UCON-UART Article (Thai)

Page 1

Proto Invention

PC Interface กองบรรณาธิการ

UCON-UART บอร์ดแปลงสัญญาณพอร์ต USB เปนสัญญาณสื่อสารข้อมูลอนุกรม

แผงวงจรที่จะชวยใหงานสื่อสารขอมูลกับคอมพิวเตอร ผานพอรต USB งายขึ้น โดยไมตองพึ่ง การเขียนไดรเวอรที่แสนซับซอน

ามารถสื่อสารข้อมูลอนุกรมกับคอมพิวเตอร์ เหมือนกับการสื่อสารผ่านพอร์ต อนุกรมแบบเดิม โดยไม่ต้องใช้วงจรแปลงระดับสัญญาณเพิ่มเติม (หรือไม่ต้อง ใช้ MAX232 นั่นเอง)

นอกจากนั้นยังสามารถใช้งาน UCON-UART เปนบอร์ดควบคุมอุปกรณ์ ภายนอกผ่านพอร์ต USB อย่างง่ายส�าหรับมือใหม่ที่สนใจการเชื่อมต่ออุปกรณ์ ภายนอกผ่านพอร์ต USB ได้อีกด้วย

แบบสามารถเขียนโปรแกรมด้วย Visual Basic , Visual C หรือ Borland Delphi เพื่อติดต่อได้ทันที

คุณสมบัติทางเทคนิค • ใช้ไอซี FT232RL ในการแปลงสัญญาณ

• มี LED แสดงสถานะการท�างานทั้งรับและส่งข้อมูล • มีจุดต่อตามมาตรฐานของพอร์ตอนุกรมครบทุกสัญญาณ ประกอบด้วย

TxD, RxD, DTR, DSR, RTS, CTS, DCD และ RI

• ใช้ไฟจากพอร์ต USB เลี้ยงวงจรพร้อมทั้งมีจุดต่อไฟเลี้ยงเพื่อใช้เลี้ยง วงจรภายนอกได้ แต่ต้องไม่เกิน 100mA

• มีจั๊มเปอร์ส�าหรับเลือกระดับสัญญาณลอจิกของขาสัญญาณได้ว่า จะมี ระดับสัญญาณทีทีแอล 5V หรือ 3.3V 48

• สามารถน�าไปเชื่อมต่อกับไมโครคอนโทรลเลอร์เบอร์ใดๆ ก็ได้เพื่อให้ส

นี่คือโครงงานที่ช่วยให้ผู้ใช้งานไมโครคอนโทรลเลอร์หรืออุปกรณ์ที่ต้องมี การสื่อสารข้อมูลอนุกรมกับคอมพิวเตอร์ผ่านทางพอร์ต USB สามารถท�างาน ได้ง่ายขึ้น สามารถใช้ความรู้และโปรแกรมเดิมของคุณที่เคยท�างานผ่านพอร์ต อนุกรมมาสื่อสารผ่านพอร์ต USB ได้โดยแก้ไขน้อยมากจนถึงไม่ต้องแก้ไขเลย

The Prototype Electronics

• ไดรเวอร์ก�าหนดเปนพอร์ตอนุกรมเสมือน (virtual COM port) ที่สมบูรณ์

• ไดรเวอร์ต่างๆ สามารถดาวน์โหลดและอัปเดตโดยไม่มีค่าใช้จ่าย และ สามารถใช้งานกับระบบปฏิบัติการวินโดวส์ และ MAC OS ได้

การทํางานของวงจร รูปที่ 1 แสดงวงจรสมบูรณ์ของบอร์ด UCON-UART หัวใจหลักของวงจร คือ IC1 เบอร์ FT232RL ซึ่งเปนไอซีแปลงสัญญาณพอร์ต USB เปนสัญญาณ พอร์ตอนุกรม (USB to Serial converter) เชื่อมต่อกับพอร์ต USB และใช้ไฟ เลี้ยง +5V จากพอร์ต USB เลี้ยงวงจรทั้งหมด รวมถึงน�าไฟเลี้ยง +5V นี้ต่อออก ไปเลี้ยงวงจรและอุปกรณ์ภายนอกที่น�ามาต่อพ่วงได้ด้วย แต่ต้องมีการใช้กระแส ไฟฟารวมไม่เกิน 100mA ก็เรียกว่า สามารถใช้ขับ LED, ติดต่อกับไอซี และวงจร ขับโหลดได้พอสมควร


K3

20 VCC 16 USBDM 15 USBDP

+VUSB DD+ GND

K1 USB PORT

R1-R2 27

C1 0.1µF

+5V

4 VCCIO

+3.3V

C2 10µF

JP1 C3 0.1µF

TxD DTR RTS RxD RI DSR DCD CTS

17 C4 0.1µF

K2 GND

3V3OUT

IC1 FT-232RL

CBUS4 27 OSCI CBUS2 28 OSCO CBUS3 18 GND CBUS0 21 GND CBUS1 7 GND RESET# 26 TEST AGND 25

+VUSB +3.3V TxD DTR RTS RxD RI DSR DCD CTS

1 2 3 5 6 9 10 11 K4

12 13 14 23 22 19 LED1 Rx R3 220

LED2 Tx R4 220

SLEEP TxDEN PWREN TxLED RxLED RESET GND

LED3 USB R5 220 +VUSB

รูปที่ 1 วงจรของ UCON-UART บอร์ดแปลงสัญญ�ณพอร์ต USB เปนพอร์ตอนุกรม

สัญญาณที่ออกจาก IC1 จะมีสัญญาณพอร์ตอนุกรมครบทั้ง 8 เส้น และมีเอาต์พุตขับ LED เพื่อแสดงสถานะด้วย ในวงจรมี LED แสดงสถานะ 3 ตัวที่ท�างานด้วยลอจิก "0" ประกอบด้วย

LED1 ใช้แสดงสถานะการรับข้อมูล

LED2 ใช้แสดงสถานะการส่งข้อมูล

LED3 แสดงสถานะการเชื่อมต่อกับพอร์ต USB

ด้วยการท�างานของ IC1 ท�าหน้าที่แปลงการสื่อสาร USB เปน สัญญาณพอร์ตอนุกรมครบทั้ง 8 เส้น จึงน�าไปท�างานทดแทนวงจรเชื่อมต่อ กับพอร์ตอนุกรม RS-232 เดิมได้ทันที (2.1) ล�ยทองแดงด้�นบน

(2.2) ล�ยทองแดงด้�นล่�ง

รูปที่ 2 ล�ยทองแดงของแผ่นวงจรพิมพ์

ในปัจจุบันไมโครคอนโทรลเลอร์หรือไอซีพิเศษต่างๆ มีการท�างานที่ ระดับแรงดัน +3.3V มากขึ้น บอร์ด UCON-UART จึงมีจั๊มเปอร์ให้สามารถ เลือกระดับแรงดันเอาต์พุตของไอซีที่ต้องการติดต่อด้วยว่าเปนระดับลอจิก +5V หรือระดับลอจิก +3.3V นอกจากนั้น IC1 ยังมีขาพอร์ตเพิ่มเติมที่สามารถต่อออกมาใช้งานดัง แสดงที่จุดต่อ K3 การสร้าง ในรูปที่ 2 แสดงลายทองแดงของแผ่นวงจรพิมพ์ของบอร์ด UCONUART เปนแผ่นวงจรพิมพ์แบบ 2 หน้าเพลตทรูโฮลด์ มีการวางอุปกรณ์ แสดงในรูปที่ 3 การบัดกรีอุปกรณ์ตัวแรกที่ต้องท�าคือ บัดกรี IC1 เข้าที่ด้าน บนของแผ่นวงจรพิมพ์ ต้องใช้ความปราณัตในการบัดกรีพอสมควรครับ เพราะ IC1 เปนอุปกรณ์แบบ SMD และขาบัดกรีก็ค่อนช้างชิดและมีขนาด เล็ก จากนัน้ จึงบัดกรีตดิ ตัง้ อุปกรณ์ทเี่ หลือเริม่ จากตัวต้านทาน, LED, ตัวเก็บ ประจุ และคอนเน็กเตอร์ เมือ่ เสร็จแล้วก็เข้าสูก่ ารทดสอบในล�าดับต่อไป

รูปที่ 3 ก�รว�งอุปกรณ์บนแผ่นวงจรพิมพ์ The Prototype Electronics

49


PC Interface : UCON-UART การติดตั้งไดรเวอร์ของ UCON-UART ที่คอมพิวเตอร์ (1) ดาวน์โหลดไฟล์ USBDriverInstallerV2.04.16.exe จาก www. parallax.com หรือ www.tpemagazine.com (2) ท�ำการติดตั้งไฟล์ไดรเวอร์ของ FT232RL ด้วยการดับเบิลคลิกที่ ไฟล์ USBDriverInstallerV2.04.16.exe จากนั้นจะปรากฏหน้าต้างแจ้งการ ติดตั้งครู่หนึ่ง (3) เสียบสาย USB เข้ากับบอร์ด UCON-UART จากนั้นน�ำปลายอีก ด้านของสาย USB เสียบเข้ากับขั้วต่อ USB ของคอมพิวเตอร์ (4) ที่บริเวณมุมขวาล่างของคอมพิวเตอร์จะปรากฏข้อความแจ้งว่า ตรวจพบฮาร์ดแวร์ใหม่ จากนั้นไดรเวอร์ที่ติดตั้งไว้ก่อนหน้านี้จะท�ำการเชื่อม ต่อบอร์ดกับคอมพิวเตอร์อย่างอัตโนมัติ

รูปที่ 5 การต่อสัญญาณ RxD และ TxD ของบอร์ด UCON-UART เข้าด้วย กันเพื่อทดสอบการทำ�งาน

การตรวจสอบต�ำแหน่งพอร์ตอนุกรมที่ติดตั้งที่คอมพิวเตอร์ หลังจาก​ที่ตอ​บอรด UCON-UART เรียบรอย LED3 สีเขียว​ซึ่ง​ใช​ ใน​การ​แสดง​สถานะ​ของ​พอรต USB จะ​ติด​สวาง​เปนการ​แสดงวา​บอรด​ได​ เชื่อม​ตอก​ ับ​พอรต USB อยาง​สมบูรณ​แลว ล�ำดับตอไป​เปนการ​ตรวจสอบ​ ต�ำแหนงข​ อง​พอรต​อนุกรม​เสมือน​หรือ Virtual COM port หรือ USB serial port ที่​เกิดขึ้น​จาก​การ​ท�ำงาน​ของ​ไอซี FT233RL และ​ไดรเวอร มขี​ ั้นตอน​โดย​ สรุป​ดังนี้ (1) ที่​หนาตาง Control Panel เลือก​เปดท​ ี่​หัวขอ System (ใน​กรณี​ที่อยู​ ใน​โหมด​การ​แสดง classic view ) หรือ​เลือก​จาก​หัวขอ Performance and Maintenance > System (เมื่ออ​ ยูใ​ น​โหมด Category view ) (2) เลือก​แท็บ Hardware แลวเ​ลือก​คลิก​ปุม Device Manager จะ​ ปรากฏ​หนาตาง​ท​แี่ สดง​รายละเอียด​ฮารดแวร​ตางๆ ที่​ติดต​ ั้งอยู​ภายใน​เครื่อง​ คอมพิวเตอร ให​เลือก​ทหี่​ ัวขอ Ports (COM & LPT) สังเกต​วา ต�ำแหนงข​ อง USB Serial Port มีว​ งเล็บ​ดานหลัง​ระบุ​ต�ำแหนง​ไว​เปน​พอรตท​ ี่​เทาไหร ดัง​ ใน​รูป​ที่ 4 โดย​ใน​รูป​จะ​เปน​ต�ำแหนง COM3 เมื่อ​เขียน​โปรแกรม​กับ​บอรด UCON-UART จะ​ตอง​ติดตอท​ ี่​ต�ำแหนง COM3

รูปที่ 6 แสดงการทำ�งานของ UCON-UART ที่หน้าต่าง Hyper Terminal ทดสอบรับส่งข้อมูลผ่านโปรแกรม Hyper Terminal ท�ำได้ง่ายๆ ด้วยการเชื่อมต่อขา Txd (ส่ง) และ RxD (รับ) เข้าด้วยกัน ดังในรูปที่ 5 จะท�ำให้ UCON-UART ส่งข้อมูลจากขา TxD แล้วรับข้อมูล กลับผ่านทางขา RxD ส�ำหรับโปรแกรม Hyper Terminal เป็นโปรแกรมที่ติดตั้งอยู่แล้ว ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้ในการสื่อสารข้อมูลในรูปแบบต่าง ๆ ทั้ง รับและส่งข้อมูล หรือรับและส่งไฟล์ โดยมีขั้นตอนการก�ำหนดค่าเพื่อใช้กับ บอร์ด UCON-UART ดังนี้ (1) ไปที่หน้าต่าง Accessories เลือก Communications เลือก HyperTeminal เพื่อเปิดโปรแกรม (2) ส�ำหรับการใช้งานครั้งแรก ผู้ใช้ต้องระบุรูปแบบการเชื่อมต่อเสีย ก่อน โดยก�ำหนดชื่อ และเลือกไอคอนที่ต้องการ เพื่อในการใช้งานครั้งต่อ ไปสามารถใช้คลิกที่ชื่อนี้เพื่อเข้าสู่รูปแบบการสื่อสารที่ต้องการได้ จากนั้น ก�ำหนดพอร์ตที่ใช้เชื่อมต่อ ส�ำหรับตัวอย่าง จะเป็น COM3

รูปที่ 4 แสดงตำ�แหน่งของพอร์ตอนุกรมเสมือนที่เกิดจากการทำ�งาน ของ UCON-UART 50

The Prototype Electronics

(3) ก�ำหนดมาตรฐานในการสื่อสารข้อมูลอนุกรม ซึ่ง ถ้าไม่ก�ำหนดค่า ตั้งต้น จะเป็น 9600 8N1 คือ บอดเรต 9600 บิตต่อวินาที จ�ำนวนบิตข้อมูล 8 บิต ไม่มีการตรวจสอบพาริตี้ และจ�ำนวนบิตปิดท้าย 1 บิต


(4) โปรแกรมจะแสดงหน้าต่างการสือ่ สารข้อมูลออกมา ถ้าท�าการเชือ่ ม ต่อสายระหว่าง ขา TxD และขา RxD ไว้แล้ว การปอนค่าข้อมูลต่างๆ จาก คียบ์ อร์ด ข้อมูลเหล่านัน้ จะถูกส่งกลับมายังคอมพิวเตอร์แล้วถูกน�ามาแสดงที่ หน้าจอ ดังรูปที ่ 6 (5) ในการส่งข้อมูลแต่ละครั้งให้สังเกต LED ที่ต�าแหน่ง TxD และ RxD จะติดกะพริบแสดงถึงการรับและส่งข้อมูลด้วย การน�าไปใช้งาน ส�าหรับงานด้านไมโครคอนโทรลเลอร์ บอร์ด UCON-UART จะช่วย ให้ไมโครคอนโทรลเลอร์อย่าง P89V51RD2 (ของ NXP), MB89F202 (Fujitsu), โมดูลเบสิกแสตมป 2 สามารถดาวน์โหลดเฟร์มแวร์ผ่านทาง พอร์ต USB ได้เลย แต่ต้องไม่ลืมจ่ายไฟให้กับไมโครคอนโทรลเลอร์ด้วย นอกจากนั้นหากมีการพัฒนาโปรแกรมในขั้นก้าวหน้า ขาสัญญาณ ของ FT232RL จะสามารถท�าหน้าที่เปนพอร์ตอินพุตเอาต์พุตได้ด้วย ก็งายๆ เทานี้ครับ สิ่งที่ยากสุดของการสรางโครงงานนี้คือ การบัดกรี ไอซี FT232RL จะตองใชความระมัดระวังและใจเย็นๆ สิ่งที่แลกไดมาคือ บอรดสําหรับสื่อสารขอมูลและติดตอกับอุปกรณภายนอกผานพอรต USB ราคาประหยัด แตมีความสามารถเกินตัว ปล. ใน TPE ฉบั บ นี้ มี บ ทความซี รี ส  เ ชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารที่ ว  า ด ว ยการใช ง าน UCON-UART กับ Visual Basic Express 2008 เชิญติดตามกันไดครับ

www.tpemagazine.com

*************************************************** รายการอุปกรณ์

*************************************************** ตัวต้านทาน SMD ขนาด 0805 R1, R2 - 27Ω 2 ตัว R3-R5 - 220Ω 3 ตัว ตัวเก็บประจุ C1, C3, C4 - 0.1µF 50V แบบ SMD ขนาด 0805 3 ตัว C2 - 10µF 16V อิเล็กทรอไลต์ 1 ตัว อุปกรณสารกึ่งตัวนํา IC1 - FT232RL 1 ตัว LED1, LED2 - ไดโอดเปล่งแสงสีเหลือง 3 มม. 2 ตัว LED3 - ไดโอดเปล่งแสงสีเขียว 3 มม. 1 ตัว อื่นๆ K1 - คอนเน็กเตอร์ USB แบบ B ขาลงแผ่นวงจรพิมพ์ 1 ตัว JP1 - คอนเน็กเตอร์ IDC 3 ขาตัวผู้ ขาห่าง 2 มม. และจั๊มเปอร์ 2 มม. 1 ชุด K2 - คอนเน็กเตอร์ IDC 2 ขาตัวตัวเมียแถวเดี่ยว ขาห่าง 2.5 มม. 1 ตัว (อุปกรณ์เสริม ในกรณีต้องการใช้) K3 - คอนเน็กเตอร์ IDC 11 ขาตัวผู้แถวเดี่ยว ขาห่าง 2.5 มม.และคอนเน็ก เตอร์ IDC 11 ขาตัวเมียแถวเดี่ยว ขาห่าง 2.5 มม. อย่างละ 1 ตัว (อุปกรณ์ เสริม ในกรณีต้องการใช้) K4 - คอนเน็กเตอร์ IDC 7 ขาตัวผู้แถวเดี่ยว ขาห่าง 2.5 มม.และคอนเน็ก เตอร์ IDC 7 ขาตัวเมียแถวเดี่ยว ขาห่าง 2.5 มม. อย่างละ 1 ตัว (อุปกรณ์ เสริม ในกรณีต้องการใช้) แผ่นวงจรพิมพ์ UCON-UART แหลงซื้ออุปกรณ - อุปกรณ์ทั้งหมด รวมทั้งบอร์ดพร้อมใช้งาน มีจ�าหน่ายที่ อิเลคทรอนิคส์ ซอร์ซ โทร. 0-2623-9460-7 , 0-2623-8364-6 - หากต้องการเฉพาะแผ่นวงจรพิมพ์หรือชุดคิตและบอร์ดพร้อมใช้งาน ดูรายละเอียดในหน้า TPE shop ท้ายเล่ม

The Prototype Electronics

51


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.