Complete 262102

Page 1

รายละเอียดของรายวิชา ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา ภาควิชาสังคมวิทยา คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร หมวดที่ ๑ ขอมูลทั่วไป ๑. รหัสและชือ่ รายวิชา

๒๖๒๑๐๒ แนวคิดเบื้องตนเกี่ยวกับสังคมวิทยา ๒. จํานวนหนวยกิต ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖) ๓. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา ๔. อาจารยผูรับผิดชอบรายวิชา ณพฤนท ธารธนคุณ ๕. ภาคการศึกษา / ชั้นปที่เรียน ภาคตน /ชั้นปที่ ๔ ๖. รายวิชาทีต่ องเรียนมากอน (pre-requisite) (ถามี) ไมมี ๗. รายวิชาทีต่ องเรียนพรอมกัน (co-requisites) (ถามี) ไมมี ๘. สถานที่เรียน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา ๙. วันที่จัดทําหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งลาสุด กรกฎาคม ๒๕๕๘


หมวดที่ ๒ จุดมุงหมายและวัตถุประสงค ๑. จุดมุงหมายของรายวิชา  เพื่อใหผูศึกษามีความรูความเขาใจพื้นฐานสังคมวิทยา  เพื่อใหผูศึกษาเขาใจแนวทางในการศึกษาสังคมของสังคมวิทยา  เพื่อใหผูศึกษาสามารถนําแนวทางทางสังคมวิทยาไปใชประโยชนในการวิเคราะหและ อธิบายโลกทางสังคม  เพื่อใหนิสิตมีความสามารถในการนําเสนอแนวทางในการแกปญหาทางสังคมและ ปญหาทางสังคมวิทยาไดอยางมีหลักการ ๒. วัตถุประสงคในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา  เพื่อใหผูเรียนมีความรูและความเขาใจหลักการทางสังคมวิทยา  เพื่อใหผูเรียนสามารถวิเคราะหการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมไดอยางมี

หลักการทางวิชาการ

หมวดที่ ๓ ลักษณะและการดําเนินการ ๑. คําอธิบายรายวิชา ๒. จํานวนชั่วโมงที่ใชตอภาคการศึกษา บรรยาย

สอนเสริม

3 ชั่วโมงตอสัปดาห

ไมมี

การฝกปฏิบัติ/งานภาคสนาม/ การศึกษาดวยตนเอง การฝกงาน ไมมี

๖ ชั่วโมงตอสัปดาห

๓. จํานวนชั่วโมงตอสัปดาหที่อาจารยใหคําปรึกษาและแนะนําทางวิชาการแกนักศึกษา เปนรายบุคคล - ตามตารางที่กําหนดในแตละภาคการศึกษา ๒ ชั่วโมงตอสัปดาห - ตามที่นิสิตนัดหมาย ตลอดเวลา - จดหมายอิเล็กทรอนิกส ตลอดเวลา – introsocio2015@yahoo.com


หมวดที่ ๔ การพัฒนาผลการเรียนรูของนักศึกษา ๑. คุณธรรม จริยธรรม ๑.๑ คุณธรรม จริยธรรมที่ตองพัฒนา - ปลูกฝงใหมีการใชสติและปญญาในการ คิดและการกระทําอยางมีเหตุผล เคารพกฎและกติกาของสังคม และมีความรับผิดชอบตอหนาที่ ๑.๒ วิธีการสอนที่จะใชพัฒนาการเรียนรู - บอกขอปฏิบตั ิและหลักเกณฑการใหคะแนนการเขาชัน้ เรียน รูปแบบและวิธีการเรียนรู - ตั้งคําถาม ยกตัวอยาง รวมกันใชสติและปญญาในการคิด กระทําและตัดสินอยางมีเหตุผล - มอบหมายใหทํารายงานและการทํางานเปนกลุม ๑.๓ วิธีการประเมินผล - ประเมินจากเวลาเรียน ความประพฤติ การมีสวนรวมในการเรียนรู - ประเมินจากการนําเสนอรายงาน การสอบกลางภาคและปลายภาค ๒. ความรู ๒.๑ ความรูที่จะไดรบั - ตระหนักถึงประโยชนและคุณคาสังคมวิทยา - เขาใจพื้นฐานการจัดการระเบียบและโครงสรางสังคม - เขาใจความสําคัญ หนาที่และบทบาทของสถาบันตาง ๆ - เขาใจความสัมพันธของสังคมและวัฒนธรรม ๒.๒ วิธกี ารสอน - วิธีการสอนแบบอุปมาน วิธีการสอนแบบแกปญหา การจัดทําโครงงาน (การสํารวจขอมูล) ตั้งคําถาม ยกกรณีตัวอยาง อภิปราย แลกเปลี่ยนประสบการณและความคิดเห็น - ศึกษาดูงานและ/หรือรายงาน ๒.๓ วิธีการประเมินผล - สอบกลางภาคและปลายภาค - ประเมินผลจากความสนใจในการศึกษาดูงานและ/หรือเนื้อหาของงาน ๓. ทักษะทางปญญา ๓.๑ ทักษะทางปญญาที่ตองพัฒนา - สามารถอธิบายลักษณะของวิชาสังคมวิทยา - สามารถวิเคราะหปญหาและผลกระทบการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม ไดอยางมีหลักเกณฑ ๓.๒ วิธีการสอน - ตั้งคําถาม ยกกรณีตัวอยาง อภิปราย แลกเปลี่ยนประสบการณและความคิดเห็น - รายงานการวิเคราะหปญหาและผลกระทบการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม


๓.๓ วิธีการประเมินผลทักษะทางปญญาของนักศึกษา - สอบระหวางภาค/ปลายภาค - ประเมินผลเนือ้ หาจากรายงานและการแสดงความคิดเห็นของผูเรียน ๔. ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ ๔.๑ ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบที่ตองการพัฒนา การทํางานรวมกัน การยอมรับความคิดเห็นตาง และการแบงและรวมความรับผิดชอบ ๔.๒ วิธีการสอน มอบหมายใหทํางานกลุมหรือการจัดทําโครงงาน ๔.๓ วิธีการประเมิน ประเมินการนําเสนองาน การตอบคําถาม และเนื้อหาของรายงาน ๕. ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ ๕.๑ ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ตองพัฒนา - สามารถคํานวณ ตลอดจน ใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอยางงายในการคนหา ความรู เก็บขอมูล ทํารายงาน และนําเสนอรายงาน - ใชภาษาในการสื่อสารรวมกับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารไดอยางถูกตอง ๕.๒ วิธีการสอน แนะนําการใชโปรแกรมคอมพิวเตอรสําหรับใชงานในสํานักงานและสําหรับใชอินเทอรเน็ต ๕.๓ วิธีการประเมิน - การใชภาษาในการนําเสนอรายงานและเนื้อหารายงานที่ถูกตองและชัดเจน รวมถึงมีความกระชับ - การใชจดหมายอิเล็กทรอนิกสในการติดตอกับผูสอน เชน สอบถามปญหาการเรียน การ รับสงรายงาน - การใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการนําเสนอรายงาน - การอางอิงแหลงขอมูลรายงานจากอินเทอรเน็ต


หมวดที่ ๕ แผนการสอนและการประเมินผล สัปดาห ที่

หัวขอ/รายละเอียด

จํานวน กิจกรรมการเรียน (ชั่วโมง) การสอนและสื่อที่ใช กติกาการเรียนรู ๓ และการประเมินผล

แนะนําการเรียนการสอน (Class Orientation)  ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับสังคมวิทยา (Thinking Sociologically) พื้นฐาน ที่มา แนวคิดเบื้องตนทางสังคมวิทยา ๓ ๒ (Basic Concepts and Terms of Sociology) บรรยายและ ระเบียบวิธีวิจยั ทางสังคมวิทยา อภิปรายกลุม ความพยายามทางสังคมฯ ๓ ๓ (Methods of Sociological Research and Sociological Endeavors)  ความสัมพันธระหวางมนุษย-สังคมและวัฒนธรรม (Understanding Human-Society Culturally) โครงสรางสังคม เครือขายในสังคมมนุษย ๔ ๓ (Social Structure and Social Networking) การจัดระเบียบสังคม ๕ ๓ บรรยายและ (Social Organization) อภิปรายกลุม กระบวนการขัดเกลาทางสังคม ๖ ๓ วิเคราะห (Socialization and Agents of Socialization) ตัวตน และการปฏิสัมพันธเชิงสัญลักษณ ๓ ๗ (Self-other Dualism, Symbolic Interactionism) ๘ สอบกลางภาคเรียน (Mid-term Test) ๓  การเปดพื้นที่ความขัดแยงทางสังคม (Investigating on Social Issues Specifically) การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม ๓ ๙ (Socio-Cultural Change) ความไมเทาเทียมเชิงโครงสรางสังคม ๑๐ ๓ การบรรยาย (Social Structure of Inequality) อภิปรายกลุม ความไมเปนระเบียบของสังคมและพฤติกรรมเบี่ยงเบน สังเคราะห ๑๑ ๓ (Social Disorganization and Deviance Society) วิพากษ ความแปลกแยกของมนุษยในสังคมสมัยใหม: ๑๒ เชื้อชาติและชาติพันธุ ๓ (Alienation in Modern Society: Race and Ethnicity)  การสะทอนยอนกลับความสัมพันธทางสังคมในยุคสมัยใหม (Reflecting in the Modern Social Relations Critically) ๑

ผูสอน

ณพฤนท ธารธนคุณ


๑๓ ๑๔

๑๕

๑๖ ๑๗

ความทุกขของสังคม วิภาษวิธีทางสังคม (Social Suffering and Dialectic Society) สังคมเสี่ยงภัย การสะทอนคิดทางสังคม (Risk Society and Social Reflexivity) ปริทัศนสังคมวิทยา งานวิจยั และพัฒนา กับนวัตกรรม ทางสังคม (Applied Social Studies in Research and Development) รายงานคู-รายงานกลุม (Pair and Group Works/ Presentations) สอบปลายภาคเรียน (Final Test) รวม

๓ ๓

การบรรยาย แสดงตัวอยาง กิจกรรมกลุม

ณพฤนท ธารธนคุณ

๓ ๓ ๕๑

หมายเหตุ: กําหนดการเรียนการสอนนี้ อาจเปลี่ยนแปลงไดตามประกาศของมหาวิทยาลัย และ/ หรือ ขอตกลงระหวางผูเรียนและผูสอน

ผลการ เรียนรู* ๑,๔ ๑,๒,๓,๕ ๑,๒,๓,๔,๕ ๑,๒,๓,๔,๕ ๑,๒,๓,๔,๕ ๑,๒,๓,๔,๕

วิธีการประเมิน เวลาเรียนและพฤติกรรมการเขาเรียน การมีสวนรวมในการเรียน รายงานคู รายงานกลุม สอบกลางภาค สอบปลายภาค

สัปดาหที่ประเมิน ๑-๑๗ ๒-๑๗ ๗, ๑๖ ๗, ๑๖ ๘ ๑๗

*หมายเหตุ ๑. คุณธรรม จริยธรรม ๒. ความรู ๓. ทักษะทางปญญา ๔. ทักษะความสัมพันธ ระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ ๕. ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช เทคโนโลยีสารสนเทศ

สัดสวน ของการ ประเมิน ๕ ๑๕ ๑๐ ๑๕ ๒๕ ๓๐


หมวดที่ ๖ ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน ๑. ตําราและเอกสารหลัก กัญญา ลีลาลัย. (๒๕๔๔). ประวัติศาสตรชนชาติไท. กรุงเทพฯ : สถาบันวิถีทรรศน. ฉัตรทิพย นาถสุดา. (๒๕๓๓). เศรษฐกิจหมูบานไทยในอดีต (พิมพครั้งที่ ๓). กรุงเทพฯ : บริษัทสํานักพิมพสรางสรรคจํากัด. เชษฐา พวงหัตถ. (๒๕๔๘). โครงสราง-ผูกระทําการ. กรุงเทพฯ : สํานักงานคณะกรรมการวิจัย แหงชาติ คณะกรรมการวิจัยแหงชาติ สาขาสังคมวิทยา. ดี. จี. ฮอลล. (๒๕๒๒). ประวัติศาสตรของเอเชียตะวันออกเฉียงใต (เลม ๑). (วรุณยุพา สนิทวงศ ณ อยุธยา และคณะ, แปล). กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช. ธิดา สาระยา. (๒๕๔๔). ประวัตศิ าสตรชาวนาสยาม =The History of Thai Peasant. เอกวิทย ณ ถลาง (บรรณาธิการ). กรุงเทพฯ : อมรินทร. บุญเดิม พันรอบ.(๒๕๒๘). มามุษยวิทยา : ประวัติแนวความคิดและทฤษฎี. ภาควิชาสังคมวิทยา คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ บางแสน. บุญเดิม พันรอบ.(๒๕๒๘). สังคมวิทยา มานุษยวิทยา. กรุงเทพ ฯ: ศิลปะบรรณาคาร. พัทยา สายหู. (๒๕๔๐). กลไกของสังคม. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ไพโรจน คงทวีศักดิ์. (๒๕๕๒). เมืองโลก การบริโภค การตอรอง สังคมวิทยาเมืองฉบับรวมสมัย. กรุงเทพฯ : ขีดเขียนมีเดีย ทีม. ยศ สันตสมบัติ. (๒๕๓๙). มนุษยกับวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: สํานักพิมมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. รัชนีกร เศรษโฐ.(๒๕๒๒). สังคมและวัฒนธรรมไทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพพิฆเณศ. ศรีศักดิ์ วัลลิโภดม.(๒๔๔๔). พัฒนาการทางสังคม-วัฒนธรรมไทย = Socio-Cultural Development in Thai History. เอกวิทย ณ ถลาง (บรรณาธิการ). กรุงเทพฯ : อมรินทร. สนิท สมัครการ.(๒๕๒๕). การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมกับการพัฒนาของสังคม. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร. สุจิตต วงษเทศ.(๒๕๒๙). คนไทยอยูที่นี่. ศิลปวัฒนธรรมฉบับพิเศษ. มีนาคม . สุมิตร ปติพัฒน.(๒๕๔๔). ความเปนคนไทย = The Process of Becoming Thai People. เอกวิทย ณ ถลาง (บรรณาธิการ). กรุงเทพฯ : อมรินทร. สุริชัย หวันแกว.(๒๕๔๘). กระบวนการกลายเปนชายขอบ. กรุงเทพฯ : สํานักงาน คณะกรรมการวิจัยแหงชาติ คณะกรรมการวิจัยแหงชาติ สาขาสังคมวิทยา. เสถียรโกเศศ (พระยาอนุมานราชธน). (๒๕๒๔). การศึกษาเรื่องประเพณีไทย. กรุงเทพฯ : บพิธการพิมพ. สมศักดิ์ ศรีสันติสุข.(๒๕๒๙). การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม : แนวทางศึกษา วิเคราะหและวางแผน. ภาควิชาสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน. Anderson, Benedict. (2006). Imagined Communities Reflections on the Origin and Spread of Nationalism. New York : Verso.


Cavanagh, Alison. (2007). Sociology in the Age of Internet. New York : Open University Press. Flick, UWE. (2011). Introducing Research Methodology: a Beginner’s Guide to Doing a Research Project. New York : Sage. Scott, John. (1995). Sociological Theory Contemporary Debates. Vermont : Edward Elgor Publisher. ๒. เอกสารและขอมูลสําคัญ ฉลาดชาย รมิตานน และวารุณี ภูริสินสิทธ. (๒๕๒๙). สังคมวิทยาและมานุษยวิทยาไทย : สถานภาพและทิศทาง. ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตรมหาวิทยาลัยเชียงใหม. ยศ สันตสมบัติ.(๒๕๓๒). จากวารนรถึงเทวดา: มากซิสตและมานุษยวิทยามากซิสต. กรุงเทพฯ:สํานักพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. อคิน รพีพัฒน, ม.ร.ว. (๒๕๒๗). สังคมไทยในสมัยตนรัตนโกสินทร พ.ศ. ๒๓๒๕-๒๔๑๖= The Organization of Thai Society in the Early Bangkok Period 1782-1873 (พิมพครั้งที่๒ แกไขเพิ่มเติม). (ม.ร.ว. ประกายทอง สิริสุข และ พรรณี ฉัตรพลรักษ, แปล). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. อานนท อาภาภิรม. (๒๕๑๙). สังคมและประเพณีไทย. กรุงเทพ ฯ : แพรพิทยา. ๓. เอกสารและขอมูลแนะนํา นิธิ เอียวศรีวงศ. (๒๕๓๓). ความหลากหลายของวัฒนธรรมไทย : การทาทายใหม สูความเขาใจวัฒนธรรม (หนา ๙-๑๑๕). กรุงเทพฯ : สํานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแหงชาติ. สุเนตร สุวรรณละออง. (๒๕๕๖). สังคมและวัฒนธรรมไทย. เอกสารคําสอน. ภาควิชาสังคม วิทยา คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา. ๔. เอกสารและขอมูลอื่นๆ Online Materials: https://issuu.com/Introsocio Buu Program ID: Introsocio Buu * หมายเหตุ: นิสิตสามารถดาวนโหลดและสั่งพิมพเอกสารประกอบการเรียนในแตละสัปดาห/ วารสารไทย-ภาษาอังกฤษตางๆ ผานอินเตอรเน็ตเทอรมินอล เชน เฟสบุค ไดตามแอพพลิเคชั่นที่ระบุไวดานบนนี้ (รองรับทั้งระบบ iOS และAndroid) โดยไมมีคาใชจาย * หมวดที่ ๗ การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา ๑. กลยุทธการประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา ใหนิสิตประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ไดแก วิธกี ารสอน การจัดกิจกรรมในและนอกหองเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบตอการเรียนรู และผลการเรียนรูที่ไดรับพรอมขอเสนอแนะ เพื่อการปรับปรุงผานระบบประเมินผลการเรียนของมหาวิทยาลัย


๒. กลยุทธการประเมินการสอน ติดตามการประเมินผลการเรียนและขอเสนอแนะของนิสิตจากระบบการประเมินผลการเรียน ของมหาวิทยาลัย ๓. การปรับปรุงการสอน ทบทวนการจัดการเรียนการสอนจากขอมูลการประเมินผลการเรียนและขอเสนอแนะของนิสิต จากระบบการประเมินผลการเรียนของมหาวิทยาลัย ๔. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์รายวิชาของนักศึกษา ทบทวนพฤติกรรม รายงาน และคะแนนสอบของผูเรียน ๕. การดําเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา พิจารณาจากขอมูลการประเมินผลการเรียนและขอเสนอแนะของนิสิต

กิจกรรมและหัวขออภิปราย (2558) สัปดาหที่ ๑ แนะนําการเรียนการสอน-ประเมินผลรายวิชา หัวขออภิปราย: สัปดาหที่ ๒ พื้นฐาน ที่มา แนวคิดเบื้องตนทางสังคมวิทยา หัวขออภิปราย: “คนละเรื่องเดียวกัน ... เรื่องของเขา คือเรื่องของเรา” มุมมองนักสังคมวิทยา: Auguste Comte, C. Wright Mills สัปดาหที่ ๓ ระเบียบวิธีวิจยั ทางสังคมวิทยา ความพยายามทางสังคม หัวขออภิปราย: “ความรูทถี่ ูก... ผูกขาด” มุมมองนักสังคมวิทยา: Max Weber, Emile Durkheim สัปดาหที่ ๔ โครงสรางสังคมและเครือขายสังคมมนุษย หัวขออภิปราย: “ถาสังคมเปนน้ํากับฝูงปลาที่วายทวนกระแส” มุมมองนักสังคมวิทยา: Radcliff- Brown, C. Levi Strauss สัปดาหที่ ๕ การจัดระเบียบสังคม หัวขออภิปราย: “สังคมของเราใหความสําคัญกับอะไร ... ?” มุมมองนักสังคมวิทยา: George Simmel, Emile Durkheim


สัปดาหที่ ๖ กระบวนการขัดเกลาทางสังคม หัวขออภิปราย: “ความงามที่ถูกขับออกจากฝูง” มุมมองนักสังคมวิทยา: Erving Goffman, Sigmund Freud สัปดาหที่ ๗ ตัวตนและการปฏิสัมพันธเชิงสัญลักษณ หัวขออภิปราย: “เซลฟกบั ยอดLike ... ทําใหเรามองตัวเองมากขึ้น” มุมมองนักสังคมวิทยา: G.H. Mead, C.H. Cooley สัปดาหที่ ๘

สอบกลางภาค รายงานคู กิจกรรม “วิจารณหนังสือ 2 เลม”

กิจกรรมและหัวขออภิปราย (ตอ) สัปดาหที่ ๙ การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม หัวขออภิปราย: “คอนโด ... คนเดียว” มุมมองนักสังคมวิทยา: Karl Marx, Benjamin Wallerstein, Ferdinand Tonnies สัปดาหที่ ๑๐ ความไมเทาเทียมกันเชิงโครงสรางสังคม หัวขออภิปราย: “สัตวทุกตัวมีความเทาเทียมกัน แตสตั วบางตัวมีความเทาเทียมมากกวาสัตว อื่นๆ - ALL ANIMALS ARE EQUAL BUT SOME ANIMALS ARE MORE EQUAL THAN OTHERS” อางอิงจากหนังสือ Orwell, G. (2005) Animal Farm: a Fairy Story. London: Secker and Warburg. มุมมองนักสังคมวิทยา: Karl Marx, Emile Durkheim สัปดาหที่ ๑๑ ความไมเปนระเบียบของสังคมและพฤติกรรมเบี่ยงเบน หัวขออภิปราย: “Heterosexist: ทําไม ... กิ๊กเยอะ” มุมมองนักสังคมวิทยา: Talcott Parsons, Robert K. Merton สัปดาหที่ ๑๒ ความแปลกแยกของมนุษยในสังคมสมัยใหม: เชื้อชาติและชาติพันธุ หัวขออภิปราย: “เมื่อคนตัวเล็กมองเห็นชัดขึ้น” มุมมองนักสังคมวิทยา: Karl Marx, Emile Durkheim


สัปดาหที่ ๑๓ ความทุกขของสังคม วิภาษวิธีทางสังคม หัวขออภิปราย: “บุญสีขาว-บาปสีดํา” มุมมองนักสังคมวิทยา: Karl Marx, Iain Wikinson สัปดาหที่ ๑๔ สังคมเสี่ยงภัยและการสะทอนคิดทางสังคม หัวขออภิปราย: “เราตองการการถูกจองมอง” มุมมองนักสังคมวิทยา: Ulrich Beck, Robert E. Park สัปดาหที่ ๑๕ ปริทัศนสังคมวิทยา งานวิจยั และพัฒนา กับนวัตกรรมทางสังคม หัวขออภิปราย: “เมื่องานวิจัย ไมไดสะทอนความเปนจริง แตพาเราออกนอกความเปนจริง ตางหาก!!!” มุมมองนักสังคมวิทยา: Kurt Levin สัปดาหที่ ๑๖ รายงานคู รายงานกลุม สัปดาหที่ ๑๗ สอบปลายภาค


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.