3D printer
Proto-Invention นวพร เหล่าวัฒนธรรม
ura
ซอฟตแวรสําหรับพิมพชิ้นงาน 3 มิติ บันไดขั้นที่สองของการสรางสรรคชิ้นงาน 3 มิติในแบบ DIY คือ การใชงานซอฟตแวร สําหรับพิมพงาน มารูจักและฝกหัดใชงานกัน เพราะซอฟตแวรนี้รองรับเครื่องพิมพ 3 มิติได หลายรุนหลายยี่หอ
1.1
หลังจากที่ได้ทดลองฝกหัดสร้างโมเดล 3 มิติกับซอฟต์แวร์ Tinkercad แล้ว ล�าดับต่อไปที่ควรรู้จักและใช้ให้เป็นคือ ซอฟต์แวร์ส�าหรับพิมพ์งานออก ไปยังเครื่องพิมพ์ 3 มิติ ในที่นี้ขอแนะน�า ซอฟต์แวร์ที่ชื่อว่า Cura เป็นผลงาน ของ Ultimaker หนึ่งในผู้ผลิตเครื่องพิมพ์ 3 มิติที่มีชื่อเสียงรายหนึ่งของโลก โดย Cura ใช้งานได้กับเครื่องพิมพ์ 3 มิติที่ทาง Ultimaker ผลิตขึ้นมาและยัง รองรับเครื่องพิมพ์ 3 มิติในแบบโอเพ่นซอร์สอีกหลายรุ่นด้วย แน่นอนย่อมรวม ถึง Inventor-3D เครื่องพิมพ์ 3 มิติส�าหรับการศึกษาและงาน DIY มาท�าความรู้จักและใช้งานซอฟต์แวร์ Cura เพื่อการพิมพ์งานส�าหรับ เครื่องพิมพ์ 3 มิติ โดยในที่นี้จะอ้างถึงเครื่องพิมพ์ 3 มิติ รุ่น Inventor-3D ที่ แนะน�าไว้ใน TPE ฉบับนี้ (ข้อมูลของเครื่องพิมพ์ Inventor-3D ดูเพิ่มเติมได้ที่ www.inventor-3d.com)
1.2
ติ´ตÑ้งáÅÐตÑ้ง¤‹า¡าร·ํางาน¢Íง«Í¿ต์áÇร์ (1) เริ่มจากดาวน์โหลดไฟล์ติดตั้งจาก http://software.ultimaker.com/ Cura เป็นซอฟต์แวร์ตัวเดียวกับที่ใช้ควบคุมเครื่องพิมพ์ 3 มิติ ยี่ห้อ Ultimaker ซึ่งเป็นเครื่องพิมพ์ 3 มิติแบบโอเพ่นซอร์ส ทั้งยังใช้ควบคุมรุ่นอื่นๆได้ (รวมถึง Inventor-3D) โดยเลือกรุ่นของซอฟต์แวร์ให้ตรงกับระบบปฏิบัติการที่ใช้งาน เนื่องจาก Cura รองรับทั้งวินโดวส์, Mac และลีนุกซ์ (2) ท�าการติดตั้งซอฟต์แวร์ จะพบกับหน้าต่างดังรูปที่ 1.1 คลิกปุ่ม Next จากนั้นจะพบกับหน้าต่างส�าหรับระบุรุ่นของเครื่องพิมพ์ 3 มิติที่ใช้งาน ในที่นี้ เลือก Other แล้วคลิกปุ่ม Next ดังรูปที่ 1.2
2
The Prototype Electronics
รูปที่ 1 ติดตั้งซอฟต์แวร์ Cura และเลือกรุ่นของเครื่องพิมพ์ที่ใช้งาน
3.1
(3) หน้าต่างตั้งค่าเบื้องต้นของเครื่องพิมพ์ 3 มิติจะปรากฏขึ้นมา ให้ ปรับตั้งค่าตามรูปที่ 2 • Machine width = 180 mm. , Machine depth = 180 mm. , Machine height = 180 mm. หมายถึง ความกว้าง, ยาวของฐานว่างชิ้น งาน และความสูงสุดที่พิมพ์ชิ้นงานได้ในหน่วยมิลลิเมตร • Nozzle size = 0.4 mm. (ขนาดรูของหัวฉีดร้อน ก�าหนดเป็น 0.4 มม.)
3.2
หมายเหตุ ที่ช่อง Heated bed จะต้องเลือกท�าเครื่องหมายไว้ ถ้า หากเครื่องพิมพ์ 3 มิตินั้นมีการใช้งานฐานวางชิ้นงานแบบร้อน แต่ส�าหรับ Inventor-3D ไม่มีความสามารถนี้ จึงไม่ต้องเลือกท�าเครื่องหมายที่ช่อง Heated bed
รูปที่ 3 หน้าต่างการท�างานของ Cura (3.1) ในโหมด quickprint (3.2) ในโหมด Full setting
รูปที่ 4 การเปลี่ยน โหมดการท�างาน (5) จากนั้นไปที่เมนู File > Preferences เพื่อตั้งค่า ผู้ใช้งานสามารถ เปลี่ยนแปลงค่าได้ในภายหลัง ดังรูปที่ 5 ประกอบด้วย • Machine setting เป็นการตั้งค่าขนาดของฐานวางชิ้นงาน, จ�านวน หัวฉีด , เปิดใช้งานฐานวางชิ้นงานแบบร้อน
รูปที่ 2 หน้าต่างตั้งค่าเบื้องต้นของเครื่องพิมพ์ในแบบที่เข้ากันได้กับชนิด RepRap (Inventor-3D เปนเครื่องพิมพ์ 3 มิติชนิด RepRap แบบหนึ่ง) (4) เข้าสู่หน้าต่างการท�างานหลักของ Cura ดังรูปที่ 3 แบ่งการท�างาน เป็น 2 โหมดหลักคือ 1. Quick print เป็นโหมดที่ปรับแต่งค่าในการพิมพ์ชิ้นงาน 3 มิติ ได้เล็กน้อย
• Printer head size เป็นการปรับระยะของหัวฉีดกับระยะ X-Y-Z • Colours เป็นสีของชิ้นงานโมเดล 3 มิติ • Filament setting เป็นการปรับคุณลักษณะความหนาแน่นของเส้น วัสดุและค�านวณราคาต่อปริมาณที่ใช้งาน • Communication setting เป็นการตั้งค่าการเชื่อมต่อกับเครื่องพิมพ์ 3 มิต เลือกพอร์ตและอัตราเร็วในการถ่ายทอดข้อมูล • Cura setting เป็นการตั้งค่าให้ใช้งาน SD การ์ด และตรวจสอบ เวอร์ชั่นใหม่ของ Cura
2. Full setting เป็นโหมดที่มีความยืดหยุ่นในการปรับแต่งค่าใน การพิมพ์ได้มาก ให้ความละเอียดที่สูง มีการใส่ส่วนรองรับต่างๆ ท�าให้ชิ้น งาน 3 มิติออกมาสมบูรณ์มากขึ้น ในการเปลีย่ นโหมดท�าได้โดยไปทีเ่ มนู Tool เลือก Switch to quickprint หรือ Switch to full setting ดังรูปที่ 4 ส่วนโหมดตั้งต้นจะเป็น Quick print
รูปที่ 5 การตั้งค่าซอฟต์แวร์ Cura และ เครื่องพิมพ์ 3 มิติที่ต่อใช้งานร่วมด้วย
The Prototype Electronics
3
(6) เนื่องจากรูปทรง 3 มิติที่สร้างขึ้นมา ไม่ได้มีเพียงรูปทรงเรขาคณิต เพียงอย่างเดียว แต่มีส่วนเว้าโค้งด้วย จึงขอแนะน�ำ ให้ใช้งานในโหมด Full setting ซึ่งมีความยืดหยุ่นในการปรับแต่งมากกว่า ท�ำให้ได้ชิ้นงาน 3 มิติที่ พิมพ์ออกมาสวย เรียบเนียนกว่า โดยมีเมนูในการใช้งานปรับแต่งมีดังนี้
Print temperature : เป็นอุณหภูมิที่ใช้ในการพิมพ์ชิ้นงาน จะขึ้นอยู่กบั คุณลักษณะของเส้นวัสดุทใี่ ช้ในการพิมพ์แต่ละชนิด โดยค่าอุณหภูมพิ นื้ ฐาน คือ 220 องศาเซลเซียส ซึง่ เป็นอุณหภูมทิ เี่ หมาะสมกับเส้นวัสดุชนิด PLA Support type : เป็นการเลือกให้ฉีดเส้นพลาสติกมารองรับด้านล่าง ของส่วนเว้าโค้งหรือรูปทรงทีซ่ บั ซ้อน ซึง่ จ�ำเป็นต้องมีสว่ นทีร่ องรับเพือ่ ให้พมิ พ์ ชิน้ งานได้จนส�ำเร็จ โดยมี 2 ทางเลือกคือ • Touch the build platform คือ เลือกให้ฉีดเส้นโครงสร้างออกมายึด ติดกับฐานวางรองชิ้นงานกับชิ้นงาน 3 มิติที่ต้องการพิมพ์ • Everywhere คือ เลือกให้ฉีดเส้นโครงสร้างออกมารองรับในส่วนที่ จ�ำเป็นส�ำหรับชิ้นงานที่ต้องการพิมพ์ Platform adhesion type : เลือกประเภทของการฉีดเส้นโครงสร้างเพื่อ รองรับชิ้นงานที่พิมพ์และฐานรองวางชิ้นงาน ช่วยให้ชิ้นงานติดกับฐานวาง ชิ้นงานตลอดช่วงเวลาในการพิมพ์ มีให้เลือก 2 ประเภทคือ • Brim คือ เลือกฉีดเส้นวัสดุออกมารอบๆ ชิ้นงาน ผิวด้านล่างของชิ้น งานเมื่อพิมพ์เสร็จแล้วจะเรียบ แต่ใช้พื้นที่ในการพิมพ์มากขึ้น
รูปที่ 6 เมนู Basic ของ ซอฟต์แวร์ Cura ในโหมด Full setting
(6.1) เมนู Basic เป็นเมนูพื้นฐานในการปรับแต่งค่าเบื้องต้นซึ่งการปรับแต่งนี้จะมีผล อย่างมากต่อคุณภาพของชิ้นงานที่พิมพ์ออกมา โดยมีเมนูย่อยดังนี้ Layer height : ใช้ปรับแต่งความสูงของเส้นวัสดุทเี่ รียงตัวกันแต่ละชัน้ นับเป็นสิง่ ส�ำคัญอันดับแรกในการช่วยให้ชนิ้ งานทีพ่ มิ พ์ออกมามีคณ ุ ภาพ ถ้า ตัง้ ค่า
0.2 mm. งานพิมพ์ที่ได้อาจมีคุณภาพไม่ดีนัก แต่ใช้เวลาสั้น
0.1 mm. งานพิมพ์ที่ได้ มีคุณภาพปานกลาง
0.02 mm. งานพิมพ์ที่ได้ มีคุณภาพสูง แต่จะใช้เวลาพิมพ์นาน
• Raft คือ เลือกฉีดเส้นวัสดุออกมาเป็นตาข่ายรองรับภายใต้ชิ้นงานที่ พิมพ์ เมื่อพิมพ์เสร็จแล้ว จะต้องลอกออกและเก็บผิวด้านล่างให้เรียบร้อย Filament diameter : เลือกขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของเส้นวัสดุที่น�ำ มาใช้ในการพิมพ์ ขนาดที่ถูกต้องของเส้นวัสดุที่ใช้จะมีผลต่อคุณภาพของ ชิ้นงาน มีค่าพื้นฐานอยู่ที่ 2.89 มม. (นั่นคือ ควรวัดขนาดของเส้นวัสดุจริงที่ ใช้งานก่อน แล้วน�ำค่านั้นมาก�ำหนดที่พารามิเตอร์ตัวนี้ Filament flow : เลือกการไหลของเส้นวัสดุ ตัวเลือกนี้มีผลอย่างมาก ต่อการพิมพ์ชิ้นงาน จะต้องปรับให้เหมาะสมกับลักษณะของวัสดุที่ใช้ มีค่า พื้นฐานอยู่ที่ 100%
(6.2) เมนู Advanced เป็นเมนูตั้งค่าขั้นสูงที่กระท�ำในตอนเริ่มต้นใช้งานเพียงครั้งเดียว ปรับ แต่งค่าต่างๆ ได้ตามต้องการ โดยมีเมนูย่อยดังนี้
Shell thickness : ใช้ปรับความหนาของผนังของรูปทรง 3 มิติ ถ้าหาก ปรับมาก ชิ้นงานจะมีความแข็งแรก แต่จะใช้เวลาในการพิมพ์นานมากขึ้น ด้วย Enable retraction : ใช้ปรับการถอนหรือหมุนเส้นวัสดุกลับ เมื่อหัวฉีด เคลื่อนที่ผ่านช่องว่างในขณะพิมพ์ชิ้นงาน ซึ่งจะช่วยลดเส้นบางๆ ที่เกิดขึ้น ควรจะเปิดใช้งานฟังก์ชั่นนี้ แม้ว่า จะท�ำให้ระยะเวลาการพิมพ์ชิ้นงานเพิ่ม ขึ้นก็ตาม Bottom/top thickness : ใช้ปรับความหนาของพืน้ ผิวด้านล่างและด้าน บน ซึง่ ความหนานีส้ ง่ ผลถึงความแข็งแรงของชิน้ งานทีพ่ มิ พ์ออกมาด้วย Fill density : ใช้ปรับค่าความหนาแน่นของเนือ้ ชิน้ งานทีผ่ วิ โดยซอฟต์แวร์ Cura จะสร้างเส้นตาข่ายสานสลับกันไปมา หากก�ำหนดค่ามาก เช่น 100 % ระยะ ห่างระหว่างเส้นก็จะไม่มเี ลย แต่ถา้ ก�ำหนดค่าเป็น 20 ก็จะมีระยะห่างระหว่างเส้น เกิดขึน้ ประมาณหนึง่ ซึง่ ส่งผลถึงความแข็งแรงของชิน้ งานทีพ่ มิ พ์ออก และระยะ เวลาในการพิมพ์ดว้ ย ปกติเลือกไว้ที่ 20 ถึง 40% Print Speed : ใช้ปรับความเร็วในการพิมพ์ชิ้นงาน มีค่าพื้นฐานอยู่ที่ 50 mm/s ผู้ใช้งานสามารถปรับให้เร็วขึ้นไปที่ 120 mm/s แต่ระบบทางกล ของเครื่องพิมพ์ 3 มิติต้องรองรับและมีการปรับเทียบให้แม่นย�ำด้วย 4
The Prototype Electronics
รูปที่ 7 เมนู Advance ของซอฟต์แวร์ Cura ในโหมด Full setting
Nozzle size : เลือกขนาดรูของหัวฉีดที่ติดตั้งมากับเครื่องพิมพ์ 3 มิติ ส�ำหรับเครื่องพิมพ์ Inventor-3D และเครื่องพิมพ์ทั่วไปใช้ขนาด 0.4 มม. ถ้า หากมีการเปลี่ยนขนาดของหัวฉีดให้ใหญ่ขึ้นหรือเล็กลงจ�ำเป็นจะต้องปรับ ตัวเลือกนี้ตามด้วย Retraction speed : เลือกความเร็วในการหมุนเส้นวัสดุกลับในขณะที่ หัวฉีดเคลื่อนที่ผ่านส่วนที่ไม่ได้พิมพ์ Retraction distance : ใช้เลือกความยาวของเส้นวัสดุที่ต้องดึงกลับไป เมื่อหัวฉีดเคลื่อนที่ผ่านส่วนที่ไม่ได้พิมพ์ค่าพื้นฐานคือ 4.5 มม. จะขึ้นอยู่กับ ชนิดของเส้นวัสดุ แต่ละชนิดจะมีค่าที่เหมาะสมของตัวเอง Initial layer thickness : เลือกความหนาของชั้นแรกที่พิมพ์ขึ้น ปกติตั้ง ไว้ที่ 0.3 มม. Cut off object bottom : เลือกตัดพื้นผิวด้านล่างของชิ้นงาน 3 มิติออก ไป ถ้าหากไม่ได้มีส่วนที่ติดกับฐานรองวางชิ้นงานมากนัก Dual extrusion overlap : ปรับช่องว่างระหว่างเส้นวัสดุที่ฉีดออกมา จากหัวฉีด 2 ชุด (ส�ำหรับเครื่องพิมพ์ที่ติดตั้งหัวฉีด 2 ชุด - ไม่มีการใช้งานใน เครื่องพิมพ์ Inventor-3D) Travel speed : ปรับความเร็วในขณะที่ระบบพิมพ์เคลื่อนที่ในเวลาที่ ไม่ได้พิมพ์ ตั้งค่าอยู่ที่ 150 mm/s อาจปรับให้ความเร็วขึ้นได้ ซึ่งช่วยให้เวลา ในการพิมพ์ชิ้นงานลดลง Infill speed : ใช้ปรับความเร็วในการพิมพ์พื้นที่ด้านใน ถ้าหากปรับ เป็น 0 ความเร็วที่พิมพ์ด้านในจะเท่ากับการพิมพ์ขอบด้านนอกของชิ้นงาน ที่พิมพ์ Minimal layer time : ก�ำหนดช่วงเวลาที่น้อยที่สุดในการพิมพ์ชิ้นงาน แต่ละชั้น เพื่อรอให้ชิ้นงานเย็นตัวลงก่อนพิมพ์งานชั้นถัดไป Enable cooling fan : ใช้เปิดปิดพัดลมระบายความร้อนแก่ชิ้นงาน ทั้งนี้เพื่อเพิ่มคุณภาพของการพิมพ์ชิ้นงานส�ำหรับวัสดุ PLA เนื่องจากอาจ เย็นตัวไม่ทันในกรณีที่พิมพ์ชิ้นงานที่มีความสูง จนท�ำให้เกิดหลอม จนชิ้น งานเอียงหรือล้มลงไป อย่างไรก็ตาม ในบางชิ้นงานหรือบางวัสดุก็อาจไม่ ต้องใช้พัดลมช่วย จึงปิดการระบายความร้อนได้
(6.3) เมนู Plugins Cura รองรับความสามารถอืน่ ทีเ่ พิม่ เข้ามาหรือปลัก๊ อิน (plugin) ท�ำให้ ตัวซอฟต์แวร์มฟี งั ก์ชนั่ การท�ำงานเพิม่ ขึน้ ในเบือ้ งต้น Cura ได้เพิม่ ฟังก์ชนั่ หยุดการท�ำงานชั่วคราวที่ความสูงระดับหนึ่ง ดาวน์โหลดปลั๊กอินเพิ่มเติม ได้ที่ http://wiki.ultimaker.com/Category:CuraPlugin
(6.4) เมนู Start/end-gcode เป็นเมนูสำ� หรับแก้ไข G-code ซึง่ ในส่วนนีผ้ ใู้ ช้งานจ�ำเป็นจะต้องมีความ เข้าใจภาษา G-code เพือ่ ปรับแต่งการท�ำงานได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
(6.5) การควบคุมมุมมอง Cura มีความสามารถในการปรับแต่งมุมมองของชิ้นงานได้ ดังแสดง ในตารางที่ 1
ตารางที่ 1 การปรับแต่งมุมมองของ Cura (ที่มา : http://blog.ultimaker.com/ cura-user-manual-first-time)
เริ่มต้นพิมพ์ชิ้นงาน 3 มิติ (1) หลังจากที่ได้ไฟล์ชิ้นงาน 3 มิติมาเป็นที่เรียบร้อย (จาก Tinkercad) ล�ำดับต่อไปเป็นการพิมพ์ คลิกที่ปุ่ม Load ดังรูปที่ 8.1 จะมีหน้าต่างเลือกไฟล์ ชิ้นงาน 3 มิติที่ต้องการพิมพ์ ท�ำการเลือกไฟล์และตั้งค่าการพิมพ์ดังรูปที่ 8.2 จะ สังเกตว่า ที่มุมบนด้านซ้ายจะปรากฏเวลาที่ใช้ในการพิมพ์, ความยาวของเส้น วัสดุที่ช้ และน�้ำหนักของชิ้นงานหลังจากพิมพ์เสร็จแล้ว พารามิเตอร์ทั้งสามนี้ เป็นค่าโดยประมาณ 8.1
รูปที่ 8 เริ่มต้นพิมพ์ชิ้นงานกับซอฟต์แวร์ Cura 8.2
(2) น�ำเข้าไฟล์ที่ต้องการพิมพ์ ท�ำได้ 2 วิธีคือ การแปลงไฟล์ชิ้นงาน 3 มิติเป็นไฟล์ G-code คัดลอกลงในแผ่น SD การ์ดโดยคลิกปุ่มดังรูปที่ 9.1 อีกวิธีหนึ่งคือ สั่งพิมพ์จากคอมพิวเตอร์ผ่านการเชื่อมต่อพอร์ต USB คลิก เลือกตามรูปที่ 9.2 จากนั้นเครื่องพิมพ์ 3 มิติจะรอรับไฟล์จากคอมพิวเตอร์ เพื่อพิมพ์ชิ้นงานต่อไป 9.1
9.2
รูปที่ 9 การน�ำเข้าไฟล์ที่ต้องการพิมพ์ (3) เมื่อคลิกเลือกการพิมพ์แบบส่งไฟล์ผ่านพอร์ต USB ตามรูปที่ 9.2 หน้าต่างการเชื่อมต่อและควบคุมเครื่องพิมพ์ 3 มิติจะปรากฏขึ้นมา คลิกปุ่ม Connect เพื่อเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์กับเครื่องพิมพ์ 3 มิติ ซอฟต์แวร์ จะหาพอร์ตที่เชื่อมต่อโดยอัตโนมัติ เมื่อเชื่อมต่อได้ จะแสดงปุ่ม Print ดังรูป ที่ 10 และที่หน้าเมนู Temp ให้กดปุ่มเพื่อป้อนค่า 210C อันเป็นการก�ำหนด ค่าอุณหภูมิให้หัวฉีด หัวฉีดจะร้อนขึ้น จนพร้อมส�ำหรับการพิมพ์ โดยมีกราฟ แสดงค่าอุณหภูมิของหัวฉีดแจ้งให้ทราบ
รูปที่ 10 หน้าต่างสั่งพิมพ์ของ Cura ที่มาพร้อมกราฟแสดงค่าอุณหภูมิ ของหัวฉีด The Prototype Electronics
5
(4) ไปที่ที่หน้าต่างของเมนู Jog ซึ่งใช้ควบคุมต�าแหน่งการเลื่อนกลไก ในแนวแกน X-Y-Z, การกด ดึงหรือหย่อนเส้นวัสดุเข้าสู่ระบบหัวฉีด คลิก ปุ่ม Home ทั้งสองอัน จากนั้นตรวจสอบว่า ฐานวางชิ้นงานอยู่ในต�าแหน่ง เริ่มต้นและมีความพร้อมจะพิมพ์ชิ้นงานหรือไม่ จากนั้นให้คลิกปุ่ม Extrude เพื่อให้ระบบดึงเส้นวัสดุเข้าสู่หัวฉีดให้เต็ม เพื่อพร้อมส�าหรับการพิมพ์ คลิก ปุ่ม Print เครื่องพิมพ์ 3 มิติจะเริ่มการพิมพ์ชิ้นงานทันท
2. Overhang เป็นโหมดแสดงต�าแหน่งทีค่ วรเสริมจุดรองรับของชิน้ งาน 3 มิตทิ ี่ ต้องการพิมพ์ จากรูปที ่ 15 ควรก�าหนดให้มกี ารวางเส้นพลาสติกรองรับทีฐ่ านด้านล่าง 3.Transparent เป็น โหมดการดูชิ้นงาน 3 มิติ ในแบบโปร่งใส เพื่อตรวจ สอบขอบด้านในของชิน้ งาน ดังรูปที่ 16 รูปที่ 15
รูปที่ 11 หน้าต่างควบคุมการเลือ่ นกลไกของเครือ่ งพิมพ์ 3 มิตใิ นซอฟต์แวร์ Cura (5) ทีห่ น้าต่าง Camera มีความสามารถรองรับการติดต่อกับกล้อง เพือ่ เฝ้าดูสถานะการพิมพ์ชิ้นงาน โดยเชื่อมต่อกล้องกับคอมพิวเตอร์แล้วตั้งค่า ให้ทา� งาน จากนัน้ คลิกท�าเครือ่ งหมายถูกทีช่ อ่ ง Show preview ซอฟต์แวร์ จะแสดงภาพเคลื่อนไหวระหว่างการท�างาน ผู้ใช้งานสามารถปรับแต่งราย ละเอียดของกล้องได้ดว้ ย
4. X-ray เป็นโหมดการ ดูชิ้นงาน 3 มิติในแบบเดียว กับถ่ายภาพด้วยรังสีเอ็กซ์ หรือ เอ็กซเรย์ โดยพื้นที่สีฟ้าจะเป็น จุ ด ที่ มี ก ารพิ ม พ์ อ ย่ า งสมบู ร ณ์ มีประโยชน์ในการตรวจสอบชิ้น รูปที่ 16 งาน 3 มิติว่ามีความสมบูรณ์ พอที่จะพิมพ์หรือไม่ หากแสดงเป็นสีแดงที่บ่งบอกถึงจุดที่ผิดพลาด ก็ควรกลับ ไปแก้ไขแบบเสียก่อน จะได้ไม่ต้องเสียเวลาพิมพ์ชอเนงานที่ไม่สมบูรณ์ออกมา ในรูปที่ 17 เป็นชิ้นงานที่สร้างขึ้นโดยไม่มีส่วนที่ผิดพลาดเลย 5. Layer เป็นโหมด การดูชิ้นงาน 3 มิติที่แสดงให้ เห็นเส้นทางการเคลื่อนที่ของ หัวฉีด ถือว่าเป็นส่วนที่ควร เลือกดูเพื่อตรวจสอบทุกครั้ง รูปที่ 17 ก่อนพิมพ์ชิ้นงานจริง หากมี จุดที่จ�าเป็นจะต้องฉีดชั้นหรือเส้นโครงสร้างมารองรับไว้ ก็สามารถจ�าลองได้ ส่งผลให้การพิมพ์ชิ้นงานมีประสิทธิภาพมากยิ่งขั้น ดังรูปที่ 18
รูปที่ 12 หน้าต่าง Camera ส�าหรับต่อกับกล้องเพื่อเฝาดูการพิมพ์ชิ้นงาน
âËม´¡ารมÍง´Ùชิ้นงาน 3 มิติ Cura ได้พัฒนาให้มีความสามารถในการ มองชิ้นงาน 3 มิติได้หลายแบบ คลิกเลือกที่ ปุ่ม View mode ทางด้านบนของหน้าต่างโปรแกรม ดังรูปที่ 13 มีให้เลือก 5 โหมดคือ รูปที่ 13
รูปที่ 14
6
1. Normal เป็นโหมดดูชิ้นงาน 3 มิติแบบ ปกติ จะเห็นเป็นรูปทรงธรรมดา ดังรูปที่ 14
รูปที่ 18 ภาพจ�าลองแสดงการเคลื่อนที่ของหัวฉีดเพื่อพิมพ์ชิ้นงาน 3 มิติ ทั้งหมดที่น�าเสนอไป เป็นการอธิบายการใช้งานซอฟต์แวร์ Cura ตั้งแต่ การติดตั้ง, การตั้งค่า ไปจนถึงส่วนต่างๆ ของซอฟต์แวร์ ซึ่งหาอ่านได้ไม่ง่าย นัก หวังว่าจะเป็นประโยชน์ส�าหรับการสร้างสรรค์ชิ้นงาน 3 มิติส�าหรับมือใหม่ หัดเล่น ต้องขอขอบคุณ Ultimaker ที่พัฒนาซอฟต์แวร์นี้และเผยแพร่แบบ ไม่มีค่าใช้จ่าย ท�าให้นักพัฒนาเครื่องพิมพ์ 3 มิติแบบโอเพ่นซอร์สมีเครื่องมือ ทางซอฟต์แวร์ที่ดีพอส�าหรับการเข้าถึงและใช้งานเครื่องพิมพ์ 3 มิติ นอกจาก นี้ยังมีเว็บบล็อกให้ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน รวมถึงยังเป็นแหล่งที่จะแชร์ ปลั๊กอิน เสริมจากนักพัฒนารายอื่นๆ ทั่วโลก ท�าให้มีการพัฒนาซอฟต์แวร์ ควบคุมเครื่องพิมพ์ 3 มิติตัวนี้มีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้นในทุกวัน มามะ มาใชงานเครื่องพิมพ 3 มิติกัน ลงทุนคาเครื่องและวัสดุ สวน ซอฟตแวรที่เหลือฟรีแบบมีคุณภาพ
The Prototype Electronics
www.tpemagazine.com