MAKERS-07

Page 1

ROPI

Vol.07 พฤษภาคม 2559 วารสารเพื่อการประดิษฐ์โครงงานและสิ่งของสร้างสรรค์

หุ่นยนต์อิเหนาหัวใจไทย

FREE

COPY

เพื่องานบริการและประชาสัมพันธ์

สตูดิโอถ่ายรูป จากกล่อง กระดาษ

micro:bit ตามดูบอร์ด STEM ของเด็กอังกฤษ

Water Filter Level Controller Soldering Smoke Filter ตู้ดูดกรองควันตะกั่ว วารสารแจกฟรี มูลค่า 39 บาท

กระเป๋า สับปะรด สุดชิค www.makersmagazine.in.th /makersmagzine


RN1723 Wireless LAN Module

The RN1723 is a small form factor, ultra-low power embedded TCP/IP/ UDP Wi-Fi module measuring only 27 x 18 x 3.1 mm. The RN1723 is a full-featured 802.11 b/g surface mount module that is footprint compatible with the RN171 Wi-Fi module. With an impressive 4mA Sleep mode, and a new power-saving DOZE mode, the RN1723 is extremely power efficient, making it ideal for a vast range of applications that require many years of battery life. Additionally, the RN1723 offers advanced SSL/ TLS security that runs on an external PIC32 MCU enabling highly secure client/server communication. The RN1723 is configured via simple ASCII commands for ease of development and quick time to market.

Features

• Ultra-low power for years of battery life • Firmware configurable transmit power: 0dBm to +12dBm • Hardware interfaces: UART and SPI Slave • Supports SoftAP and Infrastructure networking modes • RF pad for external antenna • User programmable GPIO & ADCs • Real-time clock for time-stamping, auto-sleep, and autowakeup modes • Run directly from batteries or regulated power supplies • ASCII interface for ease of development • Over the air firmware upgrade • WPS Mode for secure wireless setup • Secure Wi-Fi authentication schemes (WEP/WPA/WPA2) • Advanced SSL/TLS security running on external PIC® MCU • Full on-board TCP/IP/UDP stack (no external drivers required) • Efficient active and standby modes: • 4µ Sleep mode • 15mA DOZE (Standby) mode • 40mA Receive • 120mA Transmit


MAKERS

1


਎ㄎ䤎ᤎ ㈀ ⠎㤎ᤎ∎໷Ď㈎⌎Ў௷㈎䀎ᐎⴎ『਎䜎ⴎᬎᬎ⨎໷  䄎Ď⌎ᤎᐎ໷Ḏ⌎『⌎㈎ℎ䀎Ď௷㈎ ਎ㄎ䤎ᤎ ㄀ ⨎䀎ᬎ┎Ⰰ ἎǷ✎䀎ࠎⴎ⌎໷Ḏ㈎⌎໷Ў ⌎ㄎ܎⨎㐎ᔎ 䀎਎㔎∎܎䌎⬎ℎ૷ 䌎Ď┎௷⨎✎ᤎ⨎㈎᠎㈎⌎ጎ『⨎✎ᤎᨎ✎ᐎ⬎㈎ᐎ

ℎ㈎ᜎ㌎Ў✎㈎ℎ⌎㤎௷ࠎㄎĎĎㄎᨎ䈎┎ĎȎⴎ܎ 䤀漀吀  ᜎㄎ䤎܎ Ďㄎᨎ 䔀匀倀攀爀琀 倀氀愀琀昀漀爀洀  ⴀ ᨎⴎ⌎໷ᐎ 䔀匀倀爀攀猀猀漀 䰀椀琀攀 瘀㈀⸀   ⴀ 䔀匀倀攀爀琀 䴀漀戀椀氀攀 䄀瀀瀀氀椀挀愀琀椀漀渀 ⴀ 䔀匀倀攀爀琀 䌀氀漀甀搀 ⴀ 䄀甀最洀攀渀琀攀搀 刀攀愀氀椀琀礀 䄎┎௷✎ 䤀漀吀 ࠎ『䀎ᬎዷᤎ䀎⌎㜎䠎ⴎ܎܎૷㈎∎䘎⨎㌎⬎⌎ㄎᨎЎ㠎ጎ

2

MAKERS

웠 椀渀昀漀䀀瀀椀渀渀挀爀攀愀琀椀瘀攀⸀挀漀洀


Makerholic

Maker Note

งานโชว์ของ - ของผู้พิสมัยในความเป็นเมกเกอร์

หลังจากประเทศไทยได้มีโอกาสจัดงานปล่อยของแสดงพลังของมวลเมกเกอรภายใต้แบรนดระดับโลกอย่าง Mini Maker Faire 2015 ตัง้ แต่เมือ่ เดือนกันยายนปีทแี่ ล้ว นับจากนัน้ คณะผูจ้ ดั งานพยายามอย่างยิง่ ทีจ่ ะรักษาโมเมนตัม และกระแสของการแสดงพลังของมวลเมกเกอร โดยวารสาร MAKERS ก็เป็นหนึ่งในกิจกรรมเพื่อเป้าหมายดังกล่าว นอกจากนั้น ยังมีการจัดงานปล่อยของภายใต้ชื่อ Makerholic ที่มีคอนเซ็ปตของงานว่า “งานสร้างและพัฒนาเครือข่าย เมกเกอรของไทย” โดยมีก�าหนดจัดงานในแบบรายสะดวก ผู้จัดตั้งเป้าไว้ว่า จะจัดขึ้นในทุกเดือนหรืออย่างห่างที่สุดคือ ทุกสองเดือน เพื่อให้บรรดาเมกเกอรได้ลับฝีมือตลอดเวลา ทั้งยังช่วยกระตุ้นให้เกิดความสนใจต่อประชาชนในวงกว้าง จนถึงวันที่ผมเขียนต้นฉบับนี้ มีการจัดงานไปแล้วถึง 3 ครั้ง ภายใต้การผลักดันของ สวทช. , ITAP และ Thailand IoT Consortium ร่วมสนับสนุนโดย เชฟรอน Makerholic ครั้งแรกจัดขึ้นเมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ 2559 ที่อุทยานวิทยาศาสตร (สวทช.) แม้จะเป็นวันธรรมดา ก็ ยังได้รับความสนใจเป็นอย่างดี มีเมกเกอรมาร่วมแสดงผลงานพอสมควร ผู้เข้าชมก็เป็นแฟนพันธุแท้ ผู้พิสมัยในความ เป็นเมกเกอรตามชื่องาน ก็เรียกได้ว่า ประสบความส�าเร็จอย่างอบอุ่น Makerholic ครั้งที่สอง จัดขึ้นในวันที่ 2 เมษายน 2559 เพื่อร่วมฉลอง Arduino/Genuino Day ที่จัดพร้อมกัน ทั่วโลก สถานที่จัดงานยังคงอยู่ที่ อุทยานวิทยาศาสตร (สวทช.) Makerholic ครั้งที่สาม ซึ่งเป็นครั้งล่าสุด จัดขึ้นในวันที่ 1 พฤษภาคม 2559 ที่ผ่านมา ที่ meeting Room 4 ศูนยการประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ โดยเป็นกิจกรรมที่จัดอยู่ในงาน Startup Thailand งานครั้งนี้มีความแตกต่างออกไป พอสมควร เริ่มจากสถานที่ที่เล็กกว่าทุกครั้ง แถมยังมีการจัดเวิรกช็อปตลอดทั้งวันอีกต่างหาก ซึ่งได้รับการตอบรับเป็น อย่างดี เต็มทุกรอบ (แถมมีล้น ต้องเสริมเก้าอี้) เริ่มมีเมกเกอรหน้าใหม่ๆ จากสถาบันการศึกษามาร่วมส�าแดงผลงาน กันมากขึ้น ผู้เข้าชมมีความหลากหลายมากขึ้น แต่ “คอ” เดียวกัน คือ ชอบการประดิษฐ งาน DIY ด้วยกระแสที่ตอบรับอย่างดี ทางคณะผู้จัดงานจึงจัดงาน Makerholic #4 อย่างต่อเนื่องกันเลย ในสถานที่เดิมคือ ศูนยการประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ แต่จะมีพื้นที่เพิ่มขึ้น มีเวิรกช็อปที่หลากลหายมากขึ้น เพราะคราวนี้การจัดงานจะเป็น ส่วนหนึ่งของงาน Digital Thailand ก�าหนดการจัดงานคือ วันที่ 27 พฤษภาคม 2559 ยังไม่จบเพียงเท่านี้ คณะผู้จัดงานยังวางกรอบเวลาส�าหรับการจัดงาน Makerholic อีกอย่างน้อย 3 ครั้ง ก่อนเข้า สู่งานหลักประจ�าปีคือ Bangkok Mini Maker Faire 2016 ในเดือนพฤศจิกายน 2559 ดังนั้นบรรดาเมกเกอรและผู้นิยม ชมงานเมกเกอรจะได้รับชมการแสดงผลงานของทั้งตัวเมกเกอรอิสระเอง บริษัท ห้าง ร้าน ที่มีผลิตภัณฑสนับสนุนการ เป็นเมกเกอร ผลงานจากเมกเกอรสเปซของไทย รวมถึงการเวิรกช็อปส�าหรับผู้สนใจในทุกระดับ และยังมีการจัดการ แข่งขันประลองความสามารถในด้านต่างๆ ของเมกเกอรทางด้านเทคโนโลยี งานศิลปะ และงานฝีมือ วารสาร MAKERS ยินดีที่ได้เป็นส่วนหนึ่งของการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมให้เกิดวัฒนธรรมท�าเองในสังคมไทย การตอบรับในช่วงเวลาที่ผ่านมาทั้งจากผู้สนใจขอรับวารสารและจากผู้สนับสนุนในทุกรายเป็นไปในทิศทางที่น่าพอใจ ซึ่งผม, กองบรรณาธิการ และนักเขียนอิสระทุกคนต่างล้วนตั้งใจท�าให้สื่อส�าหรับทุกคนที่สนใจในเรื่องราวและความ เป็นไปของเมกเกอรเล่มนี้ ตอบสนองความต้องการต่อผู้อ่าน ผู้สนใจในวงกว้าง และเป็นสื่อกลางส�าหรับหน่วยงานที่ ต้องการผลักดันให้วัฒนธรรมท�าเองนี้เข้มแข็งขึ้น และได้รับการตอบรับที่ดียิ่งๆ ขึ้นไป มาร่ วมด้วยช่วยกันทัง้ เมกเกอร์ ทัง้ ผูท้ ีส่ นใจจะเป็ นเมกเกอร์ ทัง้ ผูส้ นับสนุนเมกเกอร์ เพือ่ สร้างให้วงการเมกเกอร์ ของไทยเข้มแข็ง ยัง่ ยืน ต่อยอดไปสู่การสร้างวิ สาหกิ จทีพ่ ร้อมจะเติ บโตเพือ่ สร้างสรรค์สงั คมไทยต่อไป ชัยวัฒน ลิ้มพรจิตรวิไล

www.makersmagazine.in.th

www.facebook.com/makersmagzine

บรรณาธิการบริหาร ชัยวัฒน ลิ้มพรจิตรวิไล

108 ซอยสุขุมวิท101/2 ถนนสุขุมวิท แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพมหานคร 10260 โทรศัพท 0-2747-7001-4 โทรสาร 0-2747-7005 URL : www.makersmagazine.in.th

กองบรรณาธิการ

การตลาด/โฆษณา

ฝ่ายสมาชิก

กฤษดา ใจเย็น ณัฏฐพล วงศ์สุนทรชัย วรพจน์ กรแก้ววัฒนกุล นที เกษมโชติพันธุ์ ธีรวุธ จิตพรหมมา

จงจิตร ลิ้มพรจิตรวิไล กานต์วรางค์ นิพิทธชยังกูร

จงจิตร ลิ้มพรจิตรวิไล

ศิลปกรรม

พิมพ์ที่

ธนชัย ประทุมเศษ

วีเจ พริ้นติ้ง MAKERS

3


contents

Maker-Knowledge

ฉบับ​ที่ 7 เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2559

5

micro : bit

12

i-Duino UNO R3B

14

Genuino

16

Water filter level Controller

12

14

ตามดูบอร์ด STEM ของเด็กอังกฤษ บอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ Arduino UNO รุ่นใหม่ใช้ชิป ATmega328PB

16

เรื่องของแบรนด์ Arduino นอกสหรัฐฯ อเมริกา

24

อุปกรณ์ตัดเครื่องกรองน�้ำเมื่อระดับน�้ำใกล้เต็มขวด

Maker-Project

20 สตูดิโอถ่ายรูปจากกล่องกระดาษ 24

Soldering Smoke Filter ตู้กรองควันจากการบัดกรี

29

กระเป๋า สับปะรด สุดชิค

3

Makers Note

www.makersmagazine.in.th www.facebook.com/makersmagzine 4

MAKERS

Maker-Report

20 8

ROPI หุ่นยนต์เพื่องานบริการ และประชาสัมพันธ์


STEM

Maker Knowledge ผศ. โอภาส ศิริครรชิตถาวร

micro:bit ตามดูบอร์ดSTEM ของเด็กอังกฤษ

เมื่อ BBC เจ้าพ่อสื่อเมืองผู้ดีควักเงิน ท�ำบอร์ดสมองกลฝังตัวแจกเด็กนักเรียน 1 ล้านบอร์ดเพื่อสนับสนุน STEM ศึกษา ย่อมต้องเป็นเรื่องใหญ่ของวงการ บอร์ด STEM ของเด็กอังกฤษเป็นอย่างไร เจ๋งแค่ไหน มาติดตามไปพร้อมกัน

จากข่าวโครงการ micro:bit ของ BBC (British Broadcasting Corporation : บรรษัทแพร่ภาพกระจาย เสี ย งอั ง กฤษ เป็ น องค์ ก ารกระจายเสี ย งสาธารณะ ของสหราชอาณาจักร ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2465) ที่ได้ ร่วมมือกับทางบริษัทต่างๆ ในการสร้างบอร์ดไมโคร คอนโทรลเลอร์ เพื่อใช้แจกนักเรียนระดับเกรด 7 เทียบ เท่ากับมัธยมศึกษาปีที่ 1 (ม.1) จ�ำนวนกว่า 1 ล้านบอร์ด แบบฟรีไม่มีเงื่อนไขใดๆ เพื่อให้เด็กใช้หัดเขียนโปรแกรม คอมพิวเตอร์ เนื่องจากทาง BBC เชื่อว่า ทักษะการ เขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์เป็นทักษะพื้นฐานส�ำหรับ ประชากรยุคใหม่ ด้ ว ยจ� ำ นวนบอร์ ด ที่ ถู ก ผลิ ต และแจกจ่ า ยเป็ น จ�ำนวนมาก ย่อมท�ำให้มีผู้สนใจติดตามเรื่องราวของ micro:bit ซึ่งว่ากันว่า มันคือบอร์ดที่สนับสนุนกระบวน การเรียนรู้ในแนวทาง STEM ศึกษา ที่น่าจับตามองมาก ที่สุดประจ�ำปี 2016 วารสาร MAKERS จึงขอแนะน�ำให้ เมกเกอร์ไทยและผู้สนใจทุกท่านรู้จักกับ micro:bit ณ บัดนี้.... MAKERS

5


Maker Knowledge

ความสามารถของฮาร์ดแวร์ micro:bit • ตัวบอร์ดมีขนาดเล็กมากเพียง 4 x 5 ซม. ประกอบด้วย ฮาร์ดแวร์ต่างๆ ดังนี้ • ซีพียูหลัก Nordic nRF51822 เป็ น ไมโครคอนโทรลเลอร์ ARM Cortex-M0 32 บิต ความเร็ว 16 MHz มีหน่วยความจ�ำแฟลช 128 กิโลไบต์ แรม 16 กิโลไบต์ เป็นไมโครคอนโทรลเลอร์ที่มีวงจรบล ทูธก�ำลังงานต�่ำหรือ BLE (Bluetooth Low Energy) ในตัว • มีชิป Freescale Kinetis KL26Z ซึ่งเป็น ARM Cortex-M0+ ความเร็ว 48MHz ใช้ติดต่อกับพอร์ต USB ของคอมพิวเตอร์ โดยท�ำ หน้าที่เป็นตัวแปลงสัญญาณพอร์ต USB เป็นพอร์ตอนุกรม ใช้ในการ ดาวน์โหลดโปรแกรม และสามารถดีบักโปรแกรมได้ด้วย

รูปที่ 1 หน้าตาของ micro:bit บอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์เพื่อเรียนรู้การเขียนโปรแกรม ส�ำหรับเด็กทั้งด้านบน (ภาพซ้าย) และด้านล่าง (ภาพขวา)

• ติดตั้งตัวตรวจจับและวัดค่าสนามแม่เหล็กเบอร์ MAG3110 ของ Freescale ใช้เป็นเข็มทิศหรือตัวตรวจจับโลหะได้ ติดตั้งตัวตรวจจับความเร่ง 3 แกน เบอร์ MMA8652 ของ Freescale ใช้ตรวจจับความเร่ง ความเอียง ใช้เป็นอินพุตได้ เช่น น�ำ บอร์ดมาเขย่า

• ตัวแสดงผลเป็น LED 25 ดวงต่อเป็นอะเรย์ขนาด 5 x 5

• ปุ่มกด 3 ปุ่ม เป็นปุ่ม RESET 1 ตัว และปุ่มส�ำหรับผู้ใช้งาน (USER) 2 ปุ่ม • ขัว้ ต่อแบตเตอรีใ่ ช้ไฟเลีย้ งได้ทงั้ จากพอร์ต USB หรือแบตเตอรี่ AAA 2 ก้อนต่ออนุกรมกัน

การออกแบบตัวฮาร์ดแวร์ท�ำได้ดี มีดีไซน์เป็นของตัวเอง มองครั้งแรกขัดใจท�ำไมคอนเน็กเตอร์เชื่อมต่อมันแปลกๆ แถม มีรูอีก มานั่งพิจารณาสักพัก จึงเข้าใจ อ๋อ...เจ้ารูนี่ไว้ต่อกับปลั๊ก บานาน่าขนาด 4 มม. หรือจะใช้เป็นสายไฟที่มีปลายเป็นปากคีบ ก็ได้ งานนี้ไม่ต้องบัดกรีหรือต่อวงจรด้วยเบรดบอร์ด ตั ว บอร์ ด มี ส ่ ว นเอาต์ พุ ต แสดงผลเป็ น แผง LED ขนาด 5 x 5 จุด ใช้แสดงตัวอักษรหรือสัญลักษณ์ได้ ส�ำหรับเด็กผู้หญิง สามารถน�ำไปเย็บซ่อนในตุ๊กตาหรือกระเป๋าผ้าให้แสดงผลเป็น รูปต่างๆ แล้วเขียนโปรแกรมเพิ่มเติมให้ตรวจจับการเขย่าตัว บอร์ด แล้วให้เปลี่ยนรูปภาพ หรือมีตัวอย่างให้เขียนโปรแกรม เป็นลูกเต๋าอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้การเขย่าเพื่อเปลี่ยนตัวเลข เป็นต้น ส่ ว นของการเชื่ อ มต่ อ กั บ เครื อ ข่ า ย micro:bit ก็ มี ว งจร สื่ อ สารข้ อ มู ล ไร้ ส ายที่ ใ ช้ บ ลู ทู ธ ก� ำ ลั ง งานต�่ ำ หรื อ BLE มาให้ สามารถจับคู่กับอุปกรณ์อื่นๆ เช่น สมาร์ตโฟนและแท็บเล็ต หรือ จะจับคู่กับบอร์ด micro:bit ของเพื่อนๆ เขียนโปรแกรมรับส่ง ข้อมูลกันได้ งานนี้นึกถึงโนดเซนเซอร์ของระบบ IoT (Internet of Things) ที่ต้องใช้ก�ำลังงานไฟฟ้าต�่ำๆ ส�ำหรับงานฮาร์ดแวร์ที่ต้องการอินพุตเอาต์พุตจ�ำนวนมาก ก็มีบริษัทอื่นๆ ท�ำอุปกรณ์เสริมส�ำหรับ BBC micro:bit ดังรูปที่ 2

6

MAKERS

2.1

2.2

รูปที่ 2 บอร์ดเสริมเพื่อขยายพอร์ตอินพุตเอาต์พุตส�ำหรับ micro:bit ส�ำหรับต่อวงจร ทดลองเพิ่มเติม (รูปที่ 2.1) หรือบอร์ดขับมอเตอร์เพื่อน�ำไปสร้างหุ่นยนต์อัตโนมัติขนาด เล็กได้ (รูปที่ 2.2)

ฮาร์ดแวร์พร้อม ซอฟต์แวร์พร้อม ฮาร์ดแวร์ดีเพียงไร แต่ถ้าไม่มีซอฟต์แวร์มาใช้ควบคุมก็ท�ำอะไรไม่ได้ ส�ำหรับเด็กเกรด 7 (ม.1) จะเขียนโปรแกรมภาษา C ก็คงยากไป ทางโครงการ micro:bit ได้เตรียมคู่มือส�ำหรับครูหรือผู้ปกครอง ไว้พร้อมแล้ว การเขียนโปรแกรมของ micro:bit จะเป็นแบบกราฟิกผ่านเว็บบราวเซอร์ ไม่เน้นการติดตั้งโปรแกรมใดๆ โดยต้องลงทะเบียนก่อน จึงใช้งานได้ ผู้พัฒนา โปรแกรมสามารถเลื อ กได้ ว ่ า จะใช้ ภ าษา Java, Python หรื อ C++ โดยมี โค้ดเอดิเตอร์ให้เลือก 3 ตัวคือ CodeKingdoms, Microsoft Block Editor และ Microsoft TouchDevelop ที่ จ� ำ ลองการท� ำ งานโปรแกรมที่ ห น้ า จอ คอมพิวเตอร์ได้ หรือสั่งคอมไพล์โปรแกรมให้ได้ไฟล์ภาษาเครื่องเพื่อน�ำไป โปรแกรมลงบอร์ดได้ ในการคอมไพล์โปรแกรม ตัวโค้ดเอดิเตอร์ทงั้ สามตัวนีจ้ ะแปลไฟล์สคริปต์ เป็นไฟล์โปรแกรมภาษา C/C++ เพื่อส่งไฟล์ภาษา C/C++ นี้ไปยังเว็บไซต์ www.mbed.com เพื่อท�ำการคอมไพล์ให้เป็นไฟล์ภาษาเครื่อง ได้ไฟล์นามสกุล .hex ส่งกลับมายังคอมพิวเตอร์ การดาวน์โหลดโปรแกรมเพียงน�ำไฟล์ภาษา เครื่องที่ได้นี้ไปเก็บในไดร์ฟที่เป็นบอร์ด micro:bit


Maker Knowledge

CodeKingdoms ลากบล็อกมาวางแล้วเขียน JavaScript ควบคุมการท�ำงาน โดยสลับไปเป็นเอดิเตอร์ แบบเท็กซ์ (text-based editor) ส�ำหรับคนที่ เขียนโปรแกรมเก่งขึ้นก็ท�ำได้ มีหน้าตาที่ค่อน ข้างน่าสนใจดังรูปที่ 3

รูปที ่ 5 พัฒนาโปรแกรมแบบสัมผัสลากและวางส�ำหรับ​ micro:bit ด้วยโปรแกรม Microsoft TouchDevelop

MicroPython

รูปที่ 3 CodeKingdoms เอดิเตอร์ส�ำหรับเขียน โปรแกรมแบบกราฟิกที่ micro:bit รองรับ

เป็นเอดิเตอร์แบบ text base หรือแบบตัวอักษร ส�ำหรับเขียนโปรแกรมด้วยภาษา Python ล้วนๆ ไม่มี บล็อกใดๆ ให้ต่อ เหมาะส�ำหรับฝึกทักษะการเขียน โปรแกรมในขั้นก้าวหน้า โดยมีไลบรารีส�ำหรับแสดง ภาพออกที่ LED 5 x 5 จุดของบอร์ด micro:bit และมี ไลบรารีส�ำหรับเล่นดนตรี

Microsoft Block Editor เป็ น เอดิ เ ตอร์ แ บบกราฟิ ก อี ก แบบหนึ่ ง มี ห น้ า ตาแสดงดั ง รู ป ที่ 4 ผู ้ พั ฒ นาต้ อ งลาก บล็อกมาวางต่อกันให้ท�ำงานตามที่ต้องการ มี ลักษณะเหมือนกับโปรแกรม Scratch พร้อม กับมีโปรแกรม Simulation ส�ำหรับจ�ำลองการ ท�ำงานของโปรแกรมด้วย

รูปที่ 8 ตัวอย่างการต่อวงจรที่พอร์ตของบอร์ด micro:bit ใช้สายปากคีบในการต่อวงจร (ภาพ จาก http://www.dezeen.com) จากข้อมูลโครงการ micro:bit หลังจากที่ แจกให้เด็กอังกฤษครบแล้ว ทาง Element14 ผู้ ผลิตบอร์ดนี้ให้กับ BBC จึงจะได้รับอนุญาตให้ ก�ำหนดราคาและผลิตจ�ำหน่ายให้กับประเทศ อื่นๆ ได้ ถ้าราคาไม่แพงมาก น่าจะได้รับความ นิยมแพร่หลายไปทั่วโลก เหมือนกับโครงการ Raspberry Pi

หวังว่าจะมาเมื องไทยในเร็ ววัน

รูปที่ 6 ก้าวไปอีกขั้นกับการเขียนโปรแกรมด้วยภาษา Python กับ MicroPython

รูปที ่ 4 โค้ดเอดิเตอร์แบบกราฟิกส�ำหรับ micro:bit​ ที่ชื่อ Microsoft Block Editor

Microsoft TouchDevelop

ภาพประกอบจาก https://www.kitronik.co.uk http://www.theinquirer.net http://www.bbc.co.uk

เป็นซอฟต์แวร์ที่ได้รับการออกแบบให้มี อินเตอร์เฟสแบบสัมผัส เหมาะกับสมาร์ตโฟน หรือแท็บเล็ตที่สัมผัสหน้าจอได้ ใช้ช่วยในการ เขี ย นสคริ ป ต์ มี ตั ว ช่ ว ยตรวจสอบไวยากรณ์ ของภาษาที่ใช้ ในรูปที่ 5 แสดงหน้าต่างหลัก ของ Microsoft TouchDevelop

M

รูปที่ 7 ตัวอย่างโครงงานทีน่ ำ� บอร์ด micro:bit ไปใช้งาน

MAKERS

7


Robotics

Maker Report ชัยวัฒน์ ลิ้มพรจิตรวิไล

ROPI หุ่นยนต์เพื่องานบริการ และประชาสัมพันธ์

รายงานพิเศษข้ามฟ้ามาจากอินโดนีเซีย กับการเปิดตัวหุ่นยนต์เพื่องานบริการ ที่เป็นมิตรต่อผู้คน นี่คือหุ่นยนต์อิเหนา หัวใจไทย เพราะมันท�ำงานด้วยบอร์ด ควบคุมจากประเทศไทย !! ในเดือนพฤษภาคม 2559 นี้ หากใครได้มีโอกาสไปเดินห้างสรรพสินค้าใหญ่ๆ ในกรุงจาร์กาต้า ประเทศอินโดนีเซีย อาจได้พบกับหุ่นยนต์ที่ให้บริการข้อมูลและเป็นขวัญใจของเด็กๆ และผู้คนในดินแดน นี้ มันคือ ROPI ROPI มาจากค�ำว่า Robot Pinta ค�ำว่า pinta ในภาษาอินโดนีเซียแปลว่า ฉลาด ดังนั้น ROPI จึง มีความหมายว่า หุ่นยนต์ฉลาดหรือจะเรียกหุ่นยนต์อัจฉริยะตามศัพท์ที่งดงามของภาษาไทยก็ได้ ROPI เป็นผลงานที่เกิดจากความร่วมมือของ 2 ประเทศในภูมิภาคเอชียตะวันออกเฉียงใต้ นั่นคือ อินโดนีเซีย และไทย ว้าว ว้าว ว้าว งานนี้พี่ไทยมีเอี่ยวอย่างไร ก็ต้องขอเชิญทุกท่านทัศนาไปพร้อมกั

แนวคิดตั้งต้น ROPI ถูกสร้างจากแนวคิดที่เรียกว่า MIRO - Moving Interactive Information Robot หรือหุ่น ยนต์บริการข้อมูลและปฏิสัมพันธ์เคลื่อนที่ได้ มันคือนวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อเปลี่ยนโฉมหน้าการโฆษณา ประชาสัมพันธ์ส�ำหรับสถานที่ในอินโดนีเซียไปตลอดกาล ตามแนวคิดของ MIRO หุ่นยนต์ตัวนี้ต้องให้ข้อมูลประชาสัมพันธ์แก่ผู้มาเที่ยวชมสถานที่ ซึ่งในที่ นี้คือ ห้างสรรพสินค้า มันมีหน้าจอภาพอย่างน้อย 2 หน้า และปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้งานหรือลูกค้าที่มาใช้ บริการในห้างสรรพสินค้าได้ ท�ำให้เกิดการแนะน�ำข้อมูลพื้นฐานของห้าง โฆษณาร้านค้าและกิจกรรม ภายใน แถมยังมีที่วางแผ่นพับใบปลิวส�ำหรับแจก และทั้งหมดนั่นไม่ใช่กลไกที่อยู่นิ่งๆ มันเคลื่อนที่ได้ !!! 8

MAKERS


รูปที่ 2 คุณสมบัติของหุ่นยนต์ ROPI MAKERS

9


ATX-2 บอร์ดควบคุมหุ่นยนต์อเนกประสงค์

รูปที่ 1 ROPI ขวัญใจครอบครัวอินโดนีเซียยุคใหม่ • ไมโครคอนโทรลเลอร์หลัก ATmega644P สัญญาณนาฬิกา 20MHz

ผู้ให้ก�ำเนิด ROPI ผลิตโดย SARI Teknologi บริษัท ที่ผันตัวจากศูนย์อบรมกิจกรรมเยาวชนมาสู่ ธุรกิจหุ่นยนต์ โดย SARI ได้น�ำเสนอหุ่นยนต์ เพื่ อ ความบั น เทิ ง ในแนวสวนสนุ ก หุ ่ น ยนต์ หรือ RoboPark ในตลอดปี ค.ศ. 2015 ที่ ผ่านมา ท�ำให้มีความสัมพันธ์ที่ดีกับห้างสรรพ สินค้าขนาดใหญ่ทั่วอินโดนีเซีย น�ำมาซึ่งการ หาไอเดียใหม่ในการให้บริการข้อมูลแก่ผู้มา ใช้บริการในห้างสรรพสินค้า จนได้บทสรุปที่ แนวคิด MIRO และเป็นหุ่นยนต์ ROPI ในที่สุด

• ไมโครคอนโทรลเลอร์ควบคุมอินพุตเอาต์พุตเสริมเบอร์ ATmega88A • มีจุดต่อพอร์ต 3 ขา (ขาไฟเลี้ยง, สัญญาณ และกราวด์) แบบโปรแกรมได้จ�ำนวน 18

จุด, จุดต่อบัส 2 สาย และจุดต่อบัส UART

จุดต่อพอร์ตอินพุตอะนาลอก 13 จุด รองรับแรงดันได้ตั้งแต่ 0 ถึง +5V มีความ ละเอียดในการแปลงสัญญาณเป็นข้อมูลดิจิตอล 10 บิต ให้ผลการท�ำงานในช่วง 0 ถึง 1,023 •

• มีตัวต้านทานปรับค่าได้ หรือ KNOB ส�ำหรับป้อนัสญญาณอะนาลอก • มีสวิตช์ OK ส�ำหรับทดสอบการอ่านค่าอินพุตดิจิตอลอย่างง่าย • มีล�ำโพงเปียโซส�ำหรับขับเสียง

มีจอแสดงผลแบบกราฟิก LCD สี (128 x 160 จุด) แสดงตัวอักษรได้ 21 ตัว 16 บรรทัด •

มีจุดต่อพอร์ตสื่อสารข้อมูลอนุกรม UART 1 ชุด ส�ำหรับติดต่อกับอุปกรณ์อนุกรม อาทิ โมดูล กล้อง Pixy, โมดูลบลูทูธ, โมดูลสื่อสารข้อมูลไร้สาย, โมดูล WiFi เป็นต้น •

มีวงจรขับมอเตอร์ไฟตรง 6 ช่อง พร้อมไฟแสดงการท�ำงาน รองรับมอเตอร์ไฟตรง ขนาด 4.5 ถึง 9V •

• มีจุดต่อ RC เซอร์โวมอเตอร์ขนาดเล็ก 8 ช่อง • มี LED แสดงสภาวะไฟเลี้ยงของวงจรขับมอเตอร์และเซอร์โวมอเตอร์ • มีวงจรตรวจสอบระดับไฟเลี้ยงของระบบแสดงผลด้วย LED

• ดาวน์โหลดและสื่อสารข้อมูลกับคอมพิวเตอร์ผ่านพอร์ต USB มีไฟแสดงการท�ำงาน • มีสวิตช์ RESET ส�ำหรับรีเซตการท�ำงาน

ใช้ไฟเลี้ยง +6 ถึง +9V กระแสไฟฟ้า 1100mA (เป็นอย่างน้อย หากใช้กับมอเตอร์ 4 ตัว) •

10

MAKERS


Maker Report

ความร่วมมือไทย-อินโดนีเซีย การผลิต ROPI มีด้วยกัน 3 ส่วนหลักคือ โครงหุ่น ยนต์ที่มาจากการฉีดพลาสติกโดยใช้แม่พิมพ์, ส่วนติดต่อ ผู้ใช้งานและประมวลผลกราฟิกที่ใช้ Embedded PC และส่วนควบคุมกลไกและตัวตรวจจับที่ใช้บอร์ด ATX-2 จ�ำนวน 6 ตัว จุดใหญ่ใจความอยู่ตรงที่การใช้บอร์ด ATX-2 ซึ่ง เป็นบอร์ดที่ผลิตโดยบริษัท อินโนเวตีฟ เอ็กเพอริเมนต์ จ�ำกัด หรือ INEX อันเป็นบริษัทของคนไทย จดทะเบียน ในประเทศไทย โดย ATX-2 เป็นบอร์ดที่มีการใช้งานอย่าง กว้างขวางในแวดวงการศึกษาและการแข่งขันหุ่นยนต์ใน ระดับมัธยมศึกษา ทาง SARI ได้น�ำบอร์ดนี้ไปใช้หุ่นยนต์ ที่ใช้งานจริงเชิงพาณิชย์ และได้รับผลตอบรับที่ดี น�ำมาซึ่ง การผลิตจ�ำนวนมากเพื่อจ�ำหน่ายให้แก่ห้างสรรพสินค้าชั้น น�ำในอินโดนีเซีย

รูปที่ 4 เชิญชิมขนมอร่อยๆ จ้า...บริการโดย ROPI หุ่นยนต์บริการและประชาสัมพันธ์ภายใต้แนวคิด MIRO ก�ำลังได้ รับการตอบรับในเชิงบวกอย่างมากในอินโดนีเซีย ผู้ผลิตได้มีโอกาสเข้า พบประธานาธิบดี และเริ่มโครงการพัฒนาหุ่นยนต์บริการแบบนี้ในหน่วย งานของภาครัฐ นับเป็นสัญญาณที่ดีอย่างยิ่งเมื่อรัฐบาลให้ความสนใจ SARA ก�ำลังเดินหน้าทั้งผลิตและประชาสัมพันธ์ ROPI อย่างเต็มก�ำลัง และนั่นย่อมส่งผลดีต่อบริษัทคนไทยที่เป็นผู้ผลิตส่วนควบคุมส�ำคัญตาม ไปด้วย หวังอย่างยิ่ งว่า รายงานชิ้ นนีจ้ ะได้รบั การเผยแพร่ ไปยังผูท้ ีม่ ี บทบาท ส�ำคัญของประเทศไทยเพื อ่ เป็ นแรงบันดาลใจเล็กๆ ในการกระตุ้นให้เกิ ด การผลักดันหรื อช่วยเหลื อธุรกิ จหุ่นยนต์ บริ การในประเทศไทย เพราะใน ระบบควบคุมและตรวจจับทีเ่ ป็ นหัวใจส�ำคัญของ ROPI ผลิ ตโดยบริ ษัท คนไทย ดังนัน้ การต่อยอดไปสู่การผลิ ตหุ่นยนต์ทงั้ ตัว ทีม่ ี ลูกเล่นทางการ ตลาดทีแ่ หลมคม ย่อมเป็ นไปได้ไม่ยาก ชื อ่ เหลือเกิ นว่า วิ ศวกรไทยและผู้ ผลิ ตหุ่นยนต์ไทยมี ความสามารถท�ำได้ และอาจท�ำได้ดีกว่า

M

รูปที่ 3 ใช้งานจริงในการประชาสัมพันธ์สินค้าเด็กอ่อน

MAKERS

11


Embedded System

Maker Knowledge กองบรรณาธิการ

i-Duino UNO R3B บอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ Arduino UNO รุ่นใหม่ใช้ชิป ATmega328PB

บอร์ด Arduino UNO compatible รุ่นใหม่ ล่าสุดฝีมือคนไทยที่ใช้ชิป ATmega328PB และ มาพร้อมกับ Arduino IDE 1.7.10 เวอร์ชัน พิเศษที่พัฒนาต่อยอดโดยคนไทย รุ่นแรกของ โลกที่ใช้งานกับชิปใหม่ได้เต็มความสามารถ i-Duino UNO R3B หรือบอร์ด R3B คือแผงวงจรส�ำหรับทดลอง และใช้งานไมโครคอนโทรลเลอร์ Arduino ที่เข้ากันได้กับ Arduino UNO ราคาประหยัด และมาพร้อมกับอุปกรณ์คุณภาพสูง บรรจุวงจรภาคจ่าย ไฟแบบสวิตชิ่งที่มีเสถียรภาพ มีสวิตช์เพื่อเลือกใช้ไฟเลี้ยงทั้ง +5V และ +3.3V ท�ำให้บอร์ด R3B เป็นแผงวงจร Arduino UNO compatible ใน ไม่กี่รุ่นในโลกที่รองรับไฟเลี้ยงทั้งสองระบบ และที่เป็นพิเศษคือ ใช้ไมโคร คอนโทรลเลอร์ ATmega328PB ซึ่งเป็นชิปรุ่นใหม่กว่า ATmega328P ที่ใช้ใน Arduino UNO รุ่นดั้งเดิม

ใหม่กว่ากับ ATmega328PB ชิปผู้มาแทน ความใหม่ที่โดดเด่นของบอร์ด R3B ประการแรกคือ เลือกใช้ชิป ATmega328PB เบอร์ใหม่สุดในอนุกรมนี้ ท�ำให้มีขาพอร์ตมากขึ้น ทั้งอินพุตเอาต์พุตดิจิตอล, อินพุตอะนาลอก, เอาต์พุต PWM, พอร์ตสื่อสารข้อมูลอนุกรม UART เพิ่มอีก 1 ชุด, พอร์ต เชื่อมต่อบัส I2C อีก 1 ชุด, พอร์ตเชื่อมต่อระบบบัส SPI อีก 1 ชุด และ ทุกขาพอร์ตมีความสามารถอินพุตแบบสัมผัส ดังแสดงการจัดขาของ ATmega328PB ในรูปที่ 1 12

MAKERS

รูปที่ 1 แสดงการจัดขา ของ ATmaga328PB

ส่วนประกอบของบอร์ดที่ยืดหยุ่น ในรูปที่ 2 แสดงส่วนประกอบต่างๆ ของบอร์ด R3B ซึ่งเข้ากันได้กับ Arduino UNO R3 โดยในบอร์ด R3B ได้เพิ่มเติมจุดต่อพอร์ตอินพุตเอาต์พุต ทั้งหมดในรูปแบบที่มีการจัดขาเหมือนจุดต่อเซอร์โวมอเตอร์และสวิตช์เพื่อ เลือกระบบไฟเลี้ยง ส่งผลให้บอร์ด R3B มีความพร้อมส�ำหรับการเรียนรู้และ ใช้งานไมโครคอนโทรลเลอร์เป็นอย่างดี นอกจากนั้ น ยั ง มี จุ ด ต่ อ พอร์ ต อิ น พุ ต อะนาลอกเพิ่ ม อี ก 2 ขาคื อ A6 (พอร์ต 20) กับ A7 (พอร์ต 21) และอินพุตเอาต์พุตดิจิตอลอีก 2 ขา (ขา 22 และ 23) อ�ำนวยความสะดวกในการต่อโมดูลสื่อสารข้อมูลอนุกรมให้ง่ายขึ้น ด้วยจุดต่อ Serial 1, ต่อพ่วงกับอุปกรณ์บัส I2C และ SPI ได้สะดวก


Maker Knowledge คุณสมบัติทางเทคนิคของบอร์ด iDuino UNO R3B

• เข้ากันได้กับฮาร์ดแวร์ Arduino UNO R3 • ใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์ ATmega328PB ของ Atmel มีหน่วยความจ�ำ โปรแกรมแบบแฟลช 32 กิโลไบต์ โปรแกรมใหม่ได้ 10,000 ครั้ง มีหน่วยความ จ�ำข้อมูลอีอีพรอม 512 ไบต์ และหน่วยความจ�ำข้อมูลแรม 1 กิโลไบต์ สัญญาณ นาฬิกาหลัก 16MHz จากคริสตอล • มีจุดต่อพอร์ต USB ส�ำหรับอัปโหลดโปรแกรมและสื่อสารข้อมูลกับ คอมพิวเตอร์ • มีสวิตช์ RESET การท�ำงาน • มีจุดต่อพอร์ตตามมาตรฐานของ Arduino UNO • มีจุดต่อแบบ IDC 3 ขา รวม 20 จุด แบ่งเป็นขาพอร์ตดิจิตอล 14 จุด และ ขาพอร์ตแบบดิจิตอลหรืออะนาลอก (ก�ำหนดได้) 6 จุด • มีจุดต่อพอร์ตที่เพิ่มขึ้นอีก 4 ขา คือ 20 ถึง 23 ซึ่งเป็นขาพอร์ตอินพุต เอาต์พุตดิจิตอลและเป็นอินพุตอะนาลอกอีก 2 ขาคือ 20/A6 และ 21/A7 • มีจุดต่อระบบบัส 2 สาย (I2C) เพื่อขยายระบบ • มีจุดต่อพอร์ตสื่อสารข้อมูลอนุกรม SERIAL1 เป็นความสามารถที่เพิ่มขึ้น ของ ATmega328PB ท�ำให้ใช้เชื่อมต่อกับโมดูลสื่อสารข้อมูลอนุกรมอื่นๆ ได้ง่าย ขึ้น โดยไม่ต้องใช้ SERIAL0 เดิมที่ใช้งานร่วมกับชิปแปลงสัญญาณพอร์ต USB เป็น UART • ใช้ภาคจ่ายไฟแบบสวิตชิ่งที่รับแรงดันอินพุตจากแจ๊กอะแดปเตอร์ได้ตั้งแต่ 3 ถึง 12V จึงใช้กับแบตเตอรี่ได้ และยังใช้ไฟเลี้ยงจากพอร์ต USB ได้ด้วย โดยมีจั๊ม เปอร์เลือกระดับไฟเลี้ยงที่ต้องการ ปกติจะเลือกไว้ที่ +3.3V

มีจุดต่อพอร์ตแบบ IDC ตัวผู้ ท�ำให้ใช้งานได้หลากหลายมากขึ้น

ด้านภาคจ่ายไฟ ด้วยวงจรแปลงแรงดันไฟตรงแบบ Boost และ Bulk ท�ำให้ใช้แหล่งจ่ายไฟได้ต�่ำถึง +3V จึงใช้แบตเตอรี่ได้ โดยยังคงมี ระดับสัญญาณลอจิกเลือกได้ทั้ง +5V และ +3.3V

• ตัวชิป ATmega328PB ได้รับการโปรแกรมบิตฟิวส์แบบใหม่ ท�ำให้ รักษาข้อมูลของหน่วยความจ�ำอีอีพรอมภายในตัวชิปไว้ได้เมื่อมีการอัปโหลด โค้ด ความสามารถนี้ไม่มีอยู่ใน Arduino UNO ดั้งเดิม • มีความสามารถในการป้องกันการอ่านข้อมูลออกจากหน่วยความ จ�ำโปรแกรมหรือ Code protection ความสามารถนี้ไม่มีอยู่ใน Arduino UNO ดั้งเดิม • มีความเร็วในการอัปโหลดโปรแกรมสูงกว่า Arduino UNO ดั้งเดิม • พัฒนาโปรแกรมด้วย Arduino IDE 1.7.10 เวอร์ชันพิเศษที่ทาง INEX ได้ท�ำการปรับปรุงขึ้นใหม่เป็นพิเศษให้รองรับกับไมโครคอนโทรลเลอร์ ATmega328PB ดาวน์โหลดโปรแกรมได้ที่ www.inex.co.th

Arduino IDE 1.7.10 by INEX ด้านการพัฒนาโปรแกรม INEX ได้น�ำ Arduino IDE 1.7.10 จากฝั่ง arduino.org มาต่อยยอดเป็นเวอร์ชันพิเศษท�ำให้ใช้งานไมโครคอนโทรล เลอร์ ATmega328PB ได้เต็มความสามารถ อาจกล่าวได้ว่า นี่คือ Arduino IDE 1.7.10 รุ่นแรกที่รองรับและใช้งานได้กับ ATmega328PB ทั้งนี้เนื่องจาก ในขณะที่ท�ำบทความนี้ผู้พัฒนา Arduino IDE มาตรฐาน ทั้งทาง arduino.cc และ arduino.org ยังไม่มีฮาร์ดแวร์ที่ใช้ชิป ATmega328PB อย่างเป็น ทางการ ท�ำให้ไม่สามารถใช้งาน Arduino IDE รุ่นมาตรฐานกับฮาร์ดแวร์ ATmega328PB ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ ทาง INEX จึงได้น�ำ Arduino IDE ตั้ ง แต่ เ วอร์ ชั น 1.7.8 มาปรั บ ปรุ ง ใหม่ แ ละท� ำ การอั ป เกรดตามการ เปลี่ยนแปลงเวอร์ชันของ arduino.org จนถึงในขณะที่ต้นฉบับนี้เป็นเวอร์ชัน 1.7.10

รูปที่ 3 หน้าตาของซอฟต์แวร์ Arduino IDE 1.7.10 เวอร์ชันพิเศษ จะเห็น รายการของ i-Duino UNO R3B นี ่คืออี กหนึ่ งผลงานจากวิ ศวกรและผู้ผลิ ตคนไทยที ่ควรค่าต่อการ สนับสนุน และนับเป็ นครั้งแรกที ่ประเทศไทยได้น�ำเสนอความก้าวหน้า ล่าสุดของการใช้งานฮาร์ ดแวร์ และซอฟต์แวร์ Arduino ทีใ่ ช้ชิปใหม่และมี คุณสมบัติเหนือกว่า Arduino รุ่นมาตรฐานและดัง้ เดิ ม

M

รูปที่ 2 การจัดสรรจุดต่อใช้งานของบอร์ด i-Duino Uno R3B MAKERS

13


Arduino

Maker Knowledge Thai Easy Elec

Advertorial

Genuino

an Arduino’s sister brand outside USA

ความแตกต่างระหว่าง Genuino กับ Arduino Genuino คืออะไร ทีมงานผู้ก่อตั้ง Arduino ส่วนหนึ่งซึ่งมีเครื่องหมายการค้าจด ทะเบียนในสหรัฐอเมริกาได้ประกาศชื่อแบรนด์ Genuino ขึ้นมาใหม่ เพื่อเป็นเครื่องหมายการค้าทั่วโลก ความเป็นมาของแบรนด์ส�ำหรับผู้ อ่านที่ได้ติดตามข่าวน่าจะพอทราบอยู่บ้างแล้วจากความเห็นที่แตก ต่างกันภายในทีมงานผู้ก่อตั้ง Arduino ซึ่งมีจุดเริ่มต้นและฐานการ ผลิตรวมทั้งเครื่องหมายการค้าในอิตาลีซึ่งมีผลครอบคลุมทั่วทั้งโซน ยุโรป ทีมงานผู้ก่อตั้งส่วนหนึ่งจึงหลีกมาใช้แบรนด์ Genuino โดยใน ระหว่างนี้ความขัดแย้งดังกล่าวยังไม่ได้ข้อยุติ

ไม่มี!!! เดี๋ยวนะ... สั้นไป แต่สรุป คือ ไม่มีความแตกต่างและ ความเปลี่ยนแปลงอะไรที่มีนัยส�ำคัญต่อผู้ใช้งาน บอร์ด Genuino ยังคง มีคุณสมบัติเช่นเดียวกับบอร์ด Arduino ที่จ�ำหน่ายอยู่เดิม ใช้รายการ อุปกรณ์ (Bill of Materials) รวมทั้งการออกแบบวงจร (Schematics) เดิม โดยปรับเปลี่ยนการสกรีนบนตัวบอร์ดและใช้คอมโพเนนต์พื้นฐานแตก ต่างกันเล็กน้อยตามพื้นที่ผลิตซึ่งไม่มีผลต่อฟังก์ชันการท�ำงานของบอร์ด ปัจจุบันบอร์ด Arduino ของทีมงาน Arduino.cc นั้นย้ายฐานการ ผลิตมาอยู่กับ Adafruit และ Sparkfun ในสหรัฐอเมริกา และมีตัวแทน จ� ำ หน่ า ยกระจายอยู ่ ทุ ก พื้ น ที่ รายละเอี ย ดตามเว็ บ ไซต์ http://www. arduino.cc/en/Main/Buy

ค�ำว่า Genuino มีพื้นฐานมาจากค�ำว่า Genuine ซึงแปลว่าของ แท้ของจริง กับชื่อของ Arduino กลายเป็น Genuino = Genuine + Arduino

ส่วนผู้ผลิตบอร์ด Genuino นั้นกระจายอยู่ตามพื้นที่ต่างๆ ทั่วโลก เช่ น กั น เพื่ อ ให้ เ หมาะสมกั บ การผลิ ต และจั ด จ� ำ หน่ า ย มี ทั้ ง ในเอเชี ย และยุโรป ในทวีปเอเชียผู้ผลิตและจัดจ�ำหน่าย คือ SeeedStudio ซึ่งมี มาตรฐานและมีก�ำลังการผลิตสูง 14

MAKERS


Maker Knowledge

ในประเทศไทยแม้ว่าจะไม่ได้เป็นฐานการผลิตบอร์ด Genuino แต่ บริษัท วีนัส ซัพพลาย จ�ำกัด (www.ThaiEasyElec.com) เป็นตัวแทน จ�ำหน่ายอย่างเป็นทางการรายเดียวของ Genuino ในขณะนี้ รวมทั้ง บอร์ดของ Arduino.org ที่ยังคงผลิตในอิตาลีก็ยังคงมีจ�ำหน่ายอยู่เช่น เดียวกัน

แต่ จ ะว่ า ไม่ มี ค วามแตกต่ า งเลยก็ ไ ม่ ถู ก นั ก เนื่ อ งจากบอร์ ด ภาย ใต้แบรนด์ Genuino นั้นยังอยู่ในขั้นตอนการวางระบบและเริ่มต้นการ ผลิต จึงมีเพียงบอร์ดหลักๆ ที่ได้รับความนิยมและใช้งานกันอย่างแพร่ หลายจ�ำหน่ายก่อนในช่วงแรก ได้แก่ Genuino Uno, Genuino Mega, Genuino Micro, Genuino Zero, Genuino 101 (อันนี้ผลิตและจัด จ�ำหน่ายโดย Intel) โดยบอร์ดอื่นๆ จะถูกผลิตและวางจ�ำหน่ายเพิ่มขึ้นต่อ ไป

Arduino / Genuino เป็น Open-Source Arduino เป็ น แพลตฟอร์ ม ส� ำ หรั บ การพั ฒ นาต้ น แบบโดยเป็ น Open-Source ทั้ ง ฮาร์ ด แวร์ แ ละซอฟต์ แ วร์ ภาษาที่ ใ ช้ พั ฒ นาคื อ Arduino Programming Language ซึ่งมีพื้นฐานมาจากภาษา Wiring ใช้ พั ฒ นาบนไมโครคอนโทรลเลอร์ มี โ ครงสร้ า งการเขี ย นแบบภาษา C++ และมีเครื่องมือในการพัฒนา Arduino IDE ซึ่งมีพื้นฐานมาจาก Processing บนเว็บไซต์ของ Arduino.cc จะมีรายละเอียดของการ พัฒนา ข้อมูลอ้างอิงการใช้งานไลบรารีและฟังก์ชันต่างๆ ให้ศึกษา รวม ถึง Source Code ทั้งตัวอย่างการใช้งานและโปรแกรมที่ใช้พัฒนาด้วย เช่นกัน

ส่วนของฮาร์ดแวร์ที่ Open-Source ให้สามารถน�ำไปผลิตบอร์ดใช้ งานเองได้อย่างอิสระ ภายใต้ข้อก�ำหนดของการใช้เครื่องหมายการค้า https://www.arduino.cc/en/Trademark/HomePage เช่น สินค้าที่ผลิต และใช้การออกแบบเพิ่มจาก Arduino เรียกว่า Compatible Products ต้องท�ำตามข้อตกลงในการไม่ใช้และไม่สกรีนชื่อ Arduino รวมทั้งไม่ คัดลอกโลโก้หรือกราฟิกไปใช้ หากสร้างเว็บไซต์ต้องไม่ใช้ชื่อ Arduino ประกอบในโดเมนเนม เป็นต้น การผิดข้อตกลงในการผลิตบอร์ดอย่างการท�ำบอร์ดปลอมลอก เลียนแบบ ตัวอย่างดังภาพ ด้านหลังของบอร์ดที่ผลิตจาก Arduino จะ มีการสกรีนข้อมูลรวมทั้งรายละเอียดต่างๆ อย่างเรียบร้อยและชัดเจน กว่า ทาง Arduino ได้ท�ำรายละเอียดไว้ให้ดูได้ที่ https://www.arduino. cc/en/Products/Counterfeit การสนับสนุนบอร์ดจากทางผู้ผลิตหรือผู้ที่ ท�ำตามข้อตกลงอย่างถูกต้อง ถือเป็นการช่วยเหลือการสร้างสรรค์ผลงาน ในการสร้างและออกแบบฮาร์ดแวร์รุ่นใหม่ๆ ที่มีประสิทธิภาพสูงขึ้น การ ท�ำเอกสารการใช้งาน การตรวจสอบและควบคุมคุณภาพตามมาตรฐาน ต่างๆ การสร้างสังคมการเรียนรู้เกี่ยวกับบอร์ด การท�ำตัวอย่างการใช้งาน

ท่านทีส่ นใจ Genuino รวมทัง้ สิ นค้าทีเ่ กี ย่ วข้อง สามารถเข้าชมได้ที่ เว็บไซต์ www.ThaiEasyElec.com

M

MAKERS

15


HOME

Maker Project Tommy DIY

Water filter level Controller อุปกรณ์ตัดเครื่องกรองน�้ำเมื่อระดับน�้ำใกล้เต็มขวด

Powered by iBEAM

หากคุณประสบปัญหาในการ กรอกน�้ำใส่ขวดจากเครื่อง กรองน�้ำ แล้วล้นเป็นประจ�ำ แก้ไขด้วยสิ่งประดิษฐ์ชิ้นนี้ สร้างง่าย ไม่ต้องเขียนโปรแกรม

ปัญหานี้เกิดขึ้นกับหลายคนที่ชอบท�ำงานหลายอย่างพร้อม กัน (ผู้เขียนเองแหละ ^^) กรอกน�้ำดื่มใส่ขวดไว้ แต่ตัวเองก็หันไปท�ำ อย่างอื่น บางทีลืมไปถึงขึ้นนั่งกินข้าวจนเสร็จแล้วเพิ่งนึกได้ น�้ำนอง เต็มหลังบ้านเลยสิครับ แต่แล้วแสงสว่างปลายอุโมงค์ก็บังเกิด เมื่อได้พบกับตัวตรวจ จับแรงกด ไอเดียน�ำตัวตรวจจับแรงกดนี้มาวัดน�้ำหนักของน�้ำในขวด จึงเกิดขึ้น เพื่อให้วงจรตัดไฟเลี้ยงของมอเตอร์ปั้มน�้ำซะเลย แต่ไอเดีย นี้ผู้เขียนใช้กับเครื่องกรองน�้ำดื่มประเภท Reverse Osmosis (RO) นะครับ ก่อนอื่นเรามาดูหลักการท�ำงานคร่าวๆ ของเจ้าอุปกรณ์ที่ว่า นี้กันก่อน

หลักการท�ำงาน เริ่มจากตัวตรวจจับแรงกดรอรับแรงกด ในที่นี้ก็คือรองรับน�้ำ หนักจากน�้ำในขวดที่มีปริมาณเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เมื่อน�้ำหนักได้ตามที่ ตั้งค่าไว้ แผงวงจร iBEAM ก็จะสั่งให้รีเลย์ตัดหน้าสัมผัสปั้มน�้ำของ เครื่องกรองน�้ำ RO จึงหยุดท�ำงาน หลักการก็มีอยู่แค่นี้เองครับ ง่ายๆ ไม่ซับซ้อน ต่อไปก็เริ่มลงมือ สร้างตัวกล่องส�ำหรับบรรจุแผงวงจรทั้งหมดกันเลย

16

MAKERS

เกี่ยวกับตัวตรวจจับแรงกด ตัวตรวจจับแรงกดที่ใช้ในโครงงานนี้มีขนาด 1.75 x 1.5 นิ้ว ค่าความต้านทานไฟฟ้าขณะไม่มีแรงกดจะมีค่ามากกว่า 1MΩ รองรับน�้ำหนักการกดได้ 100 กรัมถึง 10 กิโลกรัม พัฒนาขึ้นมาด้วยเทคโนโลยีฟิล์มโพลีเมอร์แบบหนาหรือ PTF (polymer thick film) ตัวตรวจจับแรงกดแบบนี้จะให้ค่าความ ต้านทานไฟฟ้าลดลงเมื่อมีแรงกดมากระท�ำตัวแผ่นฟิล์มตรวจจับ มากขึ้น ท�ำให้เรียกตัวตรวจจับแบบนี้ว่า FSR หรือ Force Sensing Resistor


Maker Project เตรียมอุปกรณ์กันก่อน

1. แผงวงจร iBEAM

2. ตัวตรวจจับแรงกด+แผงวงจร ADX-Force

3. แผงวงจร RELAY1i

(3) น�ำขวดน�้ำดื่มที่เราใช้กรอกน�้ำอยู่เป็นประจ�ำมาทาบ แล้วใช้ ดินสอท�ำเครื่องหมายเอาไว้เพื่อท�ำส่วนกั้นระหว่างช่องขวดน�้ำกับช่อง บรรจุแผงวงจร

4. แผงวงจรภาคจ่ายไฟ (แกะจากอะแดปเตอร์ 5V หรือจะใช้กะบะ ถ่าน AA 4 ก้อน ก็ได้)

5. ปลั้กไฟพร้อมสายส�ำเร็จ

6. เต้ารับแบบลอยตัว

7. สายไฟ

8. พลาสวูดหนา 5 มม.

9. กาวร้อน

10. คัตเตอร์

11. ปืนเป่าลมร้อน

12. ปืนยิงกาว หรือเทปกาวสองหน้าแบบหนาก็ได้

13. เทปกาวสองหน้าแบบบาง

รูปที่ 3 ท�ำเครื่องหมายกั้นขนาดห้องของขวดน�้ำที่เราใช้ (4) ตัดพลาสวูดขนาด 10x11ซม. จ�ำนวน 2 แผ่น ดังรูปที่ 4.1 น�ำ แผ่นที่ 1 มาติดเข้ากับโครงด้วยกาวร้อน โดยติดเข้ากับแนวดินสอที่เราท�ำ เครื่องหมายไว้จากขั้นตอนที่ 3 ส่วนแผ่นที่ 2 ก็ปิดท้ายดังรูปที่ 4.2

ขั้นตอนการสร้าง (1) ตัดแผ่นพลาสวูด ส�ำหรับท�ำโครงกล่องให้ได้ขนาดตามต้องการ ในที่นี้ผู้เขียนตัดขนาด 49x15 ซม. ดังรูปที่ 1

4.1

4.2

รูปที่ 4 กั้นห้องใส่ขวดน�้ำและแผงวงจร (5) น�ำโครงที่ได้จากขั้นตอนที่ 4 ไปทาบบนแผ่นโฟม ใช้ดินสอวาด ในส่วนช่องใส่ขวดน�้ำดังรูปที่ 5.2 แล้วใช้คัตเตอร์ตัดตามแนวดินสอ แล้ว ทดลองน�ำไปวางในช่องใส่ขวดน�้ำให้พอดีดังรูปที่ 5.4

รูปที่ 1 พลาสวูดขนาด 49x15 ซม. ส�ำหรับท�ำโครงด้านข้าง 5.1

(2) ใช้ ป ื น เป่ า ลมร้ อ นเป่ า ให้ พ ลาสวู ด อ่ อ นตั ว แล้ ว ดั ด กึ่ ง กลาง พลาสวูดให้มีรูปทรงโค้ง โดยใช้ท่อ PVC ขนาด 4นิ้ว เป็นตัวบังคับรูปทรง ดังรูปที่ 2.2 (ไม่ต้องผ่าท่อแบบในรูปนะครับ) รอจนความร้อนที่พลาสวูด เริ่มคลายลงจะได้พลาสวูดรูปทรงดังรูปที่ 2.3 5.3

5.2

5.4

รูปที่ 5 การตัดโฟมส�ำหรับรองรับขวดน�้ำดื่ม 2.1

2.2

รูปที่ 2 การดัดโค้งกล่อง 2.3 พลาสวูด

(6) พลิกด้านล่างของโครงมาท�ำการเซาะร่องส�ำหรับสอดขั้วของตัว ตรวจจับแรงกดดังรูปที่ 6.2

6.1

6.2

รูปที่ 6 การเซาะร่องส�ำหรับสอดปลายของตัวตรวจจับ MAKERS

17


(7) น�ำโครงไปทาบบนพลาสวูดแล้วตัดให้ได้รูปทรงตามโครงเพื่อท�ำ แผ่นปิดด้านล่างแล้วยึดด้วยกาวร้อนดังรูปที่ 7

7.1

(10) เจาะรู ส� ำ หรั บ สายไฟเข้ า และสายไฟออกไปยั ง เต้ า รั บ แบบ ลอยตัวจ�ำนวน 2 รู

7.2

รูปที่ 7 ท�ำแผ่นปิดด้านล่างของกล่อง (8) ตัดพลาสวูดขนาดเท่ากับตัวตรวจจับแรงกด น�ำไปวางรองใต้ตัว ตรวจจับแรงกดดังรูปที่ 8.1 ติดเทปกาวสองหน้าแบบบางเข้ากับตัวตรวจ จับและพลาสวูด

8.1

8.2

รูปที่ 10 เจาะรูส�ำหรับสายไฟเข้าเครื่องและสายไฟเลี้ยงเครื่องกรองน�้ำ (11) น�ำแผงวงจรทั้งหมดลงไปติดตั้งดังรูปที่ 11 โดยให้แผงวงจร ADX-Force อยู่ด้านล่าง ส่วนแผงวงจรภาคจ่ายไฟ และ iBEAM ติดไว้ ใต้ฝากล่อง แต่ผู้เขียนแนะน�ำว่าควรจัดสรรพื้นที่และเอาแผงวงจรรีเลย์ ขึ้นมาไว้ใต้ฝากล่องหรือผนังด้านข้างก็จะปลอดภัยหากวงจรเกิดขัดข้อง ไม่ยอมตัดไฟปั้มน�้ำขึ้นมาน�้ำจะได้ไม่ไหลไปถูกไฟ 220V. ที่ต่ออยู่กับแผง วงจรรีเลย์ ส�ำหรับการเชื่อมต่อดูได้จากรูปที่ 12. อ้อ อย่าลืมใส่โฟมที่ตัดไว้ วางทับบนตัวตรวจจับแรงกดด้วยนะครับ

รูปที่ 8 หนุนตัวตรวจจับแรงกดด้วยแผ่นพลาสวูด (9) ท�ำฝาปิดช่องใส่แผงวงจรโดยตัดพลาสวูดขนาด 13x11.5 ซม. 1 ชิ้น และตัดพลาสวูดเป็นแท่งความสูง 2x13 ซม. 1 ชิ้น และ 12x11 ซม. 2 ชิ้น น�ำมายึดเข้าด้วยกันดังรูปที่ 9.1 จากนั้นน�ำแผงวงจรลงไปติดตั้ง

รูปที่ 9 ท�ำฝาปิดช่องใส่แผงวงจร ตั ว ตรวจจั บ แรงกด

รูปที่ 11 ติดตั้งแผงวงจรลงกล่อง แผงวงจรภาคจ่ายไฟ 5V. แผงวงจร RELAY1i

เสียบไฟบ้าน 220V

เต้ารับแบบลอยตัว ปลั้กเครื่องกรองน�้ำ RO

แผงวงจร ADX-Force เครื่องกรองน�้ำ RO 18

MAKERS

รูปที่ 12 การเชื่อมต่อวงจร


Maker Project การทดสอบ เมื่อทุกอย่างเสร็จเรียบร้อยดีแล้ว ก็มาถึงการทดสอบ โดยเริ่มจาก เสียบปลั้ก LED ด้านที่เราเชื่อมต่อตัวตรวจจับไว้จะต้องติดสว่าง ทดลอง ใช้มือกดลงบนแผ่นโฟม LED จะต้องดับแสดงว่าคุณมาถูกทางแล้ว หาก ไม่ดับหรือต้องกดแรงมากถึงดับ ให้ปรับตัวต้านทานปรับค่าได้บนแผง วงจร iiBEAM โดยหมุนทิศทางตามเข็มนาฬิกา (ค่อยๆ หมุน) เพื่อปรับ ความไวในการตรวจจับนั่นเอง

การติดตั้ง การติ ด ตั้ ง ก็ ไ ม่ มี อ ะไรยุ ่ ง ยากแล้ ว ครั บ น� ำ เครื่ อ งไปวางให้ ต รง ต�ำแหน่งของก๊อกน�้ำแล้วเสียบปลั้กเข้ากับปลั้กไฟบ้าน จากนั้นน�ำปลั้ก ของเครื่องกรองน�้ำมาเสียบเข้ากับเต้ารับลอยตัวด้านหลังที่ต่อผ่านแผง วงจรรีเลย์ดังรูปที่ 13 จากนั้นปิดวาล์วของถังแรงดัน (ส�ำคัญมากห้ามเปิด เด็ดขาด) ดังรูปที่ 14 น�ำขวดมาวางในช่อง ต่อไปเป็นขั้นตอนการปรับแต่ง

การปรับแต่ง ก่อนอื่นให้เปิดฝากล่องใส่แผงวงจรออกมา เพื่อท�ำการปรับตั้งระดับ การตัดไฟเลี้ยงให้กับเครื่องกรองน�้ำ โดยมีขั้นตอนดังต่อไปนี้ หมุนตัวต้านทานปรับค่าได้บนแผงวงจร iBEAM ทวนเข็มนาฬิกา ไปจนสุดดังรูปที่ 15 เพื่อให้รีเลย์ต่อหน้าสัมผัสจ่ายไฟให้กับมอเตอร์ของ เครื่องกรองน�้ำ จากนั้นเปิดวาล์วก๊อกน�้ำให้น�้ำไหลลงขวดจนถึงระดับที่ ต้องการหรือเกือบถึงคอขวดแล้วค่อยๆ หมุนตัวต้านทานตามเข็มนาฬิกา ไปเรื่อยๆ จนรีเลย์ตัดหน้าสัมผัสออกมอเตอร์ของเครื่องกรองน�้ำจึงหยุด ท�ำงาน เป็นอันเสร็จขั้นตอนการปรับแต่ง

รูปที่ 15 หมุนตัวต้านทานปรับค่าได้บนแผงวงจร iBEAM เพื่อปรับความไว ในการตรวจจับ โดยในขั้นตอนนี้อาจต้องใจเย็นๆ นะครับ ค่อยๆ หมุน และแนะน�ำ ว่าอย่าตั้งไว้จนใกล้เต็มแล้วค่อยตัด ให้เอาเหนือฉลากของขวดน�้ำขึ้นมา หน่อยก็พอเผื่อมันผิดพลาดบ้างนิดๆ หน่อยๆ

ข้อควรระวัง! รูปที่ 13 การติดตั้งเตรียมใช้งาน

เนื่องจากโครงงานนี้มีส่วนเกี่ยวข้องกับไฟฟ้า 220Vac. ดังนั้นพึง ตระหนักไว้เสมอว่าเมื่อต้องการจะแก้ไขปรับเปลี่ยนอะไร ควรถอดปลั้ก ออกก่อนทุกครั้ง ส�ำหรับน้องๆ ที่ยังไม่มีความช�ำนาญ ควรท�ำกับผู้ปกครอง หรือให้ ช่างมืออาชีพช่วยด�ำเนินการในจุดต่อที่ต้องเกี่ยวข้องกับไฟ 220Vac. ให้ แน่นหนาก่อน จะปลอดภัยที่สุดครับ อีกหนึ่งโครงงานส�ำหรับคนขี ล้ ืม ก็เสร็ จสิ้ นเพียงเท่านีค้ รับ จากนัน้ ก็ ไปท�ำกิ จกรรมอืน่ ๆ ระหว่างกรอกน�้ำใส่ขวดได้อย่างสบายใจแล้ว

M

อุปกรณ์ ทีเ่ ป็ นแผงวงจรทัง้ หมดมี จ�ำหน่ายที ่ www.inex.co.th รูปที่ 14 อย่าลืมปิดวาล์วถังแรงดัน เพราะหากเปิดไว้ต่อให้ปั้มไม่ท�ำงาน น�้ำก็พุ่งออกจากก๊อกน�้ำอยู่ดี

MAKERS

19


DIY

Maker Project อวิรุทธ์ วิชาเร็ว

สตูดิโอถ่ายรูปจากกล่องกระดาษลัง อุปกรณ์ที่ใช้

20

MAKERS

1. กระดาษลัง 2. กระดาษไข 3. เทปใส 4. หลอดไฟ LED 220VAC 10W 2 หลอด 5. โคมดาวน์ไลต์ 2 ชุด 6. กระดาษแข็ง หรือ กระดาษสีขาว 7. สายไฟและปลั้ก

ส�ำหรับใครที่ก�ำลังมีปัญหาในการถ่ายรูป หาสถานที่ถ่ายรูปให้กับสินค้าหรือฃิ้นงาน พอถ่าย ออกมาแล้วพื้นหลังไม่สวย ติดปัญหาต่างๆ ท�ำให้ ภาพถ่ายชิ้นงานออกมาไม่สวยได้อย่างที่หวังไว้ ดั้ ง นั้ น เราจึ ง คิ ด ที่ จ ะประดิ ษ ฐ์ ส ตู ดิ โ อถ่ า ยรู ป ใน แบบของเมกเกอร์ ขั้นตอนการท�ำก็ท�ำได้ง่าย ๆ ไม่ ซับซ้อน เมื่อพร้อมแล้วก็ไปเตรียมอุปกรณ์ในการ ท�ำกันเลย


Maker Project ขั้นตอนการสร้าง (1) เตรียมกล่องกระดาษลังขนาดใดตามความเหมาะสมกับชิ้นงาน ของคุณ

5 cm. (2) ติดเทปกาวกับฝาปิดของกล่องกระดาษเพื่อเพิ่มพื้นที่ด้านใน ของกล่อง หรือถ้าไม่ต้องการก็สามารถตัดทิ้งออกได้เลย

(3) ตัดกล่องกระดาษลังด้านบน และด้านข้างทั้งซ้ายและขวาออก ให้เป็นช่องว่าง โดยเว้นพื้นที่ขอบของกล่อง 5 ซม.

(4) น�ำกระดาษไขมาปิดตรงช่องที่ตัดไว้ในขั้นตอนที่ 3 ทั้ง 3 ด้าน โดยใช้เทปกาวใสติดให้เรียบร้อย ระวังอย่าให้กระดาษไขยับหรือขาด

MAKERS

21


Maker Project

กระดาษสีขาว

(5) น� ำ กระดาษโปสเตอร์ สี ขาวหรือกระดาษวาดเขียนมาวาง เป็นฉากหลังและพื้นของกล่อง

(6) ท�ำขาตั้งให้กับโคมไฟ LED ส�ำหรับตัวต้นแบบใช้พลาสวูด 8 มม. มาท�ำเป็นขาตั้ง รูปทรงก็ตามรูปเลย ครับ โดยท�ำทั้งหมด 2 ชุด จากนั้นต่อสายไฟและของโคมไฟทั้งสองชุดเข้าด้วยกันแบบขนาน

22

MAKERS


Maker Project

(7) น�ำโคมไฟไปวางไว้ด้านซ้ายและขวาของกล่องก็เป็นอันเสร็จพร้อม ถ่ายรูปสินค้าของเราแล้วครับ

ภาพถ่ายจากสตูดิโอกระดาษลังของเรา

แนะน�ำให้เพิม่ โคมไฟส่องลงมาจากด้านบน อีก 1 ชุด จะท�ำให้ลบเงาของวัตถุได้ดยี งิ่ ขึน้ ครับ นี ่คือผลงานแบบด่วนๆ ใช้เวลาท� ำเพี ยง 30 นาที ก็ เสร็ จแล้ว ทัง้ เร็ วทัง้ ประหยัดแบบนี ้ ลองท�ำติ ดบ้านไว้ไม่เสียหลายครับ

M MAKERS

23


Tools

Maker Project อวิรุทธ์ วิชาเร็ว

Soldering Smoke Filter ตู้กรองควันจากการบัดกรี

เครื่องมือส�ำมะคัญของนักเล่น นักทดลอง และแน่นอนกับเมกเกอร์ที่ควรมี กับเครื่อง ดูดและกรองควันจากการบัดกรี ท�ำเองได้ จากของสุดแสนจะธรรมดาและบ้านๆ

สร้างแผ่นวงจร LED (1) บัดกรี LED 8 มม. 4 ตัวเพื่อต่อวงจรอนุกรมกับตัวต้านทาน R1 ค่า 110W ตามวงจรในรูปที่ 1 บน แผ่นวงจรพิมพ์อเนกประสงค์ uPCB02A

เครื่องดูดควันจากการบัดกรีเป็นเครื่องมือที่เมกเกอร์ทั้งมือใหม่ มืออาชีพ ล้วนสนใจจะมีไว้ครอบครอง ที่มีในตลาดก็มีให้เลือกหลาก คุณภาพหลายราคา ถ้าเอาที่สบายใจสบายกระเป๋าราคาหลักร้อย ปลายไปถึงพันต้น ก็มักจะดูดควันบัดกรีตรงหน้าไปปล่อยด้านหลัง แบบปล่อยแล้ว ปล่อยเลย ไม่ได้มีการดูดไปเก็บหรือกรองแต่อย่างใด ท�ำให้เกิดปัญหาควันตะกั่วเหม็นฟุ้งไปทั่วห้องท�ำงาน ท�ำให้คนที่อยู่ใน ห้องเดียวกันก็รับผลกระทบไปตาม ๆ กัน MAKERS จึงขอเสนอโครงงานเครื่องดูดและกรองควันบัดกรี แบบ DIY ที่ทั้งดูดและกรองควันได้ โดยเจ้าเครื่องนี้สามารถดูดควัน ตะกั่วเข้าไป แล้วกรองควันตะกั่วที่มีอนุภาคหนาแน่น ท�ำให้สารตะกั่ว เจือจางลงไปได้ก่อนที่จะออกไปสู่อากาศข้างนอก ลดกลิ่นและความ หนาแน่นของสารลดลงไปได้ แน่นอนนี่คือโครงงานตามสไตล์เมกเกอร์ ดังนั้นต้องท�ำเองได้ จากของที่หาได้รอบตัว ในราคาที่สมเหตุสมผล

รูปที่ 1 วงจรของ LED และวงจรจ่ายไฟของกล่องดูดควันบัดกรี โดยต่อ เฉพาะวงจรในกรอบเส้นประลงบนแผ่นวงจรพิมพ์อเนกประสงค์

ประกอบกล่อง

24

MAKERS

(2) ต่อสายไฟออกมาพร้อมใช้งาน (3) เริ่มจากตัดพลาสวูดให้ได้ขนาดตามรูปที่ 2


Maker Project

รูปที่ 2 แบบตัดแผ่นพลาสวูด

MAKERS

25


(4) เมื่อได้พลาสวูดตามขนาดที่ต้องการแล้ว เริ่มการประกอบตัวตู้ กันก่อน น�ำชิ้นส่วน A, B, G1 และ G2 มาประกบกันด้วยกาวร้อนตามรูป ที่ 3

(8) น�ำกาวสองหน้าแบบหนาติดเข้ากับด้านล่างของแผ่นวงจร LED (จากขั้นตอนที่ (1) และ (2)) โดยตัดแต่งแผ่นวงจรพิมพ์ให้มีขนาดอย่าง เหมาะสม เมื่อติดเสร็จแล้ว น�ำแผ่นสังกะสีมาติดกับอีกด้านหนึ่งของกาว สองหน้า ท�ำการดัดสังกะสีเพื่อปรับมุมการส่องสว่างของ LED 7.1

3.2

3.1

3.3 รูปที่ 3

7.2

(5) น�ำชิ้นส่วน C ต่อเข้ากับชิ้นส่วนที่ประกอบแล้วจากขั้นตอนที่ (4)

4.1

4.2

รูปที่ 7 (9) น�ำชิ้นส่วน H และน�ำแผ่นวงจร LED ที่ได้จากขั้นตอนที่ (8) มา ติดเข้าด้วยกัน ใช้สกรูเกลียวปล่อยจ�ำนวน 3 ตัวขันยึดให้แน่น รูปที่ 4 (6) น�ำชิ้นส่วน E ที่เจาะช่อง 8 เหลี่ยมแล้วมาเจาะรูยึดพัดลม โดย น�ำพัดลมมาทบ แล้วท�ำเครื่องหมายเพื่อก�ำหนดต�ำแหน่งในการเจาะรู เมื่อเจาะรูแล้วน�ำมาประกอบเข้ากับกล่อง ดังรูปที่ 5

5.1

5.2

รูปที่ 8 รูปที่ 5 (7) น�ำพัดลม 12V 0.56A มาติดเข้ากับกล่อง โดยใช้สกรู 3x35 มม. กับนอต 3 มม. ขันยึดให้แน่น 6.1

(10) น�ำชิ้นส่วน J1 และ K มาประกอบกันให้ได้รูปที่ 9

6.2

6.3

รูปที่ 9 รูปที่ 6 26

MAKERS


(11) เมื่อประกอบเสร็จแล้ว น�ำผ้าขาวบางมาพันเข้ากับชิ้นงานที่ ประกอบแล้วจากขั้นตอนที่ (10) ใช้ที่เย็บกระดาษเย็บผ้าให้ติดกับชิ้นงาน เว้นช่องว่างข้างบนไว้เพื่อใส่ถ่าน 10.2

10.1

10.3

(15) น�ำชิ้นส่วน I มาเจาะรูเพื่อใส่พัดลม สวิตช์ และแจ็คอะแดป เตอร์ 14.1

14.3

รูปที่ 10 (12) น�ำถ่านที่จะใช้กรองคาร์บอนใส่ถุง แล้วใช้ของแข็งทุบให้เป็น ก้อนเล็ก ๆ 11.1

14.2

11.2

รูปที่ 14 (16) จากนั้นก็น�ำพัดลม DC12V 0.24A ติดเข้ากับชิ้นงานจากขั้น ตอนที่ (15) ใช้สกรู 3x30 มม. และนอต 3 มม. ขันยึดให้แน่น ท�ำการต่อ สายของสวิตช์เปิดปิด, พัดลมทั้งสองตัวเข้ากับแจ๊กอะแดปเตอร์ตามวงจร ในรูปที่ 1

รูปที่ 11 (13) น�ำถ่านที่ท�ำการทุบเรียบร้อยแล้ว ใส่ถุงที่ท�ำไว้จากขั้นตอนที่ (10) ให้พอดีกับปากถุง รูปที่ 15 (17) น�ำถุงถ่านมาใส่ในกล่อง วัดระยะให้อยู่กึ่งกลางระหว่างพัดลม 2 ตัวให้พอดี ใช้สกรูเกลียวปล่อยยึดเข้าที่ต�ำแหน่งเสาให้แน่น

รูปที่ 12 (14) น�ำชิ้นงานจากขั้นตอนที่ (9) ไปติดไว้ที่ด้านหน้ากล่อง สอด สายไฟเข้ามาในตัวกล่อง

13.1

13.2

รูปที่ 16 รูปที่ 13 MAKERS

27


(18) น�ำฝาหลังที่ติดพัดลมไว้แล้วมาปิดด้านหลังด้วยกาวร้อนให้ แน่น 17.1

จะได้เครื่องดูดและกรองควันตะกั่วมาใช้งานตามรูปที่ 19 แม้ว่า เครื่องนี้จะสามารถกรองควันตะกั่วได้ เมกเกอร์ทั้งหลายที่ท�ำการบัดกรี งานใหญ่ๆ หรือจ�ำนวนมากๆ ก็ไม่ควรบัดกรีในห้องที่ไม่มีอากาศถ่ายเท หรือปิดทึบ ซึ่งเป็นอันตรายต่อสุขภาพ

17.2

รูปที่ 19 การใช้งานเครื่องดูดและกรองควันตะกั่ว

รูปที่ 17

(19) น�ำชิ้นส่วน D มาปิดด้านบน ใช้สกรูเกลียวปล่อยขันยึดให้แน่น

18.1

18.2

รายการอุปกรณ์ 1. พลาสวูดขนาด A4 จ�ำนวน 4 แผ่น 2. พัดลม DC12V 0.24A 3. พัดลม DC12V 0.56A 4. แจ็กอะแดปเตอร์ 5. สวิตซ์เปิด-ปิด x 2 6. ถ่านจุดไฟ 7. ผ้าขาวบาง 8. สกรูเกลียวปล่อย 3 มม. x 9 9. สกรู 3x30 มม. x 4 10. สกรู 3x35 มม. x 4 11. นอต 3 มม. x 8 12. LED 8 มม. X4 13. ตัวต้านทาน 110Ω 14. แผ่นวงจรพิมพ์อเนกประสงค์รุ่น uPCB-02A 15. แผ่นสังกะสีขนาด A5 (ประมาณ 20x15 ซม.)

ขอให้สนุกกับการบัดกรี และสบายใจสบายตัวขึ้นกับเครื ่องดูดและ กรองควันตะกัว่ จากฝี มื อของทุกท่าน รูปที่ 18

28

MAKERS

M


Craft

Maker Project PINN Creative Space

กระเป๋า สับปะรด สุดชิค กระเป๋าลายผลไม้พันตา อ้าววว...มี...งง... ผลไม้อะไรพันตา ก็ลายสับปะรดไงล่ะ เพื่อนๆ สามารถท�ำได้ด้วยตัวเอง เอาไว้ ใส่เสื้อผ้าไปเที่ยวทะเลหน้าร้อน แบบสุดชิคกัน อุปกรณ์ที่ต้องใช้

1. ผ้า KT ซึ่งเป็นผ้าที่มีคุณสมบัติ มีเนื้อผ้าที่หนา ไม่ยับง่าย เมื่อพิมพ์ลายลงบนผ้าจะมีสีสันสดใสกว่าผ้าชนิดอื่นๆ หรืออาจ หาเป็นผ้าคอตตอน

2. กรรไกร

3. เข็มหมุด

4. เชือกใยสังเคราะห์

MAKERS

29


Maker Project

วิธีท�ำ เตรียมลาย Pattern (1) ขัน้ ตอนแรกต้องเตรียมลายผ้าทีจ่ ะพิมพ์กอ่ น สร้างออกมาสองส่วนคือ ลายแพ็ตเทิร์นรูปเปลือก สับปะรดขนาด 35 ซม. x 50 ซม. และสีเขียวขนาด 20 ซม.x 35 ซม. เพื่อใช้เป็นใบสับปะรด ดังรูปที่ 1 ลายทั้งสองชิ้นอกแบบได้โดยใช้โปรแกรมส�ำหรับวาด ลายเส้นทั่วๆไปเช่น Adobe Illustrator

(3) รีดร้อนด้วยเครื่องรีดร้อนที่ความร้อน 200 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 40 วินาที ในขัน้ ตอนนี้สีที่ติดอยู่ในกระดาษจะระเหิดออกมาจับ กับเส้นใยของผ้าทีน่ ำ� มารีด (ในขัน้ ตอนนีเ้ พือ่ นๆ สามารถมาใช้บริการได้ท ี่ PINN CreativeSpace ทุกสาขาค่ะ)

(6) เย็บให้สองส่วนประกบกัน เหลือ ช่องด้านล่างเอาไว้ แล้วกลับด้านให้ผ้าด้าน มีสีออกมาด้านนอก ท�ำสองชิ้นเช่นกันจะได้ ชิ้นงานดังรูปที่ 6

6.1

รูปที่ 3 รีดร้อนเพื่อให้ลายจากกระดาษมาติดที่ผ้า 1.1

(4) เมื่อเรียบร้อยแล้วจะได้ผ้าสองส่วน ส่วนละ 2 ชิ้นรวมเป็นทั้งหมด 4 ชิ้น ดังรูปที่ 4

6.2

6.3

1.2 รูปที่ 1 ลายผ้าที่ใช้ในการท�ำกระเป๋าลายสับปะรด ดาวโหลดไฟล์ลายผ้าได้ที่ www.makersmagazine.in.th (2) บันทึกไฟล์เป็น PDF น�ำไปพิมพ์ลงบนกระดาษ Sublimation ด้วยเครื่องพิมพ์ Sublimation โดยเฉพาะ จากนั้นน�ำแผ่นกระดาษที่พิมพ์เสร็จแล้วมาประกบกับ ผ้า KT ซึ่งเตรียมตัดไว้ขนาดเท่ากับภาพลายผ้าที่จะ พิมพ์ลาย

รูปที่ 6 เย็บผ้าสีเขียวเข้าด้วยกัน

รูปที่ 4 ผ้าที่พิมพ์ลายแล้ว

เย็บ (5) ตัดผ้าสีเขียวส่วนที่จะท�ำใบสัปปะรด พับประกบกัน แล้วตัดเป็นรูปทรงสามเหลี่ยม ดังรูปที่ 5 โดยเว้นที่ด้านล่างไว้ประมาณ 2 ซม. ส�ำหรับคล้องเชือกหูรูดถุงค่ะ ท�ำทั้งหมดสองชิ้น

(7) น�ำชิน้ งานใบสัปปะรดมาวางด้านบน ของผ้าลายเปลือกสับปะรด แล้วเย็บบนล่าง ดังรูปที่ 7 จุดนี้ต้องเว้นช่องไว้ใส่เชือก ท�ำอีก ชิ้นแบบเดียวกัน

7.1 5.1

รูปที่ 2 พิมพ์ลายลงบนกระดาษ Sublimation ด้วย เครื่องพิมพ์ Sublimation

7.2 5.2 รูปที่ 5 ตัดผ้าสีเขียวท�ำใบสับปะรดและ

30

MAKERS

รูปที่ 7 เย็บใบเข้ากับตัวกระเป๋า


Maker Project

(11) เย็บปิดด้านล่างซ้ายไปขวาตามเส้นประ ขั้นตอนนี้ต้องระวังจะเย็บโดนเชือกนะคะ เราจะเย็บ โดนเชือกแค่ตรงมุมก้นกระเป๋าเท่านั้น เมื่อเย็บเสร็จ แล้ว ท�ำการกลับด้านในเป็นด้านนอก

(8) สอดเชือกเข้าไปในช่องที่เว้นไว้ในแต่ละชิ้น ท�ำเช่นเดียวกันทั้งสองชิ้น

8.1

8.2

รูปที่ 8 สอดเชือกส�ำหรับรูด

11.1

(9) ประกบชิ้นผ้าทั้งสองชิ้นโดยให้ลายอยู่ด้านใน แล้วคล้องปลายเชือกอีกด้านนึงกับ ชิ้นตรงข้าม ดังรูปที่ 9

11.2 รูปที่ 11 เย็บปิดเก็บงาน 9.1

9.2

รูปที่ 9 ประกบผ้าแล้วคล้องเชือก

เสร็จเรียบร้อยแล้ววว เห็นไหมคะ ไม่ยากเลย แค่นี้ก็ได้กระเป๋าสับปะรดสุดเก๋ไว้ใส่เสื้อผ้าและของ ส่วนตัวไปเที่ยวทะเลกันเนอะ

(10) น�ำปลายเชือกแต่ละเส้นมาไว้ตรงมุมก้นกระเป๋าแต่ละข้าง โดยให้เส้นเชือกอยู่ ด้านใน กลัดไว้ด้วยเข็มหมุด

10.1

10.2

รูปที่ 12 กระเป๋าผ้าสุดชิกจากฝีมือเราเองล้วนๆ

รูปที่ 10 เก็บเชือกไว้ภายในกระเป๋า เพื ่อ นๆ สามารถเปลี ่ ย นเป็ นลายผลไม้ อื่ น ๆ ได้ ตามใจชอบแล้วแต่ครี เอตเลย เรื ่ องพิ มพ์ ผ้าหน้าที ่เราค่ะ มาใช้บริ การได้ที่ PINN Creative Space ทุกสาขานะคะ

M MAKERS

31


ชุดเรียนรู้และพัฒนำโปรแกรมควบคุมหุ่นยนต์อัตโนมัติ ด้วยโปรแกรมภำษำ C/C++ กับซอฟต์แวร์ Arduino 1.0

# Lite kit 3,500.# Standard kit 4,900.-

POP-BOT X2 Premium kit ครบชุดส�ำหรับเรียนรู้และแข่งขันทุกระดับ อุปกรณ์เพิ่มเติมจากชุด Standard แขนจับ SM-Gripper Wireless-X รีโมตคอลโทรลไร้สาย เข็มทิศดิจิตอล แผงวงจรตรวจจับรหัสล้อ มอเตอร์ใบพัด แผงวงจรตรวจจับแสง โครงหุ่นยนต์ FireBOT

# Premium kit 7,900.บริษัท อินโนเวตีฟ เอ็กเพอริเมนต์ จ�ำกัด 32

MAKERS

เลขที่ 108 ซอยสุขุมวิท101/2 ถนนสุขุมวิท แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทรศัพท์ : 0-2747-7001-4 , www.inex.co.th


Everything in control ALFAT-SD ราคา 1,500.Module Read/Write SD-CARD • ท�ำงาน ด้ วย ALFAT SoC processor ประสิทธิภาพสูง • รองรับ หน่วยความจ�ำ SD-CARD ความจุ สูงสุด 8 GB • รองรับไฟล์ได้ 2 ระบบ คือ FAT16 และ FAT32 • ต่อกับไมโครคอนโทรลเลอร์ (MCU) ได้ 4 รูปแบบ คือ I2C, SPI, UART (TTL) และ RS232 • สามารถเลือกโหมดการติดต่อสื่อสารด้วยจั้มเปอร์ ในกรณีใช้งานแบบ UART (TTL), RS232 และ Boot loader (ส�ำหรับ Update Firmware) • ไฟแสดงสถานะการติดต่อสื่อสารด้วย LED

ALFAT-USB ราคา 1,500.Module Read/Write FLASH DRIVE • ท�ำงานด้ ว ย ALFAT SoC processor ประสิทธิภาพสูง • รองรับห น่ วยความจ�ำ FLASH DRIVE USB 2.0 • รองรับ FLASH DRIVE ความจุได้ถงึ 8 GB • รองรับไฟล์ได้ 2 ระบบ คือ FAT16 และ FAT32 • ต่อกับไมโครคอนโทรลเลอร์ (MCU) ได้ 4 รูปแบบ คือ I2C, SPI, UART (TTL) และ RS232 • สามารถเลือกโหมดการติดต่อสื่อสารด้วยจั้มเปอร์ ในกรณีใช้งานแบบ UART (TTL), RS232 และ Boot loader (ส�ำหรับ Update Firmware) • ไฟแสดงสถานะการติดต่อสื่อสารด้วย LED

WIFI220 ราคา 1,850.RS232 to Wireless LAN WIFI220 คือ บอร์ดส�ำหรับแปลงข้อมูลจาก RS232 เป็น Wireless LAN หรือ WIFI • เหมาะส�ำหรับงานที่ไม่ต้องการเดินสาย • หรือต้องการส่งข้อมูลจาก RS232 เข้าใน ระบบ TCP/IP (LAN) • การตั้งค่าใช้งานผ่านทาง RS232 ด้วย AT-Command แบบ Command line • มีโปรแกรมส�ำหรับตั้งค่าให้ใช้งานง่าย โดยไม่ต้องใช้ AT-Command เอง (โปรแกรมจะสร้าง AT-Command ให้อัตโนมัติเพียงคุณเลือกโหมดการใช้งาน และ ใส่ค่าต่างๆ ตามต้องการ)

• Wireless Lan มาตรฐาน 802.11 b/g ความถี่ 2.412 - 2.484 GHz • พร้อมเสาอากาศ และ LED แสดงสถานะบน บอร์ด • RS232 ใช้ความเร็วได้ 1200 - 115200 bps • การตั้งค่ากระท�ำผ่าน PC (ต่อกับ RS232) มี โปรแกรมให้ใน CD-Rom (AT Command) สามารถปรับการตั้งค่าผ่านทาง Web-Base ได้ ด้วย • ใช้ไฟเลี้ยง 5 - 9 VDC

• ย่านความถี่สาธารณะ 433 MHz เลือกความถี่ได้ 8 ช่อง • ส่งได้ไกลโดยมีระยะหวังผลถึง 100 เมตร • RS232 ใช้ความเร็วได้ 1200 - 19200 bps • การตั้งค่ากระท�ำผ่าน PC (ต่อกับ RS232) มีโปรแกรมให้ใน CD-Rom • หรือผู้ใช้อาจสร้างโปรแกรมตั้งค่าเองผ่าน AT Command ก็ได้ • ใช้ไฟเลี้ยง 9 VDC หรือ 5 VDC ก็ได้

AP-250 ราคา 4,650.Remote I/O Controller ผ่านระบบ Lan

• ใช้ตัวโมดูล CIEM10 มีขั้ว RJ45 ที่เสียบสายเข้ากับระบบ Lan 10/100 Base-T ได้ทันที • มี 8 Input (4 หน้าคอนแทคผ่านวงจร Opto และ 4 Intput แบบ TTL 3.3V) • มี 8 Output (4 Relay มีขั้ว NO,NC และ 4 Output แบบ TTL 3.3V) • มี 1 Analog Input แบบ 10-Bit A/D สามารถเลือกระดับแรงดันได้ด้วย Jumper 0-3.3V 0-5V 0-12V 0-24V • มี 1 Port RS232 สามารถใช้งานเป็นตัวแปลง Lan to RS232 ได้ด้วย • เหมาะส�ำหรับการควบคุมผ่าน Lan โดยตรงจากคอมพิวเตอร์ และใช้ควบคุม แบบ Web-Base ได้ด้วย • ใช้ไฟเลี้ยง 9 VDC และมีตัว Adapter จ่ายไฟให้พร้อม

PRO-WRITER ราคา 3,250.เครื่องโปรแกรมชิพ Megawin (MCS-51)

X-FE6051 ราคา 350.บอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์อเนกประสงค์ ... ขนาดเล็ก ราคาประหยัด

• มีอุปกรณ์บนบอร์ดเป็น LED (และเป็น RS485-Drive ด้วย) , Buzzer และ Key=2 • มีพอร์ทสื่อสาร RS232 ขั้ว 3 Pin หรือ RS485 ขั้ว 2 Pin (Option-ต้องเปลี่ยนชิพเป็น Max3082) • ใช้ไฟเลี้ยง 5 VDC ผ่านขั้ว 2 Pin และใช้ระบบ Reset ภายในตัว MCU

เช่น การตัง้ ให้ใช้ Xtal ภายในของเบอร์ 87FE6051 (ซึง่ การโปรแกรมแบบ ISP ท�ำไม่ได้) • มีบอร์ดเสริม 5 ชิ้น เพื่อการเลือกเบอร์ชิพได้หลากหลาย (บอร์ดเสริมพัฒนาโดยศิลา ท�ำให้สินค้ามีราคาถูกลงมาก) • ใช้กับเบอร์ได้ดังนี้ 89L(E)5x 82L(E)54 82G516 87FL(E)x051 82FL(E)5xx • สามารถเลือกใช้งานแบบ On-Line หรือแบบ Off-Line (ไม่ต้องต่อกับเครื่อง PC) ก็ได้ สะดวกส�ำหรับการโปรแกรมจ�ำนวนมาก • ต่อกับเครื่อง PC ผ่านทาง USB Port พร้อมโปรแกรมบน PC ที่ใช้งานได้ง่ายและ สะดวก • อุปกรณ์ครบชุด พร้อม Adapter จ่ายไฟ และมีสาย 3 Pin ใช้งานแบบพ่วงหลายๆ บอร์ดได้ด้วย

บริษัท ศิลารีเสิร์ช จำ�กัด

www.silaresearch.com

คือบอร์ดขยายการท�ำงานของตัว Infrared Remote Control ทั่วไป เช่น รีโมททีวี รีโมทเครื่องเสียง รีโมทเครื่อง ฉายภาพ ตัวอย่างการประยุกต์ใช้งาน ... ดังนี้ 1. เพิ่มระยะทางของตัวรีโมทได้ทันที (ยิงสัญญานไปที่ตัวรับบน MKIT-7 และ MKIT-7 จะส่งสัญญาณออกทางตัวส่งทันที) 2. เพิ่มระยะทางของตัวรีโมทผ่านสาย RS485 (ต้องใช้ MKIT-7 จ�ำนวน 2 บอร์ด ตัวหนึ่งเป็นตัวรับ อีกตัวหนึ่งเป็นตัวส่ง) 3. เพิ่มระยะทางของตัวรีโมทแบบไร้สาย (เหมือนข้อ 2 และต้องเพิ่มโมดูล RFN96 ส่งผ่านคลื่นวิทยุ กับทั้ง 2 บอร์ดด้วย) 4. ท�ำเป็นตัวรีโมทส�ำรอง โดยโปรแกรมแต่ละคีย์ให้เหมือนรีโมทต้นฉบับได้ (ต้องเพิ่ม ชิพ EEprom และแผงคีย์ DK-16,32) 5. จากข้อ 4 นอกจากใช้เป็นตัวรีโมทแทนตัวต้นฉบับแล้ว ยังต่อพ่วง MKIT-7 ให้ ควบคุมหลาย ๆ จุดได้ด้วย ผ่านสาย RS485 6. จากข้อ 5 ไม่เพียงแต่ส่งสัญญาณด้วยปุ่มกด อาจสั่งงานกดจากเครื่อง PC ได้ด้วย ผ่านทาง RS485 เช่นกัน • ใช้ไฟเลี้ยงจากหม้อแปลง 9 VAC หรือจากตัว Adapter 9 VDC • มี LED แสดงสัญญาณ IR และไฟเลี้ยง ตั้งโหมดการท�ำงานด้วย Dip-Switch 4 ตัว • ขั้ว 16 Pin (4x8K) ส�ำหรับต่อกับแผงคีย์ DK-16 หรือ DK-32 • ขนาดบอร์ด 71 x 80 mm SLAB-TEST ราคา 250.ชุดทดสอบ I/O ส�ำหรับบอร์ดไมโครของศิลา

• การโปรแกรมสามารถก�ำหนดคุณสมบัติต่าง ๆ ของชิพได้อย่างครบถ้วน

• มี Flash Memory 8K ... เป็น 6K (AP) และ 1K (IAP) และ 1K (ISP)

• มี I/O อิสะแบบ 5 Pin (3B Port) จ�ำนวน 2 ชุด และแบบ 3 Pin (I/O Port) จ�ำนวน 3 ชุด

MKIT-7 ราคา 490.บอร์ด IR Remote Extender

• ใช้กับชิพรุ่น Dip เท่านั้น โดยต้องน�ำชิพมา เสียบลงบน Socket แบบมีคันโยก บนเครื่อง โปรแกรม

• MCU เบอร์ MG87FE6051 ของ Megawin (ขาเหมือน Atmel 89S4051)

• มี Ram 256 Byte และโปรแกรมผ่านขั้ว ISP (3 Pin) ด้วยตัวโหลด PRO-MISP

• ชุดค�ำสัง่ แบบ Ascii Command แสดงตัวเลขหรือก�ำหนดระดับ Segment ได้ ปรับความสว่างได้ • หรือจะสัง่ งานผ่าน 3B Port (Dat,Clk,Str) ก็ได้ โดยมีรปู แบบเหมือนชิพ 595 (ต้องเพิม่ Delay) • ตัง้ คุณสมบัตดิ ว้ ย Dip-Switch 8 ตัว (RS485 / 3B , ความสว่าง 0-7 , Digit 0-15) • ใช้ไฟเลีย้ ง 12 VDC/AC กินกระแสสูงสุด 130 mA (ต่อหลัก) KYL200U ราคา 1,250.ตัวแปลงสัญญาณ RS232 เป็นคลื่น RF

• ใช้บอกคาบเวลาในโรงเรียน หรือโรงงาน โดยใช้ ไฟล์เสียงแบบ MP3 ที่บรรจุใน SD-Card • มี Line-Out ต่อเครื่องขยายเสียง และปลั๊กไฟ รองรับการเปิดปิดเครื่องขยาย (220VAC 3A)

• AP=Application Program IAP=In-Application Programming ISP=InSystem Programming

• มีบอร์ดควบคุมในตัวท�ำงานด้วย MCU เบอร์ 82E54AS2 • ปรับความสว่างได้ 8 ระดับ รองรับการใช้งานทัง้ In-Door และ Out-Door • ต่อพ่วงกันทาง RS485 ได้สงู ถึง 15 หลัก สัง่ งานด้วยค�ำสัง่ ชุดเดียว (Speed 19200)

TNSWII3 ราคา 1,150.ตัวแปลงสัญญาณ RS232 เป็น Wireless Lan

TMX-1000 ราคา 4,950.นาฬิกาบอกเวลาด้วยเสียง

• ตั้งหรือกดปุ่มให้บอกเวลาเป็นเสียงพูด เช่น ขณะนี้เวลาเก้านาฬิกายี่สิบสองนาที • แสดงเวลา HH:MM:SS ด้วยตัวเลขสีแดงสูง 1 นิ้ว มองเห็นได้ชัดเจน • แสดงวันเดือนปี DD/MM/YY ด้วยตัวเลขสีแดงสูง 0.56 นิ้ว • แสดงอุณหภูมิ XX.Xc เป็นองศาเซลเซียส ด้วยตัวเลขสีแดงสูง 0.56 นิ้ว • ระบบนาฬิกาเที่ยงตรงสูง ผิดพลาดไม่เกิน 2 นาที/ปี สามารถตั้งเวลามาตรฐาน จาก PC หรือ GPS ได้ • ตั้งโปรแกรมควบคุมเสียงได้ 2 ชุด ชุดละ 50 โปรแกรมแบบรอบสัปดาห์ (เลือกท�ำ ชุดใดชุดหนึ่ง) • มีปุ่มกดบนหน้าปัด 2 ปุ่ม และการตั้งโปรแกรมต่าง ๆ กระท�ำผ่านตัว Remote แบบ 18 Keys • มี LED บนบนหน้าปัด 2 ตัว แสดงสถานะการบอกเวลา และสถานะ Alarm Disable/Enable • มีพอร์ทอนุกรม RS232 หรือ RS485 ต่อสั่งงานผ่านเครื่อง PC หรือต่อเพื่อ Link เวลามาตรฐาน • ใช้ไฟบ้าน 220 VAC ขนาดตัวเครื่อง 233 x 165 x 61 mm

TZ-9 ราคา 1,250.แผงตัวเลข 7-Segment LED สีแดงความสูง 9 นิ้ว

1108/27 ถ.สุขุมวิท แขวง​พระโขนง เขต​คลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทร. 02-712-2850 โทรสาร.02-381-1447 เวลาท�ำการ : จันทร์-ศุกร์ 9.00-17.00 น. เสาร์ 9.00-12.00 น. ตัวแทน​จ�ำหน่าย : บจก. อี​เลคท​รอ​นิคส์ ซอร์ซ (บ้าน​หม้อ) โทร. 02-623-9460-6

ประกอบด้วย แผ่น PCB ทั้งหมด 9 ชิ้นพร้อมสาย 2 เส้น • ใช้ทดลองกับขั้ว 1B-I/O Port (3 Pin) , 3B-Port (5 Pin) , 8B-Port (16 Pin) • ใช้เป็น Output LED หรือ Input Switch และต่อกับ VR เพื่อทดลอง A/D Port ได้ด้วย ชุดเดียวครบถ้วน ราคาประหยัด สะดวกในการพัฒนางาน ควรมีไว้ประจ�ำโต๊ะ ทดลอง

ติดตามข้อมูลและสือ่ สารกับเราได้ทางช่องทางใหม่ ... เพียงแค่กด Like

www.facebook.com/silaresearch


29 ถึง 31 กรกฎาคม 2559 ศูนย์การค้าเซียร์ รังสิต

มหกรรมการแข่งขันหุ่นยนต์เพื่อคนทุกระดับ รายการแข่งขัน หุ่นยนต์กู้ภัย หุ่นยนต์ดับเพลิง หุ่นยนต์ซูโม (แบบล้อและแบบขา) หุ่นยนต์เคลื่อนที่ตามเส้น (แบบล้อและแบบขา)

PANTONE: 1585 PC

(C-0 M-62 Y-97 K-0)

เข้าดูรายละเอียดการลงทะเบียนและกติกาการแข่งขันได้ที่ www.wrg-thailand.inex.co.th


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.