คู่มือปฐมวัย59

Page 1

i ,

I

*

Jl

g

/tl

i

A

*I

I I

l!IJ

r*

I

i

I

I

I

I

'i&

s

t..

ii \J

j

a

I

t

*'\.

, ,'3S . ..'_r."! ' f \ ""--l

&--]'" r'--

;: :: a

J

-i'

ia

: :.

ff

+

.rF.

.l \:r

{-' !

{

*- -{**

u#

*-€; ."q

,f,-*. *::&

$

_,;rrj;

f t';*-Ji

rond15ar1fl'15 lAAtAV4l LVr

fl aq lJU udd4t,d

[ntru

Fl

Fl

An1

3J

flu.fi

75/2559

tilU

:O

UA UU 5U

r{ A n 1

O

n1 5FI n U',t

Yt

tqlmfr ufr

nr:dnu1il:unsJ6nurun:tJ d9ou

rqler


คำนำ ส ำนั ก งำนเขตพื้ น ที่ ก ำรศึ ก ษำประถมศึ ก ษำนครปฐม เขต 2 มี ห น้ ำ ที่ รั บ ผิ ด ชอบ จัดกำรศึกษำขั้นพื้นฐำนควบคู่กับกำรจัดกำรศึกษำปฐมวัย โดยถือว่ำกำรศึกษำปฐมวัยเป็นจุดเริ่มต้น ของกำรวำงรำกฐำนชีวิตของเด็กให้เป็นคนดี คนเก่ง มีควำมสุขสร้ำงควำมเจริญงอกงำมให้ตนเอง ครอบครัว ประเทศชำติ ดังนั้น เพื่อให้กำรพัฒนำคุณภำพกำรจัดกำรศึกษำปฐมวัยเกี่ยวกับกำรเตรียม ควำมพร้อมด้ำนกำรเขียนตำมข้อตกลงที่ว่ำด้วยกำรพัฒนำคุณภำพกำรศึกษำระหว่ำงสถำนศึกษำกับ สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำนครปฐม เขต 2 ในนโยบำยควำมพร้อมของเด็กปฐมวัย อ่ำนออกเขียนได้ คิดคำนวณ ดังนั้นสำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำนครปฐม เขต 2 จึ งได้ดำเนิ น กำรจั ดทำ คู่มือ เตรี ย มควำมพร้อมเพื่อ ส่ งเสริ มทักษะด้ำนกำรเขียนของเด็ กปฐมวั ย ชั้นอนุบำลปีที่ 2 ขึ้น เอกสำรฉบับนี้จัดทำขึ้น โดยมุ่งหวังที่จะให้สถำนศึกษำนำไปใช้เป็นแนวทำงสำหรับ เตรี ย มควำมพร้ อ มเพื่ อ พั ฒ นำทั ก ษะด้ ำ นกำรเขี ย นแก่ เ ด็ ก ปฐมวั ย ชั้ น อนุ บ ำลปี ที่ 2 ได้ ถู ก ต้ อ ง ตำมหลักกำรเตรียมควำมพร้อมและเกิดประโยชน์สูงสุดแก่เด็กปฐมวัย รวมทั้ง กำรส่งต่อในระดับชั้น ประถมศึกษำปีที่ 1 ที่มีคุณภำพ สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำนครปฐม เขต 2 หวังว่ำสถำนศึกษำทุกแห่ง ในสังกัดที่จัดกำรศึกษำปฐมวัยจะใช้แนวทำงต่ำง ๆ จำกเอกสำรฉบับนี้ เพื่อกำรเตรียมควำมพร้อม และส่งเสริมทักษะด้ำนกำรเขียนของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบำลปีที่ 2 ที่มีประสิทธิภำพและเกิดประสิทธิผล ต่อกำรพัฒนำคุณภำพกำรศึกษำในระดับปฐมวัยต่อไป

(นำยทวีพล แพเรือง) ผู้อำนวยกำรสำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำนครปฐม เขต 2


สำรบัญ หน้ำ คำนำ ควำมนำ ส่วนที่ 1 ควำมรู้พื้นฐำนเกี่ยวกับกำรเขียน 1 กำรเตรียมตัวก่อนสอนเขียน …………………………..…………………………………..………………. 2 กำรเตรียมตัวครู ...................................................................................................... 2 กำรเตรียมตัวเด็ก ………………………………………………………………….………….……….……………. 2 กำรเตรียมอุปกรณ์ ……………………………………………………………………….………………………….. 3 กำรจับดินสอที่ถูกต้อง ...................................................................................... 3 ท่ำนั่งเขียนที่ถูกต้อง ……………………………………………………….…………………………………. 4 หลักสำคัญของกำรเขียนเพื่อลำยมือที่ดี …………………………………..…………………….. 4 กำรจัดบรรยำกำศในชั้นเรียน ................................................................................. 4 กำรฝึกเขียนตัวพยัญชนะ ........................................................................................ 5 กิจกรรมเสนอแนะวิธีสอนเขียนพยัญชนะ ............................................................... 5 ส่วนที่ 2 แบบฝึกลีลำมือรูปสัตว์ .................................................................................................... 7 ส่วนที่ 3 แบบฝึกลีลำมือเส้นพื้นฐำน 13 เส้น ................................................................................ 15 ส่วนที่ 4 แบบฝึกลีลำมือกำรเขียนพยัญชนะ ก – ฮ ...................................................................... 29


ควำมนำ คู่มือเตรียมควำมพร้อมเพื่อส่งเสริมทักษะด้ำนกำรเขียนของเด็กปฐมวัย ชั้นอนุบำล ปีที่ 2 ฉบับนี้ จัดทำขึ้นสำหรับครูผู้รับผิดชอบจัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัยชั้นอนุบำล ปีที่ 2 ในสถำนศึกษำสังกัดสำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำนครปฐม เขต 2 ได้นำแนวคิด แนวทำงและหลักปฏิบัติต่ำง ๆ นำสู่ กำรพัฒนำเด็กปฐมวัยเพื่อกำรเตรียมควำมพร้อมด้ำนกำรเขียน ของเด็กปฐมวัยอย่ำงมีประสิทธิภำพ เด็กปฐมวัยอำยุ 5 – 6 ปี ชั้นอนุบำลปีที่ 2 เป็นวัยที่ ร่ำงกำยและสมองกำลั งเจริญ เติบโต มีควำมอยำกรู้ อยำกเห็น มีโอกำสเรียนรู้จำกกำรใช้ประสำทสัมผัสทั้งห้ำ ได้สำรวจ ทดลอง ค้นพบด้วยตนเอง มีโอกำสคิดแก้ปัญหำ เลือ ก ตัดสินใจ ใช้ภำษำสื่อควำมหมำย คิดริเริ่มสร้ำงสรรค์ และอยู่ ร่ ว มกับ ผู้ อื่น อย่ำงมีควำมสุ ข ครูผู้ รับผิ ดชอบจึงมีห น้ำที่จัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้ ให้ เด็ก ได้พัฒนำเต็มตำมศักยภำพ โดยเฉพำะถ้ำเด็กมีควำมพร้อมด้ำนกล้ำมเนื้อเล็ก ใช้มือหยิบจับสิ่งของ ต่ำง ๆ และช่ว ยเหลือตนเองได้อย่ำงคล่ องแคล่ว แล้ วครูควรกระตุ้นให้ เด็กได้สนใจกำรอ่ำน เขียน โดยใช้นิทำนและสื่อต่ำง ๆ ที่ส่งเสริมกำรอ่ำน เขียนในเด็กปฐมวัย เพื่อชักชวนให้ เด็กมีควำมต้องกำร อ่ำนและเขียนมำกขึ้น เพรำะจะเป็นพื้นฐำนที่ช่วยเตรียมพร้อมให้เด็กประสบควำมสำเร็จในกำรเรียนรู้ ในระดับ ที่สู งขึ้น กำรนำคู่มือเตรีย มควำมพร้อมเพื่อส่ งเสริมทักษะด้ำนกำรเขียนของเด็กปฐมวัย ชั้นอนุบำลปีที่ 2 สู่กำรปฏิบัติของสถำนศึกษำจึงมีควำมสำคัญอย่ำงยิ่งต่อกำรพัฒนำเด็กปฐมวัย และ ถือเป็นหน้ำที่ที่ครูปฐมวัยชั้นอนุบำลปีที่ 2 ต้องศึกษำและทำควำมเข้ำใจในเอกสำรฉบับนี้ เอกสำรคู่มือเตรี ย มควำมพร้อม เพื่อส่ ง เสริมทักษะด้ำนกำรเขียนของเด็กปฐมวั ย ชั้นอนุบำลปีที่ 2 ฉบับนี้ ได้แบ่งเนื้อหำออกเป็น 4 ส่วน ได้แก่ ส่ วนที่ 1 ควำมรู้พื้นฐำนเกี่ยวกับ กำรเขียน ส่วนที่ 2 แบบฝึกลีลำมือรูปสัตว์ ส่วนที่ 3 แบบฝึกลีลำมือเส้นพื้นฐำน 13 เส้น และส่วนที่ 4 แบบฝึกลีลำมือกำรเขียนพยัญชนะ ก – ฮ ซึ่งในกำรฝึกทักษะด้ำนกำรเขียนแก่เด็กปฐมวัย ตำมเอกสำร ฉบับนี้นั้น ครูควรให้กำรดูแลอย่ำงใกล้ชิดในด้ำนควำมถูกต้องของกำรเขียน กำรให้กำลังใจ รวมทั้ง ปลู ก ฝั ง ควำมรั บ ผิ ด ชอบ ควำมมี ร ะเบี ย บวิ นั ย และกำรรั ก ษำควำมสะอำด เพื่ อ ให้ ง ำนเขี ย น มีประสิทธิภำพและเกิดประโยชน์สูงสุดแก่เด็ก


1

ส่วนที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเขียน

คู่มือเตรียมความพร้อมเพื่อส่งเสริมทักษะด้านการเขียนของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 2 สพป.นฐ.2


2

การเตรียมตัวก่อนสอนเขียน องค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อการเขียนมีหลายประการเพื่อให้การสอนเขียนได้ผลดี มีทั้ง ประสิทธิภาพในการสอนและมีคุณภาพในการเขียน ดังนั้นจึงต้องมีการเตรียมตัวก่อนสอนเขียน

การเตรียมตัวครู 1. ฝึกตนให้สามารถคัดลายมือตามแบบที่ตกลงกันให้ ถูกต้อง แม่นยา สวยงาม และ คล่องแคล่ว เพื่อเป็นแบบอย่างที่ดแี ก่เด็กและมีความมั่นใจขณะสอน 2. ขวนขวายหาความรู้ ใหม่ ๆ มาปรับ ปรุ งวิ ธีก ารสอนให้ มีป ระสิ ทธิ ภ าพและทัน สมั ย อยู่เสมอ 3. พยายามคิดกิจกรรมที่สนุกสนาน เร้าใจให้เด็กอยากเขียน เช่น ให้เล่นเกมต่าง ๆ ให้ฟังนิทาน วาดภาพ เล่นของเล่นที่นาไปสู่การเขียน 4. จัดเตรียมเนื้อหาตามลาดับจากง่ายไปหายาก และเตรียมอุปกรณ์การสอนไว้ให้พร้อม ก่อนสอนทุกครั้ง

การเตรียมตัวเด็ก 1. เตรียมความพร้อมทางพัฒนาการทุกด้าน ให้เด็กสามารถรับรู้ทางสายตา ให้มีกล้ามเนื้อ แขน มือ นิ้วมือแข็งแรง ให้ใช้ตาและมือสัมพันธ์กันอย่างดี มีความสามารถจาภาพที่เห็นได้แม่นยา สามารถคิดและเข้าใจสิ่ งที่เป็ นนามธรรม มีสุ ขภาพจิตดี มีคุณธรรม มีความสนใจและแรงจูงใจ ที่จะทาสิ่งต่าง ๆ อย่างดี มีช่วงความสนใจนานพอสมควรไม่เบื่อง่าย และรู้จักปรับตัว พูดคุย เล่น ทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างดี 2. เตรียมความพร้อมในการเขียน ทั้งการฝึกลีลามือด้วยการเขียนเส้นอย่างเสรี เขียนเส้น พื้นฐาน 13 เส้น และฝึกทากิจกรรมต่าง ๆ เกี่ยวกับเส้น เพื่อให้เด็กได้คุ้นเคยกับเส้นที่จะประกอบ เป็ น ตัว พยั ญ ชนะ และสามารถบั ง คับ การเคลื่ อ นไหวของกล้ า มเนื้อ ให้ เ ขี ย นเส้ นเรี ย บสม่ าเสมอ ตามทิศทางที่ต้องการได้อย่างคล่องแคล่ว 3. จั ดกิจ กรรมให้เด็กสามารถจดจารูปร่างของพยัญชนะทุกตัว ได้อย่างแม่นยา และจา ตาแหน่งของพยัญชนะแต่ละตัวตามลาดับได้

คู่มือเตรียมความพร้อมเพื่อส่งเสริมทักษะด้านการเขียนของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 2 สพป.นฐ.2


3

การเตรียมอุปกรณ์ ดิ น สอ ควรเป็ น ดิ น สอที่ มี ข นาดปกติ ทั่ ว ไป ซึ่ ง เด็ ก จั บ ถื อ ได้ พ อเหมาะ ไม่ สั้ น เกิ น ไป อย่างน้อยให้สูงเลยอุ้งมือของเด็ก จับดินสอสูงประมาณ 1 นิ้วจากไส้ดินสอ ไส้ของดินสอต้องอ่อน และดา อย่างน้อย 2B หรือ BB เพื่อไม่ต้องออกแรงกดในการเขียนมาก ยางลบ ควรเป็นชนิดอ่อน ลบออกง่าย ไม่สกปรก เวลาลบต้องใช้มือข้างที่ถนัดจับยางลบ ด้วยนิ้วในลักษณะการจับ ดินสอ มืออีกข้างหนึ่งกางนิ้วออกกดกระดาษให้ มั่น เพื่อไม่ให้กระดาษ เคลื่อนไปมา หรือไม่ให้กระดาษย่นเข้าหากันเวลาลบ กระดาษ ควรใช้กระดาษที่หนา เนื้อค่อนข้างหยาบ ผิวกระดาษไม่มัน ไม่ลื่น เส้นบรรทัด ควรเป็นขนาดใหญ่เพราะเด็กเล็กจะเขียนตัวอักษรตัวใหญ่ได้เร็วและดีกว่าตัวอักษรตัวเล็ก การวางกระดาษหรือสมุด ต้องวางตรงหน้าผู้ เขียนตามแนวขอบโต๊ะห่ างจากขอบโต๊ะ เข้าไปประมาณ 3/4 หรือ 1 นิ้ว เพื่อไม่ให้กระดาษยับ การวางกระดาษไม่ตรงทาให้ผู้เขียนต้อง เอียงคอ สายตาทางานหนักมาก ในขณะเขียนควรใช้มืออีกข้างหนึ่งจับกระดาษหรือสมุดให้มั่น โต๊ะ เก้าอี้ ต้องมีสัดส่ว นสัมพันธ์กันอย่างดี และเหมาะกับเด็กแต่ล ะวัยจึงจะนั่งสบาย และถูกสุขลักษณะ ซึ่งในระดับปฐมวัยความสูงของโต๊ะควรจะอยู่ประมาณ 55 เซนติเมตร ความสูง ของเก้าอี้ควรอยู่ประมาณ 29 เซนติเมตร โต๊ะเรียนควรมีความกว้างพอให้เด็กวางแขนได้สะดวก ขอบเก้าอี้ควรสอดใต้โต๊ะได้ และเมื่อนั่งหัวเข่าควรยื่นเข้าไปใต้โต๊ะได้สะดวก

การจับดินสอที่ถูกต้อง ใช้นิ้วเพียง 3 นิ้ว คือ นิ้วหัวแม่มือ นิ้วชี้และนิ้วกลาง จับดินสอเบา ๆ ด้วยนิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้ให้นิ้วกลางคอยรองรับ ดินสอ ปลายดินสอควรยื่นออกมาประมาณ 1 นิ้ว และด้าม เฉียงไปตามหลังมือ อย่าจับดินสอแน่นเกินไป และไม่ควรเกร็งข้อมือขณะเขียน ดังในภาพ

คู่มือเตรียมความพร้อมเพื่อส่งเสริมทักษะด้านการเขียนของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 2 สพป.นฐ.2


4

ท่านั่งเขียนที่ถูกต้อง - นั่งหันหน้าเข้าหาโต๊ะ หลังตรง ก้มหน้าลงนิดหน่อยให้ห่างจากกระดาษประมาณ 1 ฟุต และอย่าให้อกชิดโต๊ะ - วางแขนทั้งสองข้างไว้บนโต๊ะ ประมาณ 3 ใน 4 ของความยาวระหว่างศอกกับข้อมือ แขนข้างที่ไม่ได้ใช้เขียนอาจวางอยู่บนโต๊ะได้เต็มที่โดยให้ฝ่ามือคว่าลงยึดกระดาษไว้ - ข้อศอกไม่กางออก หรือแนบตัวมากเกินไป - วางฝ่าเท้าทั้งสองราบลงบนพื้น อย่าไขว้หรือบิดตะแคง การนั่งเขียนด้วยท่าทางที่ถูกต้อง จะมีความสามารถ ในการเขียนดีกว่าการนั่งเขียนทีไ่ ม่ถูกต้อง

หลักสาคัญของการเขียนเพื่อลายมือที่ดี 1. จัดท่านั่งให้ถูกต้องดังที่กล่าวไว้แล้ว 2. จับ ดินสอ ให้ถูกต้อง ถูกวิธีดังที่กล่าวไว้แล้ว ซึ่งควรจับดินสอด้วยมือขวา แต่ถ้าเด็ก ถนัดซ้ายไม่ควรบังคับให้เด็กเปลี่ยนมือซึ่งครูควรตรวจสอบข้อมูลพื้นฐานของเด็กว่าถนัดซ้ายจริง ๆ 3. เขียนตัวอักษรถูกหลักการเขียน ตัวอักษรทุกตัวเขียนจากหัวไปหาง 4. เขียนหัวอักษรเป็นแบบหัวกลมหรือแบบเดียวกันตลอด และเป็นระเบียบสวยงาม 5. เขียนสระ วรรณยุกต์ ตัวเลขและเครื่องหมายต่าง ๆ ถูกต้องตามรูปแบบและใส่วางถูกที่

การจัดบรรยากาศในชั้นเรียน 1. จัดห้องเรียนให้มีมุมและมีวัสดุ อุปกรณ์ตา่ งๆ ที่เกี่ยวข้องกับมุมวางอยู่อย่างเป็นระเบียบ สายงาม เพื่อเร้าให้เด็กสนใจและสะดวกที่จะเข้ามาทากิจกรรมได้ทันที เมื่อทากิจ กรรมนั้นเสร็จแล้ว ต้องให้ เ ด็กจั ดวัส ดุ อุ ป กรณ์ในมุมหรื อโต๊ะนั้ นให้ เหมื อนเดิม เพื่อ ฝึ กนิ สั ยที่ ดีในการเก็บ ของเข้า ที่ ให้ เป็ น ระเบี ย บ ในมุมทักษะเพื่อส่ งเสริมด้านการเขียนจะต้องมีกระดาษ ดินสอสี สี เทียนและ คู่มือเตรียมความพร้อมเพื่อส่งเสริมทักษะด้านการเขียนของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 2 สพป.นฐ.2


5 แบบตัวอักษรที่ทาให้เด็กเขียนตามด้วยวิธีต่าง ๆ ได้ ในมุมของเล่นอาจมีของเล่นตัวอักษรให้เด็กเล่น เช่น ภาพตัดต่อตัวอักษร ร้อยเชือกตัวอักษร เป็นต้น 2. จั ด ห้ อ งเรี ย นที่ จ ะให้ เ ด็ ก เรี ย นหรื อ ฝึ ก เขี ย นอยู่ ใ นที่ ส งบ ไม่ มี เ สี ย งอึ ก ทึ ก หรื อ ผู้ ค น พลุกพล่าน มีแสงสว่างพอเหมาะและถ้าเป็นไปได้ควรให้แสงสว่างเข้าทางซ้ายมือของเด็ กหรือจาก ด้านบน มิใช่ส่องเข้าทางด้านขวาหรือตรงหน้าของเด็กเพราะจะทาให้เกิดเงามือบังตัวอักษรที่จะเขียน แต่ถ้าเด็กถนัดมือซ้ายก็ควรให้แสงสว่างเข้าทางขวามือของเด็ก 3. ควรจัดเวลาให้เด็กฝึกเขียนไว้ตอนเช้าและในการสอนเขียนลายมือแต่ละครั้งกาหนด ประมาณ 15 – 20 นาที

การฝึกเขียนตัวพยัญชนะ ในการฝึกเขียนตัวพยัญชนะที่ดีนั้น ควรเริ่มเขียนจากตัวที่เขียนง่ายไปหาตัวที่เขียนยาก ซึ่งได้มีการจาแนกการเขียนตัวพยัญชนะออกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มง่าย กลุ่มปานกลาง

ประกอบไปด้วยตัวอักษร ประกอบไปด้วยตัวอักษร

กลุ่มยาก

ประกอบไปด้วยตัวอักษร

ง ก ค ม อ ญ

จ ถ ด น ฮ ฌ

ว ภ ต ฆ

ร ฝ ฅ ฉ

ธ พ ศ ท

บ ผ ข ห

ป ฟ ฃ ฑ

ษ ย ฬ ช ซ ล ส

ณ ฒ ฎ ฐ ฏ

กิจกรรมเสนอแนะวิธีสอนเขียนพยัญชนะ 1. เล่ านิ ทาน หรื อเล่ า เรื่ องให้ เด็ กฟั ง โดยใช้ พยั ญชนะตัว นั้น เป็ นตั ว เอกของเรื่อ งโดยมี อุปกรณ์ประกอบ เช่น ของจริง หุ่น ภาพ เป็นต้น 2. ทายปริศนาคาทาย แล้วเฉลยด้วยอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น ของจริง หุ่นจาลอง ภาพ เป็นต้น ตัวอย่างปริศนาคาทาย - อะไรเอ่ยไม่มีตีน ปีนต้นไม้ได้ (งู) สอน ง - อะไรเอ่ย กลม ๆ แบบ ๆ มีสี มีลาย ไว้ใส่อาหาร (จาน) สอน จ คู่มือเตรียมความพร้อมเพื่อส่งเสริมทักษะด้านการเขียนของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 2 สพป.นฐ.2


6 3. ท่องคาคล้องจอง โดยมีอุปกรณ์ประกอบ เช่น ของจริง หุ่น ภาพ เป็นต้น ตัวอย่างคาคล้องจอง ล.ลิง ส.เสือ ล เอ๋ย ล ลิง อย่าวิ่งอย่าหนี หางเจ้าไม่มี ดูซีน่าขัน ส่วน ส เสือเล่า ฉันเฝ้างงงัน หางยาวพัลวัน ตัวมันดุร้าย 4. ให้ร้องเพลงและทาท่าประกอบ 5. แนะนาให้เด็กรู้จักตัวพยัญชนะโดยให้สังเกตรูปร่างอย่างละเอียดลออ 6. ให้เล่นเกมแข่งขัน เช่น ตกปลา ระบายสี ซึ่งมีพยัญชนะตัวนั้นรวมอยู่กับตัวอื่น ต่อภาพ ตัดต่อพยัญชนะ เพื่อจาแนกและจาพยัญชนะที่จะเขียนได้ เป็นต้น 7. ให้เล่นเรียงฝาจุกน้าอัดลม หรือขดดินน้ามัน เป็นตัวพยัญชนะนั้น 8. เขียนพยัญชนะตัวนั้นหลาย ๆ ครั้งบนกระดาษ จนเด็กเข้าใจทิศทางการเขียนอย่างถูกต้อง 9. ให้เด็กออกมาฝึกเขียนทับตามรอยพยัญชนะบนกระดาษ 10. ฝึกใช้นิ้วชี้เขียนตัวพยัญชนะบนอากาศ ตามทิศทางที่ถูกต้อง 3 – 4 ครั้ง 11. ให้ใช้นิ้วชี้ลากตามตัวร่องพยัญชนะ 12. ฝึกเล่นเขียนพยัญชนะตามร่องพยัญชนะที่เจาะรู 13. ฝึกเขียนพยัญชนะโดยลากเส้นตามทิศทางที่กาหนดบนกระดาษ 14. ให้ดูแบบพยัญชนะที่เขียนอย่างถูกต้องตามสัดส่วน 15. ให้แบ่งกลุ่มแข่งขันการเขียนพยัญชนะตัวที่สอน 16. ให้เด็กแต่ละคนเขียนพยัญชนะในแบบฝึกหัด

คู่มือเตรียมความพร้อมเพื่อส่งเสริมทักษะด้านการเขียนของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 2 สพป.นฐ.2


7

ส่วนที่ 2 แบบฝึกลีลามือรูปสัตว์ ลากเส้นตามรอยปะ แล้วระบายสีภาพให้สวยงาม

คู่มือเตรียมความพร้อมเพื่อส่งเสริมทักษะด้านการเขียนของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 2 สพป.นฐ.2


8

กบ คู่มือเตรียมความพร้อมเพื่อส่งเสริมทักษะด้านการเขียนของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 2 สพป.นฐ.2


9

ปลาวาฬ

คู่มือเตรียมความพร้อมเพื่อส่งเสริมทักษะด้านการเขียนของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 2 สพป.นฐ.2


10

ช้าง

คู่มือเตรียมความพร้อมเพื่อส่งเสริมทักษะด้านการเขียนของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 2 สพป.นฐ.2


11

ไก่

คู่มือเตรียมความพร้อมเพื่อส่งเสริมทักษะด้านการเขียนของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 2 สพป.นฐ.2


12

เต่า

คู่มือเตรียมความพร้อมเพื่อส่งเสริมทักษะด้านการเขียนของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 2 สพป.นฐ.2


13

หมู

คู่มือเตรียมความพร้อมเพื่อส่งเสริมทักษะด้านการเขียนของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 2 สพป.นฐ.2


14

เสือ

คู่มือเตรียมความพร้อมเพื่อส่งเสริมทักษะด้านการเขียนของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 2 สพป.นฐ.2


15

ส่วนที่ 3 แบบฝึกลีลามือเส้นพื้นฐาน 13 เส้น ลากเส้นตามรอยปะแล้วฝึกเรียกชื่อเส้นพื้นฐาน

คู่มือเตรียมความพร้อมเพื่อส่งเสริมทักษะด้านการเขียนของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 2 สพป.นฐ.2


16

จรวดขึ้น

คู่มือเตรียมความพร้อมเพื่อส่งเสริมทักษะด้านการเขียนของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 2 สพป.นฐ.2


17

น้​้าไหล

คู่มือเตรียมความพร้อมเพื่อส่งเสริมทักษะด้านการเขียนของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 2 สพป.นฐ.2


18

ขึ้นเขา

คู่มือเตรียมความพร้อมเพื่อส่งเสริมทักษะด้านการเขียนของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 2 สพป.นฐ.2


19

ลงเขา

คู่มือเตรียมความพร้อมเพื่อส่งเสริมทักษะด้านการเขียนของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 2 สพป.นฐ.2


20

ไม้ลื่น

คู่มือเตรียมความพร้อมเพื่อส่งเสริมทักษะด้านการเขียนของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 2 สพป.นฐ.2


21

เครื่องบินขึ้น

คู่มือเตรียมความพร้อมเพื่อส่งเสริมทักษะด้านการเขียนของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 2 สพป.นฐ.2


22

สะพานโค้ง

คู่มือเตรียมความพร้อมเพื่อส่งเสริมทักษะด้านการเขียนของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 2 สพป.นฐ.2


23

กบกระโดด

คู่มือเตรียมความพร้อมเพื่อส่งเสริมทักษะด้านการเขียนของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 2 สพป.นฐ.2


24

บ่อน้​้า

คู่มือเตรียมความพร้อมเพื่อส่งเสริมทักษะด้านการเขียนของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 2 สพป.นฐ.2


25

ยิงธนู

คู่มือเตรียมความพร้อมเพื่อส่งเสริมทักษะด้านการเขียนของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 2 สพป.นฐ.2


26

ยิงปืน

คู่มือเตรียมความพร้อมเพื่อส่งเสริมทักษะด้านการเขียนของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 2 สพป.นฐ.2


27

ล้อเกวียน

คู่มือเตรียมความพร้อมเพื่อส่งเสริมทักษะด้านการเขียนของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 2 สพป.นฐ.2


28

ล้อรถ

คู่มือเตรียมความพร้อมเพื่อส่งเสริมทักษะด้านการเขียนของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 2 สพป.นฐ.2


29

ส่วนที่ 4 แบบฝึกลีลามือการเขียนพยัญชนะ ก – ฮ ลากเส้นตามรอยปะ ฝึกเรียกชื่อและจาชื่อพยัญชนะ

คู่มือเตรียมความพร้อมเพื่อส่งเสริมทักษะด้านการเขียนของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 2 สพป.นฐ.2


30

คู่มือเตรียมความพร้อมเพื่อส่งเสริมทักษะด้านการเขียนของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 2 สพป.นฐ.2


31

คู่มือเตรียมความพร้อมเพื่อส่งเสริมทักษะด้านการเขียนของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 2 สพป.นฐ.2


32

คู่มือเตรียมความพร้อมเพื่อส่งเสริมทักษะด้านการเขียนของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 2 สพป.นฐ.2


33

คู่มือเตรียมความพร้อมเพื่อส่งเสริมทักษะด้านการเขียนของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 2 สพป.นฐ.2


34

คู่มือเตรียมความพร้อมเพื่อส่งเสริมทักษะด้านการเขียนของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 2 สพป.นฐ.2


35

คู่มือเตรียมความพร้อมเพื่อส่งเสริมทักษะด้านการเขียนของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 2 สพป.นฐ.2


36

คู่มือเตรียมความพร้อมเพื่อส่งเสริมทักษะด้านการเขียนของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 2 สพป.นฐ.2


37

คู่มือเตรียมความพร้อมเพื่อส่งเสริมทักษะด้านการเขียนของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 2 สพป.นฐ.2


38

คู่มือเตรียมความพร้อมเพื่อส่งเสริมทักษะด้านการเขียนของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 2 สพป.นฐ.2


39

คู่มือเตรียมความพร้อมเพื่อส่งเสริมทักษะด้านการเขียนของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 2 สพป.นฐ.2


40

คู่มือเตรียมความพร้อมเพื่อส่งเสริมทักษะด้านการเขียนของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 2 สพป.นฐ.2


41

คู่มือเตรียมความพร้อมเพื่อส่งเสริมทักษะด้านการเขียนของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 2 สพป.นฐ.2


42

คู่มือเตรียมความพร้อมเพื่อส่งเสริมทักษะด้านการเขียนของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 2 สพป.นฐ.2


43

คู่มือเตรียมความพร้อมเพื่อส่งเสริมทักษะด้านการเขียนของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 2 สพป.นฐ.2


44

คู่มือเตรียมความพร้อมเพื่อส่งเสริมทักษะด้านการเขียนของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 2 สพป.นฐ.2


45

คณะผู้จัดท้า ที่ปรึกษา 1. นายทวีพล แพเรือง 2. นายพิศิทธิ์ แพงศรีนิธิศ 3. นายธีระพงษ์ ศรีโพธิ์

ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษานครปฐม เขต 2 รองผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษานครปฐม เขต 2 ผู้อานวยการกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2

คณะบรรณาธิการ 1. นางสาวรุ่งทิวา วัฒนวงศ์ ศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 2. นางสาวบุญสุพร เพ็งทา ศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 3. นายสุภัค แฝงเพ็ชร ศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2

ออกแบบและจัดท้า นางสาวบุญสุพร เพ็งทา

ศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2

คู่มือเตรียมความพร้อมเพื่อส่งเสริมทักษะด้านการเขียนของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 2 สพป.นฐ.2



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.