General Knowledge of Sociology
แนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับสังคมวิทยา รหัสวิชา 262102 ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2558 (สัปดาห์ที่3) 24.08.15
เค้าโครงเนื้อหา ‘สังคมศาสตร์’ ในฐานะ‘เครือ่ งมือ’ สาหรับการทาความเข้าใจมนุษย์และสังคม ‘มนุษย์’ หน่วยวิเคราะห์หลัก ในการศึกษาวิทยาศาสตร์สงั คม
การจาแนกประเภทของความรู ้ ความรู ้
วิทยาศาสตร์ ธรรมชาติ
วิทยาศาสตร์สงั คม/ สังคมศาสตร์
มนุษยศาสตร์
สังคมศาสตร์ ศาสตร์กลุ่มหนึ่งที่มุ่ งศึกษาเกี่ยวกับมนุษย์และพฤติกรรมของมนุษย์
ในฐานะที่เป็ น สัต ว์ ส งั คม ทั้ง ในแง่ ข องพฤติ ก รรมบุ ค คล กลุ่ ม บุ ค คลหรื อ สัง คม รวมถึ ง สภาพแวดล้อม ปรากฏการณ์ทางสังคม ที่ส่งผลต่อการอยู่ร่วมกันของมนุษย์ และ วัฒนธรรม อันสะท้อนถึงวิถชี ีวิตของมนุษย์ ที่เคลือ่ นไหวเปลีย่ นแปลงอยู่ตลอดเวลา
ทฤษฎีสงั คมศาสตร์ ที่ตงั้ อยู่บนรากฐานความรู ้ ซึง่ สามารถทดลองให้เห็นจริงได้ เพื่ อ อธิ บ ายปรากฏการณ์ส่ ว นใดส่ ว นหนึ่ ง ของสัง คมและแสดงความสัม พัน ธ์ ที่เกี่ยวข้องกันอย่างมีแบบแผน จนนามาใช้เป็ นแนวทางคาดคะเนปรากฏการณ์ ทางสังคมอย่างใดอย่างหนึ่งในอนาคตได้
ชุดของแนวความคิด
กล่องความคิด! ความจาเป็ นที่ตอ้ งอ่านต้นฉบับของนักทฤษฎีสงั คมศาสตร์ 1. เกิดการเสวนาโดยตรงระหว่างผูท้ ี่กาลังศึกษาปั จจุบนั กับนักทฤษฎี 2. บทวิจารณ์เกีย่ วกับทฤษฎีไม่สามารถทดแทนงานเขียนต้นฉบับได้ 3. ตรวจสอบข้อผิดพลาดในการตีความ/วิพากษ์ทฤษฎีนนั้ ๆ รวมทัง้ ตรวจสอบความถูกต้องในการถ่ายทอดความรูจ้ ากทฤษฎีดงั กล่าว
ลักษณะทฤษฎีสงั คมศาสตร์
เป็ นจริงทางสังคม มีหน่วยวิเคราะห์ มีสมมติฐาน มีระดับนามธรรมและการไตร่ตรองความสัมพันธ์ สะท้อนวัตถุประสงค์ในตัวเอง ใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ มีการเปลีย่ นแปลงพัฒนาอยู่เสมอ เป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนามนุษย์
สาขาของสังคมศาสตร์ สังคมศาสตร์ สังคมศาสตร์บริสทุ ธิ์
สังคมศาสตร์ประยุกต์
สังคมวิทยา
การพัฒนาสังคม
มานุษยวิทยา
การพัฒนาชุมชน
รัฐศาสตร์
การพัฒนาชนบท
ฯลฯ
ฯลฯ
ความหมายสังคมวิทยา ศาสตร์ท่ีว่าด้วยสังคม การศึกษากระบวนการทางสังคมด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในกลุ่มสังคม การศึกษาระเบียบสังคม (เพือ่ ให้สงั คมสงบสุข) สรุป สังคมวิทยาจึงเป็ นวิชา ที่มีระเบียบวธีวิจยั อย่างมีแบบแผน เพือ่ ก่อให้เกิความเข้าใจ วิเคราะห์ และบูรณาการความสัมพันธ์ของหน่วยทางสังคม รวมถึงการกระทาระหว่าง สมาชิกต่างๆ ในสังคมด้วย
ความสาคัญของแนวคิด/ทฤษฎีสงั คมวิทยา
แนวคิด/ทฤษฎีสงั คมวิทยา มุง่ ศึกษาและวิเคราะห์สงั คม ในมิตขิ องการจัดระเบียบสังคม โดยพิจารณาถึงสภาพความเป็ นอยูข่ องสังคม การยอมรับกฏเกณฑ์ และระบบความสัมพันธ์ ทางอานาจของสมาชิกในสังคมให้เป็ นไปตามทีส่ มาชิกใน สังคมคาดหวัง และเพื่อความอยูร่ อด ของสังคม นอกจากนี้แนวคิด/ทฤษฎีสงั คมวิทยา ยังพิจารณาถึงปั ญหาของการจัดระเบียบ แบบแผนของ การจัดระเบียบทีส่ มาชิกในสังคมได้สร้าง รักษา และเปลี่ยนแปลง ในทุกระดับชัน้ ของสังคม แนวคิด/ทฤษฎีทางสังคมวิทยาทีส่ าคัญในการอธิบายถึงการจัดระเบียบสังคมมีอยูห่ ลายทฤษฎี ได้แก่ ทฤษฏีโครงสร้างหน้าที่ ทฤษฎีความขัดแย้ง ่น ทฤษฎีแลกเปลีย ทฤษฎีการกระทาระหว่างกันโดยสัญลักษณ์
ทฤษฎีโครงสร้างหน้าที่ ทาร์คอต พาร์สนั (Tacott Parsons) นักสังคมวิทยาชาวอเมริกนั ่ งั คมมีการจัดระเบียบขึ้นนัน้ เนื่องจากว่ามนุษย์มี “ความสมัครใจ” การทีส (voluntarism) ทีจ่ ะเข้าไปทากิจกรรมต่างๆในสังคม “การกระทา” (action) มีความสาคัญอย่างมากในการอิบายและศึกษาระบบสังคม การกระทา คือ การกระทาระหว่างกัน (interaction) ระหว่างผูก้ ระทา ในสถานการณ์หนึ่ง มีจดุ ประสงค์ วิธีการ และแนวคิดของผูก้ ระทา เพื่อให้ผกู ้ ระทาได้ควบคุมสถานการณ์ เพื่อไปสู่ จุดหมาย
บรรทัดฐาน ค่านิยม แนวคิด ผูก้ ระทา
เป้าหมาย สถานการณ์ที่เกีย่ วข้อง
ทฤษฎีโครงสร้างหน้าที่ (2)
การกระทาระหว่างผูก้ ระทาดังกล่าว หรือความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกทีม่ ีตอ่ กันตาม สถานภาพ บทบาทนี้ จะเกิดเป็ นระบบสังคมขึ้น ทาให้สามารถวิเคราะห์บุคคลต่างในสังคมได้ เงื่อนไขสาคัญในการเกิดระบบสังคม คือ 1. ผูก้ ระทาต้องมีแรงจูงใจตามสถานภาพบทบาทของตน 2. ระบบสังคมต้องพยายามหลีกเลี่ยงความขัดแย้งหรือพฤติกรรมทีเ่ บี่ยงเบนไปจากสังคม ่ นเป็ นสถาบัน (industrialization) ทาให้สงั คมเกิดขึ้นอย่างเป็ นระเบียบ สภาวะการเปลีย ค่า นิ ย มและความเชื่อ /วัฒ นธรรม ได้แ ทรกซึม อยู่ ภายในระบบบุ ค ลิ ก ภาพของบุ ค คลในสัง คม ผ่านกระบวนการขัดเกลาทางสังคมอย่างสมา่ เสมอและเป็ นเวลานาน ตลอดจนมีการลงโทษและ ให้รางวัล เพื่อก่อให้เกิดภาวะการเปลี่ยนแปลงของสถาบันทางสังคม ภายใต้บรรทัดฐาน/แบบแผน ทางวัฒนธรรม ซึง่ เป็ นตัวกาหนดการกระทาระหว่างกัน
ทฤษฎีโครงสร้างหน้าที่ (3)
ระบบสังคมมีหน้าที่ 4 ประการ ทีจ่ ะทาให้สงั คมอยูร่ อด
วัตถุประสงค์และการดาเนินไป เพือ่ บรรลุวตั ถุประสงค์ (สถาบันครอบครัว/การศึกษา) [1]
การปรับตัว (สถาบันเศรษฐกิจ)
การบูรณาการ/ ช่วยกันทางานอย่างต่อเนือ่ ง (สถาบันการปกครอง/กษัตริย)์ [3]
มีการจัดการกับความตึงเครียด (สถาบันศาล/ศาสนา)
[2]
[4]
** ระบบสังคมสังคมประกอบด้วยสถาบันทางสังคมต่างๆ เช่น สถาบันครอบครัว เป็ นสถาบันพื้นฐานทีส่ าคัญต่อสมาชิกในสังคม ทีจ่ ะถ่ายทอดบุคลิกภาพ อบรมสัง่ สอน จนมีสภาวะเปลี่ยนเป็ นสถาบัน
[1]+[2]
เครือ่ งมือ ขับเคลื่อน ในระบบสังคม [3]+[4]
อารมณ์และ ความเป็ นอยูร่ ว่ ม กันในสังคม
ทฤษฎีความขัดแย้ง คาร์ล มาร์ก (Karl Marx) นักสังคมวิทยาชาวเยอรมัน การจัดระเบียบทางเศรษฐกิจเป้ นตัวกาหนดการจัดระเบียบทางสังคม (โครงสร้างชนชัน้ ค่านิยม วัฒนธรรม ระบบความคิด) การจัดระเบียบทางเศรษฐกิจเป็ นรากบานสาคัญ ก่อใหเกิดการปฏิวตั ิ/ ความขัดแย้งทางชนชัน้ โครงสร้างสังคมมี 2 ส่วน หน้าที่โครงสร้างส่วนบน: เครื่องมือของชนชัน้ ปกครอง เพื่ อ รัก ษาสถานภาพที่ เ หนื อ กว่ า กฏหมาย ศาสนา ศิลปะ สร้า งความชอบธรรมผ่ า นกฏหมาย ระบบ ค่านิยม รัฐบาล โครงสร้างส่วนบน จริยธรรมซึง่ บัญญัตไิ ว้เพื่อกลุม่ ตน
ชนชัน้ วัตถุดบิ ทรัพยากร และเทคโนโลยี
โครงสร้างส่วนล่าง
หน้าที่โครงสร้างส่วนล่าง: กาหนดหน้าทีส่ ว่ นบน
ทฤษฎีความขัดแย้ง (2)
มาร์กซ์ได้แบ่งปั จจัยพื้นฐานทางเศรษฐกิจออกเป็ น 2 ส่วน 1. พลังการผลิต ได้แก่ ทรัพยากร วัตถุดบิ และเทคโนโลยี ซึง่ นามาเพื่อการผลิตในสังคม 2. ความสัมพันธ์การผลิต คือ การทีบ่ ุคคลหรือกลามบุคคลมีความสัมพันธ์กนั เรือ่ งพลังการผลิต อันจะก่อให้เกิดชนชัน้ ในสังคม มาร์กซ์ได้แบ่งชนชัน้ ไว้ 2 ระดับ 1. ชนชัน้ ผูเ้ ป็ นเจ้าของปัจจัยการผลิต 2. ชนชัน้ ทีไ่ ม่ได้เป็ นเจ้าของการผลิต ใช้วธ ิ ีการวิเคราะห์แบบ “วัตถุนิยมวิภาษวิธี” ไปวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของสังคม โดยศึกษาความขัดแย้งของชนชัน้ จากการจัดระเบียบเศรษฐกิจเป็ นพื้นฐาน ทีก่ าหนดระเบียบทางสังคมใหม่ ่ อ่ สูก้ นั ระหว่าง ทฤษฎีความขัดแย้งในความหมายของมาร์กซ์มีลกั ษณะทีต “นายทุน vs กรรมกร” และเชือ่ ว่าในทีส่ ุดชัน้ กรรมกรจะชนะ และสังคมใหม่จะเป็ น คอมมิวนิสต์
ทฤษฎีปฏิสมั พันธ์เชิงสัญลักษณ์ จอร์จ เฮอร์เบิรต์ มี้ด (George Herbert Mead) การกระท าระหว่า งกัน ของบุ ค คลในสัง คมต้อ งอาศัย สัญ ลัก ษณ์ โดยเฉพาะ “ภาษา ” เป็ นสื่ อ การติดต่อที่สาคัญที่สุด ที่ทาให้มนุ ษย์ผูกพันและสัมพันธ์กนั จนสร้างเป็ นระเบียบกฎเกณฑ์ต่าง ในสังคม ทาให้สงั คมมีการจัดระเบียบขึ้น ความสัมพันธ์ทางสังคมของบุคคลในสังคมนัน ้ อยูท่ ก่ี ารใช้ภาษาร่วมกัน การให้ความหมายร่วมกัน (shared Meaning) การกระทาระหว่างกันจึงเกิดเป้ นความสัมพันธ์ข้ ึน เพราะใช้สญ ั ลักษณ์ ร่วมกัน เพราะมนุษย์กบ ั สังคมมีความสัมพันธ์ตอ่ กัน มนุษย์จงึ เป็ นส่วนหนึ่งของสังคม ทัง้ มนุษย์และสังคม จึงต้องพึ่งพาอาศัยกัน เพื่อแก้ปัญหาและความอยู่รอดของทัง้ สองฝ่ าย ฉะนัน้ การกระบวนการ กระทาระหว่างกัน (social interaction) จึงมีความสาคัญในทฤษฎีน้ ี
ทฤษฎีปฏิสมั พันธ์เชิงสัญลักษณ์ (2)
ในบุคคลหนึ่งประกอบไปด้วย I กับ Me เพื่อการแก้ปัญหาหรือการตัดสินใจในเรือ่ งใดๆ I เป็ นเรือ่ งของความต้องการเฉพาะตัว เป็ นส่วนทีฝ่ ังอยูใ่ นลักษณะทางชีวภาพ/สัญชาตญาณ เช่น เสรีภาพ ความคิดสร้างสรรค์ ความต้องการภายใน Me เป็ นทัศนของบุคคลอืน่ ทีต่ นเองเข้าใจ/ การรับรูจ้ ากสังคมภายนอก ค่านิยมทัศนคติ ความกดดันจากสังคม/สภาพแวดล้อมภายนอก และรับไว้ในตัวเอง Self จึ ง เป็ นส่ ว นประกอบของ I+Me เพราะฉะนั้น การที่ บุ ค คลจะตัด สิ น ใจกระท าใดๆ ย่อมขึ้นอยูก่ บั ว่าจะมีสว่ นใดมากกว่ากัน จนแสดงเป็ นบุคลิกภาพ การรวมกลุม่ ทางสังคมเกิดจาก “ความตัง้ ใจ” ในการแสดงออกตามภาษา/สัญลักษณ์ทไี่ ด้มีการ กาหนดร่วมกันในสังคม
Me
Self
I
ทฤษฎีการแลกเปลีย่ น จอร์จ ซี ฮอแมนส์ (George C. Homans) ได้รบ ั อิทธิพลจากเศรษฐศาสตร์มาอธิบายสังคม การกระทาระหว่างกันของบุคคลอาศัยการตอบโต้ -- ถ้าเขาทาดีตอ่ เรา เราก็ทาดีตอ่ เขา ในสถานการณ์ห นึ่ ง ๆ พฤติ ก รรมในระบบสัง คมจะเป็ นผลมากจากการตัด สิ น ใจของบุ ค คล ทีจ่ ะได้รบั รางวัลมากทีส่ ุด และลงโทษน้อยทีส่ ุด บุคคลในสังคมจะทาพฤติกรรมนัน ้ ซา้ ๆ เมื่อได้รบั รางวัลในอดีต บุ คคลในสัง คมจะทาพฤติกรรมนัน ้ ซา้ ๆ เมื่ออยู่ในสถานการณ์ท่ีคล้ายคลึงกับพฤติกรรมที่เคย ได้รบั รางวัล การได้รบ ั รางวัลในอดีต จะได้รบั การยอมรับในสังคมว่าดี การกระทาซา้ ยังจะเกิดขึ้นต่อเมื่อพฤติกรรมเหล่านัน ้ ยังได้รบั รางวัลอยู่ บุ ค คลจะยิ่ง แสดงพฤติก รรมที่ได้ร บ ั รางวัล หากไม่ได้รบั บุ คคลก็ จะยิ่งแสดงพฤติกรรมที่ทาให้ ได้รบั รางวัลต่อไป เพราะฉะนัน ้ การติดต่อสัมพันธ์จงึ เป็ นการแลกเปลี่ยนกิจกรรมระหว่างกัน
สรุป
การศึกษาสังคมของนักสังคมวิทยานัน้ พิจารณาการจัดระเบียบสังคม โดยอาศัยแนวคิดทีจ่ ะอธิบาย สังคมว่า ระบบสังคมดารงอยูแ่ ละมีการจัดระเบียบได้อย่างไร เพื่อความอยูร่ อดของสังคมนัน้ ทฤษฎีโครงสร้างหน้าที่ พยายามอธิบายว่า หน่วยต่างๆสังคมมีหน้าทีเ่ กี่ยวพันเพื่อความอยูร่ อดของ สังคมได้อย่างไร บุคคลเข้าไปอยูใ่ นระบบด้วยความสมัครใจ ทีจ่ ะกระทาตามความเชือ่ /ค่านิยมต่างๆ ซึง่ สะท้อนออกมาตามการกระทาของบุคคล และจะเกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคมก็ตอ่ เมื่อระบบย่อย ของสังคมจะปรับเข้ากับระบบย่อยส่วนอืน่ ๆ ทาให้เกิดความสมดุลในสังคม ่ งความขัดแย้งทางชนชัน้ ทีม่ ีรากฐานทางเศรษฐกิจเป็ นตัวกาหนด ทฤษฎีความขัดแย้ง เน้นในเรือ ความขัดแย้งนี้ก่อให้เกิดความรุนแรง การปฏิวตั ิ ทาให้สงั คมมีการจัดระเบียบใหม่ ทฤษฎีการกระทาระหว่างกันเชิงสัญลักษณ์ การจัดระเบียบสังคมเกิดจากการกระทาระหว่างกันของ คนในสังคม การเข้าใจความหมายของสัญลักษณ์/ ภาษาร่วมกัน มีการแปล ประเมินความหมาย ทาให้เกิดการกระทาขึ้น
สรุป ทฤษฎีการแลกเปลีย่ น การจัดระเบียบสังคมเกิดจากการแลกเปลี่ยนการกระทาระหว่างกัน โดย พิจารณาจากรางวัล/ความพึงพอใจ หรือติดต่อกันน้อยลง เนื่องจากความไม่พอใจ/ได้รบั การลงโทษ โดยมีผลการแสดงพฤติกรรมโดยเฉพาะในส่วนขององค์กรธุรกิจ ดังนัน ้ แนวคิด/ทฤษฎีทางสังคมวิทยาต่างๆ พยายามอธิบายการจัดระเบียบทางสังคม เพื่อที่เราจะได้ เข้าใจสังคมที่เราอาศัยอยู่มากยิง่ ขึ้น แม้จะไม่มีทฤษฎีใดที่สามารถเข้าใจ/อธิบายระบบสังคมได้อย่างสมบูรณ์ แต่เป็ นการจัดการวิเคราะห์ ระเบียบสังคมในมิตติ า่ งๆ เพื่อนาไปประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์ปัญหาทีเ่ กิดขึ้นในสังคมและค้นหา แนวทางในการแก้ไขปัญหาเหล่านัน้ ต่อไป
งานกลุ่ม
ทฤษฎีสงั คมวิทยาทัง้ 4 ทฤษฎี นาไปใช้อธิบาย/วิเคราะห์ปัญหาสังคมได้อย่างไร พร้อมทัง้ เสนอแนวทางแก้ไข ขัน้ ตอน 1. สรุปบทความ – เนื้อหาบทความนี้เกี่ยวข้องกับอะไร ใคร ทาอะไร ทีไ่ หน เมื่อไหร่ อย่างไร ควรแยกออกมาทีละประเด็น 2. ทฤษฎีทนี่ ามาใช้ – สรุปเนื้อหาคร่าวๆเกี่ยวกับทฤษฎี จุดยืนของทฤษฎีคอื อะไร 3. ความสอดคล้อง – ความเข้ากันได้ของเนื้อหาทีไ่ ด้จากบทความและทฤษฎี มีประเด็นใดบ้าง 4. ความคิดเห็น – จากทฤษฎีน้ ีเรามองการจัดระเบียบสังคมแบบนี้อย่างไร ทาไมต้องใช้ทฤษฎี นี้อธิบายเหตุการณ์น้ ี ไม่ใช้ทฤษฎีอนื่ 5. แนวทางแก้ไข – ทฤษฎีชว่ ยให้เราเข้าใจสังคมมากขึ้น เราจะแก้ไขปัญหาสังคมนัน้ อย่างไร