overall details before the mid-term test

Page 1

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ แนวคิ ด ทฤษฎี เ กี่ ย วกั บ การเปลี่ ย นแปลงทางสั ง คมและวั ฒ นธรรม (Socio–Cultural Theories) 1. แนวคิดทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม 3 ขั้นตอนตามทรรศนะของ กองต (Comte’s Three Stages of Social Change) กองต (Comte, 1988 : 9-15) นัก สั งคมวิท ยา ชาวฝรั่งเศสไดเสนอแนวความคิดใน เรื่องวิวัฒ นาการ (evolution) ทางสังคม-วัฒ นธรรม โดยแบงสังคมออกเปนสองสวนดวยกันคือ สังคมสถิตย (social statics) และสังคมพลวัต (social dynamics) เรื่องแรกเป น แนวคิดวาด วย โครงสรางของสังคมที่เปนระบบแบบองครวม (holism) ประกอบดวยสถาบันหรือสวนตาง ๆ ทาง สังคม แตละสวนของสถาบันตางก็ทําหนาที่ของตนเองประสานกับสวนอื่น ๆ (parts) ในลักษณะที่ ตางฝายเอื้อตอกัน สนับสนุนพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน (interdependent) เปนเรื่องเกี่ยวกับความ เปนระเบียบหรือความสอดคลองหรือความสอดคลองของเงื่อนไขตาง ๆ ที่ทําใหมนุษยอยูในสังคม ไดเปนปกติ เมื่อสวนหนึ่งสวนใดของสังคมเปลี่ยนแปลงก็จะมีผลกระทบถึงสวนอื่น ซึ่งตองปรับ เปลี่ยนตามไปดวย เมื่อปรับตัวไดสังคมก็สามารถดําเนินตอเนื่องมาเรื่อย ๆ จวบจนปจจุบัน สวน เรื่องหลังเปนแนวคิดวาดวยการเปลี่ยนแปลงทางสังคม-วัฒนธรรมเนนการเปลี่ยนแปลงทางสังคมวัฒนธรรมในแงของวิวัฒนาการ ซึ่งกองตแบงขั้นตอนวิวัฒนาการออกเปน 3 ขั้นตอนดังนี้ (Coser, 1977 : 7-8) 1) ขั้นเทววิทยาหรือขั้นนิยาย (the theological or fictitious stage) 2) ขั้นอภิปรัชญาหรือขั้นแหงเหตุผลตามหลักปรัชญา (the metaphysical or abstract stage) 3) ขั้นวิทยาศาสตรหรือปฏิฐานนิยม (the scientific or positive stage) ขั้นตอนทั้งสามเหลานี้สอดคลองกับลําดับของวิวัฒนาการทางปญญาและการจัดระเบียบ ของสังคม ดังแสดงไวในตาราง 1

10


11

ตาราง 1 แนวคิดทฤษฎี 3 ขั้นตอนแหงวิวัฒนาการทางสังคมและภูมิปญญาตามทรรศนะ ของกองต

ทิศทางแหง วิวัฒนาการ : แนวตั้ง (vertical)

ขั้นตอน วิวัฒนาการ วิทยาศาสตร (positivistic stage) อภิปรัชญา (metaphysical stage)

เทววิทยา (theological stage)

ลักษณะความเชื่อ ภูมิปญญา สังคมและ วัฒนธรรม ความเชื่อ/องค สังคม ผูนํา ความรู เนนวิทยาศาสตร อุตสาหกรรม นักวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี ทันสมัย เนนเหตุผลตาม สังคมที่อยูใน ปรัชญาเมธี หลักปรัชญา / ระหวางการ ปฏิเสธอํานาจลึก เปลี่ยนผานจาก ลับเหนือธรรม สังคมเกษตร ชาติที่ขาดเหตุผล กรรมเปนสังคม อุตสาหกรรม เนนศาสนาและ เกษตรกรรม พ ระหรื อ ศาสน อํานาจลึกลับ เมธี เหนือธรรมชาติ

ที่มา : ดัดแปลงจากเทอรเนอร และเบอคเลย (Turner and Beeghley, 1981 : 48) ทฤษฎี 3 ขั้นตอนของกองตที่เสนอไวขางตนแสดงใหเห็นวิวัฒนาการทางความคิดและ พัฒนาการทางวัตถุ (วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี) สังคมและวัฒนธรรมของมนุษย กองตเชื่อวา การศึกษาเกี่ยวกับความคิดและภูมิปญญามีสวนทําใหเกิดความเขาใจการเปลี่ยนแปลงสังคมและ วัฒนธรรมของแตละสังคม แนวคิดทฤษฎีของกองตโดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงในแนววิวัฒนาการ จากสังคมเกษตรไปเปนสังคมอุตสาหกรรมจะเปนกรอบเชิงทฤษฎีชวยใหผูวิจัยสรางกรอบแนวคิด เกี่ยวกับสังคมลาว เมื่อมองภาพรวม (Holism) ซึ่งในขณะนี้มีแนวโนมจะเปลี่ยนจากสังคมเกษตร กรรมเขาสูสังคมอุตสาหกรรมแมยังเปนภาพพรามัวไมชัดเจน แตก็เปนไปตามกระบวนทัศนตามที่ กองตเสนอไว


12

2. แนวคิดทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงตามทรรศนะของมารกซ : ทฤษฏีความขัดแยง (Conflict Theory) มารกซ (Marx, 1971 : 1-23) เปนนักปรัชญา นักเศรษฐศาสตร นักสังคมวิทยาและนัก ประวัติศาสตร ไดเสนอทฤษฎีชนชั้นและความขัดแยงระหวางชนชั้น (class and class conflict theory) จุ ด เริ่ม ต น แห ง การเปลี่ ย นแปลงทางสั ง คมและวัฒ นธรรมแนวของวั ต ถุ นิ ย มวิภ าษวิ ธี (dialectical materialism) เปนการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมที่เปนไปตามหลักวิภาษ วิธี กลาวคือ บทเสนอ (thesis) บทแยง (anti-thesis) และบทสังเคราะห (synthesis) โดยมีเงื่อนไข ทางเศรษฐกิจเป น สาเหตุ ห ลั ก (economic determinism) หรือเป น ตัวแปรอิสระ (independent variables) มารก ซ เชื่ อ ว า สสารหรือ วัต ถุ ก ล า วคื อ เศรษฐกิ จ กํ า หนดหรือ ลิ ขิต ความเป น ไปของ สภาวะที่เปนนามธรรมกลาวคือ ระบบความเชื่อ คานิยมและปทัสถานทางสังคมเปนตน (material determines the non-material) เงื่อนไขทางวัตถุกลาวคือ ระบบเศรษฐกิจจะเปนตัวกําหนดหรือ ลิขิตความเปนไปของสังคม (society is rooted in material condition of life) สังคมตามทรรศนะ ของมารกซประกอบดวยโครงสรางพื้นฐาน (infrastructure) คือ ระบบเศรษฐกิจและโครงสรางสวน บน (superstructure) คือ โครงสรางหรือสถาบั น ทางสังคมอื่น ๆ นอกจากระบบเศรษฐกิจ เชน ครอบครัว ศาสนา และการเมืองเปนตน โครงสรางทั้งสองสวนนี้จะเปลี่ยนแปลงไปตามกฎของ วิภาษวิธี (dialectics) ซึ่งเปนการพัฒนาแบบวิวัฒนาการ (evolutionary development) (Kinloch, 1977 : 108) มารกซเสนอวา ประวัติศาสตรของสังคมมนุษยทั้งหลายทั้งปวง แตอดีตจนถึงปจจุบัน เป น ประวั ติ ห รือ ความเป น มาของการต อ สู ระหว า งชนชั้ น (the history of all hither to existing society is history of class struggles) (Marx, 1989 : 9) ขอความหรือประพจนนี้สะทอนขอเท็จ จริงในประวัติศาสตรของมนุษยชาติวา สังคมประกอบดวยชนชั้นและมีความขัดแยงทางสังคม ซึ่ง นําไปสูการตอสูระหวางชนชั้นอยางนอย 2 กลุมขึ้นไป ความขัดแยงทางสังคมเชนนั้นเปนจุดเริ่มตน ของการเปลี่ยนทางสังคมจากสถานภาพหนึ่งไปยังอีกสถานภาพหนึ่ง ภายใตเงื่อนไขดานเศรษฐกิจ กาละและเทศะ ซึ่ งก็ เป น ไปตามกฎวิภ าษวิธี การเปลี่ ย นแปลงโดยนั ย ดั งกล า วมี ลั ก ษณะเป น พัฒนาการที่มีขั้นตอนตามหลักวิวัฒนาการที่ทําใหเกิดความเจริญกาวหนาทางวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี ในประวัติหรือความเปนมาของสังคมมนุษยมีหลากหลายรูปแบบและประดิษฐขึ้นเพื่อ ใชเปนกลไกชวยวิถีชีวิตมนุษยพัฒ นาอยางตอเนื่อง มารกซไดอธิบายวา ถามีการเปลี่ยนอยูใน ระบบการผลิตแลวในสวนอื่นของสังคมก็เปลี่ยนแปลงไปดวย เขาไดแบงขั้นตอนของประวัติศาสตร


13

สังคมมนุษยออกเปน 5 ขั้นตอน ซึ่งขึ้นอยูกับลักษณะของความกาวหนาและความเจริญของแบบ วิธีการผลิตของสังคมดังนี้ (Kinloch, 1977 : 104-105) 1) สังคมคอมมิวนิสตแบบดั้งเดิม (primitive communism) 2) สังคมทาส (slavery) 3) สังคมศักดินา (feudalism) 4) สังคมทุนนิยม (capitalism) 5) สังคมนิยม (socialism) 6) สังคมที่มารกซคาดวาจะเปนขั้นตอนสุดทายไดแกสังคมคอมมิวนิสต (communism) ณ จุดนี้จึงมีคําถามหลัก 3 ขอคือ : 1) ชนชั้นคือใคร 2) ทําไมจึงมีความขัดแยงระหวาง ชนชั้นและ 3) ปญหาเกี่ยวกับความขัดแยงไดรับการแกไขอยางไร ตอคําถามแรก มารกซระบุวา เงื่อนไขทางเศรษฐกิจ กลาวคือ แบบแผนการผลิต เปน เงื่อนไขใหเกิดชนชั้น กลาวคือ ผูเปนเจาของปจจัยในการผลิต (owners of means of production) เปนกลุมหนึ่งซึ่งเรียกวา ชนชั้นกฎมพีหรือนายทุน (bourgeoisie) และอีกกลุมหนึ่งผูซึ่งเปนผูขาย แรงงานเพื่อคาตอบแทนในรูปของคาจาง เรียกวา ชนชั้นกรรมาชีพ (proletariat) คน 2 กลุมนี้มี ปฏิสัมพันธตอกันและกันเพื่ อผลตอบแทนดานเศรษฐกิจใตระบบเศรษฐกิจในแตละยุค (Marx, 1989 : 14-21) ต อ คํ า ถามที่ ส อง มาร ก ซ ต อบว า เพราะผู เ ป น เจ า ของป จ จั ย ในการผลิ ต เอารั ด เอาเปรียบ (exploitation) ฝายที่ใชแรงงานในรูปของมูลคาสวนเกิน (surplus value) กลาวคือ การ ขูดรีดแรงงานกรรมกรโดยฝายนายจาง การเอารัดเอาเปรียบในเรื่องแรงงานนี้จะทําใหฝายเสีย เปรียบลุกขึ้นตอสูในรูปแบบตาง ๆ ซึ่งก็เปนไปตามหลักของฝายเสนอและฝายแยง (thesis and anti-thesis) ยิ่งมีการเอารัดเอาเปรียบสูงก็ยิ่งมีความขัดแยงสูงระหวางชนชั้นดังกลาว ซึ่งอาจจะมี ความรุนแรงมากหรือนอยจนกลายเปนสงครามระหวางชนชั้นหรือไมนั้นขึ้นอยูกับการตอรองหรือ การประณีประนอมของทั้ง 2 ฝาย (Giddens, 1992 : 46-52) ตอคําถามที่สาม มารกซพบวาเทาที่เปนมาในอดีตความขัดแยงระหวางชนชั้นจะยุติได ก็ตอเมื่อทั้งสองฝายหาขอยุติที่ตางฝายก็ไดรับประโยชนรวมกัน ซึ่งเปนจุดสมดุลทางสังคมอันเกิด จากการเปลี่ยนแปลงโครงสรางสังคมและวัฒ นธรรม (synthesis) แตในกรณีของสังคมทุนนิยม ความขัดแยงคอนขางจะรุนแรง เพราะชนชั้นกรรมาชีพถูกเอารัดเอาเปรียบในรูปของมูลคาสวนเกิน ในอัตราสูง โดยเจาของปจจัยในการผลิต (นายทุน) ในขณะเดียวกันทั้ง 2 ฝายก็มีจุดยืนคนละขั้ว มารกซจึงเสนอแนวทางในการแกหรือขจัดความขัดแยงระหวางชนชั้นดวยการปฏิวัติ โดยชนชั้น


14

กรรมาชีพ โดยประกาศมาตรการหรือบัญ ญั ติ 10 ประการในการประชุมสันนิบาตคอมมิวนิสต นานาชาติ ณ กรุงลอนดอน เมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2390 (ค.ศ. 1847) ซึ่งมีสาระสําคัญดังนี้ (Marx, 1989 : 30-31 และประจิตร มหาหิง, 2529 : 49-50) 1) เลิกลมกรรมสิทธิ์ในที่ดินและใชคาเชาที่ที่จัดเก็บจากที่ดิน เพื่อสาธารณประโยชน 2) จัดเก็บภาษีรายไดแบบกาวหนา 3) เลิกลมสิทธิแหงการรับมรดก 4) ยึดทรัพยสินของผูอพยพออกนอกประเทศและผูเปนขบถทั้งหลาย 5) จัดใหมีศูนยเครดิตรวมอยูในมือของรัฐ โดยใหมีธนาคารแหงชาติพรอมกับเงินทุน จากรัฐบาลและใหรัฐบาลเปนผูผูกขาดในเรื่องเครดิต 6) จัดใหมีบริการดานการขนสงและการคมนาคม และใหมีศูนยกลางอยูในมือของรัฐ 7) ใหมีการขยายโรงงานและขยายเครื่องมือเครื่องใชในการผลิตที่รัฐเปนเจาของ ใหมี การเพาะปลูกในที่ดินที่ปลอยรกรางไว และใหมีการปรับปรุงคุณภาพของที่ดินภายใตแผนเดียวกัน 8) ใหทุกคนมีพันธะเทากันที่จะตองทํางาน 9) รวมเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมเขาดวยกัน และใหลดขอแตกตางระหวางเมือง กับชนบท 10) ใหการศึกษาแบบใหเปลาและใหลมเลิกการใชแรงงานเด็ก การศึกษาตองสอด คลองกับการผลิตชนิดอุตสาหกรรม หลักคอมมิวนิสต 10 ประการนี้ไดกลายเปนปรัชญาและแนวนโยบายของกลุมประเทศ สั ง คมนิ ย มแบบคอมมิ ว นิ ส ต เช น สหภาพโซเวีย ตและจีน รวมทั้ งประเทศลาว หลั งจากพรรค ประชาชนปฏิ วั ติ ล าวได เข า ยึ ด ครองประเทศลาว เมื่ อ ป พ.ศ. 2518 จนกระทั่ ง ป จ จุ บั น หลั ก คอมมิวนิสตดังกลาวเปนนโยบายสาธารณที่จะชวยใหผูวิจัยศึกษาขอเท็จจริงเกี่ยวกับการเปลี่ยน แปลงในสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวป พ.ศ. 2518 จนถึงป พ.ศ. 2544 3. ทฤษฎี ความขั ด แย งหลั งจากกองต แ ละมารก ซ (Later Devepment of Conflict Theory after Comte and Marx) ในการพัฒนาแนวคิดทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมหลังจากกองต และมารกซ มีนั กสังคมศาสตรหลายคนโดยเฉพาะนักสังคมวิทยา เชน เอมิล เดอรไคม (Emile Durkheim / 1858-1917) แมกซ เวเบอร (Max Weber / 1864-1920) พาสันส (Talcott Parsons / 1902-1979) โค เซ อ ร (Lewis Coser / 1913- ) เว็ บ เล น (Thorstein Veblen / 1857-1929) ลู กั ช ส (Geog Lukacs / 1885-1971) ฮอร ไ คเมอร (Max HorKheimer / 1895-1973) อาโดร โ น


15

(Theodor Adornol / 1903-1969) มิ ลส (C.Wright Mills / 1916-1962) และดาห เรนดอรฟ (Ralf Dahrendorf / 1916- ) เปนตน ไดอธิบายขยายความแนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับความขัดแยงทั้งที่ เห็นดวยและขัดแยง นักสังคมวิทยารุนบุกเบิกทั้ง 2 คน 4 คนแรกเห็นดวยกับทรรศนะของกองต และไดพัฒนาทฤษฎีสังคมวิทยาแนวหรือสํานักหนาที่นิยม สวนอีก 6 คนหลังเห็นดวยกับมารกซ และไดพัฒนาทฤษฎีสังคมวิทยาสํานักความขัดแยง แตอยางไรก็ตามผูวิจัยไดนําใชแนวคิดทฤษฎี เกี่ยวกับความขัดแยงทางสังคมและวัฒนธรรมเทานั้น เชน พาสันส โคเซอร และดาหเรนดอรฟ ซึ่งเปนทรรศนะที่เอื้อตองานการวิจัยครั้งนี้ โคเซอร (Coser, 1956 : 34-49) ไดอธิบายวาความขัดแยง (conflict) มีผลทั้งดานบวก และดานลบ ความขัดแยงเปนสวนหนึ่งของกระบวนการขัดเกลาทางสังคม และไมมีสังคมใดที่จะมี ความสุขไดอยางสมบูรณโดยไมมีความขัดแยงเลย ความขัดแยงในสังคมเปนสิ่งที่หลีกเลี่ยงไมได เพราะปจเจกบุคคลตางก็มีทั้งรักและทั้งเกลียดอยูในตัว ดังนั้นความขัดแยงจึงเปนสวนหนึ่งใน มนุษย ความขัดแยงเปนทั้งการทําลายและการสรางสรรค เพราะความขัดแยงเปนสวนหนึ่งของ การแกไขปญ หาเพื่อนําไปสูความเปนเอกภาพได ความขัดแยงเปนการกระตุน ที่กอใหเกิดการ เปลี่ยนแปลงทางสังคม และกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงไดหลายรูปแบบ เชน เกิดกลุมใหม ๆ ขึ้นมา การลดความรุนแรงและความตึงเครียด หรือทําใหโครงสรางของกลุมมีความซับซอนเพิ่มมากขึ้น หรืออาจทําใหเกิดพันธมิตรกับกลุมอื่นได ความขัดแยงเปนพลังในการกระตุนใหสังคมเกิดมีการ เปลี่ยนแปลง โคเซอร (Coser, 1975 : 207-209) ไดเสนอเพิ่มเติมวา ความขัดแยงไดกอใหเกิดการ แบงแยกและความแตกแยกในชีวิตความเปนอยูของสังคมเปนอยางมาก แตในความเปนจริงแลว มันอาจเปนวิธีการที่กอใหเกิดความสมดุลของสังคม อีกอยางหนึ่งการหนาที่ของความขัดแยงก็คือ การสรางบรรทัดฐานและกฎเกณฑใหมสรางความเปนอันหนึ่งอันเดียวกันใหมระหวางความแตก ตางของกลุม และแกไขปรับปรุงที่อาจเปนไปไดของการแบงแยกที่พาใหเกิดความไมเสมอภาคใน ทางอํานาจและสิทธิอํานาจ ถาปราศจากความขัดแยงสังคมก็จะไมมีการเปลี่ยนแปลง สังคมจะ ขาดพลวัต สําหรับความขัดแยงของสังคมและความสรางสรรคทางสังคม มันไดแสดงใหเห็นถึง ความสั ม พั น ธ กั น ทางสั ง คมที่ มี ค วามมั่ น คง และถ า ปราศจากความสรา งสรรค รว มกั น ก็ จ ะไม สามารถทําใหการเปลี่ยนแปลงทางดานเทคโนโลยีเกิดขึ้นได โคเซอรไดสรุปวา ความขัดแยงใน สังคมตาง ๆ ไดกอใหเกิดนวัตกรรมทางสังคมและการผสมผสานกันทางโครงสรางของสังคมอยาง เขม งวด โดยสรุป ความขั ด แย งทางสั งคมตามทรรศนะของโคเซอรเป น เหตุ แ ละเงื่อ นไขให เกิ ด นวัตกรรมทางสังคมชวยใหระบบสังคมปรับตัวไดอยางมีประสิทธิภาพ (eufunction)


16

ดาหเรนดอรฟ (Dahrendorf, 1959 : 98-101) ไดแยงวา ความขัดแยงอาจจะเปนผล ของการเปลี่ยนแปลงหรือไมก็ได และอาจจะเปนผลของการเปลี่ยนแปลงในรูปแบบตาง ๆ ที่แตก ตางกัน ความขัดแยงไดกอใหเกิดความมีเสถียรภาพที่ไดมีการดําเนินไปอยางตอเนื่อง ซึ่งไมมีผูชนะ ตลอดกาลอยูในระหวางกลุมตาง ๆ ความผูกพั นอยางเหนียวแนนในความสัมพั นธที่เนื่องดวย ความขัดแยง เปนผลของความพายแพของการสรางอํานาจหรือกลุมผูตอตานการปกครอง อาจ เปนผลทั้งหมดหรือบางสวนของระบบที่เนนการเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับการกระจายสิทธิ ทรัพยากร และสิทธิอํานาจใหม นั้นคือกลไกใหเกิดการแกปญหาแนวใหม (resolution) เกี่ยวกับปญหาของ สิทธิตาง ๆ และสิทธิอํานาจที่จะกอใหเกิดการจัดประเภทใหมเกี่ยวกับการวางเงื่อนไขตาง ๆ ทาง สังคมและวัฒนธรรม ดาห เรนดอรฟ (Dahrendorf, 1964 ) ได แสดงทรรศนะเกี่ ย วกั บ ความสั ม พั น ธโครง สรางของความขัดแยงไว 3 รูปแบบดังนี้ 1) ผลประโยชนแอบแฝงของกลุม 2) ผลประโยชนของกลุมไดถูกเปดเผย 3) ความขัดแยงของกลุมที่เกิดขึ้นตามความเปนจริง ดาหเรนดอรฟ ไดแบงแยกสังคมออกสองรูปแบบที่สามารถมีความเจริญเติบโตไดคือ รูปแบบของสังคมที่ถือเอาความคิดเห็นของคนสวนใหญ หรือความลงรอยกัน และความเสมอภาค ของสังคม แตดาหเรนดอรฟก็เห็นดวยกับรูปแบบของมารกซ คือรูปแบบของความขัดแยงและรูป แบบของการเปลี่ยนแปลงของสังคม ซึ่งทฤษฎีดังกลาวไดถูกนําใชก็ตอเมื่อมีการสรุปในฐานะของ มารกซิสแนวใหม ที่ไดพัฒนามาโดยดาหเรนดอรฟ (Dahrendorf, 1990 : 5-7) ดังนี้ 1) ความขัดแยงตาง ๆ เกี่ยวกับผลประโยชนของทองถิ่นใดทองถิ่นหนึ่ง โดยเฉพาะในการดํารงชีวิตของสังคม 2) การกระจายอํานาจที่มีความแตกตางกันในระหวางกลุมและสวน บุคคลในสังคมตาง ๆ 3) การบรรลุตามวัตถุประสงคระเบียบของสังคมในสังคมตาง ๆ โดย ผ านกฎเกณฑ แ ละการควบคุ ม ต าง ๆ ที่ สํา คัญ โดยบุ ค คลที่มี อํ านาจอยา งเดิ ม ที่ ไปสู บุ ค คลที่ มี อํานาจนอย และการบังคับใหปฏิบัติตามกฎหมายโดยผานการลงโทษ 4) โครงสรางของสังคมทั้งสองมีแนวโนมเปนระบบมาตรฐานที่มีอิทธิพลอยางแพร หลาย โดยบุคคลที่มีอํานาจมากไปสูบุคคลที่ออนแอกวาโดยการกําหนดที่ถูกตองที่แสดงใหเห็นผล ประโยชนของบุคคลที่มีอํานาจมากเหลานั้น


17

5) การเปลี่ยนแปลงทางสังคมเปนเหตุที่ทําใหมีความแตกแยกของบุคคลที่มีอํานาจ มากกวาบุคคลที่มีอํานาจนอย ดวยเหตุนี้บุคคลที่มีอํานาจมากโดยทั่วไปจึงนิยมอยากดํารงใน ฐานะผูครองอํานาจใหนานที่สุดเทาที่จะเปนไปได และไมเห็นดวยเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลง เพราะ อาจลดอํานาจของพวกเขาลง 6) การเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่ไดเกิดขึ้นเพราะผลที่ไดรับโดยการกระทําของบุคคล ผูที่มีอํานาจ ดาหเรนดอรฟ ไดอธิบายวาลักษณะของความไมเทาเทียมกันในทางสิทธิอํานาจของ กลุมตาง ๆ ในสังคมไดแบงออกเปนสองกลุม คือ กลุมที่มีอํานาจและไมมีอํานาจ เขาเชื่อวาความ ขัดแยงทางสังคมกําเนิดมาจากโครงสรางของความสัมพันธทางสิทธิอํานาจโดยชอบธรรม กลุม ตาง ๆ มีผลประโยชนแอบแฝงที่ขัดแยงกัน เพราะกลุมที่มีอํานาจก็บํารุงรักษาสถานภาพเดิมเอาไว และกลุมที่ไมมีอํานาจก็มีแนวโนมการตอตาน เพราะกลุมที่ดอยกวาก็จะพัฒนามาเปนกลุมที่มีผล ประโยชนและจะทําใหความขัดแยงรุนแรงขึ้นในที่สุดก็จะนําไปสูการเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสราง โดยสรุปอํานาจตามทรรศนะของดาหเรนดอรฟเปนปจจัยที่กําหนดหรือลิขิตความขัดแยงทางสังคม เพิ่มขึ้นอีกเงื่อนไขหนึ่งแทนที่จะเปนเงื่อนไขทางเศรษฐกิจเพียงอยางเดียว พารสันสเปนนักสังคมวิทยาสํานักหนาที่นิยมชาวอเมริกันอีกคนหนึ่งที่พยายามเสนอ แนวคิดทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมตามทรรศนะของนักสังคมศาสตร โดย เฉพาะอยางยิ่งนักสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเชนโทนนี (Ferdinand Toennies, 1855-1936) ที่ เสนอวาสังคมมีแนวโนมเปลี่ยนจากสังคมแบบชุมชน (Gemeinschaft) ไปเปนสมาคมหรือองคการ ทางสังคมแบบทุติยภูมิ (Gesellschaft) ; คุลี่ย (Charles Cooley, 1864-1929) ที่เสนอวาสังคมมี แนวโนมจะเปลี่ยนจากกลุมปฐมภูมิ (primary group) ไปเปนกลุมทุติยภูมิ (secondary group) ; เรดฟลด (Robert Redfield) ที่เสนอวาสังคมจะเปลี่ยนสังคมชนบท (the rural) ไปเปนสังคมเมือง (the urban) ; เดอรไคมที่เสนอวาสังคมจะเปลี่ยนจากสังคมบูรณาการแบบจักกลนิยม (mechanic solidarity) ไปเปน บูรณาการแบบอิน ทรียนิยม (organismic solidarity) ; ริก ส (Fred. W.Riggs) ที่เสนอวาสังคมจะเปลี่ยนจากสังคมกสิกรรม (agraria) ไปเปนสังคมอุตสาหกรรม (industria) และ เวเบอร (Max Weber, 1864-1920) ที่ เสนอว า สั ง คมจะเปลี่ ย นจากสั ง คมแบบจารี ต ประเพณี (traditional society) ไปเปนสังคมแบบทันสมัย (modern society) เปนตน (Pye, 1968 : 33-36) พารสันสเห็นดวยกับทรรศนะของเดอรไคมและเวเบอร พรอมกับเสนอวาสังคมจะเปลี่ยนแปลงจาก สังคมที่มีโครงสรางและหนาที่แบบเรียบงาย (simplicity) กลายเปนสังคมที่มีโครงสรางและหนาที่ แบบสลับซับซอน (complexity) ซึ่งมีนัยคลายกับทรรศนะของเวเบอรที่เสนอวาสังคมจะเปลี่ยน


18

สังคมแบบสังคมจารีตประเพณีและสังคมสมัยใหมตามทรรศนะของเวเบอร พารสันสเสนอวาสังคม 1) จะเปลี่ยนจากสังคมที่มี โครงสรางที่อาศัยสถานภาพที่ไดมาโดยกําเนิด (ascription) ไปเปน สังคมที่มีโครงสรางที่อาศัยสถานภาพที่ไดมาดวยความสามารถ (achievement) 2) เปลี่ยนจาก สังคมที่สังคมที่มีหนาที่ที่ทําไดหลายอยางแตขาดความชํานาญเฉพาะทาง (diffuseness) ไปเปน สั ง คมที่ มี ห น า ที่ ที่ มี ค วามชํ า นาญเฉพาะทาง (specialization) 3) เปลี่ ย นจากสั ง คมที่ อ าศั ย ปทั สถานที่เปน วิถีประชาและกฎศีลธรรม (folkways and mores) มาควบคุมพฤติ กรรมไปเปน ปทั ส ถานที่ เป น ตั ว บทกฎหมาย (law) 4) เปลี่ ย นจากค า นิ ย มทางสั งคมอิ งศาสนา (religiously oriented value) ไปเปนคานิยมแบบวิทยาศาสตรหรือมีเหตุผล (scientic or rational value) และ 5) เปลี่ยนจากความสัมพันธทางสังคมแบบปฐมภูมิ (primary relationship) ไปเปนความสัมพันธ แบบทุ ติ ย ภู มิ (secondary relationship) (Parsons, 1951 : 76-88) หากจั ด หมวดหมู แ ยกเป น สังคมกสิกรรมและสังคมอุตสาหกรรมหรือสังคมชนบทและสังคมเมือง หรือสังคมสมัยเกาและ สังคมสมัยใหมก็จะมีลักษณะดังปรากฏในแผนภาพ 3 การเปลี่ยนแปลงทางสังคมตามทรรศนะของพารสันส สังคม สังคมกสิกรรมหรือ สังคมอุตสาหกรรมหรือ ตัวแปร สังคมสมัยเกา สังคมสมัยใหม สถานภาพ การเกิด ความสามารถ (ascription) (achievement) บทบาท ไมชัดเจนขาดความชํานาญเฉพาะ ความชํานาญเฉพาะดาน ดาน (diffurseness) (specialization) ปทัสถาน วิถีประชาและกฎศีลธรรม กฎหมาย (folkways / mores) (law) คานิยม อิงศาสนา อิงวิทยาศาสตร (religiously oriented) (scientifically oriented) ความสัมพันธทาง ปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สังคม (primary relationship) (secondary relationship) ที่มา : ดัดแปลงมาจาก Parsons and Shils, 1951 : 77 แผนภาพ 3

แนวคิดเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมดังกลาวขางตนจะชวยใหผู วิจัยกําหนดแนวทางศึกษาของการเปลี่ยนแปลงทางสังคมของสังคมลาว โดยยึดการเปลี่ยนแปลง


19

ในเรื่องสถานภาพ บทบาท ปทัสถาน คานิยมและความสัมพันธทางสังคม ดังแสดงไวในแผนภาพที่ 2 เปนหลัก ซึ่งจะเชื่อมโยงกับแนวคิดการเปลี่ยนแปลงตามทรรศนะของกลุมมารกซิสต (Marxist approach) และแนวคิดการเปลี่ยนแปลงตามทรรศนะของกลุมทุนนิยม (non-Marxist approach) หรือทฤษฎีความทันสมัยแนวคิดทั้งสองตางก็อธิบายถึงการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมที่ มีลักษณะเปนวิวัฒนาการ ซึ่งเปนจุดรวมกันของแนวคิดทฤษฎีทั้งสอง 4. ทฤษฎีความทันสมัย (Modernization) แนวคิดทฤษฎีความทันสมัยเปนแนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะอย างยิ่ งการพั ฒ นาทางเศรษฐกิ จ จากระบบเกษตรกรรมไปเป น อุ ต สาหกรรม ซึ่ งมี ประเด็นที่ควรพิจารณาดังตอไปนี้ แบ ล็ ก ค (Black, 1966 : 1-34) ได อ ธิ บ ายค วาม ห ม ายของความ ทั น สมั ยว า ประวั ติ ศ าสตร ค วามทั น สมั ย ได เ ริ่ ม แต ก ารล ม สลายของอาณาจั ก รคอนสแตนตี โ นโปล (Constantinople) หรือการคนพบทวีปอเมริกาในป ค.ศ. 1492 แตโดยทั่วไปแลวยุคความทันสมัย ไดนับเริ่มตนประมาณป ค.ศ. 1500 ในยุคที่ผานมา ความทันสมัย (modernity) จะพุงประเด็นไปที่ ความกาวหนาในดานเทคโนโลยี การเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม แบล็กคไดอธิบายเพิ่มอีกวา นอกจากคําวา การทําใหทันสมัย (modernization) ที่ใช บรรยายของกระบวนการพัฒนาแลวยังมีคําศัพทอื่นอีกที่ใชอธิบายการเปลี่ยนแปลงพัฒนา เชนคํา วา “Europeanization” และ “Westernization“ เปนคําศัพทที่ถูกนํามาใชเพื่ออธิบายปรากฎการณ ดั ง กล า ว โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง ได อ ธิ บ ายถึ ง ลั ก ษณะสั ง คมต า ง ๆ ที่ พั ฒ นาแล ว แม ว า คํ า ศั พ ท “Europeanization” และ “Westernization“ มีความสําคัญมาก แตก็เปนสวนหนึ่งของกระบวนการ ของการทําใหทันสมัยเทานั้น คําวา “การทําใหเปนตะวันตก” (Westernization) โดยลอกเลียนเอาอยางอังกฤษและ ฝรั่งเศสในศตวรรษที่ 17 และ 18 ก็ดี คําวา การทําใหเปนแบบสังคมยุโรป “Europeanization” ก็ดี คําวา การทําใหเปนอุตสาหกรรม (industrialization) ก็ดีลวนเปนคําที่มีความหมายไมกวางพอที่ จะอธิบายในความหมายของการทําใหทันสมัยใหครอบคลุมไดเพราะวาการทําใหเปนตะวันตกได เนนทางเศรษฐกิจเพียงดานเดียว และทําใหไดรับผลอยางรวดเร็วคือการปฏิวัติทางดานเทคโนโลยี คําวาการทําใหทันสมัยเปนคําที่นิยมใชมากกวา ซึ่งสันนิษฐานไดวาเปนผลที่ไดระเบิดขึ้นอยางตอ เนื่องของการทําใหทันสมัยที่ไดแพรหลายในปลายศตวรรษที่ 20


20

แบล็กคไดใหความหมายของการทําใหทันสมัยวา เปนกระบวนการวิวัฒนาการตาม กาลเวลาขององคการตาง ๆ ที่ไดมีการปรับตัวไปสูการเปลี่ยนแปลงที่กาวหนาอยางรวดเร็ว ซึ่งได สะทอนใหเห็นองคความรูของมนุษยไดเพิ่มขึ้นอยางไมเคยมีมากอน การยอมรับในการควบคุม ดานสิ่งแวดลอมไปพรอมกับการปฏิวัติทางวิทยาศาสตรของพวกเขา แนวความคิดเกี่ยวกับการทํา ใหทันสมัยเหมือนกับการทําใหเปนยุโรปหรือการทําใหเปนตะวันตก คือ การสะสมความรูและวิธี การของการบรรยายดวยเหตุผลเพื่อใหบรรลุผลตามวัตถุประสงค การทําใหทันสมัยมีความผูกพัน อยางลึกซึ้งกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่มีความขัดแยงตาง ๆ ระหวางคานิยมทางประเพณีกับ คานิยมความทันสมัย และเกี่ยวของกับชะตากรรมของมนุษยโดยเฉพาะในยุคที่มีพลวัตสูงเนื่อง เพราะความเปนสมัยใหม (the dynamics of modernization) เล วี่ (Levy, 1966 : 74-79) ก ล าวว า ก ารทํ าให ทั น ส มั ย ท างสั งค ม ได มี ก าร เปลี่ยนแปลงของสังคมที่ดําเนินไปพรอมกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจในชวงระยะที่ยาวนาน ดังที่ไดปรากฏใหเห็นรูปแบบพื้นฐานของความสัมพันธระหวางการเริ่มตนเปลี่ยนของคนเราในการ พัฒนาสังคมมีอยู 4 ประการคือ 1) รูป แบบของความสั ม พั น ธ พื้ น ฐานได เปลี่ ย นจากความผู ก พั น ที่ มี อิ ท ธิ พ ลทาง ประเพณีไปสูพื้นฐานอันอื่น โดยความมีเหตุผลทางดานสิทธิ์ผลประโยชนของการแลกเปลี่ยน 2) ความสัมพันธพื้นฐานเกี่ยวกับความจงรักภักดี โดยเฉพาะบุคคลที่มี บทบาท เชน ญาติ วงศตระกูล ซึ่งไดเริ่มเปลี่ยนแทนความสัมพันธพื้นฐาน โดยไดประยุกตใชขอ กําหนดและหลักการตาง ๆ โดยทั่วไปมากกวา เชน อํานาจและสิทธิและหนาที่ของประชากรนี้คือ ลักษณะที่เรียกวา การเปลี่ยนจากลักษณะความจงรักภักดีไปสูลักษณะทั่วไป 3) ในทางตรงกันขามความสัมพันธในระบบประเพณีมีแนวโนมไปสูการกระจายหนา ที่ในเชิงปฏิบัติระหวางตัวบุคคลที่มีบทบาท การทําใหทันสมัยไดแสดงใหเห็นการเพิ่มขึ้นในความ สัมพันธของประชาชนที่ไดกําหนดสิทธิ์และพันธะไวในความสัมพันธระหวางนายจางกับลูกจาง หรือผูประกอบการกับลูกคา 4) การทําใหทันสมัยไดทําใหผลผลิตเพิ่มขึ้นและหลีกเลี่ยงในความสัมพันธอันสนิท สนมที่ขยายไปสูระดับกวางของความสัมพันธ เลวี่ไดกลาวอีกวา ระดับโครงสรางของการทําใหทันสมัยทางสังคม เปน การทําใหเปน วิชาชีพเพิ่มขึ้นและการรวมอํานาจไปสูศูนยกลางเพิ่มมากขึ้น และการพึ่งพาตนเองของหนวย ทองถิ่นลดลง เชน ครอบครัวและหมูบาน


21

แบล็ ก ค (Black, 1966 20-21) ได อ ธิ บ ายว า การเปลี่ ย นแปลงทางสั ง คมอย า ง ลึกซึ้งไดดําเนินไปดวยสติปญญา การเมืองและลักษณะทางเศรษฐกิจของการทําใหทันสมัย และ พรอมเดียวกันนี้ก็มีการเคลื่อนยายของประชากรในประเทศที่มีการพัฒนาแลวเพิ่มมากขึ้นคือ 1 ใน 5 ของประชากร ในแตละปไดเคลื่อนยายจากทองถิ่นหนึ่งไปยังอีกทองถิ่นอื่น เพื่อแสวงหาการตอบ สนองความเรียกรองตองการในดานการประกอบอาชีพ การทําใหทันสมัยยังไดดําเนินไปพรอมกับ การขยายความรูหนังสือของประชาชนจากอัตราสวนของประชาชนในสังคมเดิมมีความรูหนังสือ นอย ซึ่งไดทําใหประชาชนสวนมากมีความรูหนังสือเพิ่มขึ้น การทําใหทันสมัยของประเทศที่พัฒนา แลวยังไดสงเสริมในดานการกระจายรายไดใหเทาเทียมกันในประเทศที่พัฒนาแลวยังไดบรรลุผล สํ า เร็ จ ตามวั ต ถุ ป ระสงค ในการเก็ บ ภาษี ร ายได แ ละการทํ า ประกั น ภั ย สั ง คม เพื่ อ ให มี แนวโนมลดความแตกตางกันในดานรายไดของสังคม ไอเซนสแตดท (Eisenstadt, 1969) ไดสรุปไววา ทฤษฎีการทําใหทันสมัยเปนทฤษฎีที่ อธิบายถึงกระบวนการของการเปลี่ยนแปลงสภาพจากสังคมประเพณีไปสูสังคมสมัยใหม ซึ่งตาม ประวัติศาสตรการทําใหทันสมัยเปนกระบวนการของการเปลี่ยนแปลงไปสูการเลียนแบบอุตสาห กรรมในอั ส ดงคตประเทศการพั ฒ นาในยุ โรปตะวั น ตกและอเมริก ารเหนื อ ซึ่ งได เริ่ม ต น ตั้ ง แต ศตวรรษที่ 17-18 และไดแพรหลายไปสูประเทศในยุโรปอื่น ๆ และตอมาในศตวรรษที่ 19-20 ได แพรกระจายไปสูทวีปอเมริกาใต ทวีปเอเชียและทวีปแอฟริกา ทฤษฎีการทําใหทันสมัยเปนแนวคิดหลักในสาขาสังคมวิทยา การพัฒนาและการดอย พัฒนาของชาติเริ่มตั้งแตทศวรรษ 1950 เริ่มแรกทฤษฎีนี้ไดใหความสนใจกับวิถีทางสังคมดั้งเดิม และสังคมกอนสมัยใหม โดยผานกระบวนการการพัฒนาทางเศรษฐกิจแลวเปลี่ยนแปลงโครงสราง สังคม การเมือง และวัฒนธรรมแลวกลายเปนสังคมสมัยใหม เลอรเนอร (Lerner, 1968) ไดกลาววาการทําใหทัน สมัยทางเศรษฐกิจนั้น เปนการ เปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจเปนจุดศูนยกลางของกระบวนการทําใหทันสมัย ซึ่งเขาไดสรุปวาการทํา ให ทั น สมั ย ทางเศรษฐกิ จ ส ว นมากเป น วิ ธี ก ารที่ เปลี่ ย นจากการดํ า รงชี พ ที่ มี ค วามมั่ น คงทาง เศรษฐกิจไปสูการพึ่งพาตนเองทางเศรษฐกิจที่มีความเจริญเติบโต ในความจริงแลวไดเกี่ยวของกับ เงื่อนไขตาง ๆ เหลานี้คือ 1) การยกระดับของเทคโนโลยีแหงการผลิตทางเศรษฐกิจใหสูงขึ้น 2) การพัฒนาเกีย่ วกับการครอบคลุมทางเศรษฐกิจเงินตรา 3) การพัฒนาตลาดใหอยูในระดับกวางใหญ


22

สเมลเซอร (Smelser, 1966) ชี้ใหเห็นวาการทําใหทันสมัยของสังคมจะเกิดขึ้น โดยผานกระบวนการความแตกตางทางสังคม การสรางสิ่งรบกวนทางสังคม แลวทําใหมีการ บูรณภาพขึ้นใหม เขาเนนถึงการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญ ๆ 4 ประการคือ 1) การเปลี่ยนแปลงจากเทคโนโลยีแบบงายไปสูเทคโนโลยีที่มีความซับซอน 2) การเปลี่ยนจากระบบการทําฟารมเพื่อยังชีพไปสูการเกษตรกรรมเพื่อการคา 3) การเปลี่ยนจากประชากรชนบทไปเปนประชากรเมือง 4) การเปลี่ยนจากการใชพลังสัตวและพลังงานมนุษยไปใชพลังที่ไมมีชีวิต โรสทาว (Rostow, 1961 : 360-362) ไดกลาววา ตัวแบบหนึ่งที่มีผลกระทบของการทํา ใหทันสมัยทางเศรษฐกิจคือ ตัวแบบของขั้นตอนทะยานขึ้นของเขา ซึ่งเขาไดเปรียบเทียบผลสําเร็จ ของการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจกับเครื่องบินที่กําลังทะยานขึ้นจากลานอิ่งและเขาไดเนนถึงขั้น ตอนของการพัฒนาเศรษฐกิจ 5 ประการคือ 1) การปรับตัวทางประเพณี (the traditional setting) ในทางประเพณีแลวการนําใช เทคโนโลยีที่มีศักยภาพในการผลิตทางเศรษฐกิจยังถูกจํากัดและการพัฒนาดานการตลาดยังไม เขมเข็ง การดํารงชีวิตแบบพอยังชีพมีอยูเปนภาคสวนใหญของเศรษฐกิจ 2) เงื่อ นไขก อนการเจริญ เติบ โต (the precondition of growth) ความต องการของ ความเจริญเติบโตในทางจิตวิทยาที่แพรหลาย คือ มวลชนตองการมีระดับความรูหนังสืออานออก เขียนได มีศูนยรวมอํานาจทางบริหารและสิ่งที่สําคัญที่สุดก็คือ ใหมีการพัฒนาโครงสรางสวนลาง เชน การคมนาคม การขนสง การธนาคาร การลงทุน และระบบสินเชื่อ 3) ขั้นทะยานขึ้น (the takeoff) เทคโนโลยีทางอุตสาหกรรมมีความเจริญเติบโตอยาง รวดเร็วในภาคสวนเศรษฐกิจขนาดเล็กในทางการเกษตร หรือการทําเหมืองและความเจริญเติบโต ของยอดผลิ ต ภั ณ ฑ ม วลรวมของประชาชาติ ในระหวา ง5-10 เปอรเซ็ น ต ของความเติ บ โตทาง เศรษฐกิจ 4) พลั ง ขั บ ไปสู ค วามอุ ด มสมบู ร ณ (the drive to maturity) ได มี ก ารประยุ ก ต ใ ช เทคโนโลยีระดับสูง ประสานกับภาคสวนตาง ๆ ของเศรษฐกิจ 5) สังคมขั้นอุดมโภคาเปนสังคมที่เจริญเติบโตเต็มที่ทางเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (the maturity of industrial economy) คือ ความหลากหลายในการบริโภคทางเศรษฐกิจของมหาชนได มีการพัฒนาขึ้น ไอเซนสแตดท (Eisenstadt, 1977 : 123-144) ไดวิเคราะหพลวัตของอารยธรรมและ การพัฒนาของสังคมยุโรป และไดสรุปวาสังคมยุโรปเปนสังคมที่มีความหลากหลายทางประเพณี


23

วัฒ นธรรม ประเพณี ของยุโรปมีรากฐานมาจากยิว-คริสเตียน กรีก-โรมัน และเผาอื่น ๆ อีกเปน อยางมาก ความมีหลากหลายทางวัฒนธรรมประเพณีเหลานี้ไดมีการปรับตัวและตกผลึกกลายเปน อารยธรรมของยุโรป การพัฒนาความทันสมัยในสังคมยุโรปจึงเปนผลมาจากการปรับศูนยกลาง ทางการเมือง การปรับแนวความคิดทางศาสนาและขอเสนอทางวัฒนธรรม และมีการพัฒนาระบบ ทุนนิยมควบคูกันไปโดยศาสนาคริสตนิกายโปรเตสแตนทไดมีบทบาทสําคัญในการสรางความ สัมพันธที่สอดคลองระหวางระเบียบที่เหนือธรรมชาติและระเบียบทางสังคมวัฒนธรรมของยุโรป จนเปนผลใหเกิดการเปลี่ยนสภาพของอารยธรรมของยุโรปและมีการขยายตัวของความรูทางวิทยา ศาสตรและเทคโนโลยีอยางตอเนื่อง ไดทําใหระเบียบทางสังคมและวัฒนธรรมเปลี่ยนสภาพ การ พัฒนายุโรปสมัยใหมจึงเปนการพยายามสรางวัฒนธรรมที่มีเหตุผล เศรษฐกิจที่มีประสิทธิภาพ สังคมของพลเรือนและรัฐชาติใหเกิดขึ้นอยางเต็มที่ ไอเซนสแตดทยังไดสรุปวา กระบวนการพัฒนาความทันสมัยของยุโรปเปนกระบวน การที่เต็มไปดวยความขัดแยงและการตอสู การพัฒนาไดสรางปญหาขึ้นในสังคมอยางมากมาย ปญหาที่เกิดขึ้นจากการทําใหเปนอุตสาหกรรมและการพัฒนาระบบทุนนิยมไดกลายเปนปญหาที่ สําคัญที่จะตองแกไข เนื่องจากการพัฒ นาเศรษฐกิจตามแนวทางสมัยใหม ไดทําใหเกิดสภาวะ แปลกแยกและภาวะไรบรรทัดฐานขึ้นในสังคมเปนอยางมาก ไอเซนสแตดท ไ ด เ สนอแนะเพิ่ ม เติ ม อี ก ว า การศึ ก ษาวิ จั ย เกี่ ย วกั บ การทํ า ให ทันสมัยในทางสังคมวิทยา ควรเนนการวิเคราะหความสัมพันธระหวางการปรับตัวทางวัฒนธรรม และองคการที่มีโครงสรางทางสังคมที่แตกตางกัน แบบแผนที่พัฒนาขึ้นมาภายในสังคมแตละแหง สิ่งแวดลอมทางประวัติศาสตรของแตละสังคม และการตอบสนองของสังคมตาง ๆ ตอผลกระทบ ของการทําใหทันสมัยที่ไดพัฒนาขึ้นมาในสังคม เขาเชื่อวาการศึกษาในประเด็นตาง ๆ จะทําใหแต ละสังคมคนพบรูปแบบการพัฒนาความทันสมัยเฉพาะสังคมที่มีความแตกตางกันออกไป ทฤษฎีการทําใหทันสมัยถือวาสังคมทันสมัยหรือสังคมสมัยใหมนั้นไดตางจากสังคม ดั้ งเดิ ม อยู ม าก ฮั น ติ งตั น (Huntington, 1968) กล า วว า การพั ฒ นาประเทศให ทั น สมั ย จะต อ ง ดําเนินไปทั้งในแงเศรษฐกิจ สังคม การเมือง ความรูสึกนึกคิด และความรูของคนในสังคมนั้นจะ ขาดดานใดดานหนึ่งไมได เพราะแตละดานยอมมีความสัมพันธสงผลซึ่งกันและกันเขาอธิบายตอ วา กิจกรรมทางเศรษฐกิจจะไมจํากัดเพียงอยางหรือสองอยาง หากแตมีความสลับซับซอนมากขึ้น ระดับของความชํานาญสูงขึ้น สัดสวนของทุนตอแรงงานเพิ่มขึ้น มีการขยายตัวทางการคาและ ตลาดทั้งภายในและตางประเทศ ซึ่งทําใหสามารถถึงทรัพยากรทั้งคนและสิ่งของจากแหลงตาง ๆ มาใชไดอยางกวางขวางเกิดเปนเครือขายของระบบเศรษฐกิจที่มีความเหนียวแนน การเกษตรลด


24

ความสําคัญลงเมื่อเทียบกับการคาอุตสาหกรรม และบริการอื่น ๆ ซึ่งแนวความคิดนี้เชื่อวา เปนวิธี การที่ทําใหความเปนอยูทางเศรษฐกิจของประชาชนดีขึ้นความไมเทาเทียมกันทางเศรษฐกิจลดลง นอกจากนี้ยังมีการอิงทฤษฎีการคาเสรีของนักเศรษฐศาสตรนีโอคลาสลิกดวย เพื่อแก ปญหาขาดแคลนทุนเพื่อการลงทุน โดยถือวามีความสําคัญเปนอันดับแรกของกระบวนการพัฒนา ประเทศ ดังนั้ น การสงเสริม การลงทุ น จากตางประเทศและการรับ เอาความช วยเหลือจากตาง ประเทศ จึงเปนกุญแจสําคัญสําหรับการพัฒนาประเทศใหทันสมัย ถึงแม วาการพัฒ นาตามแนวทฤษฎีความทัน สมัยในแงเศรษฐกิจจะมีลักษณะเปน พลวัตมาก แตก็เปนตัวกําหนดและพลังหลักในกระบวนการพัฒนาเศรษฐกิจก็ตาม นักทฤษฎีความ ทันสมัยหลายคนมองวา การพัฒนาเศรษฐกิจขึ้นอยูกับความทันสมัยในแงอื่นดวยคือ ความรูสึกนึก คิดทางสติปญญา ทางการเมือง และรวมทั้งความเจริญเติบโตทางดานความรูและความสามารถ ของผูนําทางการเมืองในอันที่จะนําทรัพยากรมาใช แบล็กค (Black, 1966 : 90-96) กลาววาในกระบวนการทําใหทันสมัยนั้ นทุกสังคม ตองประสบปญหาสําคัญ 4 ประการคือ 1) การที่สังคมตองเผชิญกับความคิดและบทบาทใหม ๆ ยอมไดรับการตอตานจาก คนอีกแนวคิดหนึ่งหรือคนกลุมหัวเกา 2) การผนึกตัวของความเปนผูนําหัวใหม ทั้งนี้เพราะมีการโอนถายอํานาจจากหัวหนา เกาสูหัวหนาใหมและอาจมีการปฏิวัติตอสูหลายชั่วอายุคน 3) การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมกลาวคือ มีการพัฒนาการทางเศรษฐกิจ และสังคมไปจนถึงสุดที่สังคมเปลี่ยนแปลงจากชีวิตแบบชนบทและเกษตรกรรมสวนใหญเปนชีวิต ของเมืองและในภาคอุตสาหกรรม 4) การรวมตัวของสังคม ซึ่งในขั้นที่เศรษฐกิจและสังคมเปลี่ยนแปลงนั้นจะทําใหเกิด การปรับตัวโครงสรางองคกรของสังคมในทุกสวนของสังคมอยางถึงขั้นพื้นฐาน สเมลเซอร (Smelser, 1966 : 118-121) กลาววา การทําใหทันสมัยทางการเมืองไมมี ความสัมพันธกับการสรางชาตินั้นเปนการเชื่อมความสัมพันธระหวางชนกลุมนอยที่แตกตางกัน ดานภาษาและเขตการปกครองของเผาตาง ๆ ที่ไดประกอบกันเปนชาติและรวมทั้งระบบการปก ครองในสมัยกอนประเทศที่มีการพัฒนานอย (Less-Developed Countries-LDCs) ที่เปนอาณา นิคม เชน ประเทศไนจีเรีย (Nigeria) และประเทศมาเลเซีย (Malaysia) ประชาชนมีความแตกตาง กันในดานการเมือง และเขตการปกครองที่ไดสืบทอดมาจากความเปนอาณานิคม การสรางชาติ


25

เปนวิธีการของการเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองแบบระบบราชการที่มีโครงสรางที่ทันสมัย การ สร า งชาติ เ ป น กระบวนการของระบบสิ ท ธิ แ ละสิ ท ธิ อํ า นาจของเผ า ชนและหมู บ า นที่ เ ป น แนวทางไปสูระบบสิทธิในการออกเสียงแบบทั่วไปของบรรดาพรรคการเมืองและการบริหารแบบ ระบบราชการของพลเรือน การทําใหทันสมัยทางการเมืองเกี่ยวของกับการมีสวนรวมของประชาชน ในอํานาจบริหารเพิ่มมากขึ้น เลวี (Levy, 1993 : 246-247) ไดอธิบายวาการทําใหทันสมัยทางการเมือง (political modernization) เปนวิธีการเปลี่ยนเปนแบบรัฐสภาประชาธิปไตยตะวันตก แตยังเปนการรับรูโดย ทั่ว ๆ ไปวา LDCs ไดมีการปกครองแบบเผด็จการ ถึงแมวาเขาจะมีระบบการปกครองแบบรัฐสภาก็ ตาม แตดูรูปนอกเหมือนไมมีความสําคัญเลยเกี่ยวกับรูปแบบดังกลาวนี้ แต LDCs ไดพัฒนาพรรค การเมืองบนพื้นฐานมวลชนที่มีความขัดแยงกันกับเผาชนสวนนอยนั้นมันเปนพาหนะการเคลื่อน ไหวระดับชาติ (national mobilization) ความนึกคิดและหลักการใหม ๆ ไดผสมผสานรวมกันไดทํา ใหการทําใหทันสมัยทางการเมืองไดผูกพันกับการมีสวนรวมของประชาชนเพิ่มมากขึ้นในอํานาจ การบริหาร ฮันติงตัน (Huntington, 1968 : 34-50) กลาววาการพัฒนาประเทศใหทันสมัยทางการ เมืองประกอบดวย การใชอํานาจการปกครองอยางมีเหตุผลเหมาะสม การแยกแยะโครงสรางตางๆ การขยายขอบเขตการมีสวนรวมทางการเมืองใหครอบคลุมคนกลุมตาง ๆ และระดับตาง ๆ เพิ่ม มากขึ้น การรวมกลุมตาง ๆ ของทองถิ่นเขาดวยกันในแกนนอนและการรวมตัวกันของชนชั้นทาง เศรษฐกิจและสังคมในแกนตั้งเปนตัวทําใหเกิดความสํานึกทางการเมืองและการมีสวนรวมทางการ เมือง โดยเชื่อวาหากมีความสมดุลระหวางการมีสวนรวมนั้นกับการทําใหลักษณะการเปนสถาบัน เกิดขึ้นกับความเปนไปทางการเมืองจะทําใหเกิดเสถียรภาพทางการเมือง ทฤษฎีความทันสมัยนี้ชวยเสริมแนวคิดทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒ น ธรรมตามทรรศนะของพาสันสที่เสนอไวขางตนใหชัดเจนยิ่งขึ้นและชวยใหผูวิจัยสามารถอธิบายมิติ ของการเปลี่ยนแปลงที่กําเนิดขึ้น ในหมูบ านนายาง เมืองนาทรายทอง กําแพงนครเวียงจัน ทน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวในขณะนี้ไดดียิ่งขึ้น เอกสารและผลงานวิจัยที่เกี่ยวของ ดารารัตน เมตตาริกานนทและสมศักดิ์ ศรีสันติสุข (2529) ศึกษาเรื่อง “การเปลี่ยน แปลงดานเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและวัฒนธรรมในหมูบานอีสาน (ประเทศไทย) : ศึกษากรณี หมูบานนาปาหนาด” ตําบลเขาแกว อําเภอเซียงคาน จังหวัดเลย มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาลักษณะ


26

และผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงดานเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและวัฒนธรรม โดยใชวิธีวิจัย เชิงคุณภาพและเชิงปริมาณผสมผสานกัน ใชวิธีการสังเกตการและการมีสวนรวมภายในหมูบาน อยางใกลชิดเพื่อสังเกตพฤติกรรมของบุคคลภายในหมูบานและใชการสัมภาษณ ตามแบบสอบ ถามหัวหนาครัวเรือนจํานวน 177 ครัวเรือน จากการศึกษาพบวาในดานเศรษฐกิจยังมีลักษณะ เศรษฐกิจแบบยังชีพยังคงปรากฎอยู ในขณะเดียวกันการผลิตแบบการคาไดเขามามีบทบาทมาก ขึ้น สวนการเปลี่ยนแปลงดานสังคมและวัฒนธรรมมีการเปลี่ยนแปลงนอยมาก ผลกระทบจากการ เปลี่ยนแปลงดังกลาว พบวา ดานเศรษฐกิจมีการนําเทคโนโลยีใหม ๆ มาใชในการเกษตร สวนการ ลงทุนดานตาง ๆ ยังมีนอยมาก แตภาระหนี้สินกลับมีแนวโนมเพิ่มขึ้น ดานสังคมและวัฒนธรรมมี แนวโนมจะใชสิ่งอํานวยความสะดวกสบายตาง ๆ มากขึ้น สุวิทย ธีรศาศวัต และสมศักดิ์ ศรีสันติสุข (2529) ศึกษาเรื่อง “การเปลี่ยนแปลงดาน เศรษฐกิจ การเมือง สังคมและวัฒนธรรม ในหมูบานอีสาน (ประเทศไทย) : ศึกษากรณีบานโนน ตะแบก” ตําบลตลาดแรง อําเภอบานเขวา จังหวัดชัยภูมิ มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาลักษณะและ ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงดานเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและวัฒนธรรม โดยใชวิธีวิจัยเชิง คุณภาพ โดยการสังเกตพฤติกรรมของคนภายในหมูบาน สนทนาและเขารวมบางกิจกรรมกับชาว บานและไดใชวิธีการเชิงปริมาณมาประกอบการวิจัยดวย โดยใชการสัมภาษณหัวหนาครัวเรือน จํานวน 294 ครัวเรือน การวิเคราะหขอมูลโดยใชสถิติ อย างงายเพื่ อบรรยายและอธิ บายของ ขอเท็จจริงตาง ๆ จากการศึกษาพบวา ดานเศรษฐกิจแตเดิมหมูบานมีเศรษฐกิจแบบพอยังชีพ ระบบแรงงานมีการลงแขก เมื่อมีการนําพืชเศรษฐกิจคือปอและมันสําปะหลังเขามาปลูกทําใหมี การผลิตเพื่อยังชีพและขาย ทําใหที่ดินทําไรเพิ่มขึ้น 30-60 เทา ดานสังคมและวัฒนธรรมคือ ระบบ เครือญาติที่มีการพึ่งพาซึ่งกันและกันไดเปลี่ยนเปนการพึ่งพาตนเองใหมากขึ้น แตความสัมพันธใน ครอบครัวและการยึดมั่นในประเพณีและความเชื่อมีการเปลี่ยนแปลงนอยมาก ผลกระทบจากการ เปลี่ยนแปลงดังกลาวคือรายจายและหนี้สินเพิ่มสูงขึ้นจากรอยละ 51.0 เปนรอยละ 65.6 ของครัว เรือนทั้งหมด ซึ่งเปนผลจากแหลงอาหารตามธรรมชาติถูกทําลาย รวมทั้งการใชเทคโนโลยีทางการ เกษตรและการรับเอาความทันสมัยโดยเครื่องใชไฟฟาในบาน ดุษฎี กาฬออนศรี และสมศักดิ์ ศรีสันติสุข (2530) ศึกษาเรื่อง “การเปลี่ยนแปลงดาน เศรษฐกิจ การเมือง สังคมและวัฒนธรรมในหมูบานอีสาน (ประเทศไทย) : ศึกษากรณีหมูบานชาว เยอเขตอี สานใต ” มี วัต ถุ ป ระสงคเพื่ อศึ กษาลั กษณะและผลกระทบของการเปลี่ย นแปลงดา น เศรษฐกิจ การเมือง สังคมและวัฒนธรรม โดยใชวิธีวิจัยทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณผสมผสาน กันโดยใชวิธีการสังเกตอยางมีสวนรวมอยางใกลชิด และเก็บรวบรวมขอมูลโดยการสัมภาษณตาม


27

แบบสอบถามหัวหนาครัวเรือนจํานวน 188 ครัวเรือน จากการศึกษาพบวาดานเศรษฐกิจไดเกิดการ เปลี่ยนแปลงสภาพเศรษฐกิจโดยทั่วไปกลายเปนระบบเศรษฐกิจแบบการคามากขึ้น มีสถาบันทาง การเงิน เข า มามี บ ทบาทในหมู บ า น ด า นอาชี พ ได มี ก ารเปลี่ ย นอาชี พ จากทํ า นาอย างเดี ย วมา ประกอบอาชีพอื่นเพิ่มขึ้นและมีการจางงานไดปรากฎใหเห็นชัดเจน ดานสังคมและวัฒนธรรมคือ บทบาทของสถาบันครอบครัว บทบาทของพอแม การแบงมรดก การสรางบานเรือน และความ สัมพันธระหวางเครือญาติไดเกิดมีการเปลี่ยนแปลงเพราะหนวยราชการที่เกี่ยวของเขามาทําหนาที่ แทน เชน โรงเรียนและหนวยงานอื่นของรัฐ สุวิทย ธีรศาศวัต และคณะ (2530) ศึกษาเรื่อง “การเปลี่ยนแปลงดานเศรษฐกิจในชุม ชนลุมแมนย้ําสงคราม ตั้งแต พ.ศ. 2475 ถึงปจจุบัน” มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาเปรียบเทียบหมูบาน ฐานะยากจน หมูบานฐานะปานกลาง หมูบานฐานะร่ํารวย และชุมชนเมืองในบริเวณลุมแมน้ํา สงครามในจังหวัดสกลนคร นครพนม และหนองคาย โดยศึกษาปจจัยและผลกระทบของการ เปลี่ ย นแปลงด า นเศรษฐกิ จ โดยใช วิธี เชิ งคุ ณ ภาพเป น หลั ก และใช วิ ธี วิจั ย เชิ งปริ ม าณเป น ตั ว ประกอบ โดยใชวิธีการเก็บรวบรวมขอมูลจากการสัมภาษณ และการเสนอขอมูลสวนใหญ เปน พรรณนาวิเคราะหและขอมูลที่เปนเชิงปริมาณเสนอเปนรอยละและคาเฉลี่ย จากการสัมภาษณ หัวหนาครัวเรือนจํานวน 170 ครัวเรือน จากการศึกษาพบวาสามในสี่ของหมูบานมีระบบเศรษฐกิจ แบบพอยังชีพ การคาขายแลกเปลี่ยนมีไมมากนักเพราะหมูบานมีทรัพยากรพอเพียงประกอบกับ การคมนาคมไมสะดวก การคาขายทําไดเฉพาะฤดูแลง สวนการคาขายทางน้ําสองในสี่หมูบานทํา ไดเฉพาะหนาน้ํา สินคาสวนมากเปนเครื่องมือเหล็ก สําหรับอีกหนึ่งหมูบานตองพึ่งพาหมูบาน อื่น เพราะมีที่นาทํากินนอยจึงผลิตขาวไมพอบริโภค แตมีอาชีพหลักในการจับปลาไปแลกขาว การ นําพืชเศรษฐกิจมาปลูกคือปอและมันสําปะหลังทําใหการผลิตเพื่อกินเพื่อใชเปลี่ยนเปนการผลิต เพื่ อ กิ น เพื่ อ ใช เพื่ อ ขายเป น หลั ก ผลกระทบจากการนํ า พื ช เศรษฐกิ จ เข า มาปลู ก ได ทํ า ลาย แหลงอาหารสําคัญของหมูบาน ทําใหประชาชนมีรายจายเพิ่มขึ้นในการซื้อสินคานานาชนิด และ ผลที่ตามมาก็คือหนี้สินเพิ่มมากขึ้น รุทธ กลอมชอุม (2527) ศึกษาเรื่อง “ปจจัยที่กระตุนใหประชาชนเขารวมในโครงการ พัฒนาชุมชนในเขตชนบทยากจน : ศึกษาเฉพาะกรณีหมูบานพัฒนาดีเดน พ.ศ. 2526 ของจังหวัด อุตรดิ ตถ” มี วัตถุป ระสงค เพื่ อศึก ษาปจจัย ที่เปน ตัวกระตุน สํ าคัญ ที่ ทําให ป ระชาชนรวมมื อใน โครงการพั ฒ นาชุ ม ชน และเพื่ อ หาแนวทางในการกํ า หนดรู ป แบบของการพั ฒ นาอย า งมี ประสิทธิภาพ โดยใชวิธีการเก็บรวบรวมขอมูลใชแบบสอบถามจากกลุมตัวอยางของ 3 หมูบาน คือ หมูบานปาบอน หมูบานนากล่ํา และหมูบานดงงาม หมูบานละ 60 คน โดยใชสถิติในการวิเคราะห


28

ใชคารอยละ คามัชฌิมเลขคณิต และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน ใชสูตรคาไคสแควร จากการศึกษาพบ วา ประชาชนในชุมชน 3 หมูบาน ไดมีความรู ความเขาใจ และเห็นประโยชนของการลดละ และ เลิกสุรา เลิกการพนัน ประชาชนมีสวนรวมในการปรับปรุงสภาพแวดลอมภายในหมูบาน การรักษา ความปลอดภัย การมีน้ําดื่ม น้ําใชภายในหมูบาน การศึกษาและวัฒนธรรม การพัฒนาอาชีพ การ รวมกลุมเกษตรกรและสหกรณ เปนตน ประชาชนไดรับการอบรมเกี่ยวกับการเกษตรที่จะทําใหเพิ่ม ผลผลิต และมีรายไดเพิ่มขึ้น รัฐบาลไดใหการสนับสนุนในดานการจัดหาเครื่องจักรกล ในการ พัฒนาใหแกหมูบาน คือ ไฟฟาและชลประทาน เพื่อการเกษตรและการปฏิรูปที่ดินในหมูบาน เพื่อ ทําใหประชาชนมีเศรษฐกิจที่ดีขึ้น การมีที่อยูอาศัยและสภาพแวดลอมที่ดีขึ้น ผลงานวิจัยในเรื่องนี้ โดยเฉพาะผลงานวิจัยในสวนที่เกี่ยวกับการพัฒนาอาชีพ การ รวมกลุมเกษตรกรและสหกรณเปนประเด็นที่มีสาระสําคัญที่เอื้อตอการศึกษาของผูวิจัย โดยเฉพาะ ในแงของการเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจในระดับชุมชนหมูบาน บัวพันธ พรรคทึงและคณะ (2532) ศึกษาเรื่อง “การพัฒ นาชนบท : การเขารวมใน กระบ วน การพั ฒ น าของชาวบ าน ” ใน 7 ห มู บ าน ของตํ า บ ลห น องน ม วั ว และตํ า บ ล วังมา อําเภอลาดยาว จังหวัดนครสวรรค คือ บานหนองนมวัว บานหนองกระดูกเนื้อ บานหนอง เดิ่น บานวังดินดาด บานกระทุมลาย บานน้ําลืม และบานหนองกระทิง มีวัตถุประสงค เพื่อศึกษา พฤติกรรมการเขารวมในกระบวนการพัฒนา ทั้งในสวนที่กลไกของรัฐ และเกิดขึ้นเองโดยชาวบาน และศึกษาปจจัยที่มีผลตอการเขารวมในการพัฒนาชนบทของชาวบาน โดยใชวิธีการเก็บรวบรวม ข อ มู ล ในการสั ม ภาษณ ช าวบ า น หั ว หน า ครัว เรือ น ซึ่ ง มี จํ า นวน 329 คน การวิ เคราะห ข อ มู ล โดยการใชโปรแกรมสํ าเร็จรูป SPSS ในการประมวลผล และการใชสถิติคาไคสแควร จากการ ศึกษาพบวาประชาชนใน 7 หมูบาน มีอาชีพทํานาเปนหลัก และปลูกพืชไร ชาวบานสวนใหญมีที่ ดินทํากินทั้งเปนของตนเอง และเชาที่ดินของผูอื่นเพื่อทําการเพาะปลูก ภายในหมูบานจะมีการจาง งานกัน โดยเฉพาะในระยะมีการเพาะปลูก และเก็บเกี่ยวผลผลิต ประชาชนสวนใหญ มี หนี้สิน เพราะไดมีการกูยืมเงินมาลงทุนในการผลิต ในดานกิจกรรมการพัฒนาหมูบาน ชาวบานไดเขารวม กับองคกรของรัฐและไดรับความชวยเหลือจากหนวยราชการเจาหนาที่ของรัฐ ยกเวนในกิจกรรม พัฒนาสภาพแวดลอมทางกายภาพ เชน ปรับปรุงถนน ทําความสะอาดบริเวณถนนในหมูบาน และ ซอมแซม หรือขุดสระน้ํา แตชาวบานมีความสัมพันธในการเขารวมโครงการของรัฐเปนสวนมาก ชอ บ ดี ส วน โค ก แ ละค ณ ะ (2529) ศึ ก ษ าเรื่ อ ง “ป ระวั ติ ศ าส ต ร เ ศ รษ ฐ กิ จ ลุมแมน้ําชี ระหวาง พ.ศ. 2475-2526 : ศึกษากรณีสามหมูบาน ในจังหวัดรอยเอ็ด กาฬสินธุ และ ขอนแกน” ประเทศไทย มีวัตถุประสงค เพื่อศึกษาเปรียบเทียบประวัติหมูบาน การคา บทบาทของ


29

รัฐบาลในการสรางโครงสรางพื้นฐานทางเศรษฐกิจในลุมแมน้ําชี โดยใชวิธีการของประวัติศาสตร บอกเลาเปนหลักผสมกับวิธีเชิงปริมาณ โดยการเก็บรวบรวมขอมูลจากเอกสาร และการสัมภาษณ หัวหนาครัวเรือนทุกคนในสามหมูบาน จํานวน 164 คน ใชสถิติอยางงาย คือ รอยละ และคาเฉลี่ย จากการศึกษาพบวาทั้งสามหมูบานมีการผลิตแบบยังชีพ มีการใชเงินตรานอยมาก มีความสัมพันธ กับเมืองและรัฐนอย การคาขายแลกเปลี่ยนระหวางหมูบานมีนอย สวนใหญเปนการแลกเปลี่ยน ของตอของในปที่เกิดฝนแลงหรือน้ําทวม แตจะมีการแลกเปลี่ยนในดานสินคาที่หมูบานผลิตไมได คือ เกลือ เข็มเย็บผา และเครื่องมือเหล็ก หลังจากมีแผนพัฒนาเศรษฐกิจแหงชาติ หมูบานทั้ง สามมี การเปลี่ ย นแปลงเป น อัน มาก ที่เห็ น ไดชัด คือ ชองวางระหวางคนจน คนรวยมี มากขึ้น ปจจัยที่ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงดังกลาว คือ ความไมสมดุลระหวางการเพิ่มขึ้นของประชากร กับธรรมชาติที่ถูกทําลาย การนําพืชเศรษฐกิจเขามาปลูก คือ ปอ และมันสําปะหลัง ทําใหเกิดมี การผลิตเพื่อขาย และรัฐบาลก็ไดสรางชลประทาน ทําใหการเพาะปลูกไดรับผลดี ทั้งไดสรางถนน ไฟฟาไปสูประชาชน ขณะเดียวกันหมูบานก็ไดซื้อเทคโนโลยีการผลิตทางการเกษตร และสินคา สําเร็จรูปตาง ๆ จากเมืองเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว ทําใหมีหนี้สินอยางไมเคยมีมากอน ชอบ ดีสวนโคกและคณะ (2533) ศึกษาเรื่อง “การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการผลิตพืช เศรษบกิจกับภาวะหนี้สินในหมูบานอีสาน : ศึกษากรณีบานวังตะเข ตําบลวังตะเข อําเภอหนองบัว ระเหอ จังหวัดชัยภูมิ ประเทศไทย” มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาพัฒนาการของเทคโนโลยีการผลิตพืช เศรษฐกิจของหมูบานไทย-ลาว อีสาน ศึกษาความสัมพันธระหวางการเทคโนโลยีดังกลาวกับภาวะ หนี้สิน โดยใชวิธีการเก็บรวบรวมขอมูลดวยการสัมภาษณ การจดบันทึก และการใชเทปบันทึก ใช การสั งเกต และใชแบบสอบถามหั วหน า ครัวเรือนในหมู บ านกลุ ม ตั วอยาง จํานวน 68 ราย ใช โปรแกรมสําเร็จรูป SPSS จาการศึกษาพบวากอน พ.ศ. 2503 หมูบานวังตะเข มีระบบการผลิต เพื่อกิน เพื่อใชในครัวเรือนเปนหลัก ดวยการปลูกพืชไรหาของปาและจับสัตวปา การแลกเปลี่ยนคา ขายกับหมูบานอื่นและเมืองมีนอยมาก การใชเทคโนโลยียังคงเปนการใชเทคโนโลยีแบบดั้งเดิม เมื่อมีการนําพืชเศรษฐกิจเขามาปลูก คือ ปอ ฝาย ขาวโพด มันสําปะหลัง และถั่วตาง ๆ มีการใช เทคโนโลยีการผลิตที่ประหยัดเวลา แตไดผลงานมาก เชน รถไถใหญ เครื่องสีขาวโพด รถไถเดิน ตาม และการใชเทคโนโลยีชวยเพิ่มผลผลิต การใชเทคโนโลยีใหมมากทําใหมีหนี้สินมากเพราะตอง กูเงินมาลงทุนการผลิต สุวิทย ธีรศาศวัตและคณะ (2528) ศึกษาเรื่อง “ประวัติศาสตรเศรษฐกิจลุมแมน้ําชีตั้ง แต พ.ศ. 2475-2528” ประเทศไทย มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาเปรียบเทียบระบบเศรษฐกิจระหวาง กอนมีแผนพัฒนาเศรษฐกิจแหงชาติ ฉบับที่ 1 (2547-2503) กับสมัยหลังมีแผนพัฒนาเศรษฐกิจ


30

แหงชาติ ฉบับที่ 1 (2504-2528) โดยใชวิธีการทางประวัติศาสตร ในเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ ผสมผสานกัน ใชวิธีการเก็บรวบรวมขอมูลจากเอกสาร และการสัมภาษณหัวหนาครัวเรือน จํานวน 644 คน จาการศึกษาพบวาระบบเศรษฐกิจในชวงกอนปแผนพัฒนาเศรษฐกิจแหงชาติ ฉบับที่ 1 มี ลักษณะยังชีพอยูมาก มีการพึ่งพาตลาดในเมืองนอยมาก การพึ่งพาหมูบานอื่น ๆ มีมาก เนื่อง จากน้ําทวมอยูเสมอ ตัวแปรที่ทําใหเกิดมีการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจที่สําคัญ คือ การสราง ระบบชลประทาน ไฟฟา และถนน โดยเฉพาะถนนทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงมากที่สุด ที่ทําใหคน ในหมูบานสามารถซื้อขายสินคากับตลาดไดสะดวกกวาเดิม และการนําพืชเศรษฐกิจเขามาปลูก เชน ปอแกว มันสําปะหลัง ในลุมแมน้ําชีในทศวรรษ 2500 และ 2510 ไดสงผลใหเกิดการเปลี่ยน แปลงทางเศรษฐกิจตลอดจนวิถีชีวิตของคนในหมูบานลุมแมน้ําชีอยางกวางขวาง การปลูกฝาย การทอผาฝาย การปลูกหมอน การทอผาไหมไดลดลงมาก เพราะใชที่ปลูกปอ และมันสําปะหลัง แหลงอาหารตามธรรมชาติถูกทําลาย เชน สัตวปา ปลา พืชผักลดนอยลง บัญชร แกวสองและคณะ (2533) ศึกษาเรื่อง“การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการผลิตพืช เศรษฐกิจกับภาวะหนี้สินในหมูบานอีสาน (ประเทศไทย) : ศึกษากรณีบานทุงใหญ อําเภอกันทร ลักษณ จังหวัดศรีสระเกษ” วัตถุประสงคเพื่ อศึกษาพัฒ นาการของเทคโนโลยีการผลิ ตพื ชของ หมูบานทุงใหญ สาเหตุของการเปลี่ยนแปลง เทคโนโลยีและความสัมพันธระหวางเทคโนโลยีกับ ภาวะหนี้สิน โดยใชวิธีเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ โดยใชวิธีการเก็บรวบรวมขอมูลจากเอกสารของ หมูบาน และเอกสารทางราชการ ใชการสังเกต การสัมภาษณ และใชแบบสอบถามหัวหนาครัว เรือนทุกคน โดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป SPSS จากการศึกษาพบวาพัฒนาการของเทคโนโลยีการ ผลิตพืชบานทุงใหญ จากการศึกษาพบวาพัฒนาการของเทคโนโลยีการผลิตพืชบานทุงใหญ มีการ เปลี่ยนแปลงจากการใชเทคโนโลยีแบบดั้งเดิม เชน การใชแรงงานคน แรงสัตวและเครื่องทุนแรง เชน มีด จอบ เสียม ขวาน ไถไม มาใชเปนเทคโนโลยีกาวหนา เชน รถไถใหญ และรถไถเล็ก และ เทคโนโลยีชวยเพิ่มผลผลิต เชน พันธุพืช ปุยเคมี ยาปราบศัตรูพืช ยากําจัดวัชพืช และใชระบบการ ปลูกพืชหลายรอบตอป การเปลี่ยนแปลงนี้เกิดขึ้น เมื่อมีการนําพืชเศรษฐกิจเขามาปลูกตั้งแตป 2500 เปนตนมา เชน ขาวโพด ปอ มันสําปะหลัง ถั่งลิสง ถั่งเขียว ถั่งเหลือง กระเทียม จากการผลิต เพื่อบริโภค เปลี่ยนมาเปนการผลิตเพื่อขาย การใชเทคโนโลยีการผลิตที่กาวหนา ทําใหชาวบานเกิด มีหนี้สินเพิ่มมากขึ้นมาใช กอบกูล มั่งมีศรีและคณะ (2533) ศึกษาเรื่อง“การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการผลิตพืช เศรษฐกิจกับภาวะหนี้สินในหมูบานอีสาน (ประเทศไทย : ศึกษากรณีบานบอใหม อําเภอกรรบอน จังหวัดขอนแกน” มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาพัฒ นาการของการใชเทคโนโลยีในการผลิตพืชของ


31

หมูบานไทย-ลาว ในภาคอีสานสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการผลิตพืชในหมูบานอีสาน และความสัมพันธระหวางการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีในการผลิตพืชเศรษฐกิจกับภาวะหนี้สิน โดย ใชวิธีการเก็บรวบรวมขอมูลเชิงคุณภาพ และเชิงปริมาณควบคูกันไป ใชวิธีการสัมภาษณ ใชแบบ สอบถามหั ว หน า ครั ว เรื อ น ใช ก ารสั ง เกต ใช โ ปรแกรมสํ า เร็ จ รู ป SPSS จากการศึ ก ษา พบวา บานบอใหญ มีระบบการผลิตเปนแบบสังคมเกษตรกรรม การผลิตกอนป พ.ศ. 2500 เปน การผลิตเพื่อยังชีพ เทคโนโลยีที่ใชในการผลิตเปนแบบดั้งเดิม การแลกเปลี่ยนคาขายกับหมูบาน อื่น และกับเมืองมีนอย เพราะเดิมเปนหมูบานที่มีทรัพยากรธรรมชาติอุดมสมบูรณ หลังป พ.ศ. 2500 เปนตนมา ไดเขาสูระยะที่มีการเปลี่ยนเทคโนโลยีการผลิตที่กาวหนา เชน รถไถขนาดใหญ พันธขาวที่ดี ปุยเคมี ยาปราบศัตรูพืช ทําใหการทําการผลิตของชุมชนหมูบานบอใหญ ไดรับผลดี และสามารถชําระหนี้เงินกูของตนเองที่กูมาลงทุนได ไพฑูรย มีกุศลและคณะ (2533) ศึกษาเรื่อง “การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการผลิตพืช เศรษฐกิจกับภาวะหนี้สินในหมูบานอีสาน : ศึกษากรณี บานโลมน ตําบลบัวโคก อําเภอทาตูม จังหวัดสุรินทร” ประเทศไทย มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาพัฒนาการเทคโนโลยีการผลิตพืชเศรษฐกิจ ของหมูบานไทย-เขมร ในภาคอีสาน และศึกษาสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการผลิตพืช รวมทั้งความสัมพันธของการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการผลิตพืชเศรษฐกิจกับภาวะหนี้สิน โดยใช วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ ซึ่งใชวิธีการเก็บรวบรวมขอมูลในการสัมภาษณหัวหนา ครัวเรือน และใชแบบสอบถาม จากการศึกษาพบวากอนป พ.ศ. 2500 บานโลมน มีระบบการผลิต เพื่อเลี้ยงตนเองในครัวเรือนเปนหลักโดยการทําไร ในชวง 70 ปแรกตั้งหมูบาน และการทํานา เมื่อ ประมาณ 50 ป มาจนถึงปจจุบันอาชีพรองคือ การปลูกหมอนเลี้ยงไหม ปลูกพืชผักสวนครัว ระดับ การใช เทคโนโลยี ก ารผลิ ต ยั ง เป น แบบดั้ ง เดิ ม ภายหลั ง ป พ.ศ. 2500 เป น ต น มา ได มี ก ารนํ า เทคโนโลยีใหมเขามาเพื่อเพิ่มผลผลิต เชน ขาวพันธใหม และปุยเคมีมาชวยใหผลผลิตเพิ่มสูงขึ้น การนําใชเทคโนโลยีทีไมมีราคาแพง ทําใหประชาชนลดหนี้สินไดเปนจํานวนมาก สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (2527) ศึกษาเรื่อง “การรวมมือของประชาชน ตอโครงการพัฒนาชนบทยากจน” ในจังหวัดอุบลราชธานีและจังหวัดเชียงราย จังหวัดละ 2 อําเภอ อําเภอละ 3 ตําบล ตําบลละ 2 หมูบานมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาระบบและรูปแบบของความรวม มือของประชาชนตอโครงการการพัฒ นาชนบทยากจน ปจัยที่มีผลกระทบตอความรวมมือของ ประชาชนที่ มี ต อ โครงการการพั ฒ นาชนบทยากจน และความพึ ง พอใจของประชาชนที่ มี ต อ นโยบายของรัฐบาลในการพัฒนาชนบทยากจน โดยใชวิธีการวิจัยภาคสนามดวยการเก็บรวบรวม ขอมู ล ใชแ บบสอบถาม ใช การสัม ภาษณ ก ลุม ตัวอยางที่ไดกําหนดไวทุ กครัวเรือน และใช การ


32

ประมวลผลดวยโปรแกรมทางสังคมศาสตร (SPSS) ใชการทดสอบดวยไคสแควร จากการศึกษา พบวาประชาชนมีความรู ความเขาใจในโครงการที่มีนัยสัมพันธกับความพึงพอใจ 95.3 % ยิ่งนับ วาสูงมาก สวนการใชเทคโนโลยีการผลิตในชนบทนั้น ปรากฏวาประชาชนที่นําเทคโนโลยีคอนขาง สู งคื อ 28.2 % การใช แรงงานนั้น ประชาชนส วนมากให ความสนใจในการใช แรงงานกาย เพื่ อ พัฒนาชุมชนของตนเอง คือ 98.8 % ประชาชนมีความพึงพอใจตอนโยบายของรัฐบาลมีถึง 99.7 % นับวาสูงมาก และพอใจเปนอยางยิ่ง ซึ่งนับวานโยบายของรัฐบาลไดรับผลสําเร็จสูงในสายตา ของประชาชน สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (2522) ศึกษาเรื่อง “ความคาดหวังกับความ พรอมรับในการสรางงานของชาวชนบท” ในจังหวัดเชียงรายและจังหวัดขอนแกน (ประเทศไทย) มี วัตถุประสงคเพื่อศึกษาฐานะและวิธีการแกปญหาทางเศรษฐกิจของชาวชนบทในปจจุบัน ความ คาดหวังและผลประโยชนจากโครงการชวยเหลือของรัฐบาล โดยใชวิธีเชิงปริมาณใชวิธีการเก็บรวบ รวมขอมูลในการสังเกต ใชการสัมภาษณ ใชแบบสอบถามหัวหนาครัวเรือน จํานวน 965 คน โดย ใชโปรแกรม SPSS เพื่อประมวลผลขอมูลจากการศึกษาพบวาชาวชนบทสวนมากรอยละ 58.4 ของทั้งสองจังหวัดมีรายไดต่ํากวาปละ 10,000 บาท ในป 2521 เพื่อแกไขปญหาการดํารงชีพ เพื่อ ใหมีรายไดเพิ่มขึ้นนั้น ชาวชนบททั้งสองจังหวัดไดมีการกูยืมเงินมาลงทุนในดานการเกษตร และได ขายทรัพยสินเพื่อใหพอใชจายในครอบครัว และไดสงสมาชิกในครอบครัวไปทํางานทองถิ่นอื่น เพื่อ ส ง เงิน กลั บ มาให ค รอบครัว คื อ รอ ยละ 67.3 ในจั ง หวัด ขอนแก น และรอ ยละ 39.3 ในจั งหวั ด เชียงราย ความคาดหวังของชาวชนบททั้งสองจังหวัดที่มีความตองการและจําเปนที่สุด คือ ที่ดินทํา กิน ที่อยูอาศัย แหลงน้ํา เงินลงทุน เครื่องมือประกอบอาชีพ และเครื่องอํานวยความสะดวกในครัว เรือน สวนที่ดินทํากินและเครื่องมือประกอบอาชีพ เปนปจจัยที่สําคัญในการผลิตในดานการเกษตร ของชาวชนบท สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ (2540 : 10 – 13) ผลลัพธอันเนื่องจากโครงการพระราช ดําริ จะทําใหวิถีชีวิตความเปนอยูของประชาชนบานนายางดานเศรษฐกิจและสังคมเปลี่ยนแปลง ไปในประเด็นดังนี้ 1) ดานสาธารณูปโภค ประชาชนในหมูบานไดมีถนนหนทางผานเขาสูหมูบาน เพื่อ อํานวยความสะดวกใหแกการติดตอสัมพันธระหวางหมูบานกับตัวเมือง มีไฟฟาใชสําหรับใหความ สะดวกสบายในครัวเรือน มีบอน้ําบาดาลใชในหมูบาน 2) ประชาชนก็จะมีที่ดินเปนที่ทํากินเพิ่มขึ้น อันเนื่องจากการจัดสรรที่ดินของโครงการ 3) ประชาชนมีระบบชลประทาน เพื่อนําน้ําเขาสูพื้นที่การเพาะปลูกและการประมง


33

4) ประชาชนภายในหมูบานไดรับการฝกอบรมวิชาการดานการเกษตรและไดรับแนว พันธุพืชและพันธุสัตวจากโครงการ 5) ประชาชนมีรายไดเพิ่มขึ้น เพราะมีการผลิตหลากหลายอาชีพ และมี ผลตอการดํารงชีวิตในทางที่ทําใหคุณภาพชีวิตดีขึ้น โครงการพระราชดําริเปนโครงการเดียวในประเทศลาว ที่ไดรับพระราชทานใหการชวย เหลือประชาชนลาว โดยเฉพาะประชาชนบานนายางและบานที่อยูรอบ ๆ โครงการ ที่มุงสงเสริมยก ระดับฐานะความเปนอยูของประชาชนใหดีขึ้น และชวยใหประชาชนไดรับการพัฒนาดานวิชาการ การเกษตรที่ดีถูกตองตามหลักวิชาการ และสามารถผลิตอาหารการกินตาง ๆ ที่พอเพียงตอการ อุ ป โภคบริโภค อนึ่ ง ฝ า ยลาวเองก็ ได ส รา งถนนและนํ า เอาไฟฟ า เข า สู ห มู บ า นในบริ เวณของ โครงการ เพื่ อ อํ า นวยให ค วามสะดวกสบายให แก ป ระชาชนและโครงการเพื่ อ ดํ า เนิ น การด า น กิจกรรมตาง ๆ สิ่งเหลานี้จะทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงดานเศรษฐกิจ และสังคมภายในบานนายาง สํานักงานสงเสริมเอกลักษณของชาติ (2531 : 35 – 43) โครงการมูลนิธิทานอาจารย วัน อุตตโม เพื่อพัฒนาการเกษตร การศึกษา อนามัยและสังคม ในพระราชดําริของพระบาทสมเด็จ พระเจาอยูหัว จังหวัดสกลนคร โครงการนี้เปนโครงการพัฒนาชนบทโดยครบรูปแบบ คือ พัฒนาทั้ง ทางดานการเกษตร ซึ่งเปนปจจัยสําคัญยิ่งของชาวชนบท รวมทั้งพัฒนาดานการศึกษาอนามัยและ สังคม ซึ่งมีวัตถุประสงคมุงสงเสริมใหประชาชนมีการพัฒนาดานการเกษตร การศึกษา อนามัย และสังคมใหมีความเปนอยูที่ดีขึ้น และรวมทั้งสงเสริมสนับสนุนการทํางานระหวางภาคราชการกับ ประชาชนใหไดผลสมบูรณยิ่งขึ้น นอกจากนั้นมูลนิธิยังมีนโยบายที่จะพัฒนาเพื่อที่จะใหประชาชน ไดพัฒนาครอบครัว พัฒนาสังคม พัฒนาหมูบาน พัฒนาอําเภอของพวกเขาใหมีความอยูดีกินดี ตามนโยบายของรัฐบาล โครงการในพระราชดํ าริของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหั วดํ าเนิ น การในเขตพื้ น ที่ อําเภอสองดาว จังหวัดสกลนคร ไดกระทําการพัฒนาไปอยางตอเนื่อง คือ ไดสรางฝายน้ํา 7 ฝาย ซึ่งบรรจุน้ําไดประมาณ 6 ลานกวาลูกบาศเมตร และตอทอประปาจากฝายตาง ๆ ไปยังหมูบานทั้ง 37 หมูบาน ซึ่งมีพื้นที่ 222,500 ไร และมีประชากรอาศัยอยูประมาณ 30,000 คน ไดใชน้ําอยาง อุดมสมบู รณ และอยางสะดวกสบาย ในดา นการเกษตรไดสงเสริม ให ป ระชาชนปลู กพื ชไร คื อ สงเสริมใหปลูกขาวหอมมะลิ ซึ่งเปนขาวที่มีราคาดีที่จะทําใหประชาชนมีรายไดดี นอกจากนั้นก็ สงเสริมใหมีธนาคารขาวโดยมูลนิธิเปนผูสนับสนุนใหกับประชาชนที่อดอยากยากจน และสงเสริม ให ป ระชาชนทํ า ปุ ย หมั ก ด ว ยตนเอง นอกจากนั้ น ยั ง ได รับ การสนั บ สนุ น ในเรื่อ งของโครงการ ศิลปาชีพ พิ เศษของสมเด็จพระนางเจาพระบรมราชินี น าถด วย โดยไดสงเสริม การปลูก หม อน


34

เลี้ยงไหม สงเสริมการขายผาไหม ผาฝาย สงเสริมการเลี้ยงสัตว การปลูกปารักน้ําและสงเสริมดาน หัตถกรรมใหประชาชนไดมีอาชีพเสริม ดานการศึกษาไดมีการพัฒนาดานอุปกรณการเรียนการ สอน สรางอาคารเรียนที่ทันสมัยให และสงเสริมเรื่องการกีฬา และใหทุนสนับสนุนนักเรียนที่จบ ชั้นประถมแลวใหมีโอกาสเรียนในระดับชั้นมัธยมปละประมาณ 111 ทุน ทุนละ 1,000 บาท ใน เรื่องของการอนามัย ไดสงเสริมใหมีการทําสวมที่ถูกสุขลักษณะ มีการปนโองเก็บน้ําฝน รับน้ําฝน ไวใชไดอยางถูกสุขอนามัย ในดานสังคมไดใหการสนับสนุนในเรื่องของการกีฬา การแขงขันกีฬา ประชาชนใหไดใชเวลาวางใหเกิดประโยชนและจัดฝกอบรมทางดานจริยธรรม ศีลธรรม ใหกับ เยาวชนและสงเสริมในเรื่องของสังคมใหรูจักที่จะมีความรับผิดชอบ รูจักมีการเสียสละ รูจักมีการ รักความสามัคคีรวมแรงรวมใจกันพัฒนาความเปนอยู พัฒนาอาชีพในครอบครัวในสังคมและใน อําเภอใหมีความเปนอยูที่ดีขึ้น สํานักงานเสริมสรางเอกลักษณของชาติ (2530 : 142 – 147) โครงการพัฒนาหมูบาน ทับ ลานตามพระราชดํ าริ อํ าเภอนาดี ปราจีน บุ รี เป น โครงการที่ จัด ขึ้น ตามเป าหมายของแผน พัฒนาโครงการพระราชดําริ มีจุดมุงหมายในการพัฒนาหมูบานทับลาน ก็เพื่อจัดที่ดินทํากินใหแก ประชาชน พัฒนาอาชีพโดยเฉพาะดานการเกษตร ใหประชาชนไดมีอาชีพดานการเกษตรที่ถูกตอง และถาวร มีที่ดินทํากินที่ถาวร นอกจากนั้นยังฝกอบรมใหประชาชนไดมีความรู มีประสบการณใน การประกอบอาชีพและที่สําคัญอีกอยางหนึ่ง ก็เพื่อใหประชาชนไดมีความรู ความสามัคคี และ สามารถจะพัฒนาหมูบานของตนเองได การพัฒนาประการที่ 1 เพื่อพัฒนาจิตใจของประชาชนให มีความสามัคคีกลมเกลียวกันในหมูประชาชน ประการที่ 2 เพื่อที่จะใหประชาชนไดมีความรู และมี ประสบการณในการประกอบอาชีพทางการเกษตรและดานอื่น ๆ ดวย ประการที่ 3 ก็คือจัดที่ดินทํา กินใหแกประชาชนตามความเหมาะสม เพื่อใหประชาชนมีที่ดินเปนของตนเองและมีความมั่นคงใน การประกอบอาชีพในวันขางหนา ในการพัฒนาหมูบานทับลานนี้ไดมีการดําเนินโครงการ คือ จัดหาแหลงน้ําใหแกชาว บาน โดยการกอสรางอางเก็บน้ําระบบชลประทานขึ้น เพราะเปนป จจัยสําคัญ ในการประกอบ อาชีพการเกษตร รวมทั้งไดจัดสรางฉางขาว โรงสีขาว และไดสงเสริมการเกษตรแผนใหมตามหลัก วิชาการ และไดสงเสริมอุตสาหกรรมในครอบครัว พรอมทั้งไดปรับพื้นที่ทํากินและพื้นที่อาศัยให ประชาชน คือ ไดทํารังวัดแบ งแปลงที่อยูอาศัยไดจํานวน 163 แปลง และวัดแบงแปลงที่ทํากิน จํานวน 326 แปลง กอสรางถนนสายใหมระยะทาง 18 กิโลเมตร ไดฟนฟูกวา 1,750 ไร ไดปลูกปา เพื่อชุมชนเปนเนื้อที่ 74 ไร ในดานการศึกษาก็ไดสรางโรงเรียนรมเกลาขึ้นที่นี่ เพื่อใหเด็กในหมูบาน ทับลานไดเขาเรียนมีความรูความสามารถทัดเทียมกับเด็กในหมูบานอื่น ๆ


35

สํานักงานสงเสริมเอกลักษณของชาติ (2526 : 68 – 72) โครงการพัฒนาบริเวณพื้นที่ หวยปลาดุก กิ่งอําเภอนาดวง อําเภอปากชม จังหวัดเลย ตามพระราชดําริ แผนหลักของโครงการนี้ คือ จัดหาที่อยูอาศัยและที่ทํากินใหแกประชาชนที่ยากจนและขาดแคลนที่ทํากิน ซึ่งมีจํานวนถึง 400 ครอบครัว และไดรวมกับชาวบานในการปลูกสรางสวนปาจํานวน 3,500 ไร นอกจากนั้นยังได สรางถนนในหมูบาน บุกเบิกที่อยูอาศัยและที่ทํากินใหประชาชน ตลอดจนจัดหาแหลงน้ําขนาดเล็ก เพื่อการอุปโภคบริโภคสําหรับประชาชน ในดานการศึกษาไดทําการจัดสรางโรงเรียนใหแกหมูบาน และจัดหาครู และอุปกรณการสอน ดานสาธารณสุขไดใหการรักษาพยาบาลในพื้นที่ และกอสราง สถาบันบริการสาธารณสุขชุมชน ตลอดจนฝกอบรมพนักงานสุขภาพชุมชนในหมูบาน สําหรับแผน พัฒนาดานการเกษตรไดกําหนดขอบเขตโครงการสํารวจ จําแนกสมรรถนะดิน อนุรักษดินและน้ํา พรอมทั้งปลูกพืชบํารุงดิน และนอกจากนั้นแลวยังไดเอาใจใสในดานอุตสาหกรรมในครัวเรือน ของประชาชนอีกดวย ไดฝกอบรมสงเสริมอาชีพอุตสาหกรรมในครอบครัวเพื่อเพิ่มรายไดใหแก ประชาชน และจัดหาตลาดเพื่ อจําหน ายผลิ ตภั ณ ฑ ดั งกลาว เพื่ อดํ าเนิ นตามแนวพระราชดํ าริ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวโครงการพัฒนาพื้นที่ในบริเวณหวยปลาดุกนี้ ในปจจุบันพื้นที่บริเวณ นี้ไดกลายเปนแหลงอาหารและผลิตภัณฑทางการเกษตรที่มีผลผลิตที่พอเพียงตอการยังชีพ โดยใน ปลายปพุทธศักราช 2524 สามารถเพิ่มผลผลิตขาวโพดมากกวา 350 ตัน ขาวมากกวา 700 เกวียน และพื ชตระกู ลถั่ว มากกวา 100 ตั น ไดถูก สงออกสูตลาด และในป จจุบั น นี้ ก็ได ท ดลองปลู ก พื ช ไม ผ ลเมื อ งหนาวและไม ป ระดั บ เมื อ งหนาวขึ้น ด วย เพื่ อช ว ยหาหนทางเพิ่ ม รายได พิ เศษให แก ประชาชนในพื้นที่บริเวณหวยปลาดุกนี้ สํานักงานเสริมสรางเอกลักษณของชาติ (2537 : 189 – 196) ศูนยการศึกษาพัฒนา ภูพานพิพิธภัณฑธรรมชาติที่มีชีวิต พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวไดทรงมีพระราชดําริใหจัดตั้งศูนย ศึกษาขึ้นเพื่อชวยเหลือประชาชนในภาคอีสานที่มีสภาพแหงแลง และประชาชนมีฐานะยากจน ศูนยศึกษาดังกลาวนี้ชื่อวา “ศูนยศึกษาการพัฒ นาภูพานอันเนื่องมาจากพระราชดําริ” เพื่อเปน ศูนยกลางเผยแพรความรูสูประชาชน นําไปพัฒนาทองถิ่นและตนเองเพื่อยกระดับความเปนอยูให ดีขึ้นตอไป ศูนยศึกษาพัฒนาภูพานอันเนื่องมาจากพระราชดําริ ตั้งอยูที่บานนานกเคา ตําบลหวย ยาง อําเภอเมือง จังหวัดสกลนคร ศูนยศึกษาดังกลาวนี้มีวัตถุประสงค 4 ประการดวยกันคือ 1) เพื่อใหเปนศูนยศึกษาและทดลองงานดานพัฒนาทุกรูปแบบ รวมทั้งถายทอด เทคโนโลยีแผนใหมสําหรับเปนตัวอยางใหประชาชนนําไปใชปฏิบัติในพื้นที่ของตนเอง 2) เพื่อสงเสริมใหมีการบํารุงรักษาและพัฒนาปาไมในเขตปริมณฑลของศูนยดวย ระบบชลประทาน


36

3) เพื่อสงเสริมใหมีการปลูกพืชเศรษฐกิจและนําผลผลิตทางการเกษตรมาแปรรูป เปนสินคาเกษตรอุตสาหกรรม 4) เพื่อสงเสริมการพัฒนาอาชีพทางการเกษตรตาง ๆ เชน การกสิกรรม การประมง การปศุสัตว เปนตน ทั้งนี้เพื่อใหประชาชนมีอาชีพที่มั่นคงและมีรายไดพอเลี้ยงครอบครัว ศู น ย ศึ ก ษาการพั ฒ นาภู พ านอั น เนื่ อ งมาจากพระราชดํ า ริได มี ก ารดํ า เนิ น งาน ซึ่ ง ประกอบดวยงานตาง ๆ ดังนี้ งานบริ ห ารส ว นกลาง ทํ า หน า ที่ ป ระสานงานอํ า นวยความสะดวกให กิ จ กรรม ตาง ๆ ดวยความคลองตัวรวดเร็ว งานชลประทาน ทําหนาที่สรางแหลงกักเก็บน้ําและระบบสงน้ําและแนะนําเกษตรกร ใหรูวิธีจัดทําระบบสงน้ํา งานศึกษาและพัฒนาเกษตรกรรม ทําหนาที่ศึกษาและทดลองหาพันธุพืชที่เหมาะสม ทดสอบระบบการทําฟารมในลักษณะไรนาสวนผสมและใชการอบรมวิชาการ งานศึกษาและพัฒนาปาไม ทําหนาที่อนุรักษปาไม อนุรักษพื้นที่ตนน้ําลําธาร ปลูกปา ฟนและไมใชสอย งานสาธิตสงเสริมและพัฒนาแหลงน้ําเพื่อการประมง ทําหนาที่ศึกษาพัฒนาประมงน้ํา จืด เผยแพรใหความรูในการเลี้ยงสัตวน้ําและสงเสริมการเลี้ยงปลาในบอ งานศึ ก ษาและพั ฒ นาด า นปศุ สั ต ว ทํ า หน า ที่ พั ฒ นาด า นการเลี้ ย งสั ต ว ส ง เสริ ม เกษตรกรใหมีความรูในดานการเลี้ยงและปองกันโรคระบาดสัตว และการผลิตอาหารสัตวโดยใช วัตถุเหลือจากการเกษตร งานศึกษาและพัฒ นาปรับปรุงบํารุงดิน ทําหนาที่ปรับปรุงดิน อนุรักษดินและน้ํา วิจัย ทดสอบถายทอดความรูเพื่อพัฒนาที่ดิน และนําไปใชใหเกิดประโยชน งานสงเสริมอาชีพอุตสาหกรรมในครอบครัว ทําหนาที่ฝกอบรมอาชีพอุตสาหกรรมให เกษตรกรเพื่อใหมีรายไดเสริมจากอาชีพหลักทางการเกษตร งานพั ฒ นาหมู บ า นตั ว อย า ง ทํ า หน า ที่ ส งเสริม พั ฒ นาคุ ณ ภาพเด็ ก เยาวชนและสตรี จัดระเบียบหมูบาน พัฒนาหมูบานนานกเคาดวยระบบสหกรณ เพื่อเปนตัวอยางใหหมูบานใกล เคียง งานสาธารณสุข ทําหนาที่สงเสริมใหประชาชนในเขตหมูบานบริวารรูจักรักษาสุขภาพ และปองกันโรคที่ดี


37

งานสงเสริมการเกษตร ทําหนาที่นําความรูที่งานศึกษาและพัฒนาเกษตรกรรมไดดําเนิน การศึกษาและทดลองจนมีผลที่นาพอใจแลวไปสงเสริมสาธิตใหเกษตรกรไดเรียนรูและทดลองทํา ดวยตนเอง งานฝก อบรมและถายทอดเทคโนโลยี ทําหนาที่นําความรูที่กิจกรรมต าง ๆ ไดศึก ษา ทดลองคนควาไดผลเปนที่นาพอใจแลวมาถายทอดใหแกเกษตรกรในหมูบานบริวารและใกลเคียง เพ็ญพักตร ทองแท และไวทิสย สมุทรกลิน (2531 – 2532) ศึกษาเฉพาะกรณีโครงการ พระราชดําริทุงลิปะสะโง อําเภอหนองจิก จังหวัดปตตานี โดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาถึงปญหา และอุ ป สรรคที่ ชุม ชนในโครงการพระราชดํ าริทุ งลิ ป ะสะโงที่ ป ระสบอยู ผลจากการวิจั ย พบวา โครงการพระราชดําริทุงลิปะสะโงเปนโครงการจัดที่ดินทํากินใหกับประชาชนที่ยากจน ปญหาของ เกษตรกรทุงลิปะสะโงคือความยากจน และสาเหตุของปญหาดังกลาวไดแก น้ํา ที่ดิน หนี้สิน และ เงินทุน เกษตรกรสวนใหญแกไขปญหาความยากจนโดยการยายถิ่นออก เพื่อไปหางานทําทั้งใน จังหวัดใกลเคียงและตางประเทศ สวนเกษตรกรที่อยูในหมูบานจําเปนตองหางานทําที่เปนอาชีพ เสริม เพื่อเปนการหารายไดเพิ่มเพื่อการดํารงชีพ และไดมีการพัฒนาดานอาชีพของเกษตรกรที่ยึด เปนอาชีพหลัก อันไดแกการทํานา ซึ่งเปนสิ่งจําเปนที่จะทําใหเกษตรกรมีชีวิตความเปนอยูดีขึ้นกวา เดิม โครงการพั ฒ นาตามแนวพระราชดําริดั งกลาวขางตนจะเป น แนวทางให ผูวิจัย นํ าไป เปรียบเทียบกับโครงการพระราชดําริที่บานนายาง ทั้งนี้เพื่อหาขอเท็จจริงในกรณีหลังคือหมูบาน นายางวาจะมีการเปลี่ยนแปลงในเศรษฐกิจและสังคมตางและเหมือนกันในมิติไหนบาง จากการศึกษาแนวคิดทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวของดังกลาวขางตน ผูวิจัยไดใชแนวคิด ทฤษฎีความขัดแยงเพื่อเปนแนวทางในการศึกษาวิจัยการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม ของชุมชนหมูบานนายาง อําเภอนาทรายทอง กําแพงนครเวียงจันทน ตามที่มารกซไดเสนอไวโดย เฉพาะแนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาสังคมนั้นจะขึ้นอยูกับพื้นฐานทางเศรษฐกิจที่เรียกวา แบบวิธีการ ผลิต ซึ่งประกอบดวยสองสวนคือ พลังการผลิตและความสัมพันธของสังคมในการผลิต ถามีการ เปลี่ยนแปลงอยูในแบบวิธีการผลิตแลวสวนอื่น ๆ ของสังคม เชน ครอบครัวและศาสนาเปนตน ก็เปลี่ยนแปลงไปดวย โดยเฉพาะอยางยิ่งในระยะที่มีโครงการศูนยพั ฒ นาและบริการดานการ เกษตรที่ไดใหความชวยเหลือแกประชาชนหมูบานนายาง นอกจากแนวคิ ด ทฤษฎี ที่ ไ ด ก ล า วไปแล ว ผู วิ จั ย ก็ จ ะได อ าศั ย แนวคิ ด ทฤษ ฏี โครงสรางหนาที่ตามทรรศนะของพารสันสดังไดเสนอไวขางตนและทฤษฎีการทําใหทันสมัยที่เปน


38

ฐานใหแกการศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมตามที่แบล็กค ไอเซนสแตดท สเมล เซอร และโรสทาวไดเสนอไวขางตน กรอบการวิจัย (Research Frame) ในการวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยไดศึกษาแนวคิดทฤษฎี (theoretical studies) และเอกสารงาน วิจัยที่เกี่ยวกับการศึกษาเชิงประจักษ (empirical studies) เพื่อใชเปนฐานในการสรางกรอบการ วิจัยดังแสดงไวในแผนภาพ 4 แผนภาพ 4

กรอบการวิจัย

ตัวแปรอิสระ (X) 1. แผนพัฒนาเศรษฐกิจ-สังคมแหงชาติ ระยะที่ 1 เริ่มป 2524-2528 ระยะที่ 2 เริ่มป 2529-2533 ระยะที่ 3 เริ่มป 2534-2538 ระยะที่ 4 เริ่มป 2539-2543 2. การพัฒนาภายใตโครงการ “ศูนย พัฒนาและบริการดานการเกษตร”

ตัวแปรตาม (Y) 1. การเปลี่ยนแปลงดานเศรษฐกิจ 1.1 เกิดการเปลี่ยนแปลงแบบแผน การผลิต 1.2 เกิดการปรับเปลี่ยนกระบวนการ การผลิต การบริโภคและการเงินการธนาคาร 2. การเปลี่ยนแปลงดานสังคมและ วัฒนธรรม 2.1 เกิดการเปลี่ยนแปลงความ สัมพันธทางสังคม 2.2 ประชาชนมีการปรับเปลี่ยนวิถี ชีวิตที่สอดคลองตามแบบแผนการผลิตสังคม นิยม 2.3 คุณภาพชีวิตของประชาชนไดรับ การพัฒนาขึ้น


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.