Tinkercad

Page 1

3D printer

Proto-Invention นวพร เหล่าวัฒนธรรม

*ภาพประกอบหัวเรื่องจาก https://tinkercad.com/

กับการออกแบบ ชิ้นงาน 3 มิติ อยางงาย บันไดขั้นแรกของการสรางชิ้นงาน 3 มิติดวยเครื่องพิมพ 3 มิติคือ การออกแบบและ วาดชิ้นงาน 3 มิติ ขอแนะนําซอฟตแวรสําหรับผูเริ่มตนที่ใชงานไดไมยาก และแนนอน ใชงานไดฟรีผานเครือขายอินเทอรเน็ต ในการสร้างและออกแบบรูปทรง 3 มิติส�าหรับผู้เริ่มต้นเข้าสู่วงการ ต้อง บอกว่า อาจดูวุ่นวายและมีขั้นตอนเยอะ แถมซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการออกแบบ ชิ้นงานมีต้นทุนด้านราคาที่ค่อนข้างสูง ทว่าหลังจากที่การพัฒนาและเผย แพร่เครื่องพิมพ์ 3 มิติในแบบโอเพ่นซอร์สออกมา ท�าให้เกิดภาวะที่เรียกว่า Game changing หรือเกมเปลี่ยน เพราะเริ่มมีซอฟต์แวร์ส�าหรับออกแบบ และวาดชิ้นงาน 3 มิติออกมาให้ใช้งานกันแบบฟรีๆ หรือเริ่มมีการจ�าหน่าย ในราคาที่ลดลงอย่างมาก เนื่องจากผู้ผลิตเครื่องพิมพ์ 3 มิติต้องการจ�าหน่าย และเผยแพร่เครื่องพิมพ์ออกไปในวงกว้าง จึงต้องพยายามลดอุปสรรคใน การเข้าถึงเครื่องมือนี้ลงให้ได้ จึงต้องเริ่มต้นจากจัดหาซอฟต์แวร์ออกแบบ และวาดชิ้นงาน 3 มิติที่ใช้งานได้ฟรี เมื่อวาดชิ้นงานได้แล้ว ก็ส่งไฟล์ไปยัง เครื่องพิมพ์ 3 มิติ ให้พิมพ์ออกมา เป็นอันเสร็จกระบวนการ

¡าÃãชŒงาน Tinkercad (1) เปิดเว็บบราวเซอร์ตัวใดก็ได้ ไม่ว่าจะเป็น Firefox, Internet Explorer หรือ Google Chrome แล้วเข้าไปที่เว็บไซต์ https://tinkercad. com จากนั้นคลิกปุ่ม Sign up for free account เพื่อสมัครสมาชิกและ สร้างบัญชีของตัวเอง กรอกข้อมูลชื่อ, อีเมล์, รหัสผ่าน และวันเดือนปเกิด จากนั้นกดปุ่ม Sign up ดังรูปที่ 1

Tinkercad «อฟµ์แวÃ์ออ¡แบบชิ้นงาน 3 มิµิ วาด-¨ัดเ¡็บ-แบ่งปันไดŒãนµัวเดÕÂว

ในทีน่ ขี้ อแนะน�าซอฟต์แวร์ออกแบบสร้างรูปทรง 3 มิตทิ เี่ ป็นฟรีแวร์ผา่ นเครือ ข่ายอินเทอร์เน็ตโดยมีการจัดสรรเก็บไฟล์ของผูใ้ ช้งานไว้ในระบบ Clound ท�าให้ เรียกไฟล์ออกมาใช้งานได้ทกุ ที ่ ซอฟต์แวร์ตวั นัน้ คือ Tinkercad เมือ่ ออกแบบรูป ทรง 3 มิตเิ สร็จ ผูอ้ อกแบบสามารถแชร์ไฟล์ขนึ้ เว็บไซต์ Thinginverse ได้หรือส่งไป ยังบริษทั ทีร่ บั พิมพ์งาน 3 มิต ิ ท�าการพิมพ์ชนิ้ งานทีเ่ ราสร้างสรรค์ขนึ้ มาเป็นชิน้ งาน จริงได้ หรือดาวน์โหลดเป็นไฟล์ .stl และ obj เพือ่ น�าไปแปลงไฟล์ G-code ส�าหรับ พิมพ์งานด้วยเครือ่ งพิมพ์ 3 มิตใิ นกรณีทมี่ เี ครือ่ งพิมพ์เป็นของตัวเอง หรือจะเลือก เป็นไฟล์ .svg ทีเ่ ป็นไฟล์แบบ 2 มิตสิ า� หรับใช้กบั เครือ่ งตัดเลเซอร์กไ็ ด้ ซอฟต์แวร์ที่ มีความสามารถมากแถมยังมีการแชร์ได้ขนาดนี ้ ไม่ใช้ไม่ได้แล้ว มาเริม่ ต้นเรียนรูข้ นั้ ตอนการใช้งานไปพร้อมกัน ณ บัดนาว...... 2

The Prototype Electronics

รูปที่ 1 หน้าต่างลงทะเบียนเพื่อเข้าใช้งาน Tinkercad (2) พบกับหน้าต่างการท�างานและอุปกรณ์ต่างๆ ดังรูปที่ 2.1 ตัว ซอฟต์แวร์มีการใช้งานเบื้องต้นเป็นโปรเจ็กต์ง่ายๆ ให้ได้เรียนรู้กันก่อน คลิก ปุ่ม Next เพื่อเริ่มบทเรียน จะมีค�าอธิบายการออกแบบสร้างรูปทรง 3 มิติ จากอุปกรณ์ไลบรารีให้เรียกใช้งาน เมื่อจบในแต่ละบทเรียนจะมีหน้าต่าง แสดงแจ้ง ดังรูปที่ 2.2 ผู้ใช้งานสามารถเริ่มบทเรียนหัวข้อต่อไป หรืออาจ คลิกปุ่มปิด เพื่อเริ่มใช้งานก็ได้


2.1

รูปที่ 5

(4.1) Menu เป็นแถบรายการ ที่รวบรวมฟังก์ชั่นการใช้งานต่างๆ มี 3 เมนูย่อยคือ (4.1.1) Design ท�าหน้าที่ จัดการโปรเจ็กต์, ดาวน์โหลดไฟล์ โมเดล 3 มิติที่สร้างขึ้น, ส่งไฟล์ 3 มิติไปร้านพิมพ์ หรืออัปโหลดไปยัง เว็บไซต์ Thinginverse (รูปที่ 5)

2.2

(4.1.2) Edit ใช้คัดลอก วาง ส�าเนาซ�้า หรือลบโมเดล 3 มิติ ที่ ออกแบบสร้างขึ้น (4.1.3) Help บรรจุค�าอธิบายการสร้างโมเดล 3 มิติ โดยอธิบาย เป็นวิดีโอแนะน�า หรือ เรียนรู้ฟังก์ชั่นอื่นที่Tinkercad ท�าได้

รูปที่ 2 เริ่มต้นด้วยการเรียนรู้แนวทางการออกแบบชิ้นงาน 3 มิติ จากบทเรียนออนไลน์ (3) หลังจากผ่านบทเรียนรู้การใช้งานเบื้องต้นแล้ว จะเข้ามาอยู่ใน หน้าท�างานของผู้ใช้งาน ซึ่งเปิดให้แก้ไขข้อมูลต่างๆ ของตัวผู้ใช้งานได้ และ มีหน้าต่างส�าหรับเรียนรู้เทคนิคการสร้างโมเดล 3 มิติ ที่ใช้เทคนิคอื่น หรือจะ เริ่มสร้างโมเดล 3 มิติของตนเองก็ได้ เพียงคลิกที่ปุ่ม Create new design ดังรูปที่ 3

(4.2) Viewer เป็นส่วนที่ใช้ในการปรับ แต่ ง มุ ม มอง หมุ น ซ้ า ย-ขวา-ขึ้ น -ลง กลั บ ไปมุมมองต�าแหน่งเริ่มต้น ย่อ ขยายส่วนที่ มองเห็น และมีปุ่ม ? อธิบายถึงการใช้เมาส์ ในการปรับมุมมอง ดังรูปที่ 6 รูปที่ 6

(4.3.) Workplane เป็นพื้นที่การสร้างโมเดล 3มิติ พื้นเป็นสเกลตาราง ปรับขนาดได้ดังรูป โดยคลิกที่ปุ่ม Edit Grid ด้านล่าง ขนาดของพื้นที่จะเป็น ไปตามขนาดของฐานวางชิ้นงานของเครื่องพิมพ์ 3 มิติ การปรับสเกลท�าได้ โดยก�าหนดค่าลงในช่อง Unit ซึ่งมีค่าตั้งต้นเป็นมิลลิเมตร โดยขนาดของ 1 ช่องเล็กเท่ากับ 1 มม. และ 1 ช่องใหญ่เท่ากับ 10 มม. หรือ 1 ซม. ดังรูปที่ 7

7.1

7.2 รูปที่ 3 เริ่มสร้างโมเดล 3 มิติของตนเองด้วย Tinkercad (4) จากนั้นจะเข้าสู่หน้าต่างโปรเจ็กที่สร้างขึ้นพร้อมกับเมนูการท�างาน ส�าหรับการออกแบบโมเดล 3 มิติ แบ่งเป็น 5 ส่วนหลักดังนี้

รูปที่ 4 หน้าต่างโปรเจ็กต์หลักที่มีการแสดงพื้นที่ท�างาน

The Prototype Electronics

3


(4.4) Tool bar เป็นแถบเครื่องมือที่ใช้ในการจัดการกับรูปทรง 3 มิติ ที่ได้สร้างขึ้นประกอบด้วย การปรับแต่ง การรวมกลุ่มรูปทรง หรือแยกกลุ่ม รูปทรงที่เราสร้างขึ้น

11.1

11.2

รูปที่ 8 (4.5) Library เป็นส่วนที่ใช้ในการออกแบบโมเดล 3 มิติด้วยวิธีการ ต่างๆ (4.5.1) Import ใช้ในการน�ำไฟล์โมเดล 3 มิติเข้ามาในโปรเจ็กต์ รองรับไฟล์ .stl หรือ .svg โดยน�ำเข้ามาเป็นไฟล์ หรือจะเป็นเว็บไซต์ที่อยู่ ของไฟล์นั้นๆ ก็ได้

11.3

9

รูปที่ 11 การเลือกใช้และแก้ไขรูปทรง 3 มิติที่ท�ำไว้เป็นสคริปต์ไว้แล้ว

(4.5.2) Community Shape Scripts เป็นการขอใช้โมเดล 3 มิติ ของผูอ้ อกแบบคนอืน่ ทีม่ กี ารแบ่งปัน ไว้ ผู้ใช้งานสามารถลากเอารูปทรง ที่ต้องการมาวางยัง Workplane ได้ เลย ดังรูปที่ 10

(4.5.4) Helpers เป็นตัวช่วยบ่งบอกต�ำแหน่งและขนาดของ รูปทรง 3 มิติที่สร้างขึ้นโดยคลิกที่ Ruler แล้วน�ำไปวางไว้ที่ข้างรูปทรงที่ ต้องการ มันจะวัดและแสดงขนาดในพิกัดต่างๆ ออกมา ดังรูปที่ 12 12.1

(4.5.3) Your Shape Scripts เป็นการเลือกใช้โมเดล 3 มิตทิ สี่ ร้าง เป็นสคริปต์ไว้เบื้องต้นแล้วผู้ใช้งาน สามารถเลือกรูปทรงที่ต้องการโดย คลิก New Shape Script แล้วเลือก รูปทรงต่างๆ ดังรูปที่ 11.1 จากนั้น จะมีหน้าต่างแจ้งรายละเอียดและ ตั ว อย่ า งรู ป ทรงที่ เ ลื อ กปรากฏขึ้ น มา หากต้องการแก้ไขให้คลิกที่ปุ่ม Edit ดังรูปที่ 11.2 หน้าต่าง Shape Script จะปรากฏขึน้ มาดังรูปที่ 11.3 ผู้ใช้งานสามารถแก้ไขให้เป็นไปตาม ที่ ต ้ อ งการได้ แต่ จ� ำ เป็ น จะต้ อ งมี ความรูท้ างด้านภาษาด้วย

12.2

รูปที่ 12 ประโยชน์ของ Helpers รูปที่ 10

4

The Prototype Electronics


(4.5.5) Geometric เป็นไลบรารีของรูปทรงเรขาคณิต พร้อมใช้งาน รูปที่ 13 Tinkercad อ�ำนวยสะดวก ด้วยการเตรียมไลบรารีพื้นฐานของ รูปทรงเรขาคณิตไว้ให้ใช้งานได้ทันที (4.5.6) Holes เป็นไลบรารี ของรูหรือช่องทีม่ ลี กั ษณะโปร่งใส เหมาะ ส� ำ หรั บ น� ำ ไปเจาะลงบนรู ป ทรงต่ า งๆ โดยมีให้เลือกเป็น Box hole เป็นช่อง สีเ่ หลีย่ มโปร่งใส และ Cylinder Hole เป็น ช่องหรือรูทรงกระบอกโปร่งใส

(4.5.9) Symbols เป็นไลบรารีสัญลักษณ์ตัวอักษรต่างๆ และกล่อง ทรงมนในแบบ 3 มิติ ดังรูปที่ 17 รูปที่ 17 จัดมาให้ครบกับไลบรารี สัญลักษณ์พิเศษและกล่องทรงมน (4.5.10) Extras เป็นไลบรารีแบบ พิ เ ศษที่ เ ป็ น ชิ้ น ส่ ว นของสั ต ว์ เช่ น ไข่ หูกระต่าย เท้านก

รูปที่ 14 Holes ไลบรารีรูเจาะ อีกหนึ่ง ไลบรารีที่ช่วยนักออกแบบมือใหม่ได้มาก

(4.5.7) Letters เป็นไลบรารีตวั อักษร 3 มิติ เป็นภาษาอังกฤษแบบ ตัวพิมพ์ใหญ่ A ถึง Z ดังรูปที่ 15

(4.5.8) Number เป็นไลบรารีตวั เลข 0 ถึง 9 ในแบบ 3 มิติ ดังรูปที่ 16

รูปที่ 18 ไลบรารีเพิ่มเติมที่เลือก ได้จากหัวข้อ Extras

(5) เมื่อท�ำความรู้จักกับเมนูอุปกรณ์เครื่องมือต่างๆ เรียบร้อยแล้ว มาเริ่มลงมือสร้างรูปทรง 3 มิติในแบบของตนเองกัน โดยเริ่มจากไปที่ Geometric > Box แล้วลากมาวางบน Workplane ดังรูปที่ 19 สังเกตว่า ที่กล่องจะมีลูกศรอยู่ที่แต่ละมุม มันใช้ในการปรับขนาดความกว้าว ยาว สูง หรือหมุนท�ำมุม ดังรูปที่ 20.1 ถึง 20.3

รูปที่ 15 ไลบรารีตัวอักษรภาษา รูปที่ 16 ไลบรารีตัวเลขก็จัด อังกฤษตัวพิมพ์ใหญ่ก็มีให้ใช้ มาให้ใช้ สะดวกแบบสุดๆ

รูปที่ 19 ลากกล่องมาวางบนพื้นที่ออกแบบหรือ Worlplane

The Prototype Electronics

5


20.1

20.2

(7) เมื่อเลือกสีแล้ว ปรับขนาดของกล่องเป็น 20 x 45 x 1 มม. ดังรูป ที่ 23 23.1

(20.1) ปรับความกว้างยาว (20.2) ปรับความสูง (20.3) หมุนชิ้นงาน 23.2 20.3 รูปที่ 20 การใช้ลูกศรเปลี่ยนขนาดและหมุนตัวชิ้นงาน (6) ที่มุมบนด้านขวา มีช่องให้เลือกเปลี่ยนสี โดยมีสีให้เลือกหรือ อาจปรับแต่งสีเองได้ดังรูปที่ 21 ทั้งยังปรับเปลี่ยนรูปทรงเป็นแบบโปร่ง ใส่ได้ โดยคลิกที่รูปทรง Hole ดังรูปที่ 22 ถ้าคลิกที่ Lock transformation จะเป็นการล็อกหรือควบคุมการเปลี่ยนแปลงสีและขนาดเอาไว้

รูปที่ 23 ปรับขนาดของชิ้นงาน (8) ไปที่ Letters > I ลากตัวอักษร I ออกมาวางที่ Workplane ปรับ ให้ได้ความสูง 9 มม. ดังรูปที่ 24.1 จากนั้นน�ำตัวอักษรตัวอื่นออกมาวาง ให้ได้ค�ำว่า INEX โดยปรับให้ขนาดเท่ากันหมด ดังรูปที่ 24.2 เลือกตัว อักษรทั้งหมดแล้วคลิกปุ่ม Group ที่เมนูด้านบน จะท�ำให้ตัวอักษรทั้งหมด รวมเป็นกลุ่มเดียวกัน ดังรูปที่ 24.3 24.1

24.2

รูปที่ 21 เลือกสี

24.3 รูปที่ 24 วางตัวอักษรเป็นค�ำหรือข้อความที่ต้องการแล้วเลือกรวมกันเป็นกลุ่ม

รูปที่ 22 เปลี่ยนให้โปร่งใส 6

The Prototype Electronics


(9) จากนั้นเลือกที่ Geometric > Box ลากมาวางบน Workplane เพื่อ ท�ำกรอบปรับให้ได้ขนาด 18 x 43 x 1 มม. ดังรูปที่ 25.1 และ 25.2 แล้วไป ที่ Holes> Box hole ลากมาวาง ปรับให้ได้ขนาด 16 x 41 x 1 มม. ดังรูป ที่ 25.3 น�ำไปวางไว้ตรงกลางของกล่องสีแดงดังรูปที่ 25.4 ก็จะได้เป็นกรอบ ปรับให้ลอยขึ้นไป 1 มม.แล้วลากไปวางไว้บนกล่องสีฟ้า ดังรูปที่ 25.5 25.1

(10) น�ำกลุ่มตัวอักษรจากขั้นตอนที่ (8) มาปรับระดับให้เอียงขึ้น 1 มม. และเพิ่มความหนาเป็น 2 มม. ดังรูปที่ 26.1 และ 26.2 จากนั้นน�ำมา วางบริเวณกึ่งกลางบนฐานที่เตรียมไว้จากขั้นตอนที่ (9) ดังรูปที่ 26.3 เป็น อันเสร็จสิ้นการออกแบบสร้างโมเดล 3 มิติอย่างง่าย ดังรูปที่ 26.4 26.1

26.2 25.2

26.3 25.3

26.4 25.4

25.5

รูปที่ 26 ประกอบชิ้นส่วนที่เตรียมไว้เข้าด้วยกัน โดยน�ำกลุ่มตัวอักษรไป วางบนฐาน

รูปที่ 25 สร้างฐานแบบมีกรอบหนา 1 มม. The Prototype Electronics

7


ดาวน์โหลดไฟล์ชิ้นงาน (11) ตั้งชื่อไฟล์ชิ้นงานที่สร้างขึ้น โดยไปที่เมนู Design > Properties จะปรากฏหน้าต่าง Thing properties ขึ้นมา เปลี่ยนชื่อชิ้นงานที่ช่อง Name ในที่นี้ใช้ Name : Logo_INEX ดังรูปที่ 27 27.1

27.2

อัปโหลดไฟล์เพื่อแบ่งปัน (14) การอัปโหลดไฟล์ขึ้นไปยังเว็บไซต์ Thingiverse ท�ำได้โดยที่เมนู Design > Upload to Thinginverse ดังรูปที่ 31.1 จะปรากฏหน้าต่างสมัคร สมาชิกขึ้นมา ให้ด�ำเนินการก่อน โดยคลิกที่ปุ่ม Join Thingiverse ดังรูป ที่ 31.2 กรอกข้อมูลและก�ำหนดรหัสผ่าน จากนั้นป้อนรหัสความปลอดภัย ตามรูปที่ 31.3 (รหัสจะเปลี่ยนแปลง 31.1 ตลอดเวลา อาจไม่เหมือนกับในรูป) ระบบจะน�ำไปสูห่ น้าต่างเพือ่ ยืนยันการ อัปโหลดไฟล์ ทีห่ น้านีย้ งั แก้ไขชือ่ และ รายละเอียดได้ เมื่อก�ำหนดเรียบร้อย คลิ ก ปุ ่ ม Confirm and Upload to Thinginverse ดังรูปที่ 31.4

รูปที่ 27 ตั้งชื่อชิ้นงาน 31.2

(12) ไปทีเ่ มนู Design > Download for 3D Printing ตามรูปที่ 28.1 เพือ่ ดาวน์โหลดไฟล์โมเดลทีส่ ร้างขึน้ จากนัน้ จะปรากฏหน้าต่างให้เลือกนามสกุล ของไฟล์ทตี่ อ้ งการ ให้เลือกเป็น .stl ดังรูปที่ 28.2 ก็จะได้ไฟล์.stl ทีน่ ำ� ไปเปิดกับ ซอฟต์แวร์พมิ พ์งานส�ำหรับเครือ่ งพิมพ์ 3 มิตเิ พือ่ พิมพ์ชนิ้ งานออกมาต่อไป 28.1

28.2

31.3

รูปที่ 28 ดาวน์โหลดไฟล์ชิ้นงาน

ทดสอบพิมพ์ชิ้นงาน (13) ส�ำหรับการทดสอบการพิมพ์ชิ้นงานโมเดล 3 มิติที่ได้สร้างขึ้นนั้น ผู้เขียนใช้เครื่องพิมพ์ 3 มิติรุ่น Inventor-3D โดยใช้ซอฟต์แวร์ Cura ซึ่งตั้ง ค่าการพิมพ์ชิ้นงานดังรูปที่ 29 และในการพิมพ์จะใช้เทคนิคสลับสีของเส้น พลาสติกเป็นสองชั้นโดยชั้นแรกจะใช้สีขาวซึ่งเป็นส่วนฐาน และชั้นที่สองที่ เป็นตัวหนังสือจะเป็นสีเขียวดังรูปที่ 30

31.4

รูปที่ 29 พิมพ์ชิ้นงานออกมาด้วยซอฟต์แวร์ Cura รูปที่ 31 ขั้นตอนการอัปโหลดไฟล์เพื่อแบ่งปันในเว็บไซต์ Thingiverse

รูปที่ 30 ตัวอย่างชิ้นงาน จริงที่พิมพ์ออกมาจาก เครื่องพิมพ์ Inventor-3D 8

The Prototype Electronics


(15) จากนั้นจะเข้าสู่เว็บไซต์ของ Thingiverse ไปที่เว็บเพจส�าหรับ การอัปโหลด พบหน้าส�าหรับแสดงรายละเอียดของไฟล์โปรเจ็กต์ที่ต้องการ อัปโหลด ในส่วนแรกเป็นการแนบไฟล์ 3 มิติ เข้ามาที่เมนู Source File ท�าได้โดยการลากไฟล์มาวางหรือจะคลิกปุ่ม Brower เพื่อค้นหาก็ได้ โดย Tinkercad ได้ท�าการแนบไฟล์มาแล้ว ดังรูปที่ 32

รูปที่ 34

เมนูถัดไปเป็น Gallery ในการแนบไฟล์รูปภาพประกอบ ซึ่งก็ท�าได้ ด้วยการลากไฟล์มาวางหรือใช้ปุ่ม Brower ค้นหา ล�าดับต่อไปเป็นเมนู About This Thing เป็นการปรับชือ่ ไฟล์ของโมเดล 3 มิติที่ช่อง Thing Name และที่ช่อง Description เป็นการอธิบายราย ละเอียดของโมเดล 3 มิติที่สร้างขึ้นว่า มันคืออะไร และแนบลิงก์ไฟล์ได้ด้วย ดังรูปที่ 33 ที่เมนู Category เป็นการเลือกหมวดของโมเดล 3 มิติที่สร้างขึ้น ในที่นี้ เลือกเป็น Sign & Logos ที่เมนู Tags เป็นการใส่ข้อความที่สัมพันธ์กันเพื่อใช้ในการค้นหา โมเดล 3 มิติ เมนู Instructions เป็นการระบุขั้นตอนส�าหรับชิ้นส่วนต่างๆ ของโมเดล 3 มิติ ที่ต้องเชื่อมต่อกัน หรือมีการใส่อุปกรณ์เข้าไปเพิ่มเติม ส่วนนี้จะบอก ถึงรายละเอียดและขั้นตอนทั้งหมดของการประกอบชิ้นงาน เมนูสุดท้ายคือ Source เป็นแหล่งเก็บไฟล์ที่เป็นต้นแบบหรือน�ามา พัฒนาใหม่ เมื่อเปลี่ยนแปลงแก้ไขเสร็จแล้ว คลิกปุ่ม Publish ดังรูปที่ 34 แล้วรอ สักครู่ จะเข้าไปยังเว็บไซต์ Thingiverse แล้วลองค้นหาค�าว่า inex ก็จะพบ กับโมเดล 3 มิติของข้อความ INEX ที่มีการแบ่งปันเอาไว้แล้ว ดังรูปที่ 35 รูปที่ 32

รูปที่ 35 ชิ้นงานของอักษร INEX ถูกอัปโหลดและแบ่งปันที่เว็บเพจ Thingiverse แล้ว เรื่องยากๆ สําหรับมือใหมที่ตองการสรางสรรคชิ้นงาน 3 มิติ และมี ความรูพื้นฐานในการออกแบบชิ้นงานนอยหรือไมมีเลย กําลังจะกลายเปน เรื่องที่ทําไดดวยซอฟตแวรสมัยใหมอยาง Tinkercad ทั้งงาย สะดวก แบง ปนกันได แถมฟรี เพียงแตตองทํางานออนไลนตลอดเวลาเทานั้น ซึ่งนั่นก็ ไมใชขอจํากัดสําหรับโลกยุคใหมนี้แลว มากาวขามขอจํากัดและเขาสูโลก แหงการสรางชิ้นงาน 3 มิติแบบงายๆ นับตั้งแตบัดนี้

รูปที่ 33

www.tpemagazine.com

The Prototype Electronics

9


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.