Complete General Knowledge of Sociology w.2

Page 1

GENERAL KNOWLEDGE OF

SOCIOLOGY

แนวคิดสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา รหัสวิชา 262102 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2558 (สัปดาหที่ 2 – 17 17..08 08..58 58))

แนวคิดเกี่ยวกับสังคมและวัฒนธรรม แนวคิดเกี่ยวกับสังคม

แนวคิดเกี่ยวกับวัฒนธรรม

 ความหมายของสังคม

 ความหมายของวัฒนธรรม

 องคประกอบของสังคม

 ลักษณะของวัฒนธรรม

 ลักษณะความอยูรอดของสังคม

 หนาที่ของวัฒนธรรม

 หนาที่ของสังคม

 ประเภทของวัฒนธรรม

 ประเภทของสังคม

 ความสัมพันธระหวางสังคมและวัฒนธรรม

 สรุป

 แนวความคิดบางประการเกี่ยวกับวัฒนธรรม  สรุป


คําถาม ... เรารูจักและเขาใจ สังคม ดีพอแลวหรือ ???

ศาสนา

นักปรัชญา นกปรชญา

นักสังคมศาสตร นกสงคมศาสตร สังคม ... คืออะไร

ศาสนา ... กับการอธิบายสังคมของมนุษย

อธิบายความเปนอยูของสังคมมนุษย ปญหา และแนวทางแกไข เพื่อใหมนุษยอยูในสังคมไดอยางสงบสุข


นักปรัชญา ... กับการอธิบายสังคมของมนุษย อริสโตเติล... นักปรัชญาชาวกรีก ได ก ล า วว า มนุ​ุ ษ ย เ ป น สั ต ว สั ง คม (Social Animal) นั่นคือ มนุษยโดย สภาพธรรมชาติจะตองมีชีวิตอยูรวมกัน กับบุคคลอื่นๆ ติดตอสัมพันธซึ่งกันและ กัน มีการจัดระเบียบรวมกันภายในกลุม เพราะกล ม สามารถตอบสนองความ เพราะกลุ ตองการของมนุษยได ดังนั้นมนุษยจึงไม สามารถดํ า รงชี วิ ต อยู อ ย า งอิ ส ระตาม ลําพังแตผูเดียวได สังคมจึงเกิดขึ้น

Aristotle

นักสังคมศาสตร ... กับการอธิบายสังคมของมนุษย 

ผูที่ศีกษาและใหความสําคัญเกี่ยวกับสังคม  สงคมศาสตรมี ั  หี ลายสาขาวิ​ิชาดวยกน  ั โดยนกสงคมศาสตรแตละแขนง โ ั ั   โดยเนนถึงลักษณะเฉพาะในแตละดานที่เกี่ยวของกับสังคม อาทิเชน ... นักสังคมวิทยา มุงศึกษาสังคมในแงความสัมพันธและการกระทําระหวางกัน* นักรัฐศาสตร มุงุ ศึกษาเกี่ยวกับการใชอํานาจและการปกครองสังคม นักจิตวิทยา มุงศึกษาเกีย่ วภาวะจิตใจของปจเจกบุคคลในสังคม นักเศรษฐศาสตร มุงศึกษาเกี่ยวกับการอุปโภค บริโภคของสมาชิกในสังคม


ความหมายของสังคม 

นักสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ไดให ความหมายของสังคม ไวหลายประการ เชน Fitcher (1957) สังคม

หมายถึง กลุมคนที่มีการกระทําระหวางกัน ทําใหเกิดความพึงพอใจ ในสังคม แล ในสงคม และมีมสวนรวมในวฒนธรรมเดยวกน สวนรวมในวัฒนธรรมเดียวกัน Landis (1971) สังคม หมายถึง กลุมคนที่อยูรวมเปนเวลานานพอสมควร และมีการยึดถือ วัฒนธรรมรวมกัน พัทยา สายหู (ม.ป.ป.) สังคม หมายถึง ระบบความสัมพันธของบุคคล ที่อยูรวมกันเปนกลุม โดย ระบบความสัมพันธดังกลาวไดยึดเหนี่ยวคนในกลุมไวดว ยกัน ทําใหกลุมมีความมั่นคง การประพฤติปฏิบัติ ตอกันนั้นเอง นํามาซึ่งการยอมรับและปฏิบัติตาม ระเบียบแบบแผนหรือกฎเกณฑในการกําหนดสิทธิและ หนาที่ของบคคลที หนาทของบุ คคลทจะปฏบตตอผู ่จะปฏิบัติตอผอนื่ การปฏบตตอกนเชนนอยางบอยครง การปฏิบัติตอกันเชนนี้อยางบอยครั้ง สมาเสมอ สม่ําเสมอ จนสร จนสรางความสมพนธ างความสัมพันธ ใหเกิดขึ้นในสังคม สมศักดิ์ ศรีสันติสุข (2551) หมายถึง กลุมคนหรือผูคนที่มาอาศัยอยูในบริเวณพื้นที่เดียวกัน มีความสัมพันธซึ่งเกิดจากการกระทําระหวางกัน และยอมรับแบบแผนการดําเนินชีวิตของกลุมมาปฏิบัติ กลายเปนสถาบันทางสังคม

องคประกอบของสังคม จากความหมายของสังคม สามารถสรุปเปน องคประกอบของสังคม 8 ประการ 1. อยูรวมกันเปนกลุม (group living) 2 มอาณาเขตทอยู 2. มีอาณาเขตที่อยรวมกน วมกัน (territory) 3. มีความรูสึกเปนพวกเดียวกันและไมมค ี วามรังเกียจเดียดฉันท (absence of discrimination) 4. 6 6.

มีปฏิสัมพันธหรือการกระทําระหวางกัน (interaction) มีความสัมพันธเปนหนึ่งเดียวกัน (relationship) มีการแบงหนาที่และรวมมือ มการแบงหนาทและรวมมอ

7.

มีระบบความคิด ความเชื่อ คานิยม บรรทัดฐานรวมกัน

5.

(division of labour and cooperation)

(idea belief value norms) 8. มีสถาบันทางสังคม (institutions)


ลักษณะความอยูรอดของสังคม  1 1. 2.

ลักษณะ 4 ประการที่ทําใหสังคมอยูรอด สังคมตองสนองความจําเปนมลฐาน สงคมตองสนองความจาเปนมู ลฐาน (basic needs) หรอ หรือ ความจําเปน/ความตองการดานรางกาย สังคมตองมีกระบวนการสืบทอดวัฒนธรรมหรือการสืบแทน (recruitment)

3. 4.

สังคมตองมีการควบคุมทางสังคม (social control) สังคมตองมีการเปลี่ยนแปลงทางสังคม (social change)

หนาที่ของสังคม  1. 2. 3.

การที่สังคมจะอยูรอดได สังคมตองพยายามจัดทําหนาที่ที่จําเปน ใหแกสมาชิกในสังคม 4 ประการ หนาที่ในการสรางสมาชิกใหมใหสังคม (sexual production) หนาที่ดานเศรษฐกิจ (economic functions) หนาที่ในการักษาความสงบเรียบรอยใหกับสมาชิกในสังคม (order functions)

4.

หนา ที​ีบ่ ํารุงขวั​ัญและกําํ ลังั ใจให ใ ใ ก ับสมาชิกในสั ใ ังคม (morality and psychological aspect)


ประเภทของสังคม (1)  นักสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาไดแบงประเภทของสังคมออกเปน

รูปแบบตางๆ โดยมีหลักเกณฑในการแบงที่แตกตางกันไป ยกตัวอยางเชน ทอนนี ทอนนย่ย (TTonnies, i F Ferdinand di d) นั นกสงคมวทยาชนบทชาวเยอรมน กสังคมวิทยาชนบทชาวเยอรมัน ไดใชหลักเกณฑ ความสัมพันธทางสังคม คือ Gemeinschaft ซึ่งเปน รู ป แบบสั ง คมทึ ค นในสั ง คมที่ มี ก ารพึ่ ง พาอาศั ย ช ว ยเหลื อ ซึ่ ง กั น และกั น และมี ค วามผู ก พั น ด า นจิ ต ใจอย า งมาก ส ว นสั ง คมแบบ Gesellschaft เป น สั ง คมที่ มี ก ารพึ่ ง พาช ว ยเหลื อ กั น และความผู ก พั น ในด า นของจิ ต ใจ นอยกวาแบบแรก นอยกวาแบบแรก Gemeinschaft vs Gesellschaft Dichotomy

ประเภทของสังคม (2) คูลลี่ย (Cooley, C.H.) ไดแบงประเภทสังคมโดยใชหลักเกณฑ ของความสั ม พั น ธ ท างสั ง คม คื อ สั ง คมที่ มี ค วามสั ม พั น ธ แ บบปฐมภู มิ (primary relationship) ซึ่งเปนสังคมที่มีความผูกพันกันอยางใกลชิด เหนียวแนน มีความชวยเหลือกันและกันอยางมาก และสังคมที่มีความสัมพันธ แบบทุติยภูมิ (secondary relationship) เปนสังคมที่ความสัมพันธ แบบหางเหิน ติดตอกันในลักษณะที่เปนทางการ ไมมีความสนิทสนมแบบ สวนตัวระหวางสมาชิก

Primary vs Secondary Relationship


ประเภทของสังคม (3) เดอไคม (Emile, Durkheim) ไดแบงประเภทสังคมโดยใชหลักเกณฑ ในเรื่องของ การแบงงานกันทํา (division of labour) โดยแบงสังคม ออกเปน 2 ประเภท คอ ออกเปน คือ ความเปนปกแผนของสงคมกลไก ความเปนปกแผนของสังคมกลไก (mechanical solidarity) ซึ่งเปนสังคมที่ไมมีการแบงงานกันทําอยางชัดเจน สมาชิกใน สังคมมีความคิดเห็นและการกระทําคลายคลึงกัน สวนของ ความเปนปกแผน ทางอินทรีย (organic solidarity) ซึ่ งเป นสั ง คมที่ มีการแบ งงาน อยางเดนชัด และมีความแตกตางกันดานอาชีพ ความคิดเห็น และการกระทํา

Mechanical vs Organic Solidarity

ประเภทของสังคม (4)  นั ก สั ง คมวิ ท ยาชนบท

ได แ บ ง สั ง คมออกเป น 2 ประเภท โดยอาศั ย อาชี พ เกษตรกรรม เปนเกณฑ ไดแก สังคมชนบท เปนสังคมที่ประชากรสวนใหญ ประกอบอาชี พ เกษตรกรรม และมความใกลชดสนทสนมกนในระดบสู ประกอบอาชพเกษตรกรรม และมี ค วามใกล ชิ ด สนิ ท สนมกั น ในระดั บ สงง ในขณะที่ สังคมเมือง สวนใหญ ประชากรไมไดประกอบอาชีพเกษตรกรรม ความสัมพันธมีลักษณะที่เปนทางการ ไมใกลชิดกันเหมือนชนบท

นั ก สั ง คมศาสตร บ างท า นได แ บ ง สั ง คมในระดั บ กว า ง โดยใช ห ลั ก เกณฑ เศรษฐกิจ เปนตัวแบงความเจริญของประเทศตางๆ เชน สังคมกําลังพัฒนา สังคมที่พัฒนาแลว


ประเภทของสังคม (5)  สวนนักมานุษยวิทยานั้น

แบงสังคมเปน 3 ประเภท ซึ่งหลักเกณฑในการแบง

คือ เทคโนโลยี ไดแก สัสงคมทมเทคโนโลยตา ง คมที่ มี เ ทคโนโลยี ต่ํ า มการตดตอระหวางชุ มี ก ารติ ด ต อ ร หว า งชมชนแล ม ชนและสงคมภายนอก สั ง คมภายนอก ไม ม ากนั ก สมาชิ ก ในสั ง คมรู จั ก กั น หมด ประกอบอาชี พ แบบง า ยๆ เช น การลาสัตว หาของปา สังคมชาวนา คือ สังคมที่มีการประกอบอาชีพเกษตรกรรมเปนหลัก ชีวิต ผูกพันกับธรรมชาติ ยึดมั่นกับขนบธรรมเนียมประเพณี สังคมเมือง/สังคมสมัยใหม สงคมทมอาชพอนทไมใชเกษตรกร สงคมเมอง/สงคมสมยใหม สังคมที่มีอาชีพอื่นที่ไมใชเกษตรกร ประชากรยด ปร ชากรยึด หลั ก เหตุ ผ ลในการดํ า เนิ น ชี วิ ต และความสั ม พั น ธ ใ นสั ง คมเป น ไปโดยคํ า นึ ง ถึ ง ประโยชนสวนตัว

ประเภทของสังคม (6)  ความผูกพันแบบสังคม

เมือง

 ความผูกพันแบบสังคม

ชนบท

สังคมเมือง/ สังคมทันสมัย

สังคมเทคโนโลยีต่ํา/ สังคมชาวนา

Gesellschaft ความสัมพันธแบบทุติยภูมิ

Organic solidarity สังคมที่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม Agricultural Society สังคม/ประเทศที่พัฒนาแลว

Gemeinschaft ความสัมพันธแบบปฐมภูมิ Primary relationship ความเปนปกแผนของสังคมกลไก Mechanical solidarity สังคมที่ไมไดประกอบอาชีพเกษตรกรรม Non-agricultural Society สังคม/ประเทศที่กําลังพัฒนา

Developed Countries

Developing Countries

Secondary relationship ความเปนปกแผนทางอินทรีย


สรุป 

แนวคิดสังคมตางๆ ทําใหเราไดเขาใจสังคมมนุษยมากยิ่งขึ้น  เนื้อหาสาระของสังคมวิทยา มีลักษณะที่เกี่ยวของกับการศึกษาสังคม มนุษยในหลายระดับ  สังคมกับมนุษยนั้นแยกออกจากกันไมได  ความหมายของสังคม กลุมคนที่มาอยูในพื้นที่เดียวกันความสัมพันธที่ เกิดจากการกระทําระหวางกัน มีความรูสึกเปนกลุม/ พวกเดียวกัน โ โดยการยอมรบแบบแผนการดาเนนชวตของกลุ ั ํ ิ ชี ิ ม ** ลิงคกิจกรรมสัปดาหที่2 (25/08/57) : ความเหลื่อมล้ํา http://www.youtube.com/watch?v=XFSHjBzFMF8

แนวคิดเกี่ยวกับสังคมและวัฒนธรรม แนวคิดเกี่ยวกับสังคม

แนวคิดเกี่ยวกับวัฒนธรรม

 ความหมายของสังคม

 ความหมายของวัฒนธรรม

 องคประกอบของสังคม

 ลักษณะของวัฒนธรรม

 ลักษณะความอยูรอดของสังคม

 หนาที่ของวัฒนธรรม

 หนาที่ของสังคม

 ประเภทของวัฒนธรรม

 ประเภทของสังคม

 ความสัมพันธระหวางสังคมและวัฒนธรรม

 สรุป

 แนวความคิดบางประการเกี่ยวกับวัฒนธรรม  สรุป


วัฒนธรรม  ชีวิตความเปนอยูในสังคมเปนเรื่องที่เกี่ยวของกับวัฒนธรรม

แตละสังคมตองมี วัฒนธรรม อันเนื่องมาจากวัฒนธรรมเปนเครื่องชี้แนวทางสําคัญสําหรับ พฤติกรรมหรื​ือการกระทํ​ําของมนุษย

ความหมายของวัฒนธรรม (ภาษา) คําวาวัฒนธรรมมาจากภาษาบาลีสันสกฤต คําวา “วัฒน” เปนภาษาบาลี แปลวา กาวหนา “ธรรม” เปนภาษาสันสกฤต หมายถึง คุณความดี เมื่อมารวมกันแลว “วัฒนธรรม” หมายถึง ลักษณะที่แสดงถึงความ เจริญงอกงาม  วัฒนธรรม (ทั่วไป) บรรดาขนบธรรมเนียมประเพณีตางๆ ที่ตกทอดมาตั้งแต บรรพบุ รุ ษ เช น พิ ธี ... แห เ ที ย นพรรษา ทํ า บุ ญ สงกรานต ทอดกฐิ น ฯลฯ ซึ่งในบางครั้งวัฒนธรรม หมายถึง พฤติกรรมที่บุคคลชั้นสูง/ ผูที่มีการศึกษา สูปฏิบัติกัน ทํ​ําใใหมีการเปรี ป ียบเที​ียบระหวางชนชั้ันสูงและคนชั​ั้นตํ่ํา และถาคนชั้ัน ต่ําทําผิดวัฒนธรรม ก็มักจะถูกกลาววาเปนคนที่ไมมีวัฒนธรรม  วัฒนธรรม


ความหมายของวัฒนธรรม  วัฒนธรรม

(ปกครอง) พระราชบัญญัติวัฒนธรรมแหงชาติ พ.ศ.2485 ไดกําหนด ความหมายของวัฒนธรรม คือ ลักษณะที่แสดงถึงความเจริญงอกงาม ความเปน ระเบีย บเรีย บร อย ความกลมเกลีย วกาวหนาของชาติ และศี ลธรรมอั น ดีข อง ประชาชน  วั ฒ นธรรม (สั ง คมศาสตร ) มี ค วามแตกต า งจากความหมายของวั ฒ นธรรม ที่ใ ชกัน ทั่ว ไป เพราะนักสั งคมศาสตร พิจารณาถึ งวัฒนธรรม ในแง ของปจจั ย สํ า คั ญ ที่ อํ า นวยความสะดวกต อ การดํ า รงชี วิ ต ของมนุ ษ ย ใ นสั ง คม โดยไม ไ ด คํ​ํานึ​ึงถึ​ึงเรื​ื่อง คุณธรรม จริยธรรม ความดี​ี/เลว ความเหมาะสม/ไม ไ เหมาะสม ยกตัวอยางเชน ...

ความหมายของวัฒนธรรม (สังคมศาสตร)  ไทเลอร

(1871) บิดาของสาขามานุษยวิทยาวัฒนธรรม ไดใหความหมายของ วัฒนธรรมวา วัฒนธรรม คือ ผลรวมของบรรดาสิ่งตางๆ ที่มีความสลับซับซอน ที่ประกอบดวย ความเชื่อ ศิลปะ ศีลธรรม กฏหมาย ประเพณี อุปนิสัย ตลอดจน พฤติกรรมอื่นๆ ที่มนุษยแสดงออกในฐานะที่เปนสมาชิกของสังคม  กรี น (1972) นั ก สั ง คมวิ ท ยาชาวอเมริ กั น ได ใ ห ค วามหมายของวั ฒ ธรรมคื อ กระบวนการถายทอดทางวัฒนธรรม ใหบุคคลเกิดความรู รูจักวิ ธีปฏิบัติตน ตลอดจนมีความเชื่อ ความเขาใจ ผลผลิตทางศิลปะทั้งหลาย และดํารงรักษา สิ่งเหลา นั​ัน้ ไว ไ  หรือื เปลี ป ีย่ นแปลงไปในเวลาที ป ไปใ ีห่ เมาะสม  ลินตัน (1973) นักมานุษยวิทยาชาวอเมริกัน ไดใหความหมายของวัฒธรรมไววา วัฒนธรรม เปนผลของความรู ทัศนคติ แบบแผนพฤติกรรม ที่สมาชิกในสังคม ใชรวมกัน และถายทอดไปยังสมาชิกรุนตอมาในสังคมใดสังคมหนึ่ง


ความหมายของวัฒนธรรม (สังคมศาสตร)  โรเจอร

(1976) นักสังคมวิทยาชาวอเมริกัน ไดใหความหมายของวัฒนธรรมวา วัฒนธรรมคือ แบบแผนพฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู และเปนที่ยอมรับปฏิบัติ รวมกันของสมาชิกในสังคม รวมทั้งมีการถายทอดไปสูสมาชิกรุนตอๆ มา  พัทยา สายหู (2514) ไดใหความหมายของวัฒธรรมคือ แบบอยางการดํารงชีวิต ของกลุ ม คน ซึ่ ง สมาชิ ก เรี ย นรู แ ละถ า ยทอดด ว ยการสั่ ง สอน ทั้ ง ทางตรงและ ทางออม  ไพทูรย เครือแกว (2515) ไดใหความหมายของวัฒธรรมไว 2 ประการคือ ประการที่ 1 วัฒนธรรม หมายถึง มรดกทางสังคมเปนลักษณะพฤติกรรมของ มนุ ษ ย ที่ ไ ด สั่ ง สมไว ใ นอดี ต และได ต กทอดมาเป น สมบั ติ ที่ ม นุ ษ ย ใ นป จ จุ บั น ที่นําเอามาใชในการครองชีวิต ประการที่ 2 วัฒนธรรม หมายถึง แบบแผนแหงการครองชีวิต

สรุป ความหมายของวัฒนธรรม  จากนิ ย ามวั ฒ นธรรมข า งต น

สามารถสรุ ป ความหมายของวั ฒ นธรรมได 2 ประเภท หนึ่ง วัฒนธรรม หมายถึง วิถีการดําเนินชีวิตในสังคม ศิลปะ ประเพณี ศีลธรรม กฏหมาย สอง วัฒนธรรม หมายถึง ระบบความคิด ความเชื่อ ความรู เพื่อนํามากําหนดรูปแบบพฤติกรรมตางๆ  ดังนั้น วัฒนธรรม หมายถึง วิถีแหงการดํารงชีวิตที่มนุษยสรางขึ้น รวมถึงระบบ ความคิด ความรู ความเชื่อ ที่มนุษยไดอบรม ปฏิบัติ ถายทอดไปสูสมาชิกรุน ตอมา และวัฒนธรรมเหลานั้นไดมีการเปลี่ยนแปลงใหเขากับสภาพความเปนอยู ของมนุษยใ นแตละยุคสมัยั


ลักษณะของวัฒนธรรม (1)  1. 2. 3. 4. 5. 6 6.

วัฒนธรรมในสังคมใดสังคมหนึ่ง มีลักษณะดังตอไปนี้ วัฒนธรรมเปนสิ่งจําเปน (necessity) วัฒนธรรมเปนสิ่งที่มนุษยสรางขึ้น (man made) วัฒนธรรมตองมีการยอมรับรวมกัน (is shared) วัฒนธรรมเปนสิ่งที่ตองเรียนรู (is learned) วัฒนธรรมตองมีการถายทอด (is transmitted) วัฒนธรรมของแตล สังคมมีความแตกตางกัน (varieties) วฒนธรรมของแตละสงคมมความแตกตางกน 6.1 วัฒนธรรมสัมพัทธ (cultural relativism) 6.2 อคติทางชาติพันธุ (ethnocentrism)

ลักษณะของวัฒนธรรม (2) 7. 8. 9.

วัฒนธรรมเปนสิ่งที่เปลี่ยนแปลงได (is changed) วัฒนธรรมอาจจะสลายได (dead culture) วัฒนธรรมเปนผลรวมของหลายๆ สิ่งหลายๆอยาง (subculture/ integrative)

10.

วัฒนธรรมเปนมรดกสังคม (social heritage)

ลั ก ษณะชองวั ฒ นธรรมเป น สิ่ ง ที่ ม นุ ษ ย ส ร า งขึ้ น เพื่ อ ตอบสนอง ความตองการ และเปนที่ยอมรับรวมกันของสมาชิกในสังคม ทําใหมนษย ุ ไดเรียนรู จากการถายทอดในฐานะสมาชิกของสังคม โดยวัฒนธรรมของแตละสัง คมยอม แตกตางกันไปตามสภาวะแวดลอมทางสังคม พรอมทั้งวัฒนธรรมเหลานั้นสามารถ เปลี่ ย นแปลงและสลายไปได เพราะวั ฒ นธรรมเป น ผลรวมของสิ่ ง ต า งๆ จนอาจกลาวไดวา “วัฒนธรรมเปนมรดกทางสังคม”


หนาที่ของวัฒนธรรม  1. 2. 3. 4.

5 5. 6. 7.

วัฒนธรรมมีหนาที่อยูหลายประการ ดังตอไปนี้ วัฒนธรรมเปนตัวกําหนดรูปแบบสถาบันนทางสังคม วัฒนธรรมทําหนาที่กําหนดพฤติกรรมของบุคคลในสังคม วัฒนธรรมเปนตัวกําหนดคานิยมของบุคคลในสังคม วัฒนธรรมเปนแนวทางในการอบรมเลี้ยงดู และพัฒนาบุคลิกภาพแกสมาชิก ใหมในสังคม วัฒนธรรมเปนเครื่องหมายหรือสัญลักษณ วฒนธรรมเปนเครองหมายหรอสญลกษณ วัฒนธรรมเปนเครื่องมือในการควบคุมสังคม วัฒนธรรมเปนตัวกําหนดเปาหมายของชีวิตของแตละบุคคลในสังคม

ประเภทของวัฒนธรรม (1) 

นักสังคมวิทยาแบงวัฒนธรรมเปน 2 ประเภทกวางๆ กลาวคือ 1. วัฒนธรรมดานวัตถุ (material culture) 2 2. วัฒนธรรมที่ไมใชดานวัตถ (non วฒนธรรมทไมใชดานวตถุ (non-material material culture) 2.1 วัฒนธรรมความคิด (ideal culture) 2.2 วัฒนธรรมดานบรรทัดฐาน (norms)  นักสังคมวิทยาและมานุษยวิทนาบางทานแบงประเภทวัฒนธรรมออกเปน 4 ประเภท คือ 1. วัฒนธรรมดานวัตถุ (material i l culture) l 2. วัฒนธรรมดานสังคม (non-material culture) 3. วัฒนธรรมดานกฏหมาย (legal culture) 4. วัฒนธรรมดานจิตใจและศีลธรรม (moral culture)


ประเภทของวัฒนธรรม (2)  1. 2. 3. 4. 5. 6 6. 7.

นักสังคมวิทยาแบงวัฒนธรรมเปน 7 ประเภท ดังนี้ ภาษา (language) ศาสนาและอุดมการณ (religion and idealogy) ระบบเศรษฐกิจ (economic system) จริยธรรม (ethic) คานิยม (value) อํานาจโดยชอบธรรม (authority) อานาจโดยชอบธรรม ศิลปะและสุนทรียศาสตร (art and aesthetics)

ความสัมพันธระหวางสังคมและวัฒนธรรม (1)  สั ง คม-มนุ ษ ย ไ ม ส ามารถแยกออกจากกั น ได

กล า วอี ก นั ย หนึ่ ง คื อ มนุ ษ ย จําเปนตองดํารงชีวิตรวมกับผอื่นนในสงคม จาเปนตองดารงชวตรวมกบผู ในสังคม ไม ไมสามารถดารงชวตอยางโดดเดยว สามารถดํารงชีวิตอยางโดดเดี่ยว แต ลํ า พั ง เพี ย งผู เ ดี ย วได ดั ง นั้ น เมื่ อ มี ค นรวมกั น มี ก ารติ ด ต อ สั ม พั น ธ กั น จึงจําเปนตองมีระเบียบกฏเกณฑที่มนุษยไดสรางและยอมรับ เพื่อมาใชในการ ดํารงชีวิตรวมกัน ซึ่งกฏระเบียบเหลานั้น เรียกรวมกันวา วัฒนธรรม

 สงคมไดสรางวฒนธรรมใหมนุ สังคมไดสรางวัฒนธรรมใหมนษย ษยไดดาเนนชวตอยางสมบู ไดดําเนินชีวิตอยางสมบรณ รณ

เนื เนองมาจากวา ่องมาจากวา วั ฒ นธรรมเป น หลั ก ในการดํ า เนิ น ชี วิ ต จึ ง ถื อ ได ว า สั ง คมและวั ฒ นธรรม มีความหมายและความสําคัญตอวิถีชีวิตของมนุษย


ความสัมพันธระหวางสังคมและวัฒนธรรม (2) สังคม – กลุมคนที่มีความสัมพันธติดตอระหวางกัน วัฒนธรรม – แบบแผนและวิธีการตางๆ แหงการดําเนินชีวิต  สัง คมใดที่ ไม มี วัฒนธรรม สั ง คมนั้น จะมี ส ภาพไม ตางจากสั ง คมของสั ตว ไม มี ระเบี ย บแบบแผนในการดํ า เนิ น ชี วิ ต เพราะมนุ ษ ย รู จั ก สร า งวั ฒ นธรรม ทําใหสังคมมนุษยสูงกวาการรวมกลุมของสัตว  วั ฒ นธรรมนั้ น จะอยู โ ดยปราศจากสั ว คมไม ไ ด เ ช น กั น เพราะมนุ ษ ย อยู ใ นสั งคม เพื่อที่จะสรางวัฒนธรรมขึ้นมา  ฉะนั้ น เมื่ อ สั ง คมมนุ ษ ย เ กิ ด ขึ้ น ย อ มมี วั ฒ นธรรมเกิ ด ขึ้ น เช น กั น ทั้ ง สั ง คมและ วั ฒ นธรรมต า งก็ เ ป น เครื่ อ งอํ า นวยความสะดวกสบายในการดํ า เนิ น ชี วิ ต ของมนุษย 

แนวความคิดบางประการเกี่ยวกับวัฒนธรรม (1)  การศึ ก ษาเรื่ อ งวั ฒ นธรรมจะทํ า ให เ ข า ใจการดํ ารงอยู ข องมนุ ษ ย ใ นสั ง คมต างๆ

ได อ ย า งถู​ู ก ต อ ง แนวความคิ ด เกี่ ย วกั บ วั ฒ นธรรมที่ จ ะช ว ยให เ ข า ใจสภาพ ความเปนอยูของมนุษยในสังคมมากยิ่งขึ้น มีดังตอไปนี้ 1. วัฒนธรรมสากล (universal culture) 2. เขตวัฒนธรรม (culture area) 3. การเลือกทางวัฒนธรรม (alternative culture) 4 4. วัฒนธรรมเฉพา (specialties culture) วฒนธรรมเฉพาะ 5. วัฒนธรรมอุดมคติ (ideal culture) 6. วัฒนธรรมความเปนจริง (real culture)


แนวความคิดบางประการเกี่ยวกับวัฒนธรรม (2) 7.

วัฒนธรรมยอย (subculture)

7.1 วัฒนธรรมยอยทางชาติพันธุ (ethnic subculture) 7.2 วัฒนธรรมยอยทางภูมิภาค (regional subculture) 7.3 วัฒนธรรมยอยทางอายุ (age subculture) 8. 9.

วัฒนธรรมตอตาน (counter culture) ความลาหลังทางวัฒนธรรม (cultural lag)

9.1 อัตราการเปลี่ยนแปลงที่ไมเทากัน ระหวางวัฒนธรรมทางวัตถุดวยกัน 9.2 อั ต ราการเปลี่ ย นแปลงที่ ไ ม เ ท า กั น ระหว า งวั ฒ นธรรมทางวั ต ถุ กับวัฒนธรรมที่ไมใชวัตถุ

แนวความคิดบางประการเกี่ยวกับวัฒนธรรม (3) 10.

11. 12. 13. 14.

การช็อคทางวัฒนธรรม (cultural shock) 10 1 ขนฟกตว 10.1 ขั้นฟกตัว (incubation stage) 10.2 ขั้นวิกฤต (crisis stage) 10.3 ขั้นฟนตัว (recovery stage) 10.4 ขั้นยอมรับ (adjustment stage) วัฒนธรรมสัมพัทธ (cultural relativity) อคติทางชาติพันธุ (ethnocentrism) ความขัดแยงทางวัฒนธรรม (cultural conflict) การผสมผสานทางวัฒนธรรม (acculturation)


สรุป  

 

วัฒนธรรม คือ แบบแผนการดํารงชีวิตของมนุษยในสังคม ลัก ษณะของวัฒ นธรรม ชี้ ใ ห เ ห็ น ถึ ง สิ่ง ที่ ม นุ ษ ย ส รา งขึ้ น มาเพื่อ สนองความ ตอ งการหรื​ือความเปปนพื​ืน้ ฐานของสมาชิกในสั ใ ังคม หนาที่ของวัฒนธรรม ชวยในการกําหนดรูปแบบสถาบัน และพฤติกรรมของ สมาชิก ในสัง คม คานิย มสวนบุคคล บุค ลิกภาพ สัญ ลัก ษณ และเปาหมาย แหงชีวิต ประเภทของวัฒนธรรม ทั้งสวนที่เปนวัตถุและไมใชวัตถุ ความสัมพันธระหว างสังคมและวัฒนธรรม มีความสัมพันธกัน เปนเครื่อง อํานวยความสะดวกในการดําเนินชีวิต แนวคิดบางประการเกี่ยวกับวัฒนธรรม


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.