นวัตกรรม สื่อการเรียนรู้ตามแนวคิด BBL

Page 1

นวัตกรรม

สื่อการเรียนรู้ตามแนวคิด BBL พรพิไล เลิศวิชา

เอกสารประกอบการอบรม การจัดการเรียนรู ที่สอดคล องกับพัฒนาการทางสมอง (Brain-based Learning) ณ โรงแรมโลตัสโฮเต็ล ปางสวนแก ว จังหวัดเชียงใหม  สถาบั ทยาการการเรี ยนรูตุ้ ลาคม ๒๕๕๓ ระหว นาวิงวั นที่ ๑๑ - ๑๒

c สงวนลิขสิทธิ์ ๒๕๕๓


เรียนภาษาด วยบทเพลง 1.การร องเพลงเป นกิจกรรมที่สมอง สนใจเป นพิเศษ เพราะทำให มี ความสุข สนุกสนาน ไม เครียด ทุกคนทำได  สมองเกิดความคาด หมาย (expectation) ว าตัวเองจะ ได รับรางวัล (reward) จากความ สำเร็จภายใน


เรียนภาษาด วยบทเพลง 2.การที่มีบทเพลงบทเดียวอยู  ในหนังสือเล มหนึ่ง ซึ่งมีภาพ น าตื่นเต นประกอบอยู  กระตุ น ให ความสนใจเพิ่มสูงขึ้น สมอง คาดคะเนว า ใช เวลาไม นานใน กิจกรรมนี้ (expectable)


เรียนภาษาด วยบทเพลง 3.การเว นวรรคแต ละคำใน บทเพลงทำให สามารถร องไป ชี้คำไปด วย ทำให อ านได  อ านออกเร็วขึ้น เพราะถ าจำ เนื้อเพลงไม ได  ก็อ านได จาก ความจำ (แม จะสะกดไม ได  ก็ตาม)


เรียนภาษาด วยบทเพลง

4.รูปแบบหนังสือแปลกใหม  (Novelty) กระตุ นความสนใจ ของสมองอย างยิ่ง


มือขยับเท ากับเรียนรู  1.นักเรียนใช มือเคาะ และออกเสียงตามลำดับ ดังนี้


มือขยับเท ากับเรียนรู 

2.มือที่เคาะ พร อมการเปล งเสียงทำให ตอกย้ำกับตัวเอง

มือเป นตัวนำการเปล งเสียง สมองคิดตามไปตลอดเวลา โอกาสที่จะคิดวอกแวก เสียสมาธิ อ านผิดเกือบไม มีเลย


มือขยับเท ากับเรียนรู  3.การอ านเป นจังหวะ และมือ เคาะเป นจังหวะ ช วยกระตุ น สมองน อย ตามหลักการของ สมองมนุษย นั้น เมื่อสมองน อย ถูกกระตุ น การเรียนรู ภาษาจะดี ขึ้น เร็วขึ้น


มือขยับเท ากับเรียนรู 

4.จังหวะที่สนุกสนาน กระตุ นการทำงานของสมองซีกขวา ซึ่งเป นสมองที่รับความรู สึกรวมๆ ช วยให การอ านภาษา ของสมองซีกซ ายทำได ดีขึ้น มีประสิทธิภาพขึ้น


สมองเด็ก LD (Learning Disability) 1.เด็ก LD แท  มีพัฒนาการ สมองช ากว าเด็กปกติ อันเนื่อง มาจากความไม พร อม หรือ ความผิดปกติบางอย างของ สมองในวัยก อนหน านี้


สมองเด็ก LD (Learning Disability) 2.เด็ก LD เทียม เป นเด็ก

ปกติเพียงแต ถูกกระตุ นด วย สิ่งแวดล อมที่ไม เหมาะสม เช น ขาดความอบอุ น ขาดการกระตุ นพัฒนาการในวัย ทารก หรือวัยเด็กเล็ก ดูโทรทัศน  เล นเกมมากเกินไปใน วัยทารก-เด็กเล็ก


สมองเด็ก LD (Learning Disability) มีทัศนคติที่ไม ดีต อตัวเอง หรือหมู พวก ไม เคยรับรู ความสำเร็จที่ตัวเองภูมิใจ ขาดสารอาหารจำเป น เช น ไอโอดีน เหล็ก วิตามิน A


การสอนอ านในเด็ก LD การสอนอ านสำหรับเด็ก LD ต องเน นกระบวนการดังนี้ 1. ต องเน นให เด็กมีการเคลื่อนไหว ร างกาย เช น ทำ Brain-Gym กระตุ นให ออกท าทาง พร อมกับ เปล งเสียง 2. หนังสือที่เด็กอ าน ต องมีภาพ ประกอบมากกว าหนังสือทั่วไป


การสอนอ านในเด็ก LD ¢²

º

¨

« ø ÷ ÷ m ¨ ¨m n ¨m v

m ¨ ¨m

n ¨m n ¨m ¨

¨ ¨

¨m ¨ v ¨m ¨

¨ ¨

¨ v ¤ ¨

w ¨ ¨w

¨w ¨w v v ¨w ¨

¨ ¨

¨ v ¨ n

»¾

3. เนื้อหาต องสนุกสนานน าสนใจ 4. ตัวอักษรใหญ  มีวรรคระหว างคำ 5. แบบฝ กหัด ควรกระตุ นให สมอง อยากลงมือเขียน และง ายที่จะ ประสบความสำเร็จ


การสอนอ านในเด็ก LD ÷

¨

¨m¨

¨

¨n © ø ÷

¨ ¨ ¨ ¨ ¨ ¨

m n t u v w

¨m ¨n ¨t ¨u ¨v ¨w

¨ ¨ ¨ ¨ ¨ ¨

¨ ¨ ¨ ¨ ¨ ¨

»¿

6.แบบฝ กหัดต องออกแบบ โดยเน น การใช กราฟ ก (graphics) เข า ช วยให ดูง าย เป นระบบ เป น หมวดหมู  ชัดเจน 7.จำนวนแบบฝ กต องมีการทำซ้ำ มากกว าของเด็กปกติ


ทำไมเด็กอ านไม ออก ? µ pµ º pµ m « ø¨ þ pµ « ÷ ¨n s« v÷ s ÷ s © ø ÷

¨nø p÷ ª ¨nø p÷ v÷ s ¨ ª ø ¨ ¢ ª n ÷ ª ó ª ÷ ª

÷ ø ª ÷ ø mø ¤ ª ÷ ª ÷ ª mø n ª s÷ ª

sm ø pµ ° sm

s ÷ s ø s ÷ ø ò ó

÷ ø

÷ ø ÷ ø ¹¹»

1.แม เด็กจะเริ่มสะกดได แล ว เช น อ าน กา ตี ปู วาง เขา ฯลฯ ได  แต เมื่อมีอีกคำหนึ่งต อเข ามา เช น ร านค า ข างใน ก างปลา เด็กอาจ ไม รู ว า ร าน-ค า เป น 2 คำ แล วนำ มารวมกัน เด็กไม รู ว าแต ละคำ วรรคตรงไหน สมองแยกแยะไม ได 


ทำไมเด็กอ านไม ออก ? µ pµ º pµ m « ø¨ þ pµ « ÷ ¨n s« v÷ s ÷ s © ø ÷

¨nø p÷ ª ¨nø p÷ v÷ s ¨ ª ø ¨ ¢ ª n ÷ ª ó ª ÷ ª

2.การหัดประกอบคำเข าด วยกัน เป นการสร างความคุ นเคย ให เกิด ทักษะในการแยกคำ และทำให เด็ก อ านคำยากออกในที่สุด

÷ ø ª ÷ ø mø ¤ ª ÷ ª ÷ ª mø n ª s÷ ª

sm ø pµ ° sm

s ÷ s ø s ÷ ø ò ó

÷ ø

÷ ø ÷ ø ¹¹»


ทำไมเด็กอ านไม ออก ? 3.ในที่สุดสมองของเด็ก จะเรียนรู ว าคำยาวๆ ก็คือคำที่ประกอบ ด วยคำย อยๆ หลายคำนั่นเอง


หนูอ านได 

วิธีเรียนรู ของสมอง 1. ตามองเห็นภาพ ภาพ น าสนใจ สีจัดจ าน กระตุ นการรับ ภาพ เกิดความสงสัยว า ถ าเป ดดู จะมีอะไรอยู ข างใต ภาพนี้


หนูอ านได  2. เมื่อเป ดภาพดู พบคำศัพท  นักเรียนรู แล วว า ภาพคือ ภาพอะไร จึงมีคำนั้นในสมองอยู แล ว เช น

นักเรียนรู ว าคือภาพยีราฟ เมื่อเป ดพบคำว า

ที่จริง นักเรียนอาจจะอ านออกเพียงคำว า แต ก็ สามารถอ านได ว า เพราะรู จักภาพอยู ก อน


หนูอ านได  4. มือที่พลิกดูภาพ เป นการ กระทำที่สมองสั่ง ทำให เกิดความ ตั้งใจในการบังคับมือให เป ด เมื่อ ตาอ าน พร อมกับ มือเป ด เป น 2 action ที่เกิดขึ้นพร อมกัน ทำให การอ าน การเรียนรู  (learning) เกิดขึ้นง าย และเร็วขึ้น


เกมภาษากระตุ นสมอง

1.การเล นเกม เป นสิ่งที่เด็กพอใจ อยากทำ สมองต องการลงมือทำ แม ว าอาจจะมีความลำบาก และป ญหาที่ต องขบคิด ทำไมสมองยอม ทำสิ่งยาก ? คำตอบก็คือ เพราะเมื่อทำสำเร็จแล ว จะรู สึกว า ตัวเอง ได รับชัยชนะ ความต องการชนะเป นการทำงานของสมองส วน สัญชาตญาณ เพราะชัยชนะ หมายถึง การอยู รอด (survival)


เกมภาษากระตุ นสมอง 2.การอ านคำควบกล้ำ ไม ใช เรื่องน าสนุก แต เมื่อมันกลายเป น เกม ก็ทำให สิ่งนี้สนุกขึ้น การมีภาพช วยบอกใบ ว า คำนี้น าจะ ตรงกับศัพท คำไหน เมื่อเห็นภาพก็พอจะเดาออก

= ปราสาท


เกมภาษากระตุ นสมอง 3.การหัดอ านโดยใช เกมภาษา เป น วิธีการเรียนรู ที่แยบคาย เด็กไม รู สึก ว าตัวเองถูกบังคับ ไม อึดอัดขณะ เล นเกม นอกจากดูภาพ อ านคำ แล ว ยังใช มือจัดภาพให ถูกตำแหน ง สมองทำงานพร อมกัน 3 วงจร คือ วงจรรับภาพ วงจรสัมผัส และวงจร รับเสียง การอ านได จะเกิดขึ้นด วย วิธีที่เป นธรรมชาติ


เมื่อสมองเรียนรู คำศัพท  1.การสอนคำศัพท  โดยใช  บัตร ปริศนาสามเหลี่ยม (triangle puzzle) เป นนวัตกรรมที่ต องการ กระตุ นให สมองเกิดความสนใจ รวมศูนย  (focus) และมีสมาธิ


เมื่อสมองเรียนรู คำศัพท  2.รูปทรง เป นรูปทรงแปลก ใหม  เมื่อเป ดคำออกมา นักเรียน จะพยายามอ าน และจับกฎเกณฑ  ผู สอนย้ำให เห็น pattern ของ -en


เมื่อสมองเรียนรู คำศัพท  3.pattern ของสี และการใช  ทำให จับกฎเกณฑ ได ง าย เพราะกระตุ นการทำงานของ สมองซีกขวา ซึ่งทำงานเร็ว กว าซีกซ าย


เมื่อสมองเรียนรู คำศัพท  3.ภาพประกอบ ช วยทำให เข าใจ ความหมายทันทีที่อ านศัพท  ไม ต อง อาศัยเวลาตีความ ช วยให เรียนรู ได  เร็ว 4.สมองที่มองเห็น pattern (ซีกขวา) กับสมองที่อ านคำ (ซีกซ าย) ทำงาน ประสานกันได ดีในการเรียนรู  pattern ของคำ


เมื่อสมองจับกฎเกณฑ ของหลักภาษา กิจกรรมคำวิเศษณ 

1.กระบวนการสอนนี้ เน นการเคลื่อนไหว (movement) และ ประสาทสัมผัส เพื่อกระตุ นการเรียนรู ภาษา นักเรียนนำบัตรคำ ที่กำหนดสีไว  แล วเรียงลงไปดังภาพ


เมื่อสมองจับกฎเกณฑ ของหลักภาษา ขณะเรียงบัตร

ตาอ านคำ / เห็นภาพ / สีสัน เมื่อเรียงคำกริยา และคำ

วิเศษณ จนครบ ก็เกิดความ เข าใจ (concepts) ผ านการ ลงมือทำ แทนที่จะฟ งคำอธิบาย ที่เป นนามธรรมล วนๆ


เมื่อสมองจับกฎเกณฑ ของหลักภาษา 2.กิจกรรมการสอนที่แปลกใหม  (novelty) กระตุ นให นักเรียนเกิด ความจำง ายขึ้น 3.มีการใช สีสัน (color) ช วยจำแนก (category) แยกแยะข อมูลแต ละ ชุดออกจากกันเด็ดขาด ช วยให  สมองสร างความรู ใหม  (concept) ได ง าย


เมื่อสมองจับกฎเกณฑ ของหลักภาษา 4.มีการนำเสนอข อมูลใหม  โดยผ าน การจัดวางอย างเป นระบบ มีการจัด วางตำแหน ง (location) ของข อมูล เช น ช วยให สมองจับประเด็นได ง าย


เมื่อสมองจับกฎเกณฑ ของหลักภาษา สมองส วนหน า

สมองส วนรับสัมผัส

5.การเรียนรู เน นการเคลื่อนไหวของ มือ ผู เรียนใช สมอง ส วนหน า และส วนสัมผัส ช วยให เรียนรู ได เร็วขึ้นมาก


การรับรู ไม ใช การเรียนรู  (learning) 1.การเรียนรู เริ่มต นที่การอ านคำว า แต การเรียนรู อยู เพียงระดับ รับรู  ยังไม ได แปลว า ถูกบันทึกไว  เป น ความจำ (memory)


การรับรู ไม ใช การเรียนรู  (learning) 2.เมื่อนักเรียนเป ดคำออกดู มือที่เคลื่อนไหวเริ่มทำงาน สมองส วนหน า (ส วนคิด) เริ่มถูกกระตุ นมากขึ้น


การรับรู ไม ใช การเรียนรู  (learning) สมองส วนหน า

3.สมองส วนหน าทำการเชื่อมโยง ความหมายระหว าง การรับรู ยกระดับขึ้น ทำให เกิดการ เรียนรู  (learning) และก าวสู การจำ (memory) ได ง าย


สมองเรียนรู ด วยวิธีนี้ เกมบิงโก

1.การใช เกมบิงโก เป นการกระตุ น ให นักเรียนทุกคนมีโอกาสได เรียน ภาษาผ านเกม ซึ่งสนุกสนาน และ ท าทาย


สมองเรียนรู ด วยวิธีนี้ 2.ขณะที่ครูอ าน นักเรียนจะ มองหาคำนั้น ว าอยู ตรงไหน บนกระดานบิงโกของตัวเอง สมองจะอ านคำแต ละคำ ซ้ำ แล วซ้ำอีกโดยไม เบื่อ เพราะ หวังว าตัวเองจะมีคำตรงกับ ที่ครูอ านออกมา


สมองเรียนรู ด วยวิธีนี้ 3.ขณะที่มือเลื่อนตัวเลื่อนไป สมองก็ อ านตามไปด วย เสียงนั้นดัง 2 ครั้ง คือ คร้ังที่ 1 ครูอ าน ครั้งที่ 2 นักเรียนอ านซ้ำ เพื่อหาตัวที่ตรงกับของครู


สมองเรียนรู ด วยวิธีนี้ 4.ความคาดหวังที่ตัวเองจะเป น คนได  bingo ก อน เป นความ คาดหมาย (expectation) ที่ กระตุ นขับเคลื่อนให ตื่นตัว ตลอดเวลา ขณะฟ ง และอ าน คำใหม ๆ


สมองเรียนรู ด วยวิธีนี้

5.สำหรับนักเรียนที่อ านไม ได  จะเกิดความมุมานะพยายามอ าน เพราะถ าอ านไม ออก ก็เล นเกมนี้ ไม ได 


สอนเด็กพัฒนาช าให อ านเป น

1.การเว นระยะแต ละคำ ช วยให อ านไปทีละเสียงได ง าย การที่มีจุดใต คำแต ละคำ ช วยให สมองมองเห็นจุดว าแทนคำ คำหนึ่ง ย อให รู สึกว าตัวอักษรเยอะแยะที่เรียงกันอยู มีสิ่งที่ จะต องอ านไปอยู กี่จุด แล วใช ไม ชี้อ านตามไปทีละจุด


สอนเด็กพัฒนาช าให อ านเป น

2.สมองแต ละคน มีความเร็วไม เท ากัน บางคนหยุดอยู ที่บางคำ นาน เพราะกำลังคิดว าคำต อไปอ านว าอะไร ไม ที่ชี้ตำแหน งอยู  ทำให เด็กจำได ว า กำลังจะอ านตัวไหน ตัวไหนที่อ านมาแล ว ไม สับสน


สอนเด็กพัฒนาช าให อ านเป น

3.เมื่อฝ กอ านแบบนี้ระยะหนึ่ง สมองก็จะเกิดความคุ นเคย เกิด ความชำนาญ รู จักวิธีสังเกตและเริ่มอ านได เอง โดยไม ต องมีจุด ช วยอีกต อไป


สอนให สมองสร างความจำได เร็วและง าย การสอนอักษรกล้ำโดยใช ตัวต อ 1.การสอนอักษรกล้ำ โดยใช ตัวต อ (jigsaw) ช วยกระตุ นให สมองสนใจ มองเห็นข อมูล ที่จะนำมาต อเป น คำเดียวกันได ชัดเจนขึ้น สมองจะ คิดโดยอัตโนมัติว า มันคือ นั้นเอง


สอนให สมองสร างความจำได เร็วและง าย ต างกันกับการเห็นคำแบบนี้ ภาพด านบนนี้ไม ช วยแนะแนวทาง ให สมองเห็นความเชื่อมโยงกันของ คำ ครูต องสอน ต องบอก การรู จึง จะเกิดขึ้น


สอนให สมองสร างความจำได เร็วและง าย 2.การแยกอักษรกล้ำ กล / คว ด วย สีน้ำเงิน ทำให มองเห็นได ชัดว าตัว ไหนที่เรียกว า 3.แผนภูมินี้นำเสนอ กล / คว / ปล นักเรียนรับรู ได ในเวลาเดียวกันว ามี อักษรกล้ำอยู  3 ชุด คือ กล คว และ ปล


สอนให สมองสร างความจำได เร็วและง าย

4.นวัตกรรมนี้ ทำให ผู เรียนรับรู ด วยภาพ นำข อมูลใส ไว ในสมอง เป นภาพ ทำให น าสนใจ และจดจำง าย แทนที่จะเป นข อมูลแบบ จดบันทึกความเรียง ซึ่งไม น าสนใจ และสมองจำยาก


บัตรคำที่สมองจับกฎเกณฑ ได ง าย 1.คำแต ละคำมีแบบแผน (pattern) ต างกัน เช น

บัตรคำที่จะช วยกระตุ นให เรียนรู ได ง าย ต องแสดง pattern ให ชัดเจน ให สมองจับกฎเกณฑ ได ง าย


บัตรคำที่สมองจับกฎเกณฑ ได ง าย

2.สีที่ใช  ช วยแยกให เห็น pattern ของคำชัดเจนขึ้น การแยกสี ทำให สมองเข าใจ และรับรู เร็ว เพราะสมองซีกขวา ซึ่งทำงานด าน การรับรู สี ทำงานเร็วกว าสมองซีกซ าย


บัตรคำที่สมองจับกฎเกณฑ ได ง าย

3.การเปลี่ยนตัวอักษรทีละใบ ช วยให สมองเห็นกระบวนการ (process) ของการสะกดคำ


บัตรคำที่สมองจับกฎเกณฑ ได ง าย

อ านว า อ านว า สื่อแบบนี้ จัดเป นนวัตกรรม ที่ช วยให สมองเข าใจ กระบวนการ ของภาษา (process) และแบบแผนของการสะกดคำ (spelling pattern)


เมื่อสมองซีกขวา และซีกซ ายร วมมือกัน เรียนหลักภาษา

1.การจัดข อมูลแยกเป นหมวดหมู ให ชัดเจน โดยใช ที่ว าง (space) สี (color) และ การจัดช องว าง / ตารางที่เป นหมวดหมู  (graphics organizer) ช วยให สมองซีกขวา เข าร วมในการเรียนรู  กับสมองซีก ซ ายได ง ายขึ้น


เมื่อสมองซีกขวา และซีกซ ายร วมมือกัน เรียนหลักภาษา

2.จากตารางข างบนนี้จะเห็นว าผู สอน สามารถนำเสนอข อมูลและ คำอธิบาย โดยใช ตารางเพียงตารางเดียว สมองผู เรียนจะนำข อมูล มาเข ารหัส (encode) เกิดองค ความรู ได ง าย


เมื่อสมองซีกขวา และซีกซ ายร วมมือกัน เรียนหลักภาษา 3.ถ าไม มีตารางนี้ ผู สอนต องใช วิธี บรรยาย หรือเขียนบนกระดานด วย ข อความยาวๆ ซึ่งทำให การเรียนรู  ยากขึ้น เพราะว าการสรุปประเด็นไม  ชัดเจน ยืดยาว เยิ่นเย อ สมองต อง ใช วิธีคิด และจำเอาไว  ซึ่งจำไม ได  ก็ไม เกิดความเข าใจ ว านี้คือการสอน ประธาน - กริยา - กรรม


สมองเรียนรู ได ดี โดยอาศัยสมองน อย และกระตุ นจังหวะที่สมองซีกขวา 1.นักเรียนมองเห็นคำในตาราง


สมองเรียนรู ได ดี โดยอาศัยสมองน อย และกระตุ นจังหวะที่สมองซีกขวา 2.เท ากระโดดไปบนตาราง ตามเสียงที่ครูอ าน ครูอ าน กา นักเรียนกระโดด กา ออกเสียง กา ครูอ าน ปู นักเรียนกระโดด ปู ออกเสียง ปู


สมองเรียนรู ได ดี โดยอาศัยสมองน อย และกระตุ นจังหวะที่สมองซีกขวา

3.สมองใช ตาอ านคำ พร อมกับสมองสั่งเท า ให กระโดดไปบนคำนั้น เปล งเสียง กา


สมองเรียนรู ได ดี โดยอาศัยสมองน อย และกระตุ นจังหวะที่สมองซีกขวา

สมองน อย

4.วงจรในสมองวงจรที่ 5 ถูกกระตุ น คือ สมองน อย (cerebellum) เพราะ การเคลื่อนไหวนี้ มีแบบแผน (pattern) ที่แน นอน การที่สมองถูก กระตุ นถึง 5 วงจร จะทำให การเรียน รู ภาษาเกิดขึ้นอย างมีประสิทธิภาพ


สมองเรียนรู ได ดี โดยอาศัยสมองน อย และกระตุ นจังหวะที่สมองซีกขวา 5.การสอนนี้อาจเปลี่ยนไปใช  มือขวา เป นตัวเคาะจังหวะก็ได  การเรียนรู ก็ให ผลคล ายกัน


สมองเรียนรู ได ดี โดยอาศัยสมองน อย และกระตุ นจังหวะที่สมองซีกขวา 6.เมื่อยกแผ นตาราง กา ลา ปู งู ออกไป ลองให เคาะดู ครูเปล งเสียง นักเรียนเคาะ โดยมากจะเคาะถูก หมด เพราะบัดนี้ ความรู  -า และ -ู ถูกบันทึกไว ในสมอง เป นความจำ ถาวร


สมองเรียนรู คำผ านการเห็น pattern 1.การเรียนรู วิธีอ าน

ทำได หลายวิธี วิธีการนี้ใช วิธีการจับ สระ ให นิ่งอยู กับที่ มือหมุน แผ น CD ตัวหนังสือจะเลื่อนผ านมา


สมองเรียนรู คำผ านการเห็น pattern

2.การเรียนรู เกิดขึ้น เมื่อตามองเห็นแบบแผน (pattern) ที่ตรึง ให นิ่ง เมื่อมือหมุนตัวอักษร ตาจะเห็นตัวอักษรเลื่อนลงมา การอ าน คงเดิม คือ เสียง เปลี่ยนเฉพาะพยัญชนะคือ ธ ร ​จ อ เป น สมองซีกซ ายทำการสะกด หัดอ าน สมองซีกขวารับรู รวมๆ ว า คำนี้ เป น pattern เดียวกันเสมอ


สมองเรียนรู คำผ านการเห็น pattern 3.มือจะหมุนช าเร็ว ตามความ สามารถในการอ านของแต ละคน วงจรในสมองที่บังคับการ เคลื่อนไหว กับวงจรการอ าน ทำงานสัมพันธ กันพอดี ไม ช าไป หรือเร็วไป ผู เรียนบังคับมือ และ ตาของตัวเอง


สมองเรียนรู คำผ านการเห็น pattern

4.การใช นวัตกรรมการเรียนรู ที่แปลกใหม  (novelty) กระตุ นให  เกิดความสนใจ อยากเรียน อยากลองดู


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.