินไปก็จะส่ง ผลต่อการวิเคราะห์ได้ เช่น ในการวิเคราะห์ดว้ ยเครือ่ ง Gas Chromatography หากมีค่าสิ่งปนเปื้อน เช่น ออกซิเจน อากาศ หรือ ความชื้นมากเกินไป ก็จะส่งผลให้อายุการใช้งานของคอลัมน์ภายในเครื่องสั้นลง หรือหาก มีสิ่งปนเปื้อนอื่นๆ เช่น คาร์บอนมอนอกไซด์ คาร์บอนไดออกไซด์ หรือ สารประกอบไฮโดรคาร์บอน จะส่งผลต่อการรันค่า baseline ทำให้ผล การวิเคราะห์ผิดพลาดได้ โดยตารางที่ 1 ถึง 3 นั้นแสดงค่าความบริสุทธิ์ และค่าสิ่งปนเปื้อนของแก๊ส (gas specifications showing purity and impurity) ที่นำมาใช้ทดสอบ เพื่อพิจารณาเลือกก๊าซที่เหมาะสม (ทั้งในแง่ของค่าใช้จ่ายและคุณภาพของงานวิเคราะห์) สำหรับนำมาใช้ ในการวิ เ คราะห์ ด ้ ว ยเครื ่ อ งมื อ ต่ า งๆ โดยพิ จ ารณาจากระดั บ ความ เข้มข้นของตัวอย่างที่จะทำการวิเคราะห์ (detection level) และนำ เสนอออกมาในรูปแบบตาราง โดยแยกตามเครือ่ งมือวิเคราะห์แต่ละชนิด ดังแสดงในตารางที่ 4 ถึง 11 38

www.media-matter.com

Author info คุณธวัชชัย สังข์ทอง Tawatchai Sunkthong Sales&Marketing Executive Thai Special Gas Co., Ltd. tsunkthong@hotmail.com


Mar - Apr 10

www.media-matter.com 39


จะเห็นได้ว่าการใช้เครื่องมือวิเคราะห์แต่ละชนิดนั้น สิ่งที่ผู้ปฏิบัติงานควร รู้นอกจากการเลือกชนิดก๊าซให้ถูกต้องกับเครื่องวิเคราะห์แต่ละชนิดแล้ว การเลือกใช้ก๊าซที่มีคุณภาพก็ถือว่าเป็นสิ่งที่มีความสำคัญเช่นกัน Entry no.a009

Article info 1. Gastiger M, Jurcik B. Choosing the proper gas and equipment for the laboratory, Part 1: Relationship between gas purity and detection limits in gas chromatography. Int Lab 1999; 29(4A):18 2. Gastiger M, Jurcik B. Choosing the proper gas and equipment for the laboratory, Part 2: Relationship between gas purity and laboratory analyzers. Int Lab 1999; 29(6A):14-16 40

www.media-matter.com


www.media-matter.com 41


LAB Review

Mercury 101 นับย้อนหลังเมื่อ 4,500 ล้านปีที่แล้ว ที่สารปรอทได้ถือกำเนิดมาพร้อม กับการกำเนิดของโลก และจากหลักฐานที่มีการบันทึกไว้เมื่อ 3,000 ปีที่แล้ว ว่ามีการใช้ประโยชน์จากศักยภาพและคุณสมบัติความไม่เสถียร ของสารปรอท ทั้งๆ ที่คนในยุคนั้นมีความรู้เกี่ยวกับสารปรอทอยู่น้อยมาก จนมาถึงปัจจุบัน แม้ว่าจะมีงานวิจัยเกี่ยวข้องกับเทคนิคที่ใช้ในการตรวจ วิเคราะห์และผลกระทบต่อสุขภาพของมนุษย์ แต่กย็ งั คงน้อยกว่าองค์ความ รู้และการศึกษาสารอื่นๆ เช่น ออกซิเจน ไฮโดรเจน ยูเรเนียม เป็นต้น ปัจจุบนั มีการใช้ปรอทในปริมาณมากในภาคอุตสาหกรรมทำให้ มี ผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมเป็นอย่างยิง่ ฉะนัน้ จึงต้องมีการศึกษาความเป็น พิษของปรอทต่อสิง่ แวดล้อม และสุขภาพของมนุษย์อย่างจริงจัง และเป็น เรื่องที่ละเลยไม่ได้ แล้วเราควรศึกษาอะไรเกี่ยวกับปรอทบ้าง? What’s the issue with Mercury? เราอาจจะคิดว่าปรอทเป็นเพียงแค่โลหะทีอ่ ยูใ่ นรูปของของเหลวเท่านัน้ แต่ ไม่ใช่ทง้ั หมดปรอทเป็นโลหะทีไ่ ม่คงตัวเป็นอย่างยิง่ พร้อมทีจ่ ะทำปฏิกริ ยิ า กับธาตุอื่นๆ สารเคมี โลหะอัลลอยด์ และสารอื่นๆ และในช่วงเวลาที่ทำ ปฎิกิริยาเหล่านั้นปรอทจะกลายเป็นไอสารพิษลอยสู่บรรยากาศ ปรอททีอ่ ยูใ่ นรูปของเหลวนัน้ หนักกว่าน้ำเกือบ 14 เท่า (SG=13.534) ในรูปแบบของก๊าซปรอทหนักกว่าอากาศเกือบ 7 เท่า (SG=6.93) มีอัตรา การระเหยทีอ่ ณ ุ หภูมหิ อ้ งเท่ากับ 7 ไมโครกรัม/ลูกบาศก์เซนติเมตร/ชัว่ โมง เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้นทุกๆ 10 องศาเซลเซียส อัตราการระเหยของปรอทจะ เพิ่มขึ้นสองเท่า โดยลักษณะความสัมพันธ์เป็นแบบเส้นตรง ปรอทมีความสามารถในการทำปฏิกิริยากับสารอื่นๆ สูง และเร่ง ให้เกิดกระบวนการกัดกร่อน นอกจากความสามารถในการทำให้อปุ กรณ์ เสือ่ มสภาพหรือเสียหายแล้วปรอทยังสามารถออกฤทธิร์ ว่ มกับสารปนเปือ้ น อื่นๆ และนำไปสู่ความเสียหายมากกว่าปกติ บางกรณีความเสียหายอาจ ถึงขั้นร้ายแรง ตัวอย่างที่เป็นที่ทราบกันดีคือการกัดกร่อนอลูมิเนียมของ ปรอทโดยปฏิกิริยาออกซิเดชั่น โดยปกติแล้วอลูมเิ นียมมีชน้ั ออกไซด์อยูบ่ นผิวหน้าซึง่ มีความหนา 1 โมเลกุลที่ช่วยป้องกันการกัดกร่อน แต่ถ้าผิวของอลูมิเนียมถูกขูดขีดให้ เป็นรอย หรือผ่านการทำความสะอาด ชั้นออกไซด์บางๆ ที่เคลือบอลูมิเนียมอยู่จะหลุดออกไป ทำให้ปรอทสามารถไปสัมผัสกับชั้นอลูมิเนียม ได้และจะเกิดอะมัลกัมของปรอทและอลูมิเนียมขึ้นเมื่ออะมัลกัมสัมผัส กับอากาศ ส่วนที่เป็นอลูมินียมจะออกซิไดซ์และร่อนออกจะเหลืออยู่แต่ อะมัลกัมของปรอททีจ่ ะทำให้เกิดกระบวนการในลักษณะนีซ้ ำ้ ต่อไปเรือ่ ยๆ จนกระทั่งไม่เหลืออลูมิเนียมให้เกิดเป็นอะมัลกัมอีกต่อไป อี ก กรณี ห นึ ่ ง ที ่ เ ป็ น ที ่ ร ู ้ จ ั ก กั น ดี ค ื อ ผลของการกั ด กร่ อ นจาก ไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S) ต่อวัสดุที่เป็น Carbon steel ในอุปกรณ์ที่ใช้กับ ระบบแก๊ส โดยพบว่าภายใต้สภาวะที่เหมาะสม ฤทธิ์การกัดกร่อนจะ เพิ่มสูงขึ้นมากกว่า 4 เท่าเมื่อมีสารปรอทอยู่ในระบบ ในกรณีที่มีการ สัมผัสปรอทเหลวจำนวนมากเป็นระยะเวลานานและไม่มีการป้องกัน 42

www.media-matter.com

Author info คุณพรรษา เริงพิทยา Punsa Roengpithya President and Specialist on Chemical Cleaning Viptel Co., Ltd. punsa@viptel.co.th

(หรือการป้องกันไม่ได้ผล) ปรอทที่ฝังอยู่ในเนื้อเหล็กสามารถทำให้อัตรา การกัดกร่อนในบริเวณนั้นๆ เพิ่มขึ้นได้ 2-3 เท่าจากปกติเมื่อเทียบกับ สภาวะที่ไม่มีสารปรอท ในกรณีนเ้ี ป็นทีน่ า่ สังเกตว่าโลหะจะดูดซึมปรอทเข้าไป โดยปริมาณ ปรอททีถ่ กู ดูดซึมเข้าไปนัน้ จะเพิม่ สูงขึน้ เมือ่ มีปริมาณของคาร์บอนในโลหะ เพิ่มมากขึ้น และจะไม่มีการเกิดอะมัลกัมและการสร้างพันธะ แต่ปรอท สามารถที่จะแทรกตัวอยู่ระหว่างโมเลกุลของโลหะกับคาร์บอนได้ กระบวนการดูดซึมนีส้ ามารถย้อนกลับได้ กล่าวคือเราสามารถดูด ปรอทออกจากเนื้อเหล็กและปล่อยให้ปรอทระเหยเป็นไอหรือผสมเข้าใน ปรอทเหลว (ธาตุพน้ื ฐาน) การปนเปือ้ นของปรอทนีจ้ ะเพิม่ ขึน้ ตามระยะเวลา และสเตนเลสตระกูล 300 (เช่น 304 หรือ 316) ซึ่งปกติแล้วจะทนต่อการ กัดกร่อนโดยของเหลวหรือแก๊สต่างๆ สามารถถูกกัดกร่อนในลักษณะหลุม ได้ (pitting) เมื่อได้สัมผัสกับสารปรอท สำหรับเหล็กประเภทอื่นๆ ปรากฏ การณ์จะมีความคล้ายคลึงกัน วสั ดุโลหะผสม “โมเนล” (สารประกอบนิกเกิล) ไม่สามารถทนทานต่อการกัดกร่อนของปรอทเหลวที่อุณหภูมิห้องได้ โดย อัตราการกัดกร่อนเริม่ ตัง้ แต่ 0.5 มิลลิเมตร/ปี ทีอ่ ณ ุ หภูมหิ อ้ ง ไปจนถึงอัตรา การกัดกร่อนแบบเร็วจัดที่อุณหภูมิ 400 องศาเซลเซียส วัสดุโลหะผสม “แฮสเทลลอย บี” (สารประกอบนิกเกิลชนิดประสิทธิภาพสูง) และโลหะ ไทเทเนี ย มสามารถถู ก กั ด กร่ อ นด้ ว ยปรอทได้ ท ี ่ อ ุ ณ หภู ม ิ ต ั ้ ง แต่ 100 องศาเซลเซียส ดังนัน้ เราจึงควรระมัดระวังเมือ่ วัสดุโลหะซึง่ โดยปกติทนการ กัดกร่อนมีโอกาสสัมผัสกับปรอท เพราะสามารถนำไปสู่การกัดกร่อนได้ การกำจัดสารปรอทออกจากเนือ้ เหล็กนัน้ สามารถทำได้หลายวิธี ปกติจะทำก่อนกระบวนการกำจัดของเสีย หรือก่อนการทำงานลักษณะ Hot work (เช่นงานเชื่อมหรืองานเจียร) โดยเป็นการกำจัดด้วยสารเคมี หรือเป็นการใช้สารเคมีรว่ มกับวิธที างเชิงกลเพือ่ ให้บรรลุผลเร็วขึน้ ในประเทศแถบโซนเอเชียปรอทอาจระเหยทีร่ ะดับ 1-2 ไมโครกรัม/ลูกบาศก์เมตร ซึ่งปลอดภัยหากสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคล แต่การทำ Hot work สามารถก่อให้เกิดละอองปรอทในระดับ 17 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร ภายในระยะเวลาเพียง 2-3 นาที Fatal Toxin เมื่อคนได้สัมผัสกับสารปรอทโดยที่ไม่ทราบว่าสารปรอทนั้นมีพิษสูงและ ในหลายๆ กรณีทำให้เสียชีวิตได้ ร่างกายของคนสามารถรับสารปรอท ได้ผ่านการรับประทานและการดูดซึมทางผิวหนัง แต่การรับผ่านทาง ระบบหายใจเป็นวิธีที่รวดเร็วที่สุด บางครั้งในวิชาเคมีที่สอนในโรงเรียน นักเรียนมีโอกาสได้ลองเล่นกับปรอทเหลวโดยไม่รู้ว่ามันกำลังระเหยและ ไอปรอทไม่มีกลิ่นและไม่สามารถเห็นได้โดยตาเปล่า เมือ่ ร่างกายได้รบั ไอปรอทจากการสูดดม ร้อยละ 80 จะถูกดูดซึม เข้าสูร่ า่ งกาย ถึงแม้วา่ ร่างกายจะสามารถขับสารปรอทออกมาได้แต่กระบวนการนีต้ อ้ งใช้เวลา ไอปรอททีถ่ กู ดูดซึมเข้าสูร่ า่ งกายจะถูกออกซิไดซ์เป็น สารปรอทประเภท Mercurous ในกระแสเลือดและน้ำเหลือง สารประเภท


Mar - Apr 10

นี้สามารถสะสมภายในเนื้อเยื้อและอวัยวะในร่างกาย จนอาจนำไปสู่ อันตรายทางระบบประสาทได้ เช่น ตาบอดก่อนวัยอันควร ความจำเสื่อม สูญเสียการทรงตัว และระบบการขับถ่ายผิดปกติ คนที่ได้รับพิษปรอทขั้น ร้ายแรงจะเสียชีวติ และค่าครึง่ ชีวติ (half-life) ของปรอทภายในกระแสเลือด ระบบปัสสาวะ และระบบขับถ่ายโดยปกติอยูท่ ่ี 7 วัน แต่สารปรอทประเภท Methylmercury อาจต้องใช้เวลาถึง 50 วันในการกำจัด สารปรอทที ่ ส ะสมในไตนั ้ น มี ค ่ า ความเข้ ม ข้ น สู ง กว่ า อวั ย วะ อื่น ซึ่งปกติจะมีค่าครึ่งชีวิตของสารปรอทประเภท Mercuric ในไต อยู่ระหว่าง 60-90 วัน แต่หากสารปรอทสามารถผ่านเยื่อบุเส้นเลือด เข้าไปในสมอง (ซึ่งปรอทสามารถทำได้) อาจต้องใช้เวลาหลายปีใน การกำจัดปรอทออกจากสมอง ปริมาณของปรอทที่ดูดซึมขึ้นอยู่กับ ปัจจัยหลายประการ เช่น ความเข้มข้นของสารพิษ และอุณหภูมิ เป็นต้น ซึ่งสารพิษเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อสุขภาพและร่างกายในระหว่างระยะ ดูดซึม ปรอทสามารถสะสมในร่างกาย (bioaccumulative) อย่างไม่จำกัด กล่าวคือ ปรอทที่ถูกดูดซึมมาใหม่จะเพิ่มระดับของปรอทที่อยู่ในร่างกาย และจะก่อให้เกิดปัญหาต่างๆ ตามมา โรคพิษเรือ้ รังสามารถเกิดขึน้ ได้เมือ่ สัมผัสกับปรอทระดับต่ำซ้ำๆ เป็นเวลานาน และจะมีอาการที่ได้กล่าวมา ข้างต้น นอกจากนี้แล้วปรอทยังมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเกิดโรคออทิสซึม ความพิการทุพลภาพ โรคปัญญาอ่อน และการแท้งลูกของสตรีมีครรภ์ กรณีศึกษาที่ผ่านมาไม่นานนี้คือ การเสียชีวิตของศาสตราจารย์ ด ้ า นเคมี ท ี ่ ม ี ช ื ่ อ เสี ย งของมหาวิ ท ยาลั ย Dartmouth College ประเทศสหรัฐอเมริกา ในเดือนสิงหาคม ปี ค.ศ.1996 ซึ่งเสียขีวิตเนื่อง จากพิษของสารปรอทประเภท Dimethylmercury ในระหว่างทีว่ จิ ยั ศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างสารปรอทและโปรตีนที่ซ่อมแซม DNA เป็นเรื่องน่า เศร้าเมือ่ พบว่าท่านศาสตราจารย์ซง่ึ เป็นผูเ้ ชีย่ วชาญด้านสารโลหะทีเ่ ป็นพิษ ได้รับสารพิษภายในห้องทดลองเพียงไม่กี่หยดของ Dimethylmercury ซึ่งมีพิษร้ายแรง สารนั้นได้ทะลุผ่านถุงมือยางของเธอและถูกดูดซึมเข้า ผิวหนังของเธอภายในระยะเวลาเพียง 15 วินาที อาการขั้นต้นนั้นไม่แน่ ชัดและไม่ได้ถูกสังเกตเห็น แต่หลังจากที่ท่านศาตราจารย์สูญเสียสมดุล ในการทรงตัวและมีอาการพูดไม่ชัด เปล่งเสียงงึมงัม (slurred speech) เธอจึงถูกนำตัวส่งโรงพยาบาล อีก 5 เดือนต่อมาผลจากการตรวจพบว่า เธอมีระดับสารปรอทในเลือดถึง 4,000 ไมโครกรัม/ลิตร ซึ่งสูงกว่าระดับ ความเป็นพิษถึง 114 เท่า โดยระดับความเป็นพิษของสารปรอทคือสูงกว่า 35 ไมโครกรัม/ลิตร โดยปกติค่านี้อยู่ระหว่าง 1-8 ไมโครกรัม/ลิตร Numerous other Documented Cases เหตุการณ์ที่ปรากฏเป็นข่าวจากผลของการได้รับพิษจากสารปรอท ได้แก่ คนงานในเหมืองทอง Klondike แถบยูคอน ประเทศแคนาดาได้ รับสารพิษจากปรอท กรณีข้าวเปลือกเป็นพิษที่เมืองบาสร่า ประเทศอิรัก สารปรอท ประเภท Methylmercury ได้ถกู ใช้ในการบำบัดข้าวเปลือกเพือ่ ป้องกันการ เน่าเสีย แต่ขา้ วเปลือกได้ถกู ขโมยและแจกจ่ายสูช่ าวบ้าน โดยมีรายงานผู้ เจ็บป่วยมากกว่า 6,500 กรณีและมียอดผูเ้ สียชีวติ ทีบ่ นั ทึกไว้รวม 459 คน คนงานเชื่อมท่อเหล็ก 2 คน ทางภาคใต้ของประเทศไทยเสียชีวิต เนื่องจากสารปรอทที่อยู่ในเนื้อเหล็กได้ถูกปล่อยออกมา ได้รับไอพิษ จากปรอทประเภท Mercuric oxide ทำให้เสียชีวิตภายในเวลาไม่กี่นาที พนักงานล้างเรือขนส่งสินค้าในประเทศสิงคโปร์เสียชีวิต 4 คนเนือ่ งจากปรอทเป็นพิษ โดยสารปรอทได้ถกู ปล่อยออกมาจากเนือ้ เหล็ก ในขณะทีพ่ นักงานเหล่านีถ้ กู ส่งลงไปในถังด้านล่างของเรือเพือ่ ทำการพ่น ทรายก่อนที่จะมีการตรวจสภาพ (inspection) โรคมินามาตะที่เป็นกรณีโด่งดังในประเทศญี่ปุ่น จากการที่โรง งานในเมืองปล่อยของเสียซึง่ มีสารปรอทลงทะเล ทำให้ปลามีสารปรอทสูง และผ่านวงจรอาหารไปสูค่ น ชาวบ้านทีอ่ าศัยอยูบ่ ริเวณอ่าวมินามาตะได้ รับพิษจากกรณีดังกล่าว

The International Published Acceptance Levels

มาตรฐานสากลของระดับสารปรอททีย่ อมรับได้นน้ั มีดงั นี้ สถานทีท่ ำงาน • OSHA (สำนักงานบริหารความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพ แวดล้อมในการทำงาน ประเทศสหรัฐอเมริกา) -ระดับ Permissible Exposure Limit (PEL) = 100 ไมโครกรัม/ลูกบาศก์เมตร • NIOSH (สถาบันความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานแห่งชาติ ประเทศสหรัฐอเมริกา) – ระดับ Time Weighted Average (TWA) = 50 ไมโครกรัม/ลูกบาศก์เมตร ต่อรอบ 40 ชัว่ โมงต่ออาทิตย์ โดยแบ่งเป็น 8 ชัว่ โมงต่อวัน • ACGIH (สภานักอาชีวอนามัยอุตสาหกรรมของรัฐประเทศสหรัฐอเมริกา) -ระดับ TWA = 25 ไมโครกรัม/ลูกบาศก์เมตร ต่อรอบ 40 ชัว่ โมงต่ออาทิตย์ โดยแบ่งเป็น 8 ชัว่ โมงต่อวัน; ระดับ Short Term Exposure Limit (STEL) = 150 ไมโครกรัม/ลูกบาศก์เมตรภายใน 15 นาที สถานทีอ่ ยูอ่ าศัย EPA (สำนักงานปกป้องสิง่ แวดล้อม ประเทศสหรัฐอเมริกา) - ระดับทีต่ อ้ งมีการทำความสะอาด = 1 ไมโครกรัม/ลูกบาศก์เมตร

กรณีเครือ่ งสำอางทำให้ผวิ ขาวในประเทศไทย ซึง่ ได้รบั การรายงาน ในสื่อเมื่อเร็วๆ นี้ เป็นการใช้สารปรอทประเภท Ammoniated mercury เพื่อปรับให้ผิวขาวขึ้น เมื่อใช้ในลักษณะครีมปรอทได้ซึมซับผ่านผิวหนัง และนำไปสู่ความเป็นพิษขั้นร้ายแรง วัคซีนไข้หวัด 2009 (H1N1) มีสาร Thiomersal ซึ่งเป็นสารกัน บูดทีม่ สี ารปรอทเป็นส่วนผสม สารนีไ้ ด้ถกู ระงับการใช้งานในวัคซีนสำหรับ เด็กแล้ว แต่ยังใช้ในกรณีอื่นๆ ผลเสียของสารพิษนี้อยู่ระหว่างการศึกษา วิจัยและยังเป็นที่โต้เถียง ยังมีเหตุการณ์อื่นๆ ที่น่าสนใจ แต่บทสรุปคือสารปรอทได้ถูก ใช้งานอย่างแพร่หลายทั่วโลก ทั้งในภาคอุตสาหกรรมและภาคครัวเรือน ตัวอย่างอุปกรณ์เครื่องใช้ที่มีปรอทมีมากมาย อาทิเช่น มาตรวัดอุณหภูมิ มาตรวัดความดันอากาศ วาล์วลอย จอ LCD สี ชัน (ใช้สำหรับทำให้พื้น ผิวกันน้ำ) ปุ๋ย เครื่องสำอาง หลอดไฟ รถยนต์ เหมืองแร่ (ทองและเงิน) ยารักษาโรค แบตเตอร์รี ปูนอุดฟัน เป็นต้น สิ่งที่น่าเป็นห่วงคือเรามีความ รู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสารปรอทน้อยมาก ประเทศไทยมีแหล่งกำจัดของเสียที่เป็นพิษที่ดีที่สุดแห่งหนึ่งของโลก แต่ไม่สามารถกำจัดสารปรอทได้เนื่องจากปรอทเป็นธาตุพื้นฐานของ โลกวิธีการจัดการสารปรอทที่เหมาะสมคือ วิธี Encapsulation และการ ทำให้ปรอทอยูใ่ นสถานะเป็นกลางและไม่เป็นพิษ (inert) โดยไม่ตอ้ งพึง่ พา การกำจัดในลักษณะฝังกลบ การทำให้สารปรอทอยู่ในรูปสารประกอบที่ เสถียรนัน้ จำเป็นต้องใช้สารเคมีและเทคนิคชัน้ สูง ซึง่ สามารถทำได้ภายใน กระบวนการผลิตหรือระหว่างการซ่อมบำรุง ปัจจุบนั มีเครือ่ งวิเคราะห์หรือ อุปกรณ์ตรวจจับปรอทให้เลือกมากมาย ทัง้ แบบพกพาและแบบติดตัง้ ถาวร ซึง่ สามารถช่วยในการตรวจจับปรอทภายในระบบทีม่ คี วามเสีย่ งในการปน เปือ้ นของสารปรอท และสามารถเตือนให้หามาตรการป้องกันทีเ่ หมาะสม นอกจากนีอ้ ปุ กรณ์ปอ้ งกันภัยส่วนบุคคลสมัยใหม่ได้มกี ารพัฒนามาอยูใ่ น ระดับทีส่ ามารถป้องกันสารปรอทและสารพิษอืน่ ๆ ได้ แม้กระทัง่ ในสภาพ Entry no.a011 แวดล้อมที่มีสารพิษต่างๆ ปนเปื้อนรวมกันอยู่ Article info ฉบับภาษาอังกฤษโดย นายลี ฮันเตอร์ จูเนียร์ ผูเ้ ชีย่ วชาญด้านการล้างและกำจัดสารพิษ บริษทั พรีเมียร์ ออยล์ฟลี ด์ เซอร์วเิ ซส จำกัด www.media-matter.com 43


Variety

THAMMA THERAPY

BY THAMMATIPO Solution provided by พระอาจารย์ ธวัชชัย ธมฺมทีโป พระอาจารย์ใหญ่ ศูนย์พฒ ั นาจิตเฉลิมพระเกียรติบา้ นวังเมือง อ.ท้ายเหมือง จ.พังงา http://www.thammatipo.com

Q.

A.

พระอาจารย์ครับผมเป็นคนชอบตัดสินอะไรด้วยความรู้สึก เปลี่ยนงานมา หลายที่เพราะคิดว่าที่นี้ก็ไม่ใช่ ที่นั้นก็ไม่เหมาะ จะมีที่ไหนไหมครับที่เหมาะกับ ผมและเมื่อไรจะเจอที่แบบนั้นสักที

หากเป็นคนตัดสินด้วยความรู้สึกอย่างนี้ก็แปลว่าเวลาเปลี่ยนงานใหม่พอไป ทำงานก็เกิดความรูส้ กึ มีอคติกบั ผูค้ นในทีท่ ำงาน เกิดอาการพอใจ ไม่พอใจเกิดขึน้ และถ้าคนไหนที่เราดูแล้วว่าใช้ได้ นิสัยดี เราก็จะบอกว่าดีเกิดการพอใจเกิดขึ้น ในความรูส้ กึ นัน้ ลองสังเกตดูวา่ ตอนทีเ่ ราเปลีย่ นงานใหม่และเข้าไปทำงานนัน้ ภายในจะส่งความ รู้สึกออกไปเพ่งพินิจพิจารณาผู้อื่นบ่อยๆ หรือไม่นี่แหละ (สาเหตุ) และคราวนี้ทำงานไปเรื่อยๆ ก็จะเกิดการคิดบ้าง กังวลบ้าง ก็เลยส่งผลให้ทำงานอย่างไม่มีประสิทธิภาพและไม่เต็มกำลัง เมื่อสะสมอารมณ์ต่างๆ มากขึ้นก็เกิดอาการเบื่อหน่าย พอเบื่อหน่ายก็ไปเพ่งโทษผู้อื่นว่าทำ ไมไม่ทำแบบนั้นทำไมไม่ทำแบบนี้ น่าจะทำแบบนั้นน่าจะทำแบบนี้ นี่แหละจากต้นเหตุก็เริ่ม สะสมมาเป็นปลายเหตุและก็ต้องออกจากงานเพื่อไปแสวงหางานใหม่และก็ต้องหาไปเรื่อยๆ แม้แต่พอคิดว่าใช่แล้วในบางเรือ่ งอีกไม่นานเมือ่ เวลาผ่านไปบางทียงั ไม่ทนั ข้ามวัน ความคิดบอก ว่าไม่ใช่กเ็ กิดขึน้ อีก นีแ่ หละคนเราต้องการเสาะแสวงหาทางทีต่ นเองชอบใจ ถูกใจ พอใจ เฮ่อ..... ในโลกนี้มันมีซะที่ไหนล่ะ มันก็ต้องเปลี่ยนไปเรื่อยตามความรู้สึกนั้น........ ถ้าเราเป็นคนตัดสินอะไรด้วยความรู้สึกเราก็ควรดูแลรักษาความรู้สึกภายในให้ดี แล้วคำถาม คือเราจะดูแลความรู้สึกของเราให้ดีได้อย่างไรล่ะ คำตอบคือกลับมาสูดลมหายใจยาวๆ สัก 2 ครัง้ ผ่อนความรูส้ กึ มาทีก่ ลางหน้าอกบริเวณลิน้ ปีค่ อื ฐานของจิตแล้วรูส้ กึ ไปเรือ่ ยๆ ตลอดทัง้ กลาง วันและกลางคืนจะมีความรูส้ กึ เต้นวุบ้ ๆ เราก็จะเห็นว่าทีน่ แ่ี หละเหมาะกับเรา เห็นว่าความคิดต่างๆ อารมณ์ต่างๆ ไม่เที่ยงหรอก ความคิดที่ว่าที่นี่ก็ไม่ใช่ที่นั่นก็ไม่เหมาะก็ไม่เที่ยง สุขใจก็มีได้เสมอ ทุกข์ใจก็มีได้ตลอดเวลา เขาผ่านมาแล้วที่สุดเขาก็จะผ่านไป เราจะได้ตัดสินใจด้วยความรู้สึกที่ ผ่านการดูแลมาเป็นอย่างดี เราเห็นความรูส้ กึ สุขเกิดขึน้ และเห็นความรูส้ กึ สุขมันดับไป เห็นความ รูส้ กึ ทุกข์เกิดขึน้ และเห็นความรูส้ กึ ทุกข์มนั ดับไป มีสมั ปชัญญะ มีปญ ั ญาสอดส่องเข้าภายในเห็น ว่าช่วงเวลาดีที่สุดก็ผ่านไป เลวร้ายอย่างไรก็ผ่านไป เราไม่ควรกังวลที่จะรอหาที่ที่เหมาะกับเรา แต่เราควรทำตัวให้เหมาะสมกับงานทีเ่ ราเข้าไปอยู่ เหมือนน้ำแม้จะไปอยูท่ ใ่ี ดไม่วา่ จะเป็นในเเก้ว ในโอ่ง หรือรูปทรงใดก็สามารถอยูไ่ ด้อย่างอิสระไม่ตดิ ขัดเพราะอ่อนสลวย อย่างนัน้ แล้วถึงเราจะ อยู่ที่ไหน ทำอะไร ก็จะหาความสงบและทำงานอย่างมีประสิทธิภาพได้ “คิดถึงตัวเองให้นอ้ ยหน่อย คิดถึงว่าจะช่วยเหลือคนอืน่ และสังคมให้มากหน่อย” แล้วเรา จะรู้ว่าทำไมมีความสุขจัง เพราะเมื่อเราช่วยเหลือผู้อื่นให้มีความสุขนี่แหละคือความสุขของเรา Entry no.a013

44

www.media-matter.com


Mar - Apr 10

เสื้อฟุตบอลโลก 2010 รีไซเคิล ลดโลกร้อน

AROUND THE

WORLD กระหึม่ วงการ KitKat รสซีอว๊ิ

http-_www.touchphoneview.com

ช็อกวงการกับไอเดียใหม่สุดฮิบของเนสเล่ ประเทศญี่ปุ่น เจ้าของแนวความคิดช็อกโกแล็ตแท่ง ที ่ ร ู ้ จ ั ก กั น เป็ น อย่ า งดี ม านานในประเทศไทย กับแบรนด์ KitKat ล่าสุดได้เปิดตัวช็อกโกแล็ต รสพิเศษถึง 19 รสชาติ เพื่อสร้างความแตก ต่างและความสัมพันธ์กับผู้บริโภคด้วยรสชาติ ใหม่ที่สื่อถึงความเป็นชาตินิยมกับกลิ่นไอของ เมืองต่างๆ ในประเทศญีป่ นุ่ ไม่วา่ จะเป็นรส Miso รส Soy sauce รสชาเขียว รสผลไม้ Yubari melon รสข้ า วโพดอบจากเกาะ Hokkaido รสถั่วเขียว รสเชอร์รี่จากเมือง Tohoku รสผลไม้ Yuzu และรสมันฝรั่งสีแดงจากเกาะ Kyushu และอี ก หลากหลายรสชาติ ซึ ่ ง แต่ ล ะรสชาติ โดยเฉพาะรสผลไม้ประจำถิน่ จะมีวางขายเฉพาะ เมืองนั้นๆ และทำเป็น Limited edition ให้กับ นักท่องเที่ยวเพื่อเป็นการส่งเสริมเศรษฐกิจการ ท่องเที่ยวของเมืองอีกด้วย Article info http://www.marketingoops.com

ฮิตฟอร์เฮติ น้ำใจจากทั่วทุกมุมโลกยังหลั่งไหลช่วยชาวเฮติ ที่ประสบเหตุภัยพิบัติจากเหตุแผ่นดินไหวตั้งแต่ ต้นเดือนมกราคมที่ผ่านมาอย่างต่อเนื่องรวมถึง กิจกรรมดีๆ ทีน่ กั เทนนิสกลุม่ หนึง่ ได้รว่ มใจจัดการ แข่งขันเทนนิสนัดพิเศษทีช่ อ่ื ว่า “ฮิตฟอร์เฮติ” ซึง่ ถูกจัดขึน้ เป็นครัง้ ทีส่ องในวันที่ 12 มีนาคม 2553 ที่อินเดียน เวลส์ โดยงานนี้ได้รวมเอานักเทนนิส ฝีมือดีทั้งรุ่นใหม่ รุ่นเก๋า 8 ชีวิตทั้งหญิงและชาย

http://www.marketingoops.com/digital/campaigns

ร่วมหาเงินช่วยเหลือเหยื่อผู้ประสบภัย โดยฝ่าย หญิงประกอบด้วยมาร์ตนิ า่ นาฟราติโลว่า ชุสติน เอแน็ง ลาร์รี่ เอลลิส สเตฟฟี่ กร๊าฟ และลินด์เซย์ ดาเวนพอร์ต ส่วนฝ่ายชายนำทีมโดยนักเทนนิส มือ 1 และมือ 3 ของโลกคนปัจจุบันอย่างโรเจอร์ เฟเดอเรอร์ ราฟาเอล นาดาล และสุดยอดฝีมือ ในอดีตอย่างพีท แซมพราส และอังเดร อากัสซี่ มาดวนแร็กเก็ตกันอย่างสนุกสนาน งานนี้ได้ อิ่มบุญกันไปทั่วหน้ากับยอดเงินบริจาคกว่า 1 ล้านดอลล่าร์หรือประมาณ 33 ล้านบาท Article info http://www.siamsport.co.th

Google on TV

http://www.redarmyfc.com

กูเกิลผูน้ ำเว็บไซต์ทค่ี รองใจผูใ้ ช้ดว้ ยยอดการเข้า ชมเป็นอันดับ 1 ของโลกกำลังก้าวไปอีกขั้นกับ การเปลี่ยนแปลงมิติใหม่เข้าสู่การนำ Platform หรือตัวเว็บไซต์รวมถึง Content มาไว้บนหน้าจอ โทรทัศน์ด้วยความร่วมมือของค่ายยักษ์ใหญ่ อย่างกูเกิล อินเทล และโซนี่ โดยเน้นไปที่การ อำนวยความสะดวกให้กับการดูโทรทัศน์ของ ท่านไปพร้อมกับการท่องเว็บไซต์ ซึ่งนั่นหมาย รวมถึงการเข้าชมวีดีโอที่จะสะดวกขึ้นและเข้า ถึงเว็บไซต์ได้ง่ายขึ้น นอกจากนี้มีความหวังว่า Twitter, Facebook, Youtube และการเช็ค Mail ผ่านโทรทัศน์จะเกิดขึ้นอย่างแน่นอน โดยการ เปลี่ยนแปลงดังกล่าวคงไม่อาจปฏิเสธได้ว่าเว็บ ไซต์กำลังจะเข้ากินพื้นที่ของรายการโทรทัศน์ และยอดเงินจากการโฆษณาที่จะถูกแบ่งเข้าสู่ บริษัท ดอทคอม คงเป็นความจริงไม่ยากนัก

ไนกี้ (Nike) เปิดตัวเสื้อบอลรักษ์โลกต้อนรับ มหกรรมฟุตบอลโลกปี 2010 ที่แอฟริกาใต้ ซึ่ง ทุกชุดถูกผลิตขึ้นจากโพลีเอสเตอร์ที่นำกลับ มาใช้ใหม่ทั้งหมดโดยแต่ละชุดทำจากขวดน้ำ พลาสติกใช้แล้วจำนวน 8 ขวดที่ได้จากวัสดุที่ ใช้ในการถมที่ตามสถานที่ต่างๆ ในประเทศ ญีป่ นุ่ และใต้หวัน โดยเปิดตัวกับชุดแข่ง 9 ชาติท่ี จะสวมใส่ลงฟาดแข้งในศึกฟุตบอลในช่วงกลาง ปีนป้ี ระกอบไปด้วยประเทศบราซิล เนเธอร์แลนด์ โปรตุเกส สหรัฐฯ เกาหลีใต้ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ เซอร์เบีย และสโลเวเนีย Article info http://www.baanmaha.com/community/ thread31536.html

รีววิ จับฉลากแบ่งกลุม่ ฟุตบอลโลก 2010 ขอต้อนรับเข้าสูม่ หกรรมฟุตบอลโลกรอบสุดท้าย ทีแ่ อฟริกาใต้ในปี 2010 ทีก่ ำลังจะประเดิมสนาม ตะบันแข้งให้คอบอลทั่วโลกได้นั่งลุ้นกันอย่าง ใจจดใจจ่อในวันที่ 11 มิถุนายน -11 กรกฎาคม 2010 ก่อนถึงเวลานัน้ เรามารีววิ ผลการจับฉลาก แบ่งกลุม่ รอบสุดท้ายก่อนเกมดวนศึกกับสุดยอด 32 ทีมจากทัว่ ทุกทวีปทีผ่ า่ นรอบคัดเลือกมาอย่าง สุดมันตั้งแต่วันที่ 5 ธันวาคม 2009 ตามเวลาใน ประเทศไทยที่ผ่านมาโดยผลการจับฉลากแบ่ง กลุ่มเป็นดังนี้

กลุ่ม A กลุ่ม B กลุ่ม C กลุ่ม D กลุ่ม E กลุ่ม F กลุ่ม G กลุ่ม H

: แอฟริกาใต้ / เม็กซิโก / อุรุกวัย / ฝรั่งเศส : อาร์เจนตินา / ไนจีเรีย / เกาหลีใต้ / กรีซ : อังกฤษ / สหรัฐอเมริกา / แอลจีเรีย / สโลวีเนีย : เยอรมัน / ออสเตรเลีย / เซอร์เบีย / กานา : ฮอลแลนด์ / เดนมาร์ก / ญี่ปุ่น / แคเมอรูน : อิตาลี / ปารากวัย / นิวซีแลนด์ / สโลวะเกีย : บราซิล / เกาหลีเหนือ / ไอเวอรีโคสต์ / โปรตุเกส : สเปน / สวิตเซอร์แลนด์ / ฮอนดูรัส / ชิลี

จะระเบิดความมันในวันที่ 11 มิถนุ ายน 2010 นี้ Article info http://www.manager.co.th

Article info http://www.marketingoops.com www.media-matter.com 45


EVENT Review

NSTDA Annual Conference 2010 : Science and Technology for our Society and Planet พบกันเป็นประจำเช่นเคยครับสำหรับผู้ที่ติดตามการเคลื่อนไหวของ งานสัมมนางานประชุมวิชาการและงานนิทรรศการทั้งภายในและ ภายนอกประเทศอย่างใกล้ชิด หากมีงานดีๆ จัดขึ้นที่ไหนและเมื่อใด ผมคงพูดได้คำเดียวครับว่านิตยสารของเราไม่มีทางที่จะพลาดการ เข้าร่วมงานอย่างแน่นอน และที่สำคัญคือไม่ลืมที่จะพกข้อมูลดีๆ กลับ มาฝากท่านผู้อ่านนิตยสารอินโนแล็บ และครั้งนี้ก็เป็นอีกครั้งหนึ่งที่ผม กับทีมงานได้คัดสรร งานประชุมวิชาการดีๆ ระดับชาติอีกชิ้นหนึ่งมา เล่าสูก่ นั ฟังกับงานประชุมวิชาการประจำปี 2553 ของสำนักงานพัฒนา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) กระทรวงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ภายใต้หัวข้อที่ชื่อว่า “วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อสังคมและโลก” ซึ่งถือได้ว่าเข้ากับกระแสการนำเทคโนโลยีสี เขียว (Green Technology) มาเป็นเครื่องมือในการแก้ไขและป้อง กันสังคมโลกจากการปรับตัวสูงขึ้นของอุณหภูมิที่ทวีความรุนแรง ขึ้นในปัจจุบันงานนี้ถูกจัดขึ้นระหว่างวันที่ 29-31 มีนาคม 2553 ณ อุทยานวิทยาศาสตร์ ประเทศไทย จ. ปทุมธานี ที่เพิ่งผ่านไปไม่นาน โดยได้ ร ั บ พระมหากรุ ณ าธิ ค ุ ณ เป็ น ล้ น พ้ น จากสมเด็ จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ที่ทรงเสด็จพระราชดำเนินเปิด และทอดพระเนตรนิทรรศการ “สมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุมารี กับวิทยาศาสตร์และเทค โนโลยีไทย” ซึ่ง นำเสนอเกี่ยวกับโครงการในพระราชดำริเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตประชากรไทยโดยใช้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีทส่ี ำคัญอัน เป็นอาชีพและ ทรัพยากรที่ใช้เลี้ยงปากเลี้ยงท้องคนไทยและคนทั่วโลก อยู่ในเวลานี้ ด้วยงานพัฒนาเกี่ยวกับเรื่องข้าวตั้งแต่ต้นน้ำจนกระทั่งถึง ปลายน้ำ เช่น โครงการพัฒนาปรับปรุงพันธุ์ข้าวทนแล้ง การถ่ายทอดเทคโนโลยีผลิตเมล็ดพันธุ์ การผลิตและแปรรูปที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม การควบคุมคุณภาพ การพื้นฟูพื้นดินเค็ม โครงการเทคโนโลยีสาร สนเทศเพื่อการศึกษาของโรงเรียนในชนบทและเพื่อคนพิการ เป็นต้น รวมถึงทรงเปิดนิทรรศการและทอดพระเนตรผลงานวิจัย/พัฒนาของ สวทช. ในรอบปีเป็นลำดับถัดมา

วัตถุประสงค์ของการจัดงานในครั้งนี้ก็เพื่อเผยแพร่ความรู้ทางด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผลงานวิจัยและพัฒนาให้แก่นักวิจัย นัก วิชาการ นักธุรกิจอุตสาหกรรม นักศึกษาระดับอุดมศึกษา และภาค ประชาชนโดยมุง่ เน้นให้เกิดการนำเทคโนโลยีและองค์ความรูด้ า้ นวิทยาศาสตร์ที่เกิดขึ้นไปประยุกต์ใช้ในภาคเศรษฐกิจและสังคมในวงกว้าง เสริมสร้างความเข้มแข็งและความสามารถในการแข่งขันด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ลดการพึ่งพาเทคโนโลยีจากต่างประเทศอันจะ เป็นรากฐานสำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ของประเทศที่ยั่งยืน โดยผู้เข้าร่วมชมงานจะได้เต็มอิ่มไปกับนวัตกรรม และความรู้ใหม่ๆ ภายในงานซึ่งถูกจัดแบ่งออกเป็นสองส่วนหลักๆ คือ ในส่วนของการประชุมวิชาการและการจัดนิทรรศการ ในส่วนนี้ยังถูก แบ่งย่อยออกเป็นนิทรรศการในส่วนของการเทิดพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี กับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ไทย และผลงานของ สวทช. ร่วมกับพันธมิตร ผลงานทีร่ ว่ มจัดแสดงภาย ในงานมีมากว่า 140 ชิ้นซึ่งล้วนเป็นประโยชน์ต่อผู้เข้าร่วมชมงานและ สาธารณชนเป็นอย่างยิ่ง มากไปกว่านั้นยังมีหัวข้อการประชุมวิชาการอีกมากกว่า 30 หัวข้อที่น่าสนใจ เห็นอย่างนี้แล้วบอกได้คำเดียว ครับว่าใครที่พลาดการเข้าร่วมชมงานใน 3 วันนี้น่าเสียได้เป็นอย่างยิ่ง เพราะงานดีๆ อย่างนีม้ เี พียงปีละครัง้ เท่านัน้ แต่ไม่เป็นปัญหาครับสำหรับ ผู้ที่พลาดการเข้าร่วมชมงาน นิตยสารอินโนแล็บขออาสาเป็นสื่อกลาง ที่จะนำความรู้บางช่วงบางตอนของการบรรยายจากท่านวิทยากรผู้ ทรงภูมิความรู้มาถ่ายทอดต่อ สำหรับทุกคนที่มีหัวใจรักษ์โลกใบเล็กๆ ใบนี้ใบเดียวกัน

NAC 2010


Mar - Apr 10

Low Carbon Economy

ปัญหาอุณหภูมขิ องโลกทีป่ รับตัวสูงขึน้ จากการตัง้ หน้าตัง้ ตาปล่อยก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์หนึง่ ในก๊าซเรือนกระจกทีส่ ำคัญอันมีผลกระทบโดย ตรงต่อสภาวะโลกร้อนทีเ่ กิดขึน้ จนหลายฝ่ายออกมาแสดงความคิดเห็น และวิพากษ์วิจารณ์กับสถานการณ์ที่เกิดขึ้น แต่ภาวะดังกล่าวก็ยัง ทวีความรุนแรงขึ้นทุกปี ส่งผลให้หลายๆ ประเทศหรืออาจกล่าวได้ ว่าทุกประเทศทั่วโลกรวมถึงประเทศไทยหันมาให้ความสำคัญกับ สังคมคาร์บอนต่ำมากขึ้นโดยมีการลดการใช้พลังงาน ลดการปล่อย ก๊าซเรือนกระจกรวมถึงลดการใช้สารเคมีเพื่อเป็นการลดภาระของสิ่ง แวดล้อมและโลกให้น้อยลง ขณะเดียวกันก็หันมามองและให้ความ สำคัญกับผลิตภัณฑ์ทผ่ี ลิตจากวัสดุทางเลือกมากขึน้ อย่างวัสดุชวี ภาพ ตัวอย่างเช่น พลังงานชีวภาพ (ไบโอดีเซล) สารเคมีชีวภาพ (เอนไซม์) หรือโพลิเมอร์ชีวภาพ (พลาสติกชีวภาพ) ซึ่งต่างประหยัดพลังงาน และลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมในกระบวนการผลิตโดยเฉพาะอย่าง ยิ่งไม่ก่อให้เกิดผลพลอยได้ที่เป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อม เช่น ไดออกซิน กรดซัลฟูริก และโลหะหนักต่างๆ รวมทั้งการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกออกมาในปริมาณมากด้วย ซึ่งปัจจุบันอุตสาหกรรมทุกภาคส่วนทั่ว โลกก็เริม่ ให้ความสนใจและตระหนักถึงการใช้หรือการผลิตสินค้าทีเ่ ป็น มิตรต่อสิ่งแวดล้อม (eco product) โดยใช้วัสดุทางเลือกดังกล่าวมาก ขึ้นเพื่อเป็นการแสดงออกถึงความรับผิดชอบต่อสังคม นอกจากนี้ยัง เป็นการลดต้นทุนในการผลิตให้ต่ำลง และป้องกันพร้อมทั้งตอบสนอง ความต้องการในอนาคตของผูบ้ ริโภคทีเ่ น้นผลิตภัณฑ์สเี ขียวมากขึน้ ซึง่ ปัจจุบนั มีบางประเทศได้นำมาตรการทางด้านสิง่ แวดล้อมมาเป็นเครือ่ ง มือในการกีดกันทางการค้าระหว่างประเทศ ดังนั้นในหลายๆ ประเทศ เช่น อังกฤษ ฝรั่งเศส สหรัฐฯ และกำลังขยายวงกว้างขึ้นในทวีปอื่นๆ ทัว่ โลกรวมถึงเอเชียของเราโดยเฉพาะอย่างยิง่ ในประเทศญีป่ นุ่ ไต้หวัน รวมถึ ง ประเทศไทย จึ ง เกิ ด แนวคิ ด ที ่ ว ่ า จะทำอย่ า งไรให้ ป ริ ม าณ การปลดปล่อยสารต่างๆ ที่เป็นตัวบ่งชี้ถึงการทำลายโลกและสิ่งแวดล้อมให้ลดน้อยที่สุดโดยมุ่งเน้นไปที่ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่เป็นตัว การสำคัญของอุณหภูมิโลกที่เพิ่มสูงขึ้น ประเทศต่างๆ เหล่านี้จึงให้ ความสนใจกับการประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ (Carbon Footprint; CF) กันมากและมากขึน้ เรือ่ ยๆ เพือ่ ใช้ในการคำนวณปริมาณก๊าซเรือน กระจกทีเ่ กิดจากสินค้านัน้ ๆ ต่อหนึง่ หน่วยผลิตภัณฑ์ตลอดวัฏจักรชีวติ ของผลิตภัณฑ์ โดยคำนวณออกมาในรูปของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ เทียบเท่า

47

www.media-matter.com

ประเทศไทยได้เริ่ม “โครงการส่งเสริมการใช้คาร์บอนฟุตพริ้นท์บน ผลิตภัณฑ์” ตั้งแต่วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2552 ซึ่งดำเนินการอย่างจริง จังและเป็นรูปธรรมมาเป็นเวลาปีเศษ โดยความร่วมมือระหว่างศูนย์ เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (ศว.) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ กับ องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน; อบก.) เพื่อเป็นการส่งเสริมให้อุตสาหกรรมไทยทัน กระแสโลกและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ซึ่งมีโรงงานที่ สมัครและได้รับการคัดเลือกเข้าร่วมโครงการจำนวนทั้งสิ้น 25 โรงงาน ประกอบด้วยกลุม่ อุตสาหกรรมอาหาร สิง่ ทอ ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ชิน้ ส่วนยานยนต์ บรรจุภณ ั ฑ์ และอืน่ ๆ นอกจากนีห้ ลายประเทศยังมีการ นำกลไกการลดก๊าซเรือนกระจกอืน่ มาใช้ อาทิ กลไกการพัฒนาสะอาด (Clean Development Mechanism; CDM) ซึ่งเป็นกลไกที่จะช่วย ให้ประเทศในกลุ่มที่ถูกกำหนดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ตามพิธีสารเกียวโตสามารถลดก๊าซเรือนกระจกได้อย่างเป็นรูปธรรม โดยการร่วมลงทุนกับประเทศที่ไม่ถูกกำหนดดำเนินโครงการลดการ ปล่อยก๊าซและนำปริมาณก๊าซดังกล่าวที่ลดได้มารวมกับบัญชีลดการ ปล่อยก๊าซของประเทศเหล่านั้นได้ กลไกดังกล่าวทำให้เกิดการซื้อขาย กรรมสิทธิค์ วามเป็นเจ้าของก๊าซเรือนกระจกทีล่ ดได้ซง่ึ ถูกเรียกเป็นการ ทัว่ ไปว่าการซือ้ ขายคาร์บอนเครดิต (carbon credit) จนทำให้เกิดตลาด ใหม่เรียกว่าตลาดคาร์บอน ซึง่ ช่วงทีผ่ า่ นมาตลาดดังกล่าวขยายวงกว้าง อย่างรวดเร็วจนถูกคาดการณ์ว่าไม่เกินปี 2020 ตลาดนี้จะเป็นตลาด สินค้าโภคภัณฑ์ที่ใหญ่ที่สุดในโลก นี้เป็นเพียงส่วนหนึ่งของความน่าสนใจภายในงานประชุม ประจำปีของ สวทช. หรือ NAC 2010 ที่นำมาฝากกันในฉบับนี้ หวังว่า คงเป็นประโยชน์สำหรับผู้ที่ไม่ได้เข้าร่วมงานไม่มากก็น้อย แล้วพบกัน ใหม่ฉบับหน้ากับงาน PROPAK ASIA 2010 วันที่ 16-19 มิถุนายน 2553 ครับ Entry no.a012


Upcoming Event

48

www.media-matter.com


Mar - Apr 10

www.media-matter.com 49


News INNOVATION FOR FOOD INDUSTRY ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (NANOTEC) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ได้จดั งานสัมมนาวิชาการเรือ่ ง “นวัตกรรมใหม่ในอุตสาหกรรมอาหาร” ขึ้นเมื่อ 25-26 กุมภาพันธ์ 2553 ณ ห้อง Grand Hall 1 โรงแรมรามาการ์เด้นส์ สนับสนุนโดย บริษทั ศูนย์วทิ ยาศาสตร์เบทาโกร จำกัด คุณตะวัน เต่าพาลี บรรณาธิการนิตยสารอินโนแล็บได้เข้าร่วมงานและได้รบั ประกาศณียบัตรการเข้าสัมมนา ในครั้งนี้ด้วย จากการสัมมนาวิชาการในหัวข้อนวัตกรรมทางอาหารพบว่า นาโนเทคโนโลยีนน้ั กำลังเข้ามามีบทบาทอย่างยิง่ ในอุตสาหกรรมอาหาร ปัจจุบนั และมีแนวโน้มทีจ่ ะเพิม่ ขึน้ อย่างก้าวกระโดดในอนาคต ซึง่ ประเทศไทยทีเ่ ป็นประเทศทีม่ สี นิ ค้าหลักในการส่งออกคือผลิตภัณฑ์ทางการ เกษตรและอาหารนัน้ ปฏิเสธไม่ได้เลยว่ามีความจำเป็นอย่างยิง่ ทีจ่ ะต้อง มีการพัฒนาเทคโนโลยีนาโนทางด้านอาหารซึ่งผู้ประกอบการต้องก้าว ตามให้ทันเทคโนโลยีที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาอย่างรวดเร็ว เพื่อให้การดำเนินธุรกิจเป็นไปได้อย่างต่อเนื่องและสามารถแข่งขันใน ตลาดได้รวมถึงช่วยให้ธุรกิจเติบโตได้อย่างยั่งยืน นอกจากการพัฒนา เทคโนโลยีแล้ว การพัฒนาในส่วนของกระบวนการทางด้านการตรวจสอบ คุณภาพ ความปลอดภัย และกฎระเบียบข้อบังคับต่างๆ โดยนาโนเทค โนโลยีนั้นได้เข้าไปมีความเกี่ยวข้องกับทั้งห่วงโซ่คุณค่าของการผลิต อาหารตั้งแต่การผลิตวัตถุดิบที่จะนำมาแปรรูปกระบวนการในการ แปรรูป ขั้นตอนในส่วนของบรรจุภัณฑ์ การเก็บรักษาและการขนส่ง อันเป็นความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีใหม่ๆ ในอุตสาหกรรมอาหารซึ่ง สามารถสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์และเป็นที่ต้องการของตลาด รวมทัง้ ข้อกำหนดและกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องและทราบถึงผลงานสิทธิบตั ร เทคโนโลยีของ สวทช. และเครือข่ายที่สามารถขออนุญาตนำสิทธิไปใช้ ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ได้จริง News info INNOLAB team 26 กุมภาพันธ์ 2553

สนพ.-สนช. สานสัมพันธ์ปลุกกระแส พลังงานทดแทน

วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2553 ทีผ่ า่ นมา สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (สนช.) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และสำนักงานนโยบายและแผน พลังงาน (สนพ.) กระทรวงพลังงาน ร่วมลงนามในบันทึกข้อตกลงความ ร่วมมือการพัฒนาและส่งเสริมนวัตกรรมด้านพลังงานทดแทน เพือ่ ปรับ กลยุทธ์สง่ เสริมการใช้พลังงานทดแทนเป็นพลังงานหลักแทนการนำเข้า เชื้อเพลิง โดยเริ่มจากการพัฒนาเชื้อเพลิงชีวภาพและชีวมวลจากขยะ 50

www.media-matter.com

มูลสัตว์และวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรในท้องถิ่น เพื่อผลิตไฟฟ้าและ พลังงานทดแทนก๊าซหุงต้ม โดยเริ่ม “โครงการนำร่องเพื่อผลิตพลัง งานทดแทนจากชีวมวล” ในอุตสาหกรรมระดับชุมชนและหมูบ่ า้ นก่อน 11 แห่งในปีแรกเป็นอันดับต้นและขยายเป็น 51 แห่งในอีก 3 ปีขา้ งหน้า โดยมีเป้าหมายเพื่อการใช้พลังงานทดแทนอย่างยั่งยืนและเพิ่มการ ใช้พลังงานทดแทนจาก 8% เป็น 20% ในปี 2565 โดยทาง สนพ. ทำ หน้าทีเ่ ป็นผูส้ ง่ เสริมและสนับสนุนด้านการขยายผลของเทคโนโลยีและ นวัตกรรมด้านพลังงานทดแทน ส่วนสำหรับ สนช. จะเป็นผู้ให้การสนับ สนุนเงินอุดหนุนแก่ผปู้ ระกอบการในการพัฒนานวัตกรรมด้านพลังงาน ทดแทนไปสู่รูปแบบของผลิตภัณฑ์เชิงพาณิชย์ได้ต่อไป ซึ่งความร่วม มืออันดีดังกล่าวจะนำไปสู่การพัฒนานวัตกรรมในด้านการอนุรักษ์ พลังงาน สิ่งแวดล้อม รวมถึงการพัฒนาพลังงานทางเลือกรูปแบบอื่นๆ ต่อไปในอนาคตอันใกล้ News info INNOLAB team 25 กุมภาพันธ์ 2553

ลูกชิ้นปลาเรืองแสง

http://talk.mthai.com

จาก 13 กุมภาพันธ์ 2553 ที่ผ่านมา ได้มีผู้บริโภครายหนึ่งเข้าร้องเรียน ที่หนังสือพิมพ์เดลินิวส์ถึงความผิดปกติของลูกชิ้นปลาที่ซื้อจากตลาด สามารถเรืองแสงสีฟา้ ได้เมือ่ อยูใ่ นทีม่ ดื ซึง่ ผูเ้ ชีย่ วชาญได้ตง้ั ข้อสันนิษฐาน ไว้ 2 กรณีคอื 1) อาจเกิดจากการเน่าเสียของลูกชิน้ ปลาจากการปนเปือ้ น เชื้อแบคทีเรียวิบริโอ และแบคทีเรียสูโดโมแนส และ 2) อาจเกิดจาก สารผสมอาหารที่ช่วยให้เหนียวนุ่มน่ารับประทานอย่างโซเดียมไตรโพลีฟอสเฟต จากการตรวจสอบจากห้องปฏิบัติการของกรมวิทยาศาสตร์ การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุขพบว่าลูกชิน้ ปลาทีเ่ กิดการเรืองแสงนัน้ เกิดจากเชือ้ แบคทีเรียในกลุม่ ลูมเิ นสเซนท์ (luminescence) ซึง่ เป็นแบคทีเรียที่พบในโปรตีนลูซิเฟอริน (luciferin) ทำให้เกิดการเรืองแสงได้ ซึ่งแบคทีเรียนี้สามารถพบได้ในน้ำทะเลจึงพบได้กับสัตว์ทะเลตาม ธรรมชาติโดยเฉพาะในฤดูหนาวแต่ยงั ไม่พบการศึกษาใดทีร่ ะบุวา่ แบคทีเรียดังกล่าวเป็นอันตรายต่อคน จากการตรวจสอบคาดว่าน่าจะเกิด จากการปนเปือ้ นจากมือหรืออุปกรณ์ของผูป้ ฏิบตั งิ านในช่วงใดช่วงหนึง่ ของกระบวนการผลิต โดยเฉพาะอย่างยิ่งขั้นตอนของการดองน้ำแข็ง นอกจากนี้ อาจเกิดปฏิกิริยาเรืองแสงได้เองหากแบคทีเรียดังกล่าวรวม กับโปรตีนในเนื้อปลา อย่างไรก็ตามถึงแม้ว่าแบคทีเรียที่พบในการปนเปื้อนกรณี ดั ง กล่ า วจะไม่ ก ่ อ ให้ เ กิ ด โรคหรื อ เป็ น อั น ตรายแต่ ก ็ ค วรหลี ก เลี ่ ย ง การบริโภค หรือทำให้สุกก่อนบริโภคเพื่อทำลายเชื้อจุลินทรีย์อื่นๆ ทีอ่ าจปนเปือ้ น ในลูกชิน้ และส่งผลให้เกิดโรคได้ นอกจากนัน้ ก่อนซือ้ ลูก


Mar - Apr 10

ชิน้ มาบริโภคควรสังเกตว่ามีฉลากถูกต้องหรือไม่ โดยดูวนั เดือนปีทผ่ี ลิต และสถานที่ผลิต ไม่ควรรับประทานลูกชิ้นที่ผลิตไว้นานเกิน 1-2 วัน และควรเก็บไว้ในที่เย็น

ระดับไขมันในเส้นเลือดและช่วยการทำงานของตับในการกำจัดไขมัน ออกจากร่างกาย ช่วยขับพิษต่างๆ รวมทั้งสารพิษตกค้างออกจากร่างกาย เป็นต้น จนถูกขนานนามว่าเป็นราชาสมุนไพร

News info ASTV ผู้จัดการออนไลน์ 22 กุมภาพันธ์ 2553

ห้องปฏิบตั กิ ารไดออกซินแห่งแรกของประเทศไทย

รัฐบาลได้จัดสรรงบประมาณกว่า 77 ล้านบาท ในการเปิดห้องปฏิบัติ การไดออกซินแห่งแรกของประเทศไทยขึน้ ที่ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข เพือ่ เป็นการสร้างความเชือ่ มัน่ ในด้านความปลอดภัย ของอาหารให้กบั ผูบ้ ริโภค หลังตรวจพบสารไดออกซินปนเปือ้ นในอาหาร จำนวนมาก ทางองค์การอนามัยโลก (WHO) ได้กำหนดค่า Tolerable Daily Intake (TDI) ของไดออกซินไว้ที่ 1-4 พิโคกรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม ซึ่งหมายความว่ามนุษย์สามารถได้รับไดออกซินจากแหล่ง ต่างๆ รวมกันวันละไม่เกินค่าดังกล่าวจะไม่ก่อให้เกิดความเป็นพิษต่อ ร่างกาย โดยที่ผ่านมาประเทศไทยทำการส่งตรวจยืนยันความปลอด ภัยของสารไดออกซินจากต่างประเทศเท่านั้นและต้องใช้ระยะเวลา และค่าใช้จ่ายที่สูง ซึ่งถือเป็นการดีที่กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์มีห้อง ปฏิบัติการไดออกซิน เพราะจะช่วยส่งเสริมอุตสาหกรรมการส่งออกให้ เป็นทีย่ อมรับในระดับสากล และเป็นการคุม้ ครองผูบ้ ริโภคภายในประเทศ ให้ปลอดภัย รวมทั้งช่วยลดค่าใช้จ่ายในการส่งตรวจได้เป็นจำนวนมาก ซึง่ ขณะนีห้ อ้ งปฏิบตั กิ ารดังกล่าวพร้อมแล้วทีจ่ ะเปิดให้บริการตรวจวิเคราะห์ ไดออกซินในอาหาร

ตำรั บ ยาไทยส่ ว นใหญ่ ไ ม่ น ิ ย มใช้ ส มุ น ไพรตั ว เดี ย วในการ ทำยาตำรั บ เนื ่ อ งจากต้ อ งควบคุ ม พิ ษ ข้ า งเคี ย งของกั น และกั น ตรี ผ ลาเองก็ เ ช่ น กั น รสเปรี ้ ย วซึ ่ ง มี ฤ ทธิ ์ ร ะบายของลู ก สมอพิ เ ภก อาจทำให้เกิดอาการมวนท้องจึงต้องใช้ลกู สมอไทยและลูกมะขามป้อม ซึ่งมีรสฝาดและขมช่วยแก้ลมจุกเสียดและลดอาการมวนท้อง เป็นต้น ยาตำรับนี้ใช้ได้กับทุกเพศทุกวัยตั้งแต่เด็กเล็กจนถึงผู้สูงอายุและใช้ได้ กับคนทุกธาตุสามารถนำมาทำเป็นน้ำสมุนไพรดื่มได้โดยใช้อัตราส่วน เสมอ คือ 1:1:1 ปริมาณน้ำตามแต่ต้องการจะช่วยปรับธาตุในช่วงหน้า ร้อน ทำให้ร่างกายสดชื่น และบำรุงสุขภาพ News info ศูนย์ข้อมูลสมุนไพร สถาบันวิจัยสมุนไพร ASTV ผู้จัดการออนไลน์ 18 มีนาคม 2553

อย. เตือนหลีกเลี่ยงการใช้อาหารเสริม 3 รายการที่มีการลักลอบใส่ยาลดความอ้วน ชนิดควบคุมพิเศษ ไซบูทรามีน ซึ่งมีผล ข้างเคียงต่อผู้บริโภค

News info ศูนย์ข้อมูลด้านอาหาร กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข 25 กุมภาพันธ์ 2553

ดืม่ “น้ำตรีผลา” ปรับธาตุชว่ งหน้าร้อน กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกแนะนำเมนูดับ ร้อนด้วย “น้ำสมุนไพรตรีผลา” ซึ่งมีส่วนผสมของสมุนไพรไทย 3 ชนิด คือ ลูกสมอไทย ลูกสมอพิเภก และมะขามป้อมสมอไทย ทีด่ ม่ื แล้วจะช่วย ให้ชมุ่ คอแถมดีตอ่ ร่างกาย ทัง้ ช่วยปรับธาตุ บำรุงสุขภาพและล้างพิษออก จากร่างกายได้ ด้วยมีองค์ประกอบสำคัญอย่างสมอไทยทีม่ รี สฝาดเปรีย้ ว จากการมีสารพวกแทนนิน (tannin) รวมถึงสรรพคุณทางยาทีม่ มี ากมาย ไม่ว่าจะเป็นการออกฤทธิ์ในการต้านเชื้อไวรัสและแบคทีเรียบางชนิด บำรุงหัวใจ ต้านอนุมลู อิสระและชะลอความชรา นอกจากนีย้ งั ช่วยควบคุม

สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ส่งตรวจวิเคราะห์คณ ุ ภาพ ทางวิชาการผลิตภัณฑ์เสริมอาหารจากสถานที่จำหน่ายอาหารบริษัท เฮลท์ ดี ดี อินเตอร์ จำกัด ที่กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ผลปรากฏว่า พบ “ไซบูทรามีน” (sibutramine) ซึ่งเป็นยาลดความอ้วนและเป็นยา ควบคุมพิเศษทีต่ อ้ งสัง่ จ่ายโดยแพทย์และขายได้เฉพาะในสถานพยาบาล เท่านั้น นอกจากนี้ยาดังกล่าวเป็นยาที่ยังต้องอยู่ภายใต้มาตรการการ ติดตามความปลอดภัยในสถานพยาบาลอีกด้วย ซึ่งผลิตภัณฑ์ที่ตรวจ พบสารดังกล่าว ได้แก่ 1. ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร ทเวนตี้โฟร์เชฟ สารสกัดจากส้มแขก www.media-matter.com 51


ผสมแอล-ออร์นิทีน แอล-ไลซีน แอล-อาร์จินีน เคลป์ สารสกัดจาก มะขามป้อม วิตามินซี วิตามินบี 6 และโครเมียม ผลิตโดยบริษัทไอพรีเฟอร์ยู จำกัด 2. ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร ไฟว์ เชฟ สรรพคุณอาหารเสริมเพื่อ สุขภาพ เหมาะสำหรับผู้ควบคุมน้ำหนักจัดจำหน่ายโดยบริษัทเฮลท์ ดี ดี อินเตอร์ จำกัด 3. ผลิตภัณฑ์กาแฟปรุงสำเร็จชนิดผง กาแฟคาปูชิโน่ ตรา ทเวนตี้โฟร์ โดยบริษัทเฮลท์ ดี ดี อินเตอร์ จำกัด อย. เตือนขอให้ผบู้ ริโภคระมัดระวังในการเลือกซือ้ ผลิตภัณฑ์เสริม อาหารและอย่าซือ้ ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารทัง้ 3 รายการ ทัง้ นีย้ าไซบูทรามีน ที่พบลักลอบผสมในผลิตภัณฑ์เสริมอาหารนั้นเป็นยาที่ผู้บริโภคไม่ควร บริโภคเองโดยไม่ได้อยู่ในการดูแลของแพทย์ เพราะเป็นยาที่มีผลข้าง เคียงที่พบบ่อยคือทำให้เกิดความดันโลหิตสูงและหัวใจเต้นเร็วรวมถึง มีผลข้างเคียงอื่นๆ อีกมากที่จะตามมา Article info กองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค คณะกรรมการอาหารและยา 21 กุมภาพันธ์2553

สารออกฤทธิ์จากสมุนไพรเดี่ยวซึ่งไม่ใช่ตำรับยาสมุนไพรแผนโบราณ ตำรับยาสมุนไพรแผนโบราณจะต้องมีตวั ยาอย่างน้อย 3 ตัวยาสมุนไพร คือ ตัวยาหัวหน้า ตัวยาช่วยฤทธิ์ และตัวยาคุมฤทธิ์ เพราะว่าตัวยา สมุนไพรส่วนมากจะมีอาการข้างเคียงดังนัน้ การใช้สมุนไพรเดีย่ วรักษา โรคจึงไม่ใช่การใช้สมุนไพรตามหลักการแพทย์แผนไทย ดังนั้นรัฐบาล ควรปรับแนวคิดและนโยบายการให้ความรู้เกี่ยวกับการแพทย์แผน ไทยและส่งเสริมการศึกษาวิจัยตำรับยาสมุนไพรในเชิงลึกมากยิ่งขึ้น เพราะไทยเรามีภมู ปิ ญ ั ญาดัง้ เดิมทีเ่ ป็นพืน้ ฐานทีจ่ ะทำให้การวิจยั ประสบ ความสำเร็จได้ไม่ยาก ซึ่งจะสามารถช่วยลดการนำเข้ายาแผนปัจจุบัน จากต่างประเทศได้เป็นมูลค่ามหาศาล และแก้ปัญหาการรักษาที่ไม่ ได้ผลจากการใช้ยาแผนปัจจุบันได้ Article info ศูนย์ข้อมูลสมุนไพร สถาบันวิจัยสมุนไพร โดย ASTV ผู้จัดการออนไลน์ 22 มีนาคม 2553

นักวิจัย สทน. ฉายรังสีทำหมันแมลง ยันปลอดภัยต่อผู้บริโภค

ตำรับยาสมุนไพร “อาวุธสีเขียว ต้านอาวุธชีวภาพ” ลดการนำเข้ายาต่างประเทศ ขึ้นชื่อว่า “อาวุธ” ย่อมทำอันตรายต่อมนุษย์ได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง อาวุธชีวภาพที่จัดว่าเป็นอาวุธที่มีอานุภาพทำลายล้างสูงอย่างหนึ่ง ที่ก่อให้เกิดผลกระทบเป็นบริเวณกว้างได้ภายในระยะเวลารวดเร็ว แต่อย่างไรก็ตามถึงแม้วา่ ปัจจุบนั อาวุธชีวภาพจะถูกควบคุมและทำลาย หมดแล้วจากการทำอนุสญ ั ญาห้ามอาวุธเคมีและอาวุธชีวภาพ ซึง่ ประเทศไทยก็เป็นหนึง่ ในสมาชิกของอนุสญ ั ญาดังกล่าว แต่ทว่าในความเป็น จริงภัยคุกคามในรูปแบบของการก่อการร้ายโดยใช้อาวุธเคมีและชีวภาพ ได้เข้ามาแทนการทำสงครามแบบเดิมๆ ตัวอย่างการโจมตีของผูก้ อ่ การ ร้ายด้วยอาวุธเคมีและชีวภาพทีเ่ กิดขึน้ เมือ่ ไม่นานมานีค้ อื การใช้เชือ้ โรค แอนแทรกซ์ สารซาริน และสารวีเอ็กซ์ ในญี่ปุ่นโดยลัทธิโอมชินริเกียว และการส่งซองจดหมายบรรจุสปอร์ของเชือ้ แอนแทรกซ์ในสหรัฐอเมริกา จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่ทั่วโลกรวมถึงประเทศไทยควรจะมีการป้องกันการ ใช้เครื่องมือดังกล่าวเพื่อรองรับเหตุที่อาจจะเกิดขึ้น

สมุนไพรไทยเองบางชนิดมีคุณสมบัติที่สามารถต้านอาวุธชีวภาพในรูปแบบของเชื้อไวรัสได้ ตัวอย่างเช่น ประยงค์ มะรุม ขนุนป่า ผักกาดน้ำ ว่านหางจระเข้ บัวบก โกฐน้ำเต้า ส้ม องุ่น บัว กานพลู พืชในตระกูลสบูเ่ ลือด และพืชในตระกูลบานไม่รโู้ รย เป็นต้น ในประเทศ ไทยมีแนวคิดการใช้ตำรายาสมุนไพรค่อนข้างมากและมีการใช้มานาน แล้ว แต่ยังไม่มีการศึกษาวิจัยกันอย่างจริงจัง ส่วนใหญ่มุ่งเน้นศึกษา 52

www.media-matter.com

หลังจากทีช่ าวสวนผลไม้ทว่ั ประเทศรวมถึงชาวสวนมังคุด ตำบลตรองนอง อำเภอขลุง จังหวัดชลบุรี แหล่งปลูกและส่งออกมังคุดติดอันดับ 1 ของโลก ประสบปัญหาพืชผลเสียหายจากแมลงวันผลไม้จนส่งผลให้ พืชผลขายไม่ได้ราคา ทางสถาบันวิจัยเทคโนโลยีนิวเคลียร์ (สทน.) จึง ได้ทำการศึกษาการทำหมันแมลงวันผลไม้โดยการฉายรังสีแกมม่าที่ 90 กิโลเกรย์อย่างจริงจังภายใต้โครงการควบคุมแมลงในพืน้ ทีก่ ว้างด้วย วิธกี ารฉายรังสีให้เป็นหมัน เพือ่ ลดจำนวนแมลงชนิดดังกล่าวตามธรรมชาติแทนการใช้สารเคมี โดยกลุ่มผู้วิจัยได้ทำการเพาะเลี้ยงแมลงวัน ผลไม้โดยการฉายรังสีให้แมลงเป็นหมันก่อนปล่อยกลับสู่ธรรมชาติ ผลที่ได้คือทุกๆ ปีแมลงวันผลไม้มีจำนวนลดลงอย่างเห็นได้ชัด ส่งผล ให้ต้นทุนการเพาะปลูกลดลงและผลผลิตมีความปลอดภัยสำหรับ บริโภคมากขึ้น นอกจากนี้กลุ่มวิจัยจาก สทน. ยังได้ทำการศึกษาและพัฒนา สารละลายไหมสำหรับเร่งการเจริญเติบโตของพืชจากเศษไหมทีเ่ หลือทิง้ จากการสาวไหมโดยนำมาฉายรังสีปรับปรุงคุณภาพก่อนนำไปฉีดพ่นใน แปลงเพาะปลูก หลังจากทำการทดลองพบว่าสามารถเพิม่ ผลผลิตให้กบั นาข้าวตลอดจนสวนมังคุดได้ถึง 50% หลังจากนี้จะทำการต่อยอดโดย ฉายรังสีเพือ่ หยุดการขยายพันธุข์ องศัตรูพชื ชนิดอืน่ และใช้สารสกัดจาก วิธดี งั กล่าวข้างต้นกับผลไม้ชนิดอืน่ ของจังหวัด เช่น เงาะและทุเรียน เพือ่ เพิ่มผลผลิตและสร้างรายได้ให้กับคนในจังหวัดต่อไป News info กรุงเทพธุรกิจออนไลน์ 3 มีนาคม 2553


Mar - Apr 10

มะเร็งใครว่ารักษาให้หายไม่ได้ วิธีง่ายๆ ในการรักษาโรคมะเร็งให้หายคือการคว้านชิ้นเนื้องอกที่เป็น เนื้อเยื่อที่ผิดปกติออกจากเนื้อดีให้หมด แต่จะทำอย่างไรเพื่อให้แน่ใจ ได้ว่าเนื้อเยื่อที่ทำการผ่าตัดออกมานั้นเป็นเนื้อเยื่อที่ผิดปกติและผ่าตัด ออกจากเนื้อดีจนหมดแล้ว การที่จะสามารถผ่าตัดเพื่อนำเนื้อเยื่อที่ผิด ปกติออกนัน้ ประเด็นสำคัญอยูท่ จ่ี ะทำอย่างไรจึงจะจำแนกระหว่างเนือ้ เยือ่ ทีป่ กติกบั เนือ้ เยือ่ ทีผ่ ดิ ปกติออกจากกันได้ โดยนักวิจยั จากมหาวิทยาลัย แห่งรัฐแคลิฟอร์เนีย เมืองซานดิเอโก้ ได้จำแนกเซลล์มะเร็งโดยอาศัย ตัวบ่งชี้แบบเรืองแสงเพื่อจำแนกเซลล์เนื้องอกออกจากเซลล์ปกติได้ ทันทีระหว่างการผ่าตัด ซึ่งสารเรืองแสงดังกล่าวทำจากสารแม่เหล็ก ทำให้สามารถประเมินเซลล์มะเร็งโดยอาศัยเครื่อง MRI (Magnetic Resonance Imagine) ได้ นักวิจัยอธิบายว่าสารเรืองแสงที่ใช้อยู่ใน ย่านใกล้อินฟราเรดซึ่งเป็นความยาวคลื่นที่ยาวพอที่จะทะลุผ่านชั้น ของผิวหนังและเนื้อเยื่อได้ ทำให้สามารถตรวจหาเซลล์มะเร็งที่ฝัง ตัวอยู่ในพื้นที่ที่ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่าได้อย่างเด่นชัด จากการวิจยั ในหนูทดลองพบว่าสามารถพบเซลล์มะเร็งและผ่าตัดออก มาได้มากกว่าร้อยละ 90 และเพิ่มโอกาสรอดชีวิตได้เพิ่มมากขึ้นกว่า 5 เท่า แต่สำหรับร่างกายมนุษย์นั้นมีความซับซ้อนมากกว่าหนู ซึ่งสาร เรืองแสงดังกล่าวไม่สามารถบ่งชีห้ รือเรืองแสงในเซลล์มะเร็งได้ทกุ เซลล์ รวมถึงอาจบ่งชี้ไปที่จุดที่เป็นเนื้อปกติได้ ดังนั้นในการผ่าตัดแต่ละครั้งต้องให้ศัลยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญใน การแยกความแตกต่างระหว่างเซลล์มะเร็งและเนื้อเยื่อปกติเป็นผู้ทำ การผ่าตัดรวมทัง้ ต้องให้ความสำคัญกับบางอวัยวะในส่วนทีไ่ ม่สามารถ เรืองแสงได้ เช่น ตับ ซึ่งเป็นอวัยวะที่เซลล์มะเร็งอาจมีโอกาสซ่อนอยู่ อย่างไรก็ตาม กลุ่มผู้วิจัยคาดหวังว่าอีก 2-3 ปีจะสามารถนำวีธีการดัง กล่าวมาใช้ได้จริง พร้อมทั้งศึกษาต่อยอดการใช้เชื้อไวรัสติดฉลากเรือง แสงไปจำแนกเซลล์มะเร็งและนำสารเรืองแสงเหล่านี้ไปใช้กับโรคอื่นๆ เช่น อัมพาตหรือโรคหัวใจ เป็นต้น News info กรุงเทพธุรกิจออนไลน์ 22 มีนาคม 2553

อย. บุกห้างดังจับผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ ผิดกฎหมาย ลั่นตรวจสอบห้างสรรพสินค้า ทั่วประเทศ นายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข พร้อม นพ. พิพัฒน์ ยิ่งเสรี เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ร่วมกับตำรวจกองบังคับการปราบปรามการกระทำความผิดเกี่ยวกับ การคุ้มครองผู้บริโภค (ผบก.ปคบ.) เข้าตรวจสอบร้านค้ากลางห้างดัง พร้อมจับกุม 17 ร้านค้า จำหน่ายผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพที่ผิดกฎหมาย ผลิตภัณฑ์อาหารทีน่ ำเข้าอย่างไม่ถกู ต้อง ยาแผนโบราณทีไ่ ม่มใี บอนุญาต ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางนำเข้าไม่ถูกกฎหมาย และผลิตภัณฑ์เครื่อง สำอางที่ อย. เคยประกาศว่าตรวจพบสารห้ามใช้มลู ค่ากว่า 10 ล้านบาท โดยเลขาธิการ อย. ขอให้ประชาชนระมัดระวังในการเลือกซือ้ ผลิตภัณฑ์ สุขภาพ อย่าซื้อผลิตภัณฑ์ที่ผิดกฎหมายและอย่าหลงเชื่อการโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่อวดอ้างสรรพคุณเกินจริง

ไทยนำร่อง “บาร์โค้ดอัจฉริยะ” ล้วงข้อมูลถึงแหล่งผลิตสินค้า

ประเทศไทยเริม่ ต้นพัฒนาโครงการนำร่องการใช้เทคโนโลยีเพือ่ การตรวจ สอบย้อนกลับแหล่งผลิตสินค้าเกษตรและอาหารจากรหัสมาตรฐาน สากลเพือ่ รองรับกฎหมายบังคับเกีย่ วกับการนำเข้าสินค้าด้านอาหารใน ประเทศต่างๆ ทีต่ อ้ งการการรองรับการตรวจสอบย้อนกลับของสินค้าได้ โดยเฉพาะกับประเทศกลุ่มสหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกา และญี่ปุ่น ด้วย ความร่วมมือของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยสำนักงานมาตรฐาน สินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.) กับบริษทั กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) ซึง่ เทคโนโลยีดงั กล่าวสามารถบอกได้มากกว่าราคาสิน ค้าแต่สามารถบอกรายละเอียดลงไปได้ลกึ ถึงแหล่งผลิตของสินค้านัน้ ๆ โดยคุณนิวตั ิ สุธมี ชี ยั กุล ผูอ้ ำนวยการ มกอช. เปิดเผยว่า โครงการดังกล่าว เพียงแค่ยิงแถบแสงจากเครื่องอ่านไปที่บาร์โค้ด ข้อมูลผู้ผลิตสินค้าก็ จะปรากฏบนหน้าจอทันที ผูบ้ ริโภคจะสามารถรูไ้ ด้วา่ สินค้านัน้ ใครผลิต วัตถุดบิ มาจากทีไ่ หน ได้มาเมือ่ ใด โดยอาศัยแอปพลิเคชัน่ ระบบฐานข้อ มูลออปสมาร์ทของบริษทั เอฟเอ็กซ์เอ จำกัด และโซลูชน่ั เทคโนโลยีการ สื่อสารแบบอัตโนมัติเพื่อสนับสนุนระบบการตรวจสอบย้อนกลับของ บริษัท ไอบีเอ็ม ประเทศไทย จำกัด โครงการนี้ถือเป็นโครงการนำร่องที่จะชักชวนเกษตรกรทั้งผู้ ผลิตอาหารทะล เนื้อสัตว์ ผักและผลไม้ราว 600 ราย ที่ขึ้นทะเบียนกับ สำนักงานอยูแ่ ล้วเข้าร่วมโครงการ สำหรับโครงการนำร่องระยะเวลา 1 ปี จะใช้งบประมาณราว 9 ล้านบาทตัง้ แต่การออกแบบระบบไปจนถึงการ บันทึกข้อมูลและการกำหนดรหัสภายใต้มาตรฐาน EPCIS (Electronic Product Code Information Services) ซึ่งเป็นรหัสสากลที่สามารถสื่อ สารเข้ากันได้ตรงกันทั่วโลก โดยขณะนี้อยู่ระหว่างการวางแผนปฏิบัติ การคาดว่าอีกราว 1 เดือนครึง่ จะสามารเริม่ กำหนดรหัสแปลงเกษตรกร ทีเ่ ข้าร่วมโครงการ พร้อมกับชักชวนให้บรรดาโมเดิรน์ เทรดเพิม่ จุดบริการ ตรวจสอบบาร์โค้ดภายในร้านให้ลกู ค้าสามารถเช็คข้อมูลสินค้าได้งา่ ยขึน้ คาดว่าไม่เกิน 1 กุมภาพันธ์ 2554 ก็จะเริ่มเห็นผลิตภัณฑ์ที่ใช้บาร์โค้ด ตามโครงการนี้วางจำหน่ายในท้องตลาดทั้งในและต่างประเทศ News info หนังสือพิมพ์ประชาชาธุรกิจออนไลน์ 1 เมษายน 2553

News info ไทยรัฐออนไลน์ 31 มีนาคม 2553 www.media-matter.com 53


R&D Recommended

ผู้ผลิตทั่วโลกตบเท้าร่วม งานโพรแพ็ค เอเชีย 2010 กรุงเทพฯ...มกราคม 2553 งานแสดงสินค้าเพื่อภาคอุตสาหกรรมการผลิตและบรรจุภัณฑ์ในภูมิ ภาคเอเชียครั้งที่ 18 หรือ “โพรแพ็ค เอเชีย 2010” เตรียมเปิดตัวอย่างยิ่งใหญ่อีกครั้งในระหว่าง วันที่ 16-19 มิถนุ ายนนี้ หลังประสบความสำเร็จต่อเนือ่ งในปีทผ่ี า่ นมา พร้อมตัง้ เป้ายกระดับความ ร่วมมือและการสร้างโอกาสทางธุรกิจในภูมภิ าค โดยเฉพาะในภาคอุตสาหกรรมอาหาร เครือ่ งดืม่ และเวชภัณฑ์ ตลอดระยะเวลา 4 วันของการจัดงานในปีนจ้ี ะมีผผู้ ลิตจากทัว่ โลกเข้าร่วมแสดงสินค้ากว่า 850 ราย ซึง่ พร้อมจะมานำเสนอเทคโนโลยี ผลิตภัณฑ์ และโซลูชน่ั ล่าสุดในสาขาทีเ่ กีย่ วข้อง คาดว่า จะสามารถดึงดูดนักธุรกิจและผูเ้ กีย่ วข้องเข้าชมงานกว่า 30,000 คน จาก 48 ประเทศ ก่อนหน้านี้ งานโพรแพ็ค เอเชีย 2009 ประสบความสำเร็จเกินความคาดหมาย ด้วยจำนวนผู้ผลิตที่เข้าร่วม แสดงสินค้า 843 ราย จาก 39 ประเทศ ซึ่งจัดแสดงนวัตกรรมทางเทคโนโลยีหลากหลายที่พัฒนา มาเพือ่ ลดค่าใช้จา่ ยและเพิม่ ประสิทธิภาพการใช้พลังงาน โดยดึงดูดนักธุรกิจและผูเ้ ข้าชมงานถึง 29,600 คน จาก 63 ประเทศ ซึง่ รวมถึงผูซ้ อ้ื รายใหญ่จากมาเลเซีย สิงคโปร์ ญีป่ นุ่ เวียดนาม อินเดีย พม่า จีน อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์ ในครั้งที่แล้วมียอดขายรวมตลอดการจัดงานราว 3,500 ล้านเหรียญสหรัฐฯ รวมถึงยอด ขายและธุรกิจต่อเนื่องหลังการจัดงานอีกกว่า 10,000 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ยอดขายดังกล่าว สะท้อนภาพการลงทุนทีข่ ยายตัวขึน้ รวมถึงกำลังซือ้ และโอกาสทางธุรกิจทีม่ ากขึน้ ในภาคอุตสาหกรรมการผลิตและบรรจุภัณฑ์ภายในภูมิภาคนี้ กลุ่มนักลงทุนที่มีศักยภาพสูงจากจีน ฝรั่งเศส ญี่ปุ่น เวียดนาม เกาหลี สิงคโปร์ ไต้หวัน สหรัฐอเมริกา และสหราชอาณาจักร ให้ความสนใจเข้า ชมงานในครั้งนั้นด้วย สำหรับงานโพรแพ็ค เอเชีย 2010 คาดว่าจะมีผู้สนใจจากนานาชาติเข้าชมงานมากขึ้น เนือ่ งจากเศรษฐกิจของเอเชียส่งสัญญาณของการฟืน้ ตัวแล้ว โดยเฉพาะประเทศในกลุม่ อาเซียน รวมถึงไทย ยังคงเป็นตลาดทีม่ ศี กั ยภาพสูง ทัง้ ยังมีโอกาสเติบโตอีกมากสำหรับผูผ้ ลิตและซัพพลาย เออร์จากทัว่ โลก ทัง้ ในส่วนของเครือ่ งจักร เทคโนโลยี และวัตถุดบิ ภาคอุตสาหกรรมการผลิตและ บรรจุภณ ั ฑ์ การประกันคุณภาพ การทดสอบและประเมิน รวมถึงภาคอุตสาหกรรมอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง เช่น เครื่องจักรอัตโนมัติ (automation) การขนส่ง การจัดเก็บ การแช่เย็น ส่วนผสม การติดฉลาก การควบคุมมลพิษ เป็นต้น ทั้งนี้ ปัจจุบันเฉพาะในประเทศไทยประเทศเดียวมีผู้ผลิตอาหารราว 9,000 ราย สร้างรายได้ต่อปีรวม 2 หมื่น 5 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ งานโพรแพ็ค เอเชีย มีความโดดเด่นและเป็นเอกลักษณ์มากในการนำเสนอนวัตกรรม สำหรับภาคอุตสาหกรรมอาหาร เครื่องดื่ม และเวชภัณฑ์ โดยในปี 2010 จะให้ความสำคัญเป็น พิเศษกับการพัฒนานวัตกรรมทางเทคโนโลยีสำหรับอุตสาหกรรมเครื่องดื่ม (DrinkTech Asia) เวชภัณฑ์ (Pharma Tech) วัตถุดิบประเภทพลาสติก การขึ้นรูป และเครื่องมือในการผลิต (PlasTech Asia) และเครื่องมือที่ใช้ในห้องทดลองและการทดสอบ (Lab & Test Asia)

กิจกรรมเด่นในงานโพรแพ็ค เอเชีย 2010 ได้แก่ การบรรยายโดยผู้เชี่ยวชาญใน อุตสาหกรรมแต่ละสาขา การสัมมนาและอบรม เชิงปฏิบตั กิ าร ซึง่ จัดโดยภาคธุรกิจร่วมกับหน่วย งานของรัฐและสถาบันการศึกษา นอกจากนี้ ยังมีการเพิ่มกิจกรรมใหม่ คือ Watermex เป็น งานสัมมนาว่าด้วยเทคโนโลยีการกรองและ ผลิตน้ำดื่ม งานโพรแพ็ค เอเชีย 2010 ซึ่งจัดโดย บริษัท บางกอก เอ็กซิบิชั่น เซอร์วิส จำกัด (BES) และได้รับการสนับสนุนจากองค์กรภาครัฐ และเอกชนหลายแห่ง จะจัดขึ้นระหว่างวันที่ 16-19 มิถุนายน 2553 ณ ฮอลล์ 101-104 ศูนย์แสดงสินค้าไบเทค บางนา ค้นหาข้อมูล เพิ่มเติมได้ที่ www.propakasia.com Entry no.a012

54

www.media-matter.com


www.media-matter.com 55



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.