i-Duino R3B Software Installation (chapter 2)

Page 1

Arduino  29

 

 i-Duino UNO R3B Arduino IDE

สําหรับ i-Duino UNO R3B หรือบอรด R3B มีลักษณะการใชงานเหมือนกัน Arduino Uno รวม ไปถึงโปรแกรมทีใช ่ และวิธีการเขียนโปรแกรม โดยจะใชซอตแวร Arduino IDE สําหรับเขียนโปรแกรม ควบคุมบอรด R3B

2.1 การติดตังโปรแกรมสํ ้ าหรับระบบปฏิบัติการวินโดวส 2.1.1 ดาวนโหลดและติดตังโปรแกรม ้ (2.1.1.1) ดาวนโหลดไฟลติดตั้งจาก http://www.inex.co.th เลือกหนา Download > Product Software > ซอฟตแวร Arduino สําหรับ i-Duino R3B เลือกไฟล .exe สําหรับระบบปฏิบัติการวินโดวส (แนะนําวินโดวส 7 ขึ้นไป) (2.1.1.2) เมื่อดาวนโหลดเสร็จแลว ใหดับคลิกเปดไฟล .exe เพือทํ ่ าการติดตั้งโปรแกรม (2.1.1.3) เขาสูหนาติดตั้งโปรแกรม คลิกกดปุม Next เพือไปยั ่ งขั้นตอนตอไป


30 Arduino

(2.1.1.4) คลิกตอบรับการติดตัง้ จากนันจะปรากฏหน ้ าตางติดตังไดรเวอร ้ คลิกปุม Next ตามดวย Finish

(2.1.1.5) จากนั้นจะปรากฏหนาตางติดตั้งไดรเวอร USB ตัวทีสอง ่ ซึ่งไมมีการใชงานสําหรับ บอรด R3B จึงคลิกปุม Cancel เพือข ่ ามไปได


Arduino  31

(2.1.1.6) เมื่อติดตั้งโปรแกรมเสร็จ จะมีการเรียกซอฟตแวร Arduino IDE ใหทํางานทันที มี หนาตางเลือกฮารดแวรที่ตองการใชงานปรากฏขึ้นมา ในที่นี้ใหเลือก Arduino จากนั้นจะปรากฏ หนาตางใหยืนยัน คลิกปุม OK เพือตอบรั ่ บ

(2.1.1.7) รอสักครูซอฟตแวร Arduino IDE จะทํางาน แสดงหนาตางหลักพรอมกับสวน ประกอบหลักของโปรแกรมคือ ฟงกชั่น setup() และ loop()


32 Arduino

2.1.2 ตรวจสอบการติดตั้งไดรเวอรของ i-Duino R3B หรือบอรด R3B สําหรับ วินโดวส 8 ขึนไป ้ ในการใชงานบอรด R3B ครังแรก ้ จะตองตรวจสอบวา ตําแหนงของพอรตที่ใชเชื่อมตอบอรด R3B ของคอมพิวเตอรเปนหมายเลขใด มีขั้นตอนดังนี้ (2.1.2.1) ตอสาย miniB-USB กับพอรต USB ของคอมพิวเตอร และบอรด R3B

(2.1.2.2) หลังจากทีต่ อบอรด R3B เขากับคอมพิวเตอรแลว ใหเปด Control Panel > Device Manager ดูที่หัวขอ Port (COM & LPT) มีชื่อวา Arudiono Uno (COMxx) โดย xx คือหมายเลข พอรตที่เกิดขึ้น ซึ่งจะแตกตางกันไปในคอมพิวเตอรแตละเครื่อง โดยปกติมีคาตั้งแต COM3 ขึ้นไป (จากตัวอยางเปน COM3) ตองใชหมายเลขพอรตนี้ในการตั้งคาในซอฟตแวร Arduino IDE 1.7.10


Arduino  33

2.1.3 ตรวจสอบการติดตั้งไดรเวอรของ i-Duino R3B หรือบอรด R3B สําหรับ วินโดวส XP (2.1.3.1) หลังจากทีต่ อบอรด R3B เขากับคอมพิวเตอร ระบบจะตรวจสอบอุปกรณใหม ตองการ ่ เสธการอัปเดตผานอินเทอรเน็ต ¡ ÒÃÍÑ » à´ µË Ã× Í » ÃÑ º » ÃØ §ä´ ÃàÇÍ Ãì ¤ ÅÔ ¡ àÅ× Í ¡ No, not this time เพือปฏิ แลวคลิกปุม Next

(2.1.3.2) เลือกการติดตั้งหรืออัปเดตไดรเวอรแบบกําหนดตําแหนง


34 Arduino

(2.1.3.3) จากนั้นเลือกการอัปเดตดวยการคนหาไฟลในโฟลเดอร C:/Arduino17/Drivers จากนั้นคลิกปุม Next (เลขของโฟลเดอร Arduino17 เปลี่ยนแปลงไดตามการปรับปรุงลาสุด)

(2.1.3.4) จากนันระบบจะทํ ้ าการปรับปรุงไดรเวอร รอจนกระทังการปรั ่ บปรุงเสร็จสิน้ คลิกปุม Finish จากนั้นทําการตรวจสอบตําแหนงของพอรตเชื่อมตอเหมือนกับขั้นตอนที่ (2.1.2.2)


Arduino  35

เมนู (Menu) แถบเครื่องมือ (Tools bar) แถบเลือกโปรแกรม (Tab) พื้นที่สําหรับเขียนโปรแกรม (Text Editor)

Serial Monitor คลิกเพื่อเปดหนาตาง สําหรับรับและสงขอมูล อนุกรมระหวางฮารดแวร Arduino กับคอมพิวเตอร

พื้นที่แสดงสถานะการทํางาน (Status area) พื้นที่แสดงขอความ (Message area)

รูปที่ 2-1 แสดงสวนประกอบของโปรแกรม Arduino IDE

2.1.4 ทดสอบการทํางานของโปรแกรม Arduino (2.1.4.1) เปดโปรแกรม Arduino IDE โดยไปที่ Start > All Programs > Arduino1.7>Arduino 1.7.10 หนาตางหลักของโปรแกรมจะปรากฏขึ้นมา ดังรูปที่ 2-1 (เลขเวอรชันของโปรแกรม Arduino เปลี่ยนแปลงไดตามกาปรับปรุงลาสุด) (2.1.4.2) กอนจะเริมใช ่ งาน ใหตรวจสอบการตังค ้ าของโปรแกรมใหเรียบรอยเสียกอน ซึงมี ่ ดวย กัน 2 เรืองที ่ จะต ่ องตั้งคาคือ ชนิดของบอรดทีเชื ่ อมต ่ อและตําแหนงของพอรตทีใช ่ ในการเชือมต ่ อ (2.1.4.3) เริ่มจากบอรดที่นํามาเชื่อมตอ เลือกไปที่ Tools > Board > i-Duino R3B


36 Arduino

(2.1.4.4) เลือกพอรตที่ใชในการเชื่อมตอ เลือกไปที่ Tools > Serial Port > COMxx

สําหรับ COMxx จะขึนอยู ้ กั บตําแหนงของพอรต COM ทีไดรเวอร ่ ของบอรด i-Duino UNO R3B สรางขึน้ โดยตรวจสอบไดจาก Device Manager ถาไมมีการเชือมต ่ อแผงวงจรไวหรือการเชือมต ่ อ ลมเหลว อันอาจเกิดจากการไมจายไฟเลียงหรื ้ อสายตอพอรต USB ขาด ก็จะไมมีรายการแสดงใหเลือก (2.1.4.5) เมื่อกําหนดคาเรียบรอยแลว ใหทดสอบการทํางานของโปรแกรม Arduino ดวยการ เลือกโปรแกรมตัวอยางมาทําการทดสอบ โดยคลิกเลือก File > Example > 01.Basics > Blink


Arduino  37

(2.1.4.6) หนาตางของโปรแกรมแสดงโคดของโปรแกรมตัวอยาง Blink จากนันคลิ ้ กทีปุ่ ม Upload

(2.1.4.7) จะเห็น LED ทีตํ่ าแหนง Rx และ Tx ทีด่ านลางของพอรต miniB ติดกะพริบตามการ รับสงขอมูล


38 Arduino

(2.1.4.8) จนกระทังการอั ่ ปโหลดโปรแกรมเสร็จสิน้ ทีหน ่ าตางสถานะของโปรแกรมแสดงขอ ความ Done uploading และแสดงรายละเอียดของโปรแกรมทีทํ่ าการอัปโหลด

(2.1.4.9) LED ที่ตําแหนง D13 จะติดกะพริบทุกๆ 0.5 วินาที

เมือได ่ ตามนี้ เปนอันเสร็จสินการติ ้ ดตังและทดสอบใช ้ งานโปรแกรม Arduino บนระบบปฏิบัติ การวินโดวสกับบอรด i-Duino R3B หรือบอรด R3B แลว


Arduino  39

2.2 การติดตังโปรแกรมสํ ้ าหรับระบบปฏิบัติการ Mac OS Sierra 2.2.1 ดาวนโหลดโปรแกรม ทาง INEX ไดจัดเตรียมซอฟตแวร ARduino IDE 1.8.x สําหรับระบบปฏิบัติการ Mac OS Sierra ไวพรอมติดตั้งและใชงาน โดยดาวนโหลดไดที่ www.inex.co.th เนืองจากซอฟต ่ แวร Arduino IDE 1.8.x by INEX เปนซอฟตแวรทีมิ่ ไดผานการลงทะเบียนบน Mac App Store ทั่วไป เมื่อผูใชงานนํามาติดตั้งบนระบบปฏิบัติการ MacOS Sierra จําเปนจะตองเปด ความสามารถในการติดตั้งซอฟตแวรจากภายนอกเสียกอน โดยตองกระทําผานหัวขอ Anywhere ในหมวด Security & Privacy ของ System Preferences ดังแสดงตามรูปที่ 2-2

รูปที่ 2-2 แสดงการเลือกหัวขอ Anywhere เพือให ่ ผูใช  งานสามารถติดตังซอฟต ้ แวรทีมิ่ ไดผานการลงทะเบียน บน Mac App Store


40 Arduino

2.2.2 ขันตอนการติ ้ ดตัง้ ในระบบปฏิบัติการรุนกอนหนานี้หัวขอ Anywhere ถูกเปดเผยใหผูใชงานสามารถเลือก กําหนดไดตามปกติ แตในระบบปฏิบัติการ macOS Sierra หัวขอ Anywhere จะถูกซอนเอาไว แตผู ใชงานสามารถเปดความสามารถนี้ไดจากการพิมพคําสั่งในแบบบรรทัดคําสั่งหรือคอมมานไลน (command line) จากแอปพลิเคชั่น Terminal ที่มีอยูภายใน  Utilities โดยมีขั้นตอนดังตอไปนี้ (2.2.2.1) หากเปดหนาตาง System Preferences อยู ใหปดกอน (2.2.2.2) เปดแอปพลิเคชัน่ Terminal จากโฟลเดอร /Applications/Utilities หรือคลิกทีไอคอน ่ Finder ตามรูปที่ 2-3 1

2

3

รูปที่ 2-3 แสดงการขันตอนเลื ้ อกเปดแอปพลิเคชัน่ Terminal (1) คลิกไอคอน Finder (2) เขาถึงโฟลเดอร Utilities (3) แสดงไอคอนแอปพลิเคชัน่ Terminal ทีอยู ่ ภายในโฟลเดอร  Utilities


Arduino  41

รูปที่ 2-4 แสดงหนาตางของแอปพลิเคชัน่ Terminal (2.2.2.3) เปดแอปพลิเคชั่น Terminal ขึ้นมาใชงานตามรูปที่ 2-4 (2.2.2.4) พิมพคําสั่ง sudo spctl —master-disable

เพืออนุ ่ ญาตใหติดตังซอฟต ้ แวรจากภายนอกได โดยเมือพิ ่ มพคําสังเสร็ ่ จ ตามรูปที่ 2-5 กดปุม Enter จะปรากฏหัวขอ Anywhere ขึนมาใช ้ งานในหมวด Security & Privacy ของ System Preferences ในภายหลัง

รูปที่ 2-5 แสดงการพิมพคําสังในหน ่ าตางของแอพพลิเคชัน่ Terminal


42 Arduino

(2.2.2.5) จากนั้นเปด System Preferences จากโฟลเดอร /Applications หรือคลิกที่ไอคอน Finder ตามรูปที่ 2-6 1

2

3

รูปที่ 2-6 แสดงการขันตอนเลื ้ อกเปด System Preferencesl (1) คลิกไอคอน Finder (2) เขาถึงโฟลเดอร Utilities (3) แสดงไอคอน System Preferences ทีอยู ่ ภายในโฟลเดอร  Utilities (2.2.2.6) ที่หนาตาง System Preferences เลือกที่แท็ป General จากนั้นปลดล็อกไอคอน แมกุญแจดานลางตามรูปที่ 2-7 (2.2.2.7) จากนั้นจะปรากฏหนาตางถามถึง password ตามรูปที่ 2-8 ผูใชงานตองปอนรหัสผาน ของเครื่องตามที่เคยตั้งไวใชงาน แตถาไมเคยมีการตั้งคาใดๆ ใหกดปุม Enter เพือผ ่ านขั้นตอนนี้ไป


Arduino  43

รูปที่ 2-7 แสดงการคลิกการปลดล็อกไอคอนแมกุญแจ

รูปที่ 2-8 แสดงการปอนรหัสผานเพื่อเขาไปแกไขสิทธิ์ในการติดตังแอปพลิ ้ เคชั่นภายในคอมพิวเตอร Macintosh


44 Arduino

(2.2.2.8) จากนั้นคลิกเลือกรายการ Anywhere เพื่ออนุญาตใหติดตั้งซอฟตแวรจากภายนอก ได แลวคลิกปุม Allow From Anywhere ตามรูปที่ 2-9 (2.2.2.9) หลังจากนี้ผูใชงานสามารถติดตั้งโปรแกรม Arduino IDE ไดตามปกติ

รูปที่ 2-9 แสดงการคลิกเลือกรายการ Anywhere เพืออนุ ่ ญาตใหติดตังชุ ้ ดซอฟตแวรจากภายนอก


Arduino  45

(2.2.2.10) ในกรณีที่ผูใชงานตองการซอนรายการ Anywhere ใหกลับไปเหมือนเดิม ทําไดด วยการพิมคําสั่งที่แอปพลิเคชั่น Terminal แลวกดปุม Enter ดังนี้ sudo spctl —master-enable

หลังจากนั้นรายการ Anywhere จะหายไป ดังรูปที่ 2-10

รูปที่ 2-10 รายการ Anywhere ถูกซอนตามคาดังเดิ ้ ม


46 Arduino

2.2.3 ทดสอบใชงาน (2.2.3.1) ดับเบิลคลิ ้ กทีโฟลเดอร ่ Applications เพือค ่ นหาตําแหนงไอคอนของโปรแกรม Arduino (2.2.3.2) ดับเบิ้ลคลิกไฟล Arduino1.8.x

(2.2.3.3) หนาตางเอดิเตอรของ Arduino IDE จะปรากฏขึ้น

(2.2.3.4) ตอสาย miniB-USB เขาที่บอรด i-Duino R3B หรือบอรด R3B


Arduino  47

(2.2.3.5) คลิกเลือกใหโปรแกรม Arduino ทํางาน ทําการตั้งคาใชงานบอรด R3B โดยเลือก ไปที่เมนู Tools > Board > i-Duino R3B

(2.2.3.6) เลือกพอรตทีใช ่ เชือมต ่ อ โดยเลือกเมนู Port > port_xxx (i-Duino R3B) ทีระบบปฏิ ่ บัติ การจองไวใหใชงาน

(2.2.3.7) พิมพโปรแกรมทดสอบการทํางานของบอรดเบื้องตนดังนี้ #define LED 13 void setup() { pinMode(LED,OUTPUT); } void loop() { digitalWrite(LED,HIGH); delay(500); digitalWrite(LED,LOW); delay(500); }

จากนั้นทําการบันทึกไฟล .ino ในชื่อทีต่ องการ


48 Arduino

(2.2.3.8) คลิกปุม Upload เพืออั ่ ปโหลดโปรแกรมไปยังบอรด R3B จากนั้นรอจนกระทั่งการ อัปโหลดเสร็จสมบูรณ

(2.2.3.9) สังเกตการทํางานของโปรแกรมทีบอร ่ ด R3B พบวา LED ทีต่ อกับขาพอรต 13 ติดดับ สลับกันอยางตอเนืองทุ ่ กๆ 0.5 วินาที


Arduino  49

2.3 แนะนํา Arduino IDE เมือเรี ่ ยกใหโปรแกรมทํางาน จะมีหนาตาดังรูปที่ 2-1 ตัวโปรแกรมประกอบดวยสวนตางๆ ดังนี้

2.3.1 เมนู (Menu) ใชเลือกคําสั่งตางๆ ในการใชงานโปรแกรม

เปนสวนทีแสดงรายการ ่ (เมนู) ของคําสั่งตางๆ ของโปรแกรม ประกอบดวย

1. เมนู File ใน Arduino เรียกโปรแกรมทีพั่ ฒนาขึนว ้ า สเก็ตช (Sketch) และในโปรแกรมของผูใช  งาน อาจมีไฟลโปรแกรมหลายตัว จึงเรียกรวมวาเปน สเก็ตชบุก (Sketchbook) ในเมนูนี้เกี่ยวของกับการ เปด-บันทึก-ปดไฟลดังนี้ 

New : ใชสรางไฟลสเก็ตชตัวใหม เพือเริ ่ มเขี ่ ยนโปรแกรมใหม

Open ใชเปดสเก็ตชที่บันทึกไวกอนหนานี้

Sketchbook : ใชเปดไฟลสเก็ตชลาสุดที่เปดใชงานเสมอ

Example : ใชเปดไฟลสเก็ตชตัวอยางในโฟลเดอร Arduino

Close : ใชปดไฟลสเก็ตชที่เปดอยู

Save : ใชในการบันทึกไฟลสเก็ตชปจจุบัน

Save as : ใชบันทึกไฟลสเก็ตชโดยเปลี่ยนชื่อไฟล

Upload : ใชอัปโหลดโปรแกรมไปยังฮารดแวรของ Arduino

Preference : ใชกําหนดคาการทํางานของโปรแกรม

Quit : ใชจบการทํางานและออกจากโปรแกรม


50 Arduino

2. เมนู Edit ในขณะทีพิ่ มพโปรแกรมใหใชคําสังในเมนู ่ นีในการยกเลิ ้ กคําสังที ่ แล ่ ว ทําซํา้ ฯลฯ มีเมนูตางๆ ดังนี้ 

Undo : ยกเลิกคําสั่งหรือการพิมพครั้งสุดทาย

Redo : ทําซํ้าคําสั่งหรือการพิมพครั้งสุดทาย

Cut : ตัดขอความที่เลือกไวไปเก็บในคลิปบอรดของโปรแกรม

Copy : คัดลอกขอความที่เลือกไวมาเก็บในคลิปบอรด

Paste : นําขอความที่อยูในคลิ  ปบอรดมาแปะลงในตําแหนงที่เคอรเซอรชี้อยู

Select All : เลือกขอความทั้งหมด

Comment/Uncomment : ใชเติมเครื่องหมาย // เพือสร ่ างหมายเหตุหรือคําอธิบายลง ในโปรแกรมหรือยกเลิกหมายเหตุดวยการนําเครื่องหมาย // ออก 

Find : คนหาขอความ

Find Next : คนหาขอความถัดไป

3. เมนู Sketch เปนเมนูที่บรรจุคําสั่งที่ใชคอมไพลโปรแกรม เพิมไฟล ่ ไลบรารี ฯลฯ มีเมนูยอยดังนี้ 

Verify/Compile : ใชคอมไพลแปลโปรแกรมภาษาซีใหเปนภาษาเครื่อง

Import Library : เปนคําสังเรี ่ ยกใชไลบรารีเพิมเติ ่ ม เมือเลื ่ อกคําสังนี ่ แล ้ ว โปรแกรม Arduino IDE จะแสดงไลบรารีใหเลือก เมือเลื ่ อกแลว ตองแทรกบรรทัดคําสัง่ #include ทีส่ วนตนของ โปรแกรม 

Add file : เพิมไฟล ่ ใหกับสเก็ตชบุกป  จจุบัน เมือใช ่ คําสังนี ่ โปรแกรม ้ Arduino จะคัดลอกไฟล ทีเลื ่ อกไวมาเก็บไวในโฟลเดอรเดียวกันกับโปรแกรมทีกํ่ าลังพัฒนา 

Show Sketch folder : สั่งเปดโฟลเดอรที่เก็บโปรแกรมของผูใช


Arduino  51

4. เมนู Tools ใชจัดรูปแบบของโคดโปรแกรม, เลือกฮารดแวรไมโครคอนโทรลเลอร Arduino หรื อ เลือกพอรตอนุกรม มีเมนูพืนฐานดั ้ งนี้ Auto Format : จัดรูปแบบของโคดโปรแกรมใหสวยงาม เชน กั้นหนาเยื้องขวา จัดตําแหนงวงเล็บปกกาปดใหตรงกับปกกาเปด ถาเปนคําสั่งที่อยูภายในวงเล็บปกกาเปดและปดจะ ถูกกั้นหนาเยื้องไปทางขวามากขึ้น 

Archive Sketch : สังบี ่ บอัดไฟลโปรแกรมทังโฟลเดอร ้ หลักและโฟลเดอรยอยของไฟล สเก็ตชปจจุบัน ไฟลที่สรางใหมจะมีชื่อเดียวกับไฟลสเก็ตชปจจุบันและ ตอทายดวยวันเดือนปที่สรางไฟลสเก็ตชขึ้น เชน -510123.zip 

Board : เลือกฮารดแวรของบอรดไมโครคอนโทรลเลอร Arduino สําหรับบอรด R3B ใหเลือก i-Duino UNO R3B 

Serial Port : เลือกหมายเลขพอรตอนุกรมเสมือน (COM) ของคอมพิวเตอรที่ใชติดตอ กับฮารดแวร Arduino 

5. เมนู Help เมือต ่ องการความชวยเหลือ หรือขอมูลเกียวกั ่ บโปรแกรมใหเลือกเมนูนี้ เมือเลื ่ อกเมนูยอย ตัวโปรแกรมจะเปดไฟลเว็บเพจ (ไฟลนามสกุล .html) ที่เกี่ยวของกับหัวขอนันๆ ้ โดยไฟลจะเก็บใน คอมพิวเตอรของผูใชงาน ภายในโฟลเดอรที่เก็บ Arduino IDE


52 Arduino

2.3.2 แถบเครื่องมือ (Toolbar) เปนการนําคําสั่งที่ใชงานบอยๆ มาสรางเปนปุม เพือให ่ เรียกใชคําสั่งไดรวดเร็วขึน้

สําหรับคําสั่งที่มีการใชบอยๆ ตัวโปรแกรม Arduino จะนํามาสรางเปนปุมบนแถบเครื่องมือ เพือให ่ คลิกเลือกไดทันที ปุมตางๆ บนแถบเครื่องมือมีดังนี้ Verfy/Compile ใชตรวจสอบการเขียนคําสังในโปรแกรมว ่ า ถูกตองตามหลักไวยกรณ หรือไม และคอมไพลโปรแกรม Upload to I/O Board ใชอัปโหลดโปรแกรมที่เขียนขึ้นไปยังบอรดหรือฮารดแวร Arduino กอนจะอัปโหลดไฟล ตองแนใจวาไดบันทึกไฟลและคอมไพลไฟลสเก็ตชเรียบรอยแลว New ใชสรางสเก็ตไฟล (ไฟลโปรแกรม) ตัวใหม Open ใชแทนเมนู File > Sketchbook เพือเป ่ ดสเก็ตช (ไฟลโปรแกรม) ที่มีในเครื่อง Save ใชบันทึกไฟลสเก็ตชบุกที่เขียนขึ้น

2.3.3 แถบเลือกโปรแกรม (Tabs) เปนแถบที่ใชเลือกไฟลโปรแกรมแตละตัว (กรณีที่เขียนโปรแกรมขนาดใหญประกอบดวย ไฟลหลายตัว)


Arduino  53

2.3.4 พืนที ้ ่เขียนโปรแกรม (Text editor) เปนพืนที ้ ่สําหรับเขียนโปรแกรมภาษา C/C++

2.3.5 พืนที ้ ่แสดงสถานะการทํางาน (Message area) เปนพืนที ้ ่โปรแกรมใชแจงสถานะการทํางานของโปรแกรม เชน ผลการคอมไพลโปรแกรม


54 Arduino

2.3.6 พืนที ้ ่แสดงขอมูล (Text area) ใชแจงวาโปรแกรมที่ผานการคอมไพลแลวมีขนาดกี่ไบตและแจงสาเหตุของการคอมไพล โปรแกรมไมผาน ตําแหนงหรือคําสั่งที่ผิดพลาด


Arduino  55

2.3.7 ปุมเปดหนาตาง Serial Monitor ปุมนี้จะอยูทางมุมบนดานขวามือ คลิกปุมนี้เมื่อตองการเปดหนาตางสื่อสารและแสดงขอมูล อนุกรม โดยตองมีการตอฮารดแวร Arduino และเลือกพอรต การเชื่อมตอใหถูกตองกอน

เมื่อคลิกเปดหนาตาง Serial Monitor ขึ้นมา จะปรากฏหนาตางดังนี้

หนาตาง Serial Monitor มีบทบาทมากในการใชแสดงผลการทํางานของโปรแกรม แทนการใชอุปกรณแสดงผลอื่นๆ เนื่องจาก Arduino ไดเตรียมคําสั่งสําหรับใชแสดงคาของตัวแปร ที่ตองการดูผลการทํางานไวแลว นั่นคือ Serial.print สวนการสงขอมูลจากคอมพิวเตอรไปยัง ฮารดแวร Arduino หรือแผงวงจรควบคุมใหพิมพขอความและคลิกปุม Send ในการรับสงขอมูลตอง กําหนดอัตราเร็วในการถายทอดขอมูลหรือบอดเรต (baud rate) ใหกับโปรแกรมในคําสั่ง Serial. ่ ดใชงาน Serial monitor begin ตัวฮารดแวรของ Arduino จะรีเซตเมื่อเริมเป


56 Arduino

2.4 การพัฒนาโปรแกรมภาษา C เพือใช ่ งาน Arduino และบอรด i-Duino R3B หรือบอรด R3B ฮารดแวร Arduino และ i-Duino R3B ไดรับการออกแบบใหรองรับกับการเรียนรูด านเทคโนโลยี และฝกกระบวนการคิดผานทางการเขียนโปรแกรมควบคุมดวยภาษา C/C++ เปนหลัก โดยทํางานรวม กับอุปกรณอินพุต เอาตพุตไดหลากหลายแบบ ทําใหนําไปประยุกตสรางโครงงานหรือนําไปเพิมความ ่ สามารถใหกับโครงงานหรือสิงประดิ ่ ษฐที่มีอยูเดิ  มไดอยางมีประสิทธิภาพ องคประกอบสําคัญทีใช ่ ในการพัฒนาโปรแกรมสําหรับ Arduino และ i-Duino R3B หรือบอรด R3B ประกอบดวย 1. ชุดซอฟตแวรพัฒนาโปรแกรมภาษา C/C++ สําหรับไมโครคอนโทรลเลอรแบบระบบ เปดหรือโอเพนซอรส (open source) ทีนํ่ ามาใชไดโดยไมตองเสียคาใชจาย ในทีนี่ เลื ้ อก Arduino IDE ซึ่งเปนซอฟตแวรพัฒนาโปรแรมดวยภาษา C/C++ ในแบบโอเพนซอรสที่ไดรับความนิยมสูง ใน ชุดซอฟตแวรทีใช ่ เขียนโปรแกรมมีความสมบูรณพรอม ไมวาจะเปนไลบรารีทีบรรจุ ่ ฟงกชันสํ ่ าหรับติดตอ กับฮารดแวรไดหลากหลาย สนับสนุนการพัฒนาโปรแกรมดวยหนาตางการทํางานเพียงหนาตางเดียว ตังแต ้ เขียนโปรแกรม คอมไพล จนถึงการดาวนโหลดโปรแกรม (ใน Arduino เรียกวา การอัปโหลด โปรแกรม) ทําใหงายตอการทําความเขาใจและใชงาน ผูใช  Arduino ไมจําเปนตองมีความรูด านฮารดแวร มากนักก็สามารถเขียนโปรแกรมควบคุมอุปกรณฮารดแวรตางๆ ได 2. ไลบรารีทีมี่ ประสิทธิภาพ นักพัฒนาทัวโลกร ่ วมพัฒนาไลบรารีไฟลเพิมเติ ่ ม ทําให Arduino มีความสามารถเพิมมากขึ ่ น้ ขอมูลเพิมเติ ่ มดูไดที่ www.arduino.cc และ www.arduino.org ขันตอนการพั ้ ฒนาโปรแกรมสําหรับฮารดแวร Arduino และบอรด R3B สรุปเปนแผนภาพได ดังรูปที่ 2-11


Arduino  57

ติดตั้งซอฟตแวร - Arduino IDE 1.8.x ซอฟตแวรพัฒนาโปรแกรม ภาษา C/C++ มีทั้งสวนของเท็กซเอดิเตอร สําหรับเขียนโปรแกรม, คอมไพเลอร และ ซอฟตแวรสําหรับโปรแกรมไมโครคอนโทรลเลอร - ไดรเวอร USB ของฮารดแวร Arduino และบอรด i-Duino R3B หรือบอรด R3B

สรางไฟลสเก็ตช เขียนโปรแกรมภาษา C บน Arduino IDE คอมไพล อัปโหลดโปรแกรม พอรต USB

อัปโหลดโปรแกรมผานพอรต USB 1. ตอสาย USB-miniB เขากับพอรต USB และฮารดแวร Arduino หรือบอรด R3B 2. ตรวจสอบตําแหนง USB Serial port (COMx) ทีเ่ กิดขึ้น 3. เลือกฮารดแวรใหถูกตอง (Arduino UNO หรือ i-Duino R3B) 4. ทําการอัปโหลดโปรแกรม รันโปรแกรม หลังจากอัปโหลดโปรแกรมเสร็จสมบูรณ ระบบจะเริ่มทํางาน ทันที

รูปที่ 2-11 แสดงผังงานของการพัฒนาโปรแกรมเพือควบคุ ่ มการทํางานของฮารดแวร Arduino และบอรด R3B ดวยภาษา C/C++ โดยใช Arduino IDE


58 Arduino


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.