ลอยกระทงหมายถึง

Page 1

โครงการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมไทยฯ: การติดตามวิเคราะห์สถานการณ์และแก้ปัญหาทางสังคม และวัฒนธรรมเพื่อส่งเสริมวัฒนธรรมและประเพณีไทยอันดีงาม โดย สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ลอยกระทง: สาเหตุ และการแก้ไขพฤติกรรมเสี่ยงของวัยรุ่นในวันลอยกระทง ประเพณีลอยกระทง การลอยกระทงเป็นประเพณีไทยมีมาตั้งแต่ครั้งสุโขทัย เรียกว่า การลอยพระประทีปหรือลอยโคม เป็นงาน นักขัตฤกษ์รื่นเริงของประชาชนทั่วไป ต่อมานางนพมาศหรือท้าวศรีจุฬาลักษณ์สนมเอกของพระร่วง ได้คิดประดิษฐ์ ดัดแปลงเป็นรูปกระทงดอกบัวแทนการลอยโคม การลอยกระทงหรือลอยโคมในสมัยนางนพมาศกระทาเพื่อเป็น การสักการะรอยพระพุทธบาท ที่แม่น้านัมมทานที ซึ่งเป็นแม่น้าสายหนึ่งอยู่ในแคว้นทักขิณาบถของประเทศอินเดีย ปัจจุบันเรียกว่า “แม่น้าเนรพุทธา” ไทยน่าจะรับวัฒนธรรมนี้มาจากอินเดีย ซี่งมีข้อสันนิษฐานอยู่ 3 ประเด็นคือ 1. ชาวอินเดียโบราณมีประเพณีบูชาแม่คงคาในฐานะเป็นแม่น้าศักดิ์สิทธิ์ ตามความเชื่อของเขาและ น้ามีคุณอย่างใหญ่หลวงต่อชีวิต ช่วยชีวิตให้อยู่รอดดับร้อน ผ่อนกระหายเขา เรียกประเพณีนี้ว่า “จองเปรียง” 2. มีเรื่องเล่าสืบกันมาว่าชาวอินเดียโบราณได้จัดพิธีบูชาพระพุทธบาท ซึ่ง อยู่ริมฝั่งแม่น้านัมมทานที ปัจจุบันเรียกว่า แม่น้าเนรพุทธา ที่แคว้นทักขิณาบถเป็นประจาทุกปี 3. ในราวเดือนตุลาคมหรือพฤศจิกายน ชาวอินเดียทางภาคใต้แม้ในปัจจุบันนี้ก็นิยมจัดประเพณี พระ เป็นเจ้า โดยจัดเป็นขบวนแห่รูปหุ่นพระเป็นเจ้าในตอนกลางคืน ในขบวนก็จะจุดโคมไฟและจุดเทียนสว่างไสวแห่ แทนไปตามถนนสายต่าง ๆ หลังจากนั้นก็จะนาขบวนมุ่งไปยังท่าน้าที่กาหนดไว้ เพื่อทาพิธีบูชาและเฉลิมฉลองเสร็จ แล้วจะลอยรูปหุ่น พร้อมทั้งโคมไฟไปตามแม่น้า ประเพณีนี้เรียกว่า “ทีปะวารี” ดังนั้นประเพณีการลอยกระทง น่าจะเป็นคติของชนชาติที่ประกอบกสิกรรม ซึ่งต้องมีน้าตามกระแส น้า เพื่อขอบคุณพระแม่คงคา หรือเทพเจ้าแห่งน้า อีกทั้งเป็นการแสดงความคารวะขออภัยที่ได้ลงอาบ หรือปล่อย สิ่งปฏิกูลลงน้าไม่ว่าจะโดยตั้งใจหรือไม่ก็ตาม รวมทั้งเป็นการบูชาเทพเจ้าตลอดจนรอยพระพุทธบาท พระเจดีย์จุฬา มณี ฯลฯ ตามคติความเชื่อ

1


การลอยกระทงในปัจจุบัน ยังคงรักษารูปแบบเดิมเอาไว้ตามสมควร เมื่อถึงวันเพ็ญ พระจันทร์เต็มดวงใน เดือน 12 ซึ่งตรงกับวันขึ้น 15 ค่า เดือน 12 ตามปฏิทินจันทรคติไทย ตามปฏิทินจันทรคติล้านนา มักจะตกอยู่ใน ราวเดือนพฤศจิกายน ตามปฏิทินสุริยคติ สานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวงวัฒนธรรม ขอเชิญชวนประชาชนชาวไทย ร่วมกัน สืบสานประเพณีลอยกระทง ซึ่งในปีพุทธศักราช 2555 ตรงกับวันพุธที่ 28 พฤศจิกายน ด้วยการร่วมกันอธิษฐาน จิต กล่าวคาถวายกระทงสาหรับลอยประทีป (ลอยกระทง) ดังคากล่าวดังต่อไปนี้ “นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ” (3 จบ) “มะยัง อิมินา, ปะทีเปนะ อะสุกายะ, นัมมะทายะ, นะทิยา,ปุลเิ น, ฐิตัง, มุนิโน, ปาทะวะลัญชัง อะภิปเู ชมะ อะยัง ปะทีเปนะ, มุนิโม, ปาทะวะลัญชัสสะ, บูชา, อัมหากัง, ทีฆะรัตตัง, หิตายะ,สุขายะ, สังวัตตะตุ” แปลว่า “ข้าพเจ้า ทัง้ หลาย ขอบูชา ซึ่งรอยพระพุทธบาทที่ตั้งอยู่เหนือหาดทราย ใน แม่น้าชื่อ นัมมทานทีโน้นด้วยประทีปนี้ การบูชารอยพระพุทธบาทนี้ ขอจงเป็นไป เพื่อประโยชน์และความสุข แก่ข้าพเจ้าทัง้ หลาย สิ้นกาลนานเทอญ”

คุณค่าของประเพณีลอยกระทง ประเพณีลอยกระทงที่ประชาชนคนไทยได้สืบทอดปฏิบัติกันมาตั้งแต่ครั้งอดีต จนถึงปัจจุบันล้วนมีความ เกี่ยวข้องกับคติความเชื่อในทางพระพุทธศาสนา คือมีธรรมเป็นกรอบปฏิบัติสาหรับปลูกจิตสานึกของคนในชาติให้รู้ รักสามัคคีปฏิบัติตามหลักสาราณียธรรม พละ 5 และสังคหวัตถุ 4 จะเห็นว่าเมื่อได้ปฏิบัติตามหลักธรรมทั้งหมดนี้ แล้วเท่ากั บว่าพลเมื องของชาติ เกิดจิตสานึกมี ความกตัญ ญูกตเวที มีความหวงแหนขนบธรรมเนียมวัฒนธรรม ประเพณีทั้งในระดับชาติ ท้องถิ่น ชุมชน ครอบครัว และเห็นคุณค่าของการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมที่เป็นสิ่งสะท้อนถึง วัฒนธรรมในระดับโลกด้วย คุณค่าด้านอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม อันเนือ่ งมาจากประเพณีลอยกระทงนั้น ซึ่งนอกจากจะ เป็นการแสดงความเคารพ มีความกตัญญู ระลึกถึงผู้ มีพระคุณต่อมนุษย์ เช่น พระพุทธเจ้าเทพเจ้า พระแม่คงคา และบรรพชนแล้ว ก็ยังเป็นเครื่องหมายแสดงความกตเวที ตอบแทนคุณด้วยการเคารพบูชาด้วยเครื่องสักการะ ต่างๆ โดยเฉพาะการบูชาพระพุทธเจ้าหรื อสักการบูชารอยพระพุทธบาท ซึ่งถือว่าเป็นคติธรรมอย่างหนึ่ง ที่บอก เป็นนัยให้ พุทธศาสนิกชนได้เจริญรอยตามพระบาทของพระพุทธองค์ อันเป็นสัญลักษณ์ แห่งความดีงามทั้งปวง 2


นั้นเอง ด้วยเหตุนี้ ประเพณีลอยกระทง นอกจากจะเป็นประเพณี ที่มีคุณค่าในเรื่องการแสดงออกถึงความกตัญญู กตเวที ต่อผู้มีพระคุณดังที่กล่าวมาแล้ว ยังมีคุณค่าต่อครอบครัว ชุมชน สังคม และ ศาสนาด้วย เช่น ทาให้สมาชิก ในครอบครัวได้ใช้เวลาร่วมกัน ทาให้ชุมชนได้ร่วมมือร่วมใจกันจัดงาน หรือในบางท้องที่ที่มีการทาบุญก็ถือว่ามีส่วน ช่วยสืบทอดพระพุทธศาสนา และถือเป็นโอกาสดี ในการรณรงค์อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในแม่น้าลาคลองไปด้วยจึง ทาให้รู้จักคุณค่า สาระและเรื่องราวเกี่ยวกับประเพณีลอยกระทงมากขึ้น (พระครู พิสณฑ์กิจจาทร, 2554)

ภัยของวัยรุ่นที่เกิดขึ้นในเทศกาลลอยกระทง การใช้เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ กระทรวงการพั ฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) โดยศูนย์เฝ้าระวังและเตือนภัยทางสังคม (พม.) ได้ศึกษาพฤติกรรมของเด็กและเยาวชนในเทศกาลวันลอยกระทง และการสารวจข้อมูลระหว่างวันที่ 16-21 ตุลาคม 2552 จากกลุ่มตัวอย่างในพื้นที่ 63 จังหวัด จานวน 21,733 คน อายุระหว่าง16-25 ปี พบว่าพฤติกรรม เข้าร่วมงานประเพณีลอยกระทงมี แนวโน้ม การเปลี่ยนแปลงไปในเชิง เสี่ยงเพิ่ม ขึ้น เช่น การไปท่ องเที่ ยวกั บ ครอบครัวเฉลี่ยเพียง 40.9% ขณะที่การไปท่องเที่ยวกับเพื่อน แฟนหรือคนรัก สูงถึง 38.2% ส่วนกิจกรรมที่มีแผน จะทาในวันลอยกระทง คือ การร่วมดื่มแอลกอฮอล์กับกลุ่ม เพื่อน 18% ซึ่งกลุ่ มตัวอย่างยังให้ข้อมูลเพิ่มเติมถึง พฤติกรรมในเทศกาลลอยกระทงปีที่ผ่านมาว่า ร้อยละ 17.4% เคยดื่มแอลกอฮอล์กับกลุ่มเพื่อนจนเมา และเคยมี เรื่องทะเลาะวิวาทชกต่อยกันถึง 6.9% ในขณะที่ 5.7% ตั้งกลุ่มแข่งขันจักรยานยนต์บนท้องถนน

วัยรุ่นเสี่ยงเสียตัว พ.ต.อ. ชุมพล พุ่มพวง ผกก.ศดส. หรือกองกากับการศูนย์สวัสดิภาพเด็กและสตรี ได้กล่าวถึงผลการสารวจ สถิติการเสียตัวจากเทศกาลต่างๆ ของบริษัทถุงยางอนามัยแห่งหนึ่ง พบว่า เทศกาลลอยกระทง เป็นสาเหตุที่นาพา ไปสู่การเสียตัวเป็นอันดับ 2 รองลงมาจากเทศกาลวาเลนไทน์ โดยให้สาเหตุจากความเชื่อที่ว่า ต้องลอยกระทงตอน เที่ยงคืนและต้องลอยกับคู่รัก ทาให้เกิดบรรยากาศที่ทาให้เยาวชนขาดการยับยั้งชั่งใจ และคล้อยตาม นาไปสู่ พฤติกรรมอันไร้ความคิด ทั้งๆ ที่การลอยกระทงเป็นประเพณีบูชาพระแม่คงคา แต่ในช่วงหลังมานี้ค่านิยมของคน ไทยเปลี่ยนไป เด็กและเยาวชนส่วนใหญ่คิดว่าว่ าวันลอยกระทงเป็นวันรื่นเริงและเป็นวันที่หนุ่มสาวมาร่วมลอย กระทงเพื่อหวังจะครองรักกัน นาไปสู่ปัญหาทางสังคมที่สร้างปมไว้รอคนมาแก้ จนถึงปัจจุบันนี้

3


“จากความเชื่อทั่วไปที่บอกว่าว่า ต้องลอยกระทงเวลาเที่ยงคืน แต่หารู้ไม่ว่าเป็น ช่วงเวลาที่ไม่ปลอดภัยทั้งยังเป็นการเปิดโอกาส ให้ที่วัยรุ่นหรือเยาวชนที่มาลอยกระทงแล้วไม่มี ผู้ปกครองมานั้น มีความเสี่ยงที่จะเสียความบริสุทธิ์ หรือการเกิดเพศสัมพันธ์ในวัยที่ไม่อันควรขึ้น” (พ.ต.อ.ชุมพล พุ่มพวง) จากผลการศึกษาพฤติกรรมของเด็กและเยาวชนในเทศกาลวันลอยกระทง จากการสารวจข้อมูลระหว่ าง วันที่ 16-21ต.ค. 52 จากกลุ่มตัวอย่างในพื้นที่ 63 จังหวัด จานวน 21,733 คน อายุระหว่าง 16-25 ปี โดยศูนย์เฝ้า ระวัง และเตือนภัยทางสังคม ยัง พบด้วยว่า พบพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศในกลุ่ม เด็กและเยาวชนเพิ่มขึ้น เช่น ไป ท่องเที่ยวกับเพื่อน แฟนหรือคนรัก สูงถึง 38.2% และมีเพศสัมพันธ์กับแฟนหรือคนรักถึง 5.3% นอกจากนี้ “การ ดื่มเครื่องดื่มมึนเมา” เป็นเหตุจูงใจให้ “คึกคะนอง” ก่อคดีทางเพศ ลวนลาม-ข่มขืน โดยการที่ผู้หญิงยอมเสียตัวให้ ผู้ชาย ทั้ ง ที่ยัง ไม่ ได้แต่ง งานกั น ในทุก ปีจะมี ตัวเลขของคดีล วงละเมิ ดทางเพศเพิ่มขึ้นทุก ปี และพบข่าวข่ม ขื น บ่อยครั้งตามหน้าหนังสือพิมพ์ และสื่อโทรทัศน์ ในคืนวันลอยกระทง จนทาให้ประเพณีอันดีเริ่มเสื่อมถอยลง

สาเหตุหลักของปัญหา ปัญ หาต่างๆ ที่ เ กิ ดขึ้นนี้ สาเหตุส าคัญ เกิดจากค่านิยมของเยาวชนไทยเปลี่ยนแปลงไปตามสมั ยนิยม มีลักษณะคล้อยตามค่านิยมสากลมากขึ้น ยกย่องวัตถุ ความหรูหราฟุ่มเฟือย ความเป็นอิสระ เป็นตัวของตัวเอง ไม่ยึดมั่นในประเพณีดั้งเดิม ชื่นชมวัฒนธรรมตะวันตก และเทคโนโลยีสมัยใหม่ สิ่งเหล่านี้สะท้อนให้เห็นจากการ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอันดีงามไปสู่พฤติกรรมเสีย่ งในกลุม่ เยาวชน ทาให้ประเพณีลอยกระทง ซึ่งเป็นงานประเพณี ที่ ดี ง าม ควรค่า แก่ ก ารสื บ สานประเพณี อั น ดีง านนี้ ไว้ แต่เ ยาวชนไทยกลั บ มี ค่า นิย มใหม่ ๆ เช่น การกิ น ดื่ ม สนุกสนาน มั่วสุม และหลอกลวง ทาให้เยาวชนเพศหญิง เสียตัวจานวนมากในคืนวันลอยกระทง แอลกอฮอล์เป็น ตัวเร่งให้เยาวชนขาดสติ จนเกิดพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม เกิดอุบัติเหตุ การทะเลาะวิวาท รวมทั้งการบาดเจ็บจาก การนาพลุ หรือดอกไม้ไฟดังที่กล่าวมาข้างต้น ดังนั้นสังคมต้องหันมาให้ความสนใจกับปัญหาเพื่อลดความรุนแรงที่ นับ วันจะมี เ พิ่ ม สูง ขึ้น โดยทุ ก ภาคส่ว นในสัง คมจะต้ องให้ ความส าคัญ กั บ การขัด เกลาทางสัง คมเพื่อส่ ง เสริ ม วัฒนธรรมและประเพณีไทยอันดีงามต่อไป

แนวทางการแก้ปญ ั หาด้วยการขัดเกลาทางสังคม การขัดเกลาทางสังคม (Socialization) เป็นกระบวนการถ่ายทอดวัฒนธรรมไทยและค่านิยมที่ดีงามของ สัง คม เป็ น กระบวนการอบรมสั่ ง สอนสมาชิ ก ให้ เ รีย นรู้ร ะเบี ยบของสัง คมเพื่ อให้ เ ห็น คุณค่ า และนาเอา

4


กฎเกณฑ์ ระเบียบปฏิบัติเหล่านั้นไปเป็นแนวทางในการประพฤติปฏิบัติ การขัดเกลาสังคมเป็นสิ่งที่มนุษย์ต้องได้รับ ตลอดชีวิต เพื่อที่จะทาให้มนุษย์สามารถปรับตัวเข้ากับสังคมที่ตนเป็นสมาชิกอยู่ได้เป็นอย่างดี คนในสั ง คมเป็ นผลลัพ ธ์ของกระบวนการถ่า ยทอดทางสั ง คม ในกระบวนการดัง กล่า ว บุคคลจะได้ ปฏิสัมพันธ์กับตัวแทนการถ่ายทอดที่สาคัญ ผู้ซึ่งหล่อหลอมให้พวกเขามีคุณสมบัติที่สังคมต้องการ สังคมโดยรวม ประกอบด้วยกลุ่มทางสังคมหลายๆ กลุ่ม ที่มีส่วนในการขัดเกลาบุคคล เช่น พ่อแม่ ครู เพื่อน สื่อมวลชน เป็ นต้น โดยกลุ่มต่างๆเหล่านี้เรียกว่า ตัวแทนการถ่ายทอดทางสังคม จะแสดงอิทธิพลในวิถีทางต่างกัน กล่าวได้ว่า ตัวแทน การถ่ายทอดทางสังคม จะแสดงอิทธิพลในวิถีทางต่างกันและต่างเวลากัน กล่าวได้ว่า ตัวแทนการถ่ายทอดทาง สังคมแต่ละกลุ่มมีบทบาทหน้าที่เฉพาะของตนในกระบวนการถ่ายทอดทางสังคม การขัดเกลาทางสังคมอาจจาแนกได้ 2 ประเภท 1. การขัดเกลาทางสังคมโดยทางตรง เช่นการอบรมสั่งสอน ขัดเกลาที่พ่อแม่ให้กับลูก ไม่ว่าจะเป็นการ สอนพูด สอนมารยาทในการรับประทานอาหาร หรือสอนให้เรียกพี่ น้อง ปู่ ย่า เป็นต้น ในกรณีนี้ผู้สอนและผู้รับจะ รู้สึกตัวในกระบวนการอบรมสั่งสอนโดยตรง 2. การขัดเกลาทางสังคมโดยทางอ้อม เช่น การอ่านหนังสือพิมพ์ การฟังวิทยุหรือดูโทรทัศน์ ตลอดจน การดูภาพยนตร์ ผู้รับจะเรียนรู้โดยไม่รู้ตัว โดยสิ่งที่เรียนรู้จะค่อยๆซึมซับเข้าไปจิตใต้สานึกว่าสิ่งนั้นสิ่งนี้ที่ สังคม ยอมรับ และหากเป็นสิ่งที่สังคมไม่ยอมรับกระทาในสิ่งที่แปลกแยกออกไป การขัดเกลาทางสังคมโดยทางอ้อมจะ ครอบคลุมไปถึง การเข้าร่วมกับกลุ่มเพื่อนด้วยและเพื่อนร่วมงาน ซึ่งจะช่วยให้เกิดการปรับตัวและการพัฒนาบุคลิก

ขั้นตอนในการขัดเกลาทางสังคมหรือการอบรมสั่งสอน 1. ขั้นปฐมภูมิ เป็นการอบรมขัดเกลาที่ได้รับในวัยเด็กนับตั้งแต่คลอดออกมา โดยได้จากครอบครัว โรงเรียน เพื่อน ทาให้เกิดบุคลิกภาพเป็นของตนเองโดยเฉพาะ 2. ขั้นทุติยภูมิ เป็นการอบรมขัดเกลาที่ได้รับในช่วงประกอบอาชีพ เพื่อเปลี่ยนแปลงบุคลิกภาพ ของตน เช่น เป็นครู เป็นแพทย์ เป็นนักธุรกิจ จุดมุ่งหมายของการขัดเกลาทางสังคม 1. เป็นการปลูกฝังระเบียบวินัยแก่สมาชิกในสังคม 2. เป็นการปลูกฝังความมุง่ หวังทีส่ ังคมยกย่อง 3. สอนสมาชิกในสังคมให้รู้จักบทบาทและหน้าที่ของตนตามกาลเทศะและความเหมาะสม 4. สอนให้สมาชิกในสังคมเกิดความชานาญหรือทักษะที่จะร่วมกิจกรรมกับผู้อื่นในสังคม

5


เครื่องมือที่ใช้ในการอบรมสั่งสอนหรือขัดเกลาทางสังคม 1. บรรทัดฐาน (Norms) 2. ค่านิยม (Values) 3. ความเชื่อ (Beliefs) ดังนั้น การที่สังคมไทยจะดารงค่านิยมที่ดีงามและอนุรักษ์ประเพณีลอยกระทงไว้ได้เป็นอย่างดีนั้น ตัวแทน การถ่ายทอดทางสังคมแต่ละกลุ่มควรจะมีบทบาทต่อไปนี้ 1. ครอบครัว เป็นตัวแทนสาคัญที่สุดในการทาหน้าที่ขัดเกลาทางสังคม เพราะเป็นสถาบันแรกที่เด็กจะได้ ระบุการอบรมสั่งสอนและจะมีความผูกพันทางสาย โลหิตอย่างลึกซึ้ง ซึ่งจะมีผลทางอารมณ์ ความประพฤติ เจตคติ ตลอดจนบุคลิกภาพของบุคคลมากที่สุด ผลการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์พบข้อเสนอว่า พ่อแม่ต้องแสดงการรักษาประเพณีลอยกระทงที่มีมาแต่ ดั้งเดิม โดยการเป็นแบบอย่างที่ดี การอบรมสั่งสอนเน้นโดยเฉพาะในเด็กเพศชายซึ่งรับการถ่ายทอดการอนุรักษ์ วัฒนธรรมได้น้อยกว่าเด็กเพศหญิง การอบรมสั่งสอนลูกความเน้น การควบคุม คู่ไปกับการการให้ความรัก มิใช่ให้ แต่ด้านใดด้านหนึ่งเพียงอย่างเดียว 2. กลุ่มเพื่อน เป็นตัวแทนที่ทาหน้าที่ขัดเกลาทางสังคมอีกหน่วยหนึ่ง เนื่องจากกลุ่มแต่ละกลุ่มย่อมมี ระเบียบ ความเชื่อและค่านิยมเฉพาะกลุ่มตนเอง ซึ่งอาจแตกต่างกันออกไป ตามลักษณะกลุ่ม เช่น การแต่งกาย กลุ่มเดียวกันก็จะแต่งกายคล้ายๆ กัน ผลการวิจัยทางพฤติก รรมศาสตร์พบข้อเสนอว่า การมีป ฏิสัมพันธ์ที่ ดีต่อกั นระหว่างเพื่อนและตัวเด็ก เยาวชน จะทาให้มีการแลกเปลีย่ นเรียนรู้สงิ่ ต่างๆ ที่สนใจและถนัดร่วมกันและมีความจริงใจ สามารถปรึกษาหารือ ร่วมกันได้ทั้งเรื่องการเรียนและการวางแผนอนาคต และ สนับสนุนให้เยาวชนปฏิบัติตามกฎระเบียบของ สังคม เพื่อนที่ดีจะสื่อสารขัดเกลาหรือแนะนาสิ่งที่ดีให้แก่กันและกัน การเลือกคบเพื่อนจึงเป็นสิ่งสาคัญ ดังคากล่าวที่ว่า “คบคนพาล พาลพาไปหาผิด คบบัณฑิต บัณฑิตพาไปหาผล” 3. สถาบันการศึกษา เป็นตัวแทนสังคมที่ทาหน้าที่โ ดยตรงในการขัดเกลาสมาชิกตั้งแต่ในวัย เด็กจนถึง ผู้ใหญ่ ทั้งในขั้นก่อนการมีอาชีพ ขั้นการประกอบอาชีพ โดยอบรมด้าคุณธรรม จริยธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี ต่างๆ ของสังคม ตลอดจนค่านิยมและทัก ษะอันจ าเป็นให้แก่ สมาชิก ในสัง คม หน้าที่ ของสถาบันการศึกษาที่ เกี่ยวข้องกับการขัดเกลาทางสังคมส่วนหนึ่งคือ การถ่ายทอดความรู้ วัฒนธรรม และทักษะ อันจาเป็นในการดารง ชีพของสมาชิกในสังคมและการสร้างกลุม่ เพื่อนเป็นหน้าที่แฝงของสถาบันการศึกษา ซึ่งก่อให้เกิดการรวมกลุ่มเพื่อน เพื่อสนองความต้องการทางจิตใจของสมาชิกในสังคม 6


ผลการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์พบข้อเสนอว่า โรงเรียนเป็นแม่แบบที่ดีในการหล่อหลอมและกล่อมเกลา ให้เด็กมีความสานึกในความเป็นไทย มีความหวงแหนในขนบธรรมเนียมประเพณี ให้เด็กมีจิตสานึกในด้านคุณธรรม และจริยธรรม สถาบันการศึกษาทุกระดับเป็นสถาบันหลักที่ทาหน้าที่ขัดเกลาทางสังคมในระดับปฐมภูมิต่อจาก ครอบครัว ดังนั้น ควรส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนได้รับการถ่ายทอดค่านิยมที่ดีงามโดยการปลูกฝังระเบียบวินัยของ สมาชิกในสังคม มีความเข้าใจความมุ่งหวังที่สังคมยกย่อง รวมทั้งบรรทัดฐานทางสังคม รู้จักบทบาทและหน้าที่ของ ตนตามกาลเทศะและความเหมาะสม และมีความชานาญหรือทักษะที่จะร่วมกิจกรรมกับผู้อื่นในสังคม 4. ศาสนา เป็นตัวแทนในการขัดเกลาจิตใจของคนในสังคมยึดมั่นในสิ่งที่ดีงาม มีศีลธรรม จริยธรรม และ ความประพฤติในทางที่ถูกที่ควรโดยศาสนาจะมีอิทธิพลทางจิตวิทยาต่อบุคคล ในการสร้างบุคลิกภาพเป็นอย่างมาก ศาสนามีหน้าที่หลักอยูส่ องประการคือ หน้าที่ต่อบุคคลและหน้าที่ตอ่ สังคม หน้าที่ต่อบุคคลคือ สนองความ ต้องการส่วนตัวของบุคคลในด้านอยากรู้อ ยากเห็น การแสวงหาสิ่ง ที่เป็ นสาระในชีวิต และการแสดงออกทาง อารมณ์ ส่วนหน้าที่ต่อสังคมคือ ช่วยให้บุคคลมีการเรียนรู้เพื่อปรับตัวให้สอดคล้องกับบรรทัดฐาน ค่านิยมในสังคม และช่วยให้มีอุดมคติในการดาเนินชีวิต ในอดีตจะเห็นได้ว่าสมัยก่อนสถาบันทางศาสนามีอิทธิ พลต่อการขัดเกลา ทางสั ง คมแก่ บุคคลมาก วัดและพระสงฆ์นับ เป็นศูนย์ก ลางของการอนุเ คราะห์ชุม ชนในด้านต่างๆ เช่นด้าน การศึกษา ศิลปวัฒนธรรม และพิธีกรรมต่างๆ อีกทั้งยังเป็นผู้ทาหน้าทีเ่ ป็นผูใ้ ห้การอบรมสั่งสอนหลักธรรมทางพุทธ ศาสนาแก่กลุ่มบุคคลทุกเพศทุกวัย ไม่เลือกชั้นวรรณะ ทั้งโดยทางตรงด้วยการเทศนาสั่งสอนภายในวัดและตาม สถานที่ต่างๆ ภายนอกวัด และโดยทางอ้อมด้วยการอบรมสั่งสอนผ่านทางสื่อมวลชนประเภทต่างๆ เพื่อให้กลุ่ม บุคคลทั่วไปในสังคมได้ประพฤติปฏิบัติตนได้อย่างเหมาะสมตามวิถีชีวิตของชาวพุทธ และตั้งมั่นในระเบียบประเพณี อันดีงามตามวัฒนธรรมไทย แต่ปัจจุบันสภาพสังคมที่มีความซับซ้อนทาให้บทบาทในการขัดเกลาทางสั งคมของ สถาบันศาสนาจึงลดน้อยลงทั้งทางตรงและทางอ้อม ดังนั้นสถาบันศาสนาต่างๆ ควรเพิ่มบทบาทการขัดเกลาทางสังคมให้ยึดมั่นในระเบียบประเพณีอันดีงาม ตามวัฒนธรรมไทยมากขึ้น ไม่เอนเอียงไปตามกระแสสังคมที่เปลี่ยนแปลง เพื่อเป็นที่พึ่งแก่ให้เด็กและเยาวชน และ สังคมได้ดังที่ผ่านมาในอดีต 5. สื่อมวลชน มีอิทธิพลต่อการเรียนรู้ข้อมูลข่าวสารของสมาชิกในสังคม มีส่วนในการขัดเกลาทางสังคม แก่มนุษย์ในด้านต่างๆ ทั้งด้านความคิด ความเชื่อ แบบแผนการประพฤติปฏิบัติ สื่อมวลชนมีลักษณะแตกต่างไปจากตัวแทนในการถ่ายทอดทางสังคมประเภทอื่นที่ไม่ได้เกี่ยวข้องกับการ ปฏิ สั ม พั น ธ์ กั น ระหว่ า งบุ ค คลโดยตรง สื่ อ มวลชนเป็ น รู ป แบบของการเผยแพร่ ข้ อ มู ล ข่ า วสารต่ า งๆ จาก ผู้ส่งไปยังผู้รับจานวนมากซึ่งอยู่ห่างไกลกันได้ในเวลาอันรวดเร็วหรือในเวลาเดียวกันก็เป็นไปได้โดยผ่านเครื่องมือ 7


สื่อสารที่ไม่เ ป็นบุคคล สื่อมวลชนในปัจจุบันมีหลากหลายประเภท ตัวอย่างเช่น วิทยุ โทรทั ศน์ ภาพยนตร์ สื่อ สิ่งพิมพ์ วิดีทัศน์ แผ่นซีดี และอินเตอร์เน็ต บทบาทหน้าที่ของสื่อมวลชน มี ลักษณะใหญ่ ๆ อยู่ 2 ประการคือ บทบาททางพุทธิปัญญา (Intellectual) เป็นบทบาทที่สาคัญของสื่อมวลชนที่จะต้องเสริมสร้างความรู้และให้การศึกษาแก่มนุษย์ที่อยู่ใน สังคมให้ได้รับประโยชน์มากที่สุด การแถลงข่าวสารเพื่อให้สังคมได้รับทราบเป็นหน้าที่หลักของประเด็นนี้ ทั้งนี้ เพราะในสังคมมีเหตุการณ์เกิดมากมายจนไม่สามารถจะติดตามรับรู้ได้เพียงอย่างเดียว สื่อมวลชนจึงช่วยรวบรวม เสนอข่าวคราวให้ได้รับทราบอย่างเพียงพอ บทบาททางด้านจิตวิทยาสังคม (Social Psychology) บทบาทด้าน นี้ เพื่อเป็นการบารุงขวัญและสร้างพลังจิตใจของสมาชิกในสังคมให้ดีขึ้น บทบาทของสื่อมวลชนที่นับวันจะมีอิทธิพลในการชี้นาการเปลี่ยนแปลงในสังคม ดังนั้น สื่อมวลชนต้อง พิจารณาด้วยว่า การส่งสารไปยังผู้รับสาร ด้วยการใช้สื่อหรือช่องทางต่างๆ มีผลในการโน้มน้าวจิตใจให้เกิดผลใน การให้เกิดการรับรู้ หรือเปลี่ยนทัศนคติ หรือให้เปลี่ยนพฤติกรรมอย่ างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง สื่อจึงต้องมี บทบาทที่เหมาะสมเพื่อช่วยให้มีการโน้มน้าวสังคมในทางบวกด้วยการรักษาวัฒนธรรมประเพณีอันดีงามของไทย ต่อไป หรือสื่อต้องมีบทบาทในการเป็นผู้ บทบาทหน้าที่ของสื่อมวลชนในการเป็นผู้พิทักษ์วัฒนธรรมไทย สื่อมวลชนควร ส่งเสริมให้คนไทยตระหนักถึงความสาคัญการลอยกระทงของไทย ควรรณรงค์ให้คนไทยรู้สึก รัก และหวงแหน ควรส่งเสริมให้เกิด การอนุรักษ์การประพฤติปฏิบัติดั้งเดิมไว้ไม่ให้สูญหาย

รายการอ้างอิง กระทรวงวัฒนธรรม. (2552). ลอยกระทง ประเพณีลอยกระทง. http://www.mculture.go.th/detail_page.php?sub_id=2339 ชานาญ ไชยศร. (2553 แนวหน้า). วันลอยกระทง..”คืนบาป” จับตานานาอุบัตเิ หตุ-คดีข่มขืนพุ่ง. http://soclaimon.wordpress.com/2011/02/15/%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%99 %E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0 %B8%97%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%B7%E0%B8%99%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%9B%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%95/ ทีมข่าวอาชญากรรม. (2553). ต้อง(ช่วยกัน)เฝ้าระวัง! วันเพ็ญลอยกระทง "คืนวันเสียตัว"!. http://www.manager.co.th/Crime/ViewNews.aspx?NewsID=9530000163852

8


พระครูพสิ ณฑ์กจิ จาทร (เทิดทูน เชื้อเงินเดือน). (2554). ศึกษาวิเคราะห์คุณค่าของประเพณีลอยกระทง. ปริญญานิพนธ์ พธ.ม.(พระพุทธศาสนา). พระนครศรีอยุธยา: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬา ลงกรณราชวิทยาลัย. พระพิมลธรรม แดงทอง. (2548). การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมและเศรษฐกิจตาบลบางใบไม้ อาเภอเมือง จังหวัดสุราษฏ์ธานี. www.culture.go.th/research/south/48_7.html พรรณสิริ กุลนาถศิร.ิ (2552). เตือนระวังเด็กจมน้าคืนวันลอยกระทง (ไทยโพสต์). http://hilight.kapook.com/view/53728 ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ (TCELS). (2555). เตือน 9 อันตราย "วันลอยกระทง" ที่ไม่ควร มองข้าม. http://www.thaihealth.or.th/healthcontent/article/31517 สานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดอุทยั ธานี. (2553). พม. เตือนภัย! วัยรุ่นเสี่ยง เสีย ตัว "ลอยกระทง". http://www.uthaithani.m-society.go.th/Downlonddocument/Lod.html หนังสือพิมพ์ไทยโพสต์. (2551). พม. ชี้วัยรุ่นเสี่ยงเสียตัว "ลอยกระทง" สารวจพบมีแอลกอฮอล์เป็น เครื่องกระตุ้น. http://www.thaihealth.or.th/healthcontent/news/6502 นรินทร์ชัย พัฒนพงศา. (2542). การสื่อสารรณรงค์เชิงยุทธศาสตร์เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรมนุษย์เน้นการ เจาะจงกลุ่ม. เชียงใหม่: สานักพิมพ์รั้วเขียว. ดลใจ ถาวรวงศ์ ตันเจริญ. (2553). กระบวนการขัดเกลาคุณธรรมจริยธรรมของเยาวชนต้นแบบ จังหวัด ฉะเชิงเทรา. ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)สาขาวิชาการศึกษาและการพัฒนาสังคม. มหาวิทยาลัยบูรพา, 2553 มหาวิทยาลัยบูรพา. ดุลยา จิตตะยโศธร. (2552, ตุลาคม– ธันวาคม). รูปแบบการอบรมเลี้ยงดู: แนวคิดของDiana Baumrind (Diana Baumrind’s Parenting Styles). วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยหอการค้า ไทย.29( 4): 173.สืบค้นเมือ่ 14 พฤศจิกายน 2555,จาก http://www.utcc.ac.th/public_content/files/001/29_4-14.pdf ดุษฎี โยเหลา. (2535). การสังเคราะห์งานวิจัยทีเ่ กี่ยวข้องกับการอบรมเลี้ยงดูเด็กในประเทศไทยโดยใช้ การวิเคราะห์เมต้า. รายงานการวิจัย ฉบับที่ 47. สถาบันวิจยั พฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนคริ นทรวิโรฒ. วรัญชภรณ์ พลเขตร์ และ ณัฐวุฒิ เจริญไชย. (2554). เทศกาลออกพรรษาและลอยกระทง ระวังภัยจาก “พลุ ประทัดและดอกไม้ไฟ”. จุลสารงานเฝ้าระวังการบาดเจ็บ ศูนย์อุบัติเหตุและวิกฤตบาบัด โรงพยาบาลศูนย์ขอนแก่น ฉบับที่ 5/2554.

9


วิชัย ภู่โยธิน สุคนธ์ สินธพานนท์ พิวรรษา นภารัตน์ และ ดิษยา ภุศลภุชฌงค์. (2551). หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดาเนินชีวิตในสังคม ม.4-ม.6. ใน ไพศาล ภู่ไพบูลย์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. พิมพ์ครัง้ ที่ 1. กรุงเทพ: อักษรเจริญทัศน์. ลัดดาวัลย์ พรศรีสมุทร; และวิลาสลักษณ์ ชัววัลลี. (2524).ครอบครัวกับการอนุรกั ษ์วัฒนธรรมทางจิตใจ ของไทย.สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. นิตยา ปริญญาปริวัฒน์. (2548). การขัดเกลาทางสังคมศึกษา: ศึกษาเฉพาะกรณีวัยรุ่นทีม่ ีประสบการณ์ยุติ การตั้งครรภ์. วิทยานิพนธ์ ศศ.ม.(สังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข). มหาวิทยาลัยมหิดล. สงวน สุทธิเลิศอรุณ. (2543). พฤติกรรมมนุษย์กบั การพัฒนาตน. กรุงเทพฯ: อักษราพิพฒ ั น์. อัจฉรา สุขารมณ์. (2531). “การถ่ายทอดทางสังคมกับงานของสถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์,” ใน ประมวลบทความวิชาการด้านพฤติกรรมศาสตร์. สถาบันวิจยั พฤติกรรมศาสตร์. หน้า 54-58. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. อาไพพรรณ ปัญยาโรจน์. (2545). การอบรมเลี้ยงดูเด็กก่อนวัยเรียน. กรุงเทพฯ: คณะวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี สถาบันราชภัฏจันทรเกษม. Brenner, E.M. & Salovey. P. (1997). “Emotion Regulation During Childhood : Developmental, Interpersonal, and Individual Consideration, ” in Emotional Development and Emotional Intelligence. Edited by Salovey, P. & Sluyler, D.J. p. 169-176. NY: BasicBooks.

10


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.