ประกันคุณภาพ รร ป1-3

Page 1

ประกัน คุณภาพ โรงเรี ย น School Accreditation

ชั้น

ปร

ะถ

มศ

ึกษ

าป

ีที่

1-

3

ด้วยกระบวนการ Brain- based Learning Brain-based Learning Center (BBLC) www.facebook.com/brainbased.learningthai


5

ตัวแปรสำ�คัญ สู่ การประกันคุณภาพ โรงเรียน

2

1 2 3 4 5


สนามเด็กเล่นแบบ BBL playground

ห้องเรียนที่กระตุ้นสมอง Brainy Classroom

หนังสือเรียน BBL กระบวนการเรียนรู้แบบ BBL BBL Learning Process

สื่อและนวัตกรรมแบบ BBL BBL Innovations

3


สนามเด็กเล่นแบบ BBL playground 1. มีเครื่องเล่นที่น่าสนุกสนานตื่นเต้น เช่น ชิงช้า กระดานลื่น ม้าหมุน 2. มสี นาม ทีก่ ระตุน้ พัฒนาการร่างกาย เด็ก ทุกคนต้องได้เคลื่อนไหว หรือเล่นสนาม ทุกวัน โดยใช้เวลาต่อเนื่องกันอย่างน้อย 10-15 นาที 3. มีเครื่องเล่นสนามอื่นๆ ที่ช่วยพัฒนา ร่ า งกายทุ ก ส่ ว น ที่ ห ลากหลาย เช่ น เดิน ก้าว ปีน มุด-ลอด กระโดด โหน วิ่ง ทรงตัว อาจใช้ยางรถยนต์เพื่อสร้าง รากฐานการเล่นหลากหลาย และอาจมี จำ�นวนฐานเพิม่ ขึน้ ตามความเหมาะสม 4. แบ่งพืน้ ทีก่ ารเล่น หรือทำ�เครือ่ งหมายว่า ส่วนใดเป็นสนามของอนุบาล ส่วนใดเป็น ของเด็กประถม 5. มีคุณครูคอยดูแลความปลอดภัยในการ เล่น 6. ควรมีทราย หญ้า หรือวัสดุกันกระแทก รองรั บ บริ เ วณที่ อ าจมี อั น ตรายหรื อ อุบัติเหตุได้ง่าย 4


สนามเด็กเล่นแบบ BBL

1 2

มีเครื่องเล่นที่น่าสนุกสนานตื่นเต้น เช่น ชิงช้า กระดานลื่น ม้าหมุน

มีสนาม ที่กระตุ้นพัฒนาการร่างกาย เด็กทุกคนต้องได้ เคลื่อนไหว หรือเล่นสนามทุกวัน โดยใช้เวลาต่อเนื่องกัน อย่างน้อย 10-15 นาที

5


สนามเด็กเล่นแบบ BBL

3

ม ีเครื่องเล่นสนามอื่นๆ ที่ช่วยพัฒนาร่างกายทุกส่วน ที่หลากหลาย เช่น เดิน ก้าว ปีน มุด-ลอด กระโดด โหน วิ่ง ทรงตัว อาจใช้ยางรถยนต์ เพื่อสร้างรากฐานการเล่นหลากหลาย (ภาพแผนผังสนามด้านล่างนี้ เป็นภาพตัวอย่างเท่านั้น โรงเรียนอาจพิจารณาใช้วัสดุของเล่นอื่นๆ ที่ สามารถพัฒนาร่างกายได้อย่างเดียวกัน) และอาจมีจำ�นวนฐานเพิ่มขึ้น ตามความเหมาะสม

เดิน วิ่ง

วิ่งซิกแซก

ห้อย โหน

ปีน กระโดด

ก้าว

ปีน มุด ลอด

มุด ลอด

ทรงตัว หมายเหตุ : ดูภาคผนวกที่ 1 6

กระโดด หมุนตัว ระยะ มิติ


สนามเด็กเล่นแบบ BBL

4

แ บ่งพื้นที่การเล่น หรือทำ� เครื่องหมายว่าส่วนใดเป็น สนามของอนุบาล ส่วนใดเป็น ของเด็กประถม

5

ม ีคุณครูคอยดูแลความ ปลอดภัยในการเล่น

6

ค วรมีทราย หญ้า หรือวัสดุกันกระแทก รองรับบริเวณที่อาจมีอันตรายหรือ อุบัติเหตุได้ง่าย

7


ห้องเรียนที่กระตุ้นสมอง Brainy Classroom 1. ผนังห้องเรียนมีสสี นั กระตุน้ ความสนใจ เปิดสมอง 2. มีมุมอ่านในห้องเรียน เพื่อจัดกิจกรรมการอ่าน และกระตุ้นให้รักการอ่าน 3. โต๊ะเก้าอี้ของนักเรียน ควรอยู่ในสภาพที่ใช้งาน ได้ ทาสีใหม่ หรือใช้โฟเมก้าปิดทับที่ชำ�รุด หรือ เก่าเกินไป 4. จั ด โต๊ ะ เรี ย นเป็ น กลุ่ ม เพื่ อ สะดวกในการจั ด กิจกรรมกลุ่ม 5. ภาพและสื่อที่ติดอยู่บนฝาผนัง และบอร์ดต่างๆ ต้องสอดคล้องกับเนื้อหาที่เรียน ไม่ติดตายไว้ ตลอดปี 6. มี ป้ า ยนิ เ ทศ บอร์ ด ความรู้ และพื้ น ที่ แ สดง ผลงานของนักเรียน 7. มโี ต๊ะเพือ่ ใช้ในการสาธิตการสอนต่างหากจากโต๊ะ ครู 8. มีชั้นแยกเก็บอุปกรณ์ เครื่องเขียน หนังสือเรียน สมุดแบบฝึกหัดเป็นสัดส่วน 9. มีที่แขวนหรือตู้เก็บกระเป๋าหนังสือ ของนักเรียน เป็นสัดส่วน 10. มกี ระดานเคลือ่ นที่ เพือ่ นำ�เสนอความรูใ้ ห้โดดเด่น และใกล้ชิดกับนักเรียน 8


ห้องเรียนที่กระตุ้นสมอง

1

ผนังห้องเรียนมีสีสัน กระตุ้น ความสนใจ เปิดสมอง

3

2

มีมุมอ่านในห้องเรียน เพื่อ จัดกิจกรรมการอ่าน และ กระตุ้นให้รักการอ่าน

โ ต๊ะเก้าอี้ของนักเรียน ควร อยู่ในสภาพที่ใช้งานได้ ทาสีใหม่ หรือใช้โฟเมก้าปิด ทับที่ชำ�รุด หรือเก่าเกินไป

4

จัดโต๊ะเรียนเป็นกลุ่ม เพื่อสะดวกในการจัด กิจกรรมกลุ่ม 9


ห้องเรียนที่กระตุ้นสมอง ตัวอย่างมุมอ่าน

ชั้นวางหนังสือออกใหม่ให้ วางโชว์หน้าปก กระตุ้น การอ่าน หนังสือที่วางบน ชั้นเป็นหนังสือที่สอนใน สัปดาห์นั้น และหนังสือ เสริมการอ่าน วางเสื่อเพื่อกำ�หนดให้มุมอ่านมี พื้นที่ปิด (closed area) ที่แน่นอน

5 10

ภาพและสื่อที่ติดอยู่บนฝาผนัง และบอร์ดต่างๆ ต้องสอดคล้องกับเนื้อหาที่เรียน ไม่ติดตายไว้ ตลอดปี


ห้องเรียนที่กระตุ้นสมอง

6

มีป้ายนิเทศ บอร์ดความรู้ และพื้นที่แสดงผลงานของ นักเรียน

7

มีโต๊ะเพื่อใช้ในการ สาธิตการสอน ต่างหากจากโต๊ะครู

8 9

มีชั้นแยกเก็บอุปกรณ์ เครื่องเขียน หนังสือ เรียน สมุดแบบฝึกหัดเป็น สัดส่วน มีที่แขวนหรือตู้เก็บ กระเป๋าหนังสือ ของ นักเรียนเป็นสัดส่วน 11


ห้องเรียนที่กระตุ้นสมอง

10

มีกระดานเคลื่อนที่ เพื่อนำ�เสนอความรู้ ให้โดดเด่น และใกล้ชิดกับนักเรียน สีที่แนะนำ� : ควรเป็นสีอ่อน คือ ขาว เขียว เหลือง เป็นต้น หลีกเลี่ยงสีดำ� น้�ำ เงิน และสีมืดทึบ

ควรมีล้อ : เพื่อสะดวกในการเลื่อน และใช้พื้นที่ด้านหลัง

กระดานเคลื่อนที่ ที่แนะนำ�

ด้านหน้า : เป็นตะแกรงสำ�หรับหนีบ บัตรภาพ บัตรคำ�

12

ด้านหลัง : เป็นกระดานแม่เหล็ก

เพื่ อ ติ ด ข้ อ มู ล ความรู้ ที่ ต้องการสอน


หนังสือเรียน BBL 1. หนังสือเรียนออกแบบสอดคล้องกับหลักสูตร เหมาะกับวัย น่าตื่นใจ น่าอ่าน มีภาพประกอบ มากพอที่จะสร้างความเข้าใจให้แก่เด็ก ไม่ใช่ หนังสือที่เน้นแต่คำ�บรรยาย (text-based) 2. หนังสือเรียนใช้กระดาษคุณภาพ มีการออกแบบ (design) อย่างมีศิลปะและกระตุ้นผู้เรียนให้ สนใจ อยากรู้ 3. แบบฝึกหัดในหนังสือเรียนมีการออกแบบจาก ง่ายไปยาก มีการออกแบบให้มีแบบฝึกหลาก หลายประเภท พอที่จะพัฒนาเด็ก และมีการ จัดระบบการเรียนรู้ เป็นขัน้ ตอน (instructional system design) ทำ�ให้เกิดการเรียนรู้ง่าย ไม่ น่าเบื่อหน่าย 4. หนังสือเรียนมีการนำ�เสนอความรู้ โดยใช้ตาราง แผนผัง แผนภาพ concept web ไดอาแกรม ฯลฯ ให้นักเรียนฝึกฝน เชื่อมโยงความรู้ขึ้น สู่การมีทักษะการคิดระดับสูง (higher order thinking) 5. แบบฝึกหัดในหนังสือเรียน มีจำ�นวนมากพอที่ จะช่วยพัฒนาทักษะต่างๆ ของนักเรียน 13


หนังสือเรียน BBL

1

หนังสือเรียนออกแบบสอดคล้องกับหลักสูตร เหมาะ กับวัย น่าตื่นใจ น่าอ่าน มีภาพประกอบมากพอที่จะ สร้างความเข้าใจให้แก่เด็ก ไม่ใช่หนังสือที่เน้นแต่คำ� บรรยาย (text-based)

2

ห นังสือเรียนใช้กระดาษคุณภาพ มีการ ออกแบบ (design) อย่างมีศิลปะและ กระตุ้นผู้เรียนให้สนใจ อยากรู้

3 4 14

หนั ง สื อ เรี ย นมี ก ารนำ � เสนอความ รู้ โดยใช้ตาราง แผนผัง แผนภาพ concept web ไดอาแกรม ฯลฯ ให้ นักเรียนฝึกฝน เชื่อมโยงความรู้ขึ้นสู่ การมีทักษะการคิดระดับสูง (higher order thinking)

แบบฝึ ก หั ด ในหนั ง สื อ เรี ย นมี การออกแบบจากง่ายไปยาก มี การออกแบบให้มีแบบฝึกหลาก หลายประเภท พอที่จะพัฒนา เด็ ก และมี ก ารจั ดระบบการ เรียนรู้ เป็นขั้นตอน (instructional system design) ทำ�ให้ เกิดการเรียนรู้ง่าย ไม่น่าเบื่อ หน่าย

5

แ บบฝึกหัดในหนังสือเรียน มีจำ�นวนมากพอที่จะช่วย พัฒนาทักษะต่างๆ ของ นักเรียน


กระบวนการเรียนรู้แบบ BBL BBL Learning Process 1. มีการ warm up ร่างกาย โดยใช้กระบวนการขยับกายขยายสมอง (Brain-gym)/ ยืดเส้นยืดสาย (stretching)/ กิจกรรมเคลื่อนไหว (movement)/ เพลงและเกม 2. นำ�เสนอข้อมูลและเนื้อหาบนพื้นที่หลากหลาย ไม่ใช่แต่วิธีเขียนบน กระดานดำ� 3. ใช้บัตรภาพ บัตรคำ� แถบประโยค เพื่อเสนอความรู้ หรือประเด็นต่างๆ 4. แสดงภาพเคลื่อนไหว และเชื่อมต่อกับระบบอินเตอร์เนต เพื่อเชื่อม กระบวนการเรียนรู้เข้ากับเทคโนโลยีใหม่ในเนื้อหาที่จำ�เป็น ระวังไม่ ใช้ IT ในการสอนตลอดเวลา เพื่อป้องกันภาวะเครียดต่อเนื่อง (prolong stress) 5. มีการสรุปเนื้อหาความรู้ที่สอนมา โดยใช้กราฟ ชาร์ต ตาราง concept web หรือ graphic organizers แบบต่างๆ และถ้าเป็นไปได้ควรใส่ รหัสช่วยจำ� (memory encoding) 6. นำ�เสนอเนื้อหาและข้อมูล ด้วยเทคนิคแปลกใหม่ ทำ�ให้สมองติดตาม การสอนตลอดเวลา 7. จัดกิจกรรมและช่วยสอนนักเรียน เป็นรายบุคคล ไม่ใช่สอนแบบทั้งชั้น (whole class teaching) ตลอดเวลา 8. หลังจากขั้นเรียนรู้ (learning stage) แล้ว ให้นักเรียนทำ�การฝึกซ้ำ�ๆ จนคล่อง (practice) 9. ต้องให้มีใบงาน (worksheet) ที่มีคุณภาพที่จะช่วยเสริมให้นักเรียนได้ ฝึกทักษะจากสิ่งที่เรียนรู้จนคล่อง 10. หลังจากการฝึกทักษะแล้ว ต้องอุดช่องว่างด้วยการสรุปซ้�ำ ให้เกิดความ คิดรวบยอดของบทเรียน ด้วยวิธีต่างๆ 11. มีกิจกรรมหรือใบงาน เพื่อให้นกั เรียนได้ประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ใหม่ (apply) และมีโอกาสสร้างสรรค์ผลงาน (creativity) 15


กระบวนการเรียนรู้แบบ BBL

16

1

มีการ warm up ร่างกาย โดยใช้กระบวนการขยับกายขยาย สมอง (Brain-gym)/ ยืดเส้นยืดสาย (stretching)/ กิจกรรม เคลื่อนไหว (movement)/ เพลงและเกม

2

น ำ�เสนอข้อมูลและเนื้อหาบนพื้นที่หลากหลาย ไม่ใช่แต่วิธีเขียนบนกระดานดำ�


กระบวนการเรียนรู้แบบ BBL

3

ใ ช้บัตรภาพ บัตรคำ� แถบประโยค เพื่อเสนอความรู้ หรือประเด็นต่างๆ

4

แสดงภาพเคลื่อนไหว และเชื่อมต่อกับระบบอินเตอร์ เนต เพือ่ เชือ่ มกระบวนการเรียนรูเ้ ข้ากับเทคโนโลยีใหม่ ในเนือ้ หาทีจ่ �ำ เป็น ระวังไม่ใช้ IT ในการสอนตลอดเวลา เพื่อป้องกันภาวะเครียดต่อเนื่อง (prolong stress)

17


กระบวนการเรียนรู้แบบ BBL

18

5

มีการสรุปเนื้อหาความรู้ที่สอนมา โดยใช้กราฟ ชาร์ต ตาราง concept web หรือ graphic organizers แบบต่างๆ และ ถ้าเป็นไปได้ควรใส่รหัสช่วยจำ� (memory encoding)

6

น ำ�เสนอเนื้อหาและข้อมูล ด้วยเทคนิคแปลกใหม่ ทำ�ให้สมอง ติดตามการสอนตลอดเวลา


กระบวนการเรียนรู้แบบ BBL

7

จ ัดกิจกรรมและช่วยสอนนักเรียน เป็นรายบุคคล ไม่ใช่สอนแบบ ทั้งชั้น (whole class teaching) ตลอดเวลา

8

ห ลังจากขั้นเรียนรู้ (learning stage) แล้ว ให้นักเรียนทำ�การฝึกซ้ำ�ๆ จน คล่อง (practice)

19


กระบวนการเรียนรู้แบบ BBL

9

ต้องให้มีใบงาน (worksheet) ที่มีคุณภาพที่จะช่วย เสริมให้นักเรียนได้ฝึกทักษะจากสิ่งที่เรียนรู้จนคล่อง

10 11 20

ห ลังจากการฝึกทักษะแล้ว ต้องอุดช่องว่างด้วย การสรุปซ้ำ� ให้เกิดความคิดรวบยอดของ บทเรียน ด้วยวิธีต่างๆ

มีกิจกรรมหรือใบงาน เพื่อให้นักเรียนได้ประยุกต์ใช้ใน สถานการณ์ใหม่ (apply) และมีโอกาสสร้างสรรค์ผลงาน (creativity)


สื่อและนวัตกรรมแบบ BBL Innovations 1. มีสื่อการเรียนรู้ที่มีทั้งของจริง สื่อสามมิติ และ สื่อสองมิติ 2. สื่อการเรียนรู้มีจุดเน้นชัดเจน มีขนาดใหญ่มอง เห็นชัดเจน มีสีสันกระตุ้นความสนใจ 3. ออกแบบสื่อที่กระตุ้นให้นักเรียนได้เคลื่อนไหว และให้นกั เรียนได้รว่ มในการใช้สอื่ การเรียนรูน้ นั้ 4. สื่อการเรียนมีลักษณะช่วยก่อรูปความรู้ความ เข้าใจของนักเรียน เป็นขั้นเป็นตอน ช่วยสร้าง concept 5. ใช้สอื่ การเรียนรูท้ นี่ า่ ตืน่ เต้น สนุกสนาน ท้าทาย ให้อยากรู้ 6. ใช้สื่อการเรียนรู้ที่ดีที่สุด คือ สื่อที่เปิดโอกาส ให้นักเรียนได้เรียนรู้ได้ในกลุ่มย่อย และเรียนรู้ เป็นบุคคล 7. สื่ อ ต้ อ งมี จำ � นวนมากพอให้ นั ก เรี ย นทุ ก คน ทุกกลุ่ม ได้ลงมือเรียนรู้ ไม่ใช่ให้ตัวแทนเพียง หนึ่งหรือสองคนใด้ใช้สื่อการเรียน

21


สื่อและนวัตกรรมแบบ BBL

22

1

มีสื่อการเรียนรู้ที่มีทั้งของจริง สื่อสามมิติ และ สื่อสองมิติ

2

ส ื่อการเรียนรู้มีจุดเน้นชัดเจน มีขนาดใหญ่มอง เห็นชัดเจน มีสีสันกระตุ้นความสนใจ

3

ออกแบบสื่อที่กระตุ้นให้นักเรียน ได้เคลื่อนไหว และให้นักเรียนได้ ร่วมในการใช้สื่อการเรียนรู้นั้น


สื่อและนวัตกรรมแบบ BBL

4 5 6 7

ส ื่อการเรียนมีลักษณะช่วย ก่อรูปความรู้ความเข้าใจของ นักเรียน เป็นขั้นเป็นตอน ช่วย สร้าง concept

ใ ช้สื่อการเรียนรู้ที่น่าตื่นเต้น สนุกสนาน ท้าทายให้อยากรู้

ใช้สื่อการเรียนรู้ที่ดีที่สุด คือ สื่อที่เปิดโอกาสให้นักเรียน ได้เรียนรู้ได้ในกลุ่มย่อย และ เรียนรู้เป็นบุคคล สื่อต้องมีจำ�นวนมากพอให้ นักเรียนทุกคน ทุกกลุ่ม ได้ ลงมือเรียนรู้ ไม่ใช่ให้ตัวแทน เพียงหนึ่งหรือสองคนใด้ใช้สื่อ การเรียน 23


ภาคผนวก

24


ภาคผนวกที่ 1 : สนามเด็กเล่น ตามแนวคิด BBL เลือกฐานอย่างน้อย 10 ฐาน โดยให้มีการเคลื่อนไหวที่หลากหลาย ทั้งเดิน ก้าว วิ่ง ปีน มุด-ลอด กระโดด โหน ทรงตัว

ฐานที่ 1 วิ่งต่างระดับ

ฐานที่ 2 ไต่ตอ

ฐานที่ 3 ไต่ตาข่าย 25


ฐานที่ 4 มุดอุโมงค์

ฐานที่ 5 กระโดดตั้งเต

ฐานที่ 6 ไต่ราว 26


ฐานที่ 7 วิ่งแข่ง

ฐานที่ 8 โหนบาร์คู่

ฐานที่ 9 ไต่สะพาน 27


ฐานที่ 10 วิ่งซิกแซก

ฐานที่ 11 ไต่ต่างระดับ

ฐานที่ 12 มุดวงกลม 28


ฐานที่ 13 ก้าวต่างระดับ

ฐานที่ 14 ไต่ราว

ฐานที่ 15 โหนห่วง 29


ฐานที่ 16 ไต่สะพานคู่

ฐานที่ 17 วิ่งฝ่าตาข่าย

ฐานที่ 18 The Winner 30

*  ความสูงพิจารณาตามความเหมาะสม ควรมีทรายหรือหญ้ารองรับบริเวณที่ อาจเกิดอันตรายได้ง่าย ขณะเล่นต้องมีครูดูแลอย่างเข้มงวด


31


ขอขอบคุณ โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วทิ ยาลัย เชียงใหม่ โรงเรียนรุง่ อรุณ กรุงเทพฯ โรงเรียนศุภลักษณ์ สุพรรณบุรี โรงเรียนบ้านโค้งงาม เชียงใหม่ โรงเรียนชุมชนบ้านแม่ทงั เชียงใหม่ โรงเรียนบ้านตาลเหนือ เชียงใหม่ โรงเรียนเทศบาลวัดพวกช้าง เชียงใหม่​่ www.tyreplay.com www.youtube.com

Brain-based Learning Center (BBLC) www.facebook.com/brainbased.learningthai (สงวนลิขสิทธิ์ © 2556) ผู้จัดพิมพ์ บริษัทธารปัญญา จำ�กัด 138 หมู่ 7 ต.หนองตอง อ.หางดง จ.เชียงใหม่ 50340 โทร.053-837854 แฟกซ์ 053-837855 ติดต่อสั่งซื้อ ร้านพิมพ์พิชญา 4 หมู่ 11 ต.แม่ก๊า อ.สันป่าตอง จ.เชียงใหม่ 50120 โทร.081-5310866 แฟกซ์ 053-296575


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.