จะอ่านอะไรในวัยนี้

Page 1

เว็บไซต

READ...

www.guardian.co.uk/world/2002/may/08/books.booksnews www.rif.org/us/literacy-resources/articles/sources-of-award-winning-childrensbooks.htm www.oxfordowl.co.uk/Question/Index/6 www.rif.org/assets/Documents/parents/choosing_books.pdf www.americanlibrariesmagazine.org/news/ala/alsc-announces-2012-notablechildrens-books

TO UPGRADE , YOUR CHILD S BRAIN

จะอานอะไร? ในวัยนี้ พรพิไล เลิศวิชา

โครงการ : หนังสือดี 100 ชื่อเรื่อง เพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชนไทย บทความประกอบการอภิปราย เรือ่ ง ความสําคัญของการคัดเลือก และสงเสริมหนังสือดีสาํ หรับเด็กและเยาวชน ณ ศูนยประชุมแหงชาติสริ กิ ติ ์ิ กรุงเทพฯ วันที่ 8 เมษายน 2555 พรพิไล เลิศวิชา สงวนลิขสิทธิ์ © 2555

ไดรับทุนสนับสนุนจาก สํานักงานสงเสริมสังคมแหงการเรียนรู และพัฒนาคุณภาพเยาวชน (สสค.) คณะนักวิจัย รศ.วิทยากร เชียงกูล อาจารยพรพิไล เลิศวิชา ผศ.จินดา จําเจริญ อาจารยปรีดา ปญญาจันทร รศ.เกริก ยุน พันธ ผศ.รพินทร คงสมบูรณ ●


หนังสืออางอิง

สมองวัย 0-3 ขวบ อานอะไรดี? ควรจะอานอะไรใหทารกนอยฟง

ทารกน อยจะเป นอย างไรนัน้ ขึน้ อยูก บั พัฒนาการ ซึง่ เริม่ ต นมาแล วตัง้ แต ยงั อยูใ นครรภ มารดา นักจิตวิทยาได ทําการทดลองให แม เป ดเพลงที่ตัวเองชอบซ้ําๆ และอ านหนังสือเล ม เดิมซ้ําๆ เป นเวลานาน ผลปรากฏว า ภายในขวบแรก ทารกน อยก็แสดงออกให รู ว า ชอบ บทเพลงและเรื่องราวในหนังสือที่แม เคยอ านขณะยังอุ มท องอยู นั้น ยิ่งกว าบทเพลงและ หนังสือเล มอื่นๆ ใครจะรู ว ารสนิยมของเด็กเมื่อโตขึ้นนั้น สามารถปลูกฝ งมาตั้งแต ยังไม คลอด เซลล ประสาทในสมองหรือเซลล สมอง ถูกสร างตัง้ แต เด็กอยูใ นครรภ มารดา ด วยอัตรา สูงสุดถึง 250,000 เซลล ต อนาที เซลล สมองในทารกถูกสร างขึ้นพร อมกับวงจร (neuron circuit) ซึ่งเชื่อมโยงการทํางานของเซลล เหล านั้นจํานวนมาก ไม ว าคุณพ อคุณแม จะอ าน อะไรให ทารกฟ ง เสียงอ านทั้งหลายเหล านี้จะเดินทางเข าไปสู สมอง และมีส วนสําคัญเป น ตัวกําหนดว าเซลล ใด การเชื่อมโยงใด จะถูกใช งานและพัฒนาให มีศักยภาพต อไป เนือ่ งจากการรับรูเ สียงและภาษา เป นพืน้ ฐานของพัฒนาการด านการอ าน เราจึงสนใจ กระตุ นพัฒนาการด านภาษาของเด็กเล็กมาก สองขวบแรกเป นช วงวัยที่ทารกน อยจะมี พัฒนาการทางภาษาอย างรวดเร็ว การที่ยังไม พูดเพราะพูดไม ได นั้น ไม ได แปลว าไม รู เรื่อง [ 2]

อัครภูมิ จารุภากร และพรพิไล เลิศวิชา. สมอง เรียน รู . กรุงเทพฯ : สถาบันวิทยาการการเรียนรู , 2550. รายงานการวิจยั พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรูใ นโรงเรียนระดับอนุบาลและประถมศึกษา. กรุงเทพฯ : สถาบัน วิทยาการการเรียนรู (National Institute for Brain-based Learning), 2551. ป จจุบันคือ สํานักงานบริหารและพัฒนาองค ความรู สํานักงานโครงการและจัดการความรู พรพิไล เลิศวิชา และอัครภูมิ จารุภากร. สมองอนุบาล. กรุงเทพฯ : ธารป ญญา, 2551. พรพิไล เลิศวิชา และอัครภูมิ จารุภากร. สมองวัยเริ่มเรียนรู . กรุงเทพฯ : สถาบันวิทยาการการเรียนรู , 2550. พรพิไล เลิศวิชา. ความลับสมองลูก. กรุงเทพฯ : สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2552. พรพิไล เลิศวิชา. สมองวัยทีน. กรุงเทพฯ : สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2552. พรพิไล เลิศวิชา. สอนภาษาไทย ตามแนวคิด Brain-based Learning. กรุงเทพฯ : สํานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2552. พรพิไล เลิศวิชา. โรงเรียนอนุบาลตามแนวคิด Brain-based Learning. กรุงเทพฯ : สํานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2552. พรพิไล เลิศวิชา. สอนภาษาไทยต องเข าใจสมองเด็ก เล ม 1. กรุงเทพฯ : สถาบันส งเสริมอัจฉริยภาพ และนวัตกรรมการเรี​ียนรู (สสอน.), 2551. พรพิไล เลิศวิชา. สอนภาษาไทยต องเข าใจสมองเด็ก เล ม 2. กรุงเทพฯ : สถาบันส งเสริมอัจฉริยภาพ และนวัตกรรมการเรี​ียนรู (สสอน.), 2551. ฉัตรียา เลิศวิชา. “ทําไมจึงต องอ านวรรณกรรม ทัง้ ของโลกตะวันตกและตะวันออก” บทความยังไม ตพี มิ พ , 2555. Hollich, G., & Houston, D.. Language Development: From speech perception to first words. In A. Slater & M. Lewis (Eds.) Introduction to Infant Development (Second edition), 2007. Hollich, G., Jusczyk, P., & Brent, M.. How infants use the words they know to learn new words. Proceedings of the 25th annual Boston University Conference on Language Development, 2001. Huttenlocher, J.. Language input and language growth, 1998. Pinker, Steven. Words and Rules: The Ingredients of Language, 1999. Pinker, Steven. The Stuff of Thought: Language as a Window into Human Nature, 2007. Wallis, Claudia. What makes teen ticks?. Time, (May 31), 163(21), 2004. Winston, Robert. The Human Mind and How to Make the Most of It, 2003.

[39]


6. เนือ้ หาในหนังสือ ผูเ ขียนมักใช วธิ บี รรยายเนือ้ เรือ่ งได จากหลายมุม (point

7.

8. 9. 10. 11. 12.

[38]

of view) ผู เขียนอาจใช สรรพนามแทนตัวเองว า “ผม” หรือ “ฉัน” ใน บางเล มผู เขียนอาจพูดผ านตัวละคร เช น “เขาก็เหมือนเด็กทั่วไป ที่นึก อยากลองดี” แบบนีห้ มายความว า ผูเ ขียนพูดผ านตัวละคร วิธเี ขียนแบบ นี้ไม เหมาะสมกับเด็กวัยก อนหน านี้ แต กลับน าสนใจสําหรับวัยรุ น หนังสือของวัยรุ น มักไม บอกเหตุการณ และข อมูลตรงไปตรงมา แต แสดงผ านเหตุการณ หรือความคิดของตัวละคร และให ผอู า นคิดเอาเอง ตีความเอง มักมีการใช ถอ ยคําสํานวน และคําอุปมาอุปไมย เป นจํานวน มาก ฉากในท องเรือ่ งมีทงั้ ทีเ่ ป นจริง และทีจ่ นิ ตนาการ หนังสือทีว่ ยั รุน อ านมัก มีฉากหลากหลายกระจายทั่วโลก ไม มีข อจํากัด หนังสือแต ละเล ม เริ่มเจาะกลุ มผู อ านของตน ดังนั้น จึงมักมีคําศัพท เฉพาะทาง เช น ถ าเป นหนังสือที่เหตุการณ เกิดขึ้นในทะเล คําศัพท ก็ผูก โยงอยู กับเหตุการณ ในท องทะเล เป นต น ถ าเป นหนังสือสารคดี เรือ่ งราวทีน่ าํ เสนอมักมีขอ มูลมาก มีเรือ่ งราวบริบท กว างขวาง ความหนาของหนังสือไม จํากัด ถ าเรื่องสนุกมาก อาจเป นหนังสือหลาย เล มจบ หนังสือที่ได รับความนิยมมายาวนาน หลายยุคหลายสมัยสําหรับวัยรุ น ยังคงควรแนะนําให วัยรุ นอ าน รายชื่อหนังสือมักหาได จากประกาศของ หน วยงานและ website ต างๆ ทีเ่ กีย่ วข องกับการอ าน เช น นิทานทีม่ ชี อื่ เสียง วรรณกรรมเยาวชนที่มีชื่อเสียง เป นต น

และไม เข าใจอะไรเลย ทารกรับรู เและบันทึก เสียงทัง้ หลายนีไ้ ว ในสมอง สมองจะเก็บสิง่ ทีร่ บั รูน เี้ อาไว กอ น พอพูดได เมือ่ ไหร คุณพ อคุณแม ก็ จะพบว า สิ่งที่ได อ านให ฟ งมาสองป นั้น ปรากฏออกมาใน ภาษาพูดของเด็กเอง ในระยะเริ่มแรกสําหรับวัยทารก การได ยิน ได ฟ ง มี ความสําคัญต อการรู ภาษา ดร.จอร จ โฮลิช (George Hollich) นักจิตวิทยาผู สนใจศึกษาพัฒนาการทางภาษา ของทารกและเด็ก จากมหาวิทยาลัย Purdue แนะนํา ว า อากัปกิริยาของผู ใหญ โดยเฉพาะแม ในขณะที่พูด และอ านหนังสือให ทารกฟ ง ช วยเสริมให มีกระบวนการ เรียนรู หน วยเสียงในภาษาแม ได ดี วลีต างๆ เช น “จี จ อ เจี๊ยบ มะรุม มะเรี้ยบ แช วับ…” “โยก เยก เอย น้ํา ท วม เมฆ กระต าย ลอย คอ…” เป นภาษาของแม (mother’s language) ที่แม คิดค นขึ้นมาแล วหลายชั่วคน มันเป น เสียงพูดในภาษาซึ่งง ายและเน นจังหวะ บ อยครั้งฟ งดูไร สาระ แต นี่เป นวิธีที่สําคัญ เพราะมันช วยให ทารกได ฟ ง เสียงทุกเสียงสารพัน โดยไร ข อจํากัด ไม มี “เนื้อหา” มา บังคับคํา ซึ่งช วยให การเรียนรู ทําได มากขึ้น ภาษาใน ทํานองเดียวกันนี้จะพบในหลายท องถิ่น และในประเทศ ต างๆ ทั่วโลก เช นของฝรั่งเรียกว า Nursery Rhyme

ใคร ตด กน เนา กน หนอน ใคร ยิง ฟน กอน คน นั้น... ตด

[ 3]


4. ถ าไม แนะนําให เด็กรูจ กั วรรณกรรมไทยและวรรณกรรมตะวันออก มาตัง้ แต

จอร จ โฮลิช กล าวต อไปอีกว า ทารกมีความสามารถในการเข าใจ มากกว าที่เราคิด ลองคิดดูว า จํานวนคํามากมายมหาศาล ที่จะต องนํามา จับคู กับความหมายของมันนั้น เมื่อไหร เล าเด็กถึงจะเรียนรู ได หมด และจะ เป นไปได อย างไรที่เด็กจะเรียนรู คําทั้งหมดเล านี้ แต ด วยวิธีการที่พ อแม พูด กับลูก ร องเพลงและอ านหนังสือให เด็กฟ ง ภาษานับพันนับหมื่นคําที่ว านั้น กลับสามารถกระตุ นให เด็กเรียนรู ได เองอย างเป นธรรมชาติ ความสัมพันธ ระหว างแม กบั ลูก เป นหัวใจสําคัญสําหรับการพัฒนาภาษา อย างยิ่ง แม แต ตําแหน งที่แม โอบลูกไว กับอก อุ มไว ในวงแขนนั้นก็มีความ หมาย โรเบิร ต วินสตัน (Robert Winston) เจ าของผลงานอันมีชื่อเสียง “The Human Mind and How to Make the Most of It” (2003) กล าวว า มารดาร อยละ 80 อุม ลูกพาดขึน้ บ าซ ายและอกซ าย ทําให เสียงพูดของมารดา เข าสูก ารรับรูข องทารกทางหูขา งซ าย ซึง่ เป นการกระตุน การทํางานของสมอง ซีกขวา สมองซีกนีเ้ ป นส วนทีพ่ ฒั นาไปก อนซีกซ าย และทําหน าทีห่ ลักในการ รับรู จังหวะ (rhythm) ทํานอง (melody) รวมทั้งแบบแผนของเสียง (pattern) ที่มารดาพูดคุย หรือร องเพลงขับกล อม ท าอุ มของมารดา จึงนับว าเอื้อ ประโยชน ต อการเรียนรู ภาษาของทารกอยู แล วตามธรรมชาติ [ 4]

เด็ก และสนับสนุนให เด็กอ านหนังสือแปล จากโลกตะวันตกมากเกินไป ถึง ตอนนี้เด็กจะหันไปอ านหนังสือแปลเป นพายุบุแคม วรรณกรรมแปลและวรรณกรรมของไทย มีความแตกต างในมุมมองต อ ป ญหาต างๆ ในชีวติ มนุษย ซึง่ ความแตกต างนี้ แสดงออกทางองค ประกอบ ของฉาก ความคิดของตัวละคร ความเห็นของผู เขียน และวิธีที่ตัวละครแก ป ญหาหรือมีปฏิกิริยาโต ตอบต อเหตุการณ ต างๆ วิธที ตี่ วั ละครแก ปญ หาต างๆ หรือวิธคี ดิ ทีม่ ลี กั ษณะเฉพาะในแต ละวัฒนธรรม เป นเพียง template (ชุดการคิดหรือศีลธรรม) ที่ผู คนในวัฒนธรรมนั้นๆ ได พัฒนาขึน้ จากการอยูร ว มกัน และผูเ ขียนได สะท อนวิธคี ดิ เหล านี้ ออกมาทาง หนังสือของเขานัน่ เอง เมือ่ วัยรุน อ านหนังสือ เขาก็สามารถเข าใจวิธคี ดิ และ ความคาดหวังของสังคม ว าต องการให เขาปฏิบัติตัวอย างไร คนอื่นๆ คิด อย างไร และมีวิธีการ (pattern) ในการรับมือกับป ญหาอย างไรบ าง การอ านวรรณกรรมแนวเดียว จึงเป นการจํากัดการเรียนรู ชีวิตอยู เพียง pattern เดียว ถ าอ านเฉพาะวรรณกรรมแปล ก็จะได เรียนรู ชีวิตในบริบท ที่ไม ใช สังคมไทย วัยรุ นอาจจะรู จักเด็กแบบแฮร รี่ พอตเตอร แต ไม รู จัก ฟ ก ในคําพิพากษา ไม รู จักเด็กแบบ เดือนและดํา ในเรื่องข าวนอกนา ซึ่ง เป นการถ ายทอดทัง้ ป ญหาสีผวิ ป ญหาเมียเช า และป ญหาวัยรุน ไปพร อมกัน เป นองค ประกอบของวรรณกรรมที่ไม มีในวรรณกรรมแปล 5. หนังสือสําหรับวัยรุ น มักมีการบรรยายตัวละครในเรื่องอย างละเอียด ตัว ละครทุกตัวมีบุคลิกซับซ อน ถ าบุคลิกง ายเกินไปแบบหนังสือเด็ก วัยรุ นไม ชอบอ าน และเป นหนังสือที่ดึงศักยภาพการอ านให ตกลง [37]


ลักษณะเดนที่สําคัญของหนังสือสําหรับเด็กวัย 13-18 ป

1. เด็กอายุ 13-18 ป ที่จริงแล วแตกต างกันมาก เด็กวัย 13-15 ป ยังอาจมี

ลักษณะเป นเด็กที่ย างเข าสู วัยรุ น แต เด็กวัย 15-18 ป อาจมีบุคลิกลักษณะ เป นเด็กโตที่เตรียมจะออกอยู ในโลกกว าง ดังนั้น หนังสือสําหรับเด็กวัยนี้ จึงมีลักษณะแตกต างกันในระยะต นและปลายของช วงวัย ในระยะแรกของวัยนี้ เด็กบางส วนอาจยังอ านหนังสือทีเ่ ด็กวัยประถมปลาย อ าน กล าวคือ สามารถย อนไปดูลักษณะเด นของหนังสือวัยประถม (ระยะ ที่สอง) มาใช กับเด็กวัยนี้ได แต เมื่อถึงช วงสุดท ายของวัยนี้ ลักษณะของ หนังสือควรจะก าวหน าขึ้นมาก 2. เด็กวัยรุ นอ านหนังสือหลากหลายแนว ทั้งเนื้อเรื่องและสไตล การเขียน บางคนชอบแนวรักโรแมนติก บางคนชอบแนวผจญภัย บางคนชอบแนว Fantasy ที่สําคัญก็คือ วัยรุ นต องการอ านหนังสือที่จําลองภาพสังคมอัน ซับซ อน เนื้อหาของเรื่องเต็มไปด วยความเปลี่ยนแปลง ภาวะท าท าย และ การแก ป ญหา หนังสือต องมีกลวิธีเสนอที่แหลมคม น าสนใจ ถ าเป นเรื่อง จืดๆ แบนๆ วัยรุ นมักไม อ าน 3. หนังสือที่จะช วยพัฒนาการของสมองวัยรุ น ควรเป ดเผยภาพความเป นไป ของโลกที่สอดคล องและขัดแย งกัน เป ดเผยให เห็นโฉมหน าของความจริง ทุกด าน โดยนักเขียนหลายแนว หลายสไตล ไม ควรยัดเยียดหนังสือประเภท ทีเ่ อาแต จะอบรมสัง่ สอน ต องให วยั รุน ได รบั รูค วามขัดแย ง และการคลีค่ ลาย ความขัดแย งแบบต างๆ ทีม่ อี ยูใ นสังคม ให รวู า มนุษย มหี ลายประเภท ควร แนะนําให อ านวรรณกรรมที่มีชื่อเสียง เช น รวมเรื่องสั้นของ รพินทรนาฐ หลูซ นิ่ อ.อุดากร หรือแนะให อา นเรือ่ งยาว ประเภทนวนิยายต างๆ ได แล ว [36]

น าประหลาดใจมากที่นักวิจัยได ค นพบว า 2 ขวบแรกนี้ เป นช วงเวลาอันสําคัญสําหรับการรับรู ภาษา การพูดคุยกับ ทารก ร องเพลงขับกล อม รวมทั้งการอ านหนังสือให ทารกฟ ง จึงกลายเป นดัชนีทจี่ ะบ งชีแ้ นวโน มของความสามารถทางภาษา และการเรียนรู ของเด็กในอนาคต ศาสตราจารย เจเนเลียน ฮุตเตนลอคเชอร (Janellen Huttenlocher) นักจิตวิทยาผู มีชื่อเสียงจากมหาวิทยาลัยชิคาโก ได พิสูจน ให เห็นว า จํานวนครั้งหรือความถี่ที่พ อแม พูดกับลูก ภายใน 2 ขวบแรก จะมีผลตามมาอย างยิ่งต อภาษาของเด็ก ตลอดชีวิตที่เหลือ นั่นคือ ยิ่งเด็กได ยินเสียงพูดคุยของแม เสียงร องเพลง และเสียงที่อ านหนังสือให เขาฟ งมากเท าไหร ก็จะยิ่งสะสมคําศัพท ไว มากเท านั้น ไม ว าทารกน อยจะเข าใจ หรือไม เข าใจความหมายก็ตาม ความรู เหล านี้ช วยบอกเราว า หนังสือเล มแรกๆ สําหรับ ทารกก็คือหนังสือเพลงกล อมเด็ก บทร องเล นของเด็ก และ บทคล องจองง ายๆ ที่พ อแม มักใช เป นประจํานั่นเอง หนังสือ ประเภทนี้มีกระจายอยู ในท องตลาดอยู บ าง แต ก็ยังอาจกล าว ได วา มีหนังสือสําหรับมารดาอ านให ทารกฟ งอยูน อ ยเกินไปใน ตลาดหนังสือเมืองไทย [ 5]


คัดจาก : ไม อ อนย อมดัดได ดั่งใจ. ธารป ญญา, 2551.

หนังสือบทร องเล น บทกล อมเด็ก และเพลงสําหรับเด็ก รวมทั้งนิทาน ง ายๆ นี้ หากมีภาพประกอบก็จะช วยให การอ านและร องให เด็กฟ งมีรสชาติ มากขึน้ เพราะเด็กจะดูภาพในขณะทีพ่ อ แม รอ งขับกล อม หรืออ านให ฟง ทําให การรับรู มีความสมบูรณ มากขึ้น เนื่องจากสมองส วนที่ทําหน าที่รับภาพ และ ส วนที่รับเสียงทํางานประสานกัน แม งานวิจัยจะชี้ว า บทบาทของแม มีความสําคัญยิ่งยวด แต ในชีวิตจริง ทารกอาจอยู กับพ อ หรือแม มีเวลาน อยเกินไป ดังนั้น บทบาทของพ อย อม ต องเพิ่มมากขึ้นทดแทนกัน หรือพ อกับแม ต องร วมมือกันดูแลลูก ต องไม ลืม ว า เวลาที่พ อแม อยู กับลูกนั้น ไม ได มีหน าที่เพียงพัฒนาภาษา หากแต สิ่งที่ สําคัญพอๆ กันก็คอื การพัฒนาความมัน่ คงทางจิตใจ และอารมณ ของลูกน อย อันที่จริงยังมีประสบการณ ของพ อแม ที่น าทึ่งมากมายยิ่งกว านี้ พ อแม จํานวนไม นอ ยทีท่ มุ เทอ านหนังสือให ลกู ฟ ง ได พบว า หลังจากอ านให ฟง อย าง ต อเนื่องภายในอายุ 2-3 ขวบ เด็กสามารถจดจําบทเพลง บทร องเล น และ บทคล องจอง ได เป นจํานวนนับร อยบท ขึ้นอยู กับว า คุณพ อคุณแม ให เวลา กับลูกมากขนาดไหน เมื่อย างเข าขวบที่สาม เวลาที่ผู ใหญ อ านหนังสือให เด็กฟ ง มักอยากจะ อ านหนังสือที่ช วยปลูกฝ งให เด็กเป นคนดีและมีเหตุผล แต ทว าในวัยเด็กนั้น [ 6]

โอกาสทองนี้ไป เซลล สมองที่ไม ได ใช ก็จะถูก ใช ก อนที่กระบวนการลิดทอนจะเริ่มต นในวัย ราว 16 ป และดําเนินต อไปจนวัยผู ใหญ หลัง จากการลิดทอนในช วงนี้แล ว ก็ไม ใช ว าสมอง จะหวนกลับไปลอง “เรียนรู ” สิ่งที่ผ านมาแล ว ไม ได อีก แต การกลับไปทําใหม หรือลองทําสิ่ง ใหม หลังวัยรุ น จะสร างความยากลําบากให แก สมองมากกว าเดิม คือ ยากที่จะปลี่ยนนั่นเอง วัยรุน เป นวัยทีผ่ า นการรูจ กั ความคิดความรูส กึ ของตัวเองมาแล วขัน้ หนึง่ บัดนี้ เขาโตมากขึ้น ศักยภาพของร างกายทําให เข าร วมกิจกรรมสังคมได หลากหลายขึ้น มีสมรรถนะที่จะใช สมองสนใจสิ่งนั้นสิ่งนี้มากมาย วัยนี้เริ่ม สนใจจริงจังมากขึ้นแล วว า คนอื่นกําลังคิดอะไรกันอยู ? วัยรุ นจึงเป นวัยที่ พยายามเป ดมุมมองใหม คือ มองโลกจากมุมของคนอื่นมากขึ้น การมองโลกจากมุมมองของตัวเอง ทําให เด็กเล็กๆ ดูมคี วามมัน่ ใจในตัว เอง หรือบางทีดคู ล ายเห็นแก ตวั ในขณะทีก่ ารมองโลกจากมุมมองของคนอืน่ จะทําให วัยรุ นเริ่มมีท าทางไม แน ใจ ลังเล และไม เชื่อมั่นใจตัวเอง ช วงนี้จึงเป นช วงที่สําคัญ ที่จะแนะให วัยรุ นอ านหนังสือหลากหลายแนว อย างแท จริง จับประเด็นที่เขาสนใจและสงสัยให ได แนะให เขาอ านหนังสือดี ที่ตอบ “โจทย ” ของเขาจริงๆ แล วเขาจะอ านเป นพายุบุแคม เราจะได เห็น เด็กวัยรุ นอ านหนังสือแนว “ซีรี่ส ” หนังสือ 10 เล มจบ หนังสือประเภท “How to” ทีต่ อบคําถามคาใจ ประเภททําอย างไรจะเรียนเก ง ทําอย างไรจะไม อว น ทําอย างไรจะเป นที่รักของคนอื่น ด วยเหตุผลนี้ หนังสือแนวสารคดีชีวิต และ สารคดีเชิงจิตวิทยา จึงได รบั ความนิยมจากวัยรุน อย างมาก เพราะวัยรุน กําลัง มีป ญหาอย างหนัก ที่ต องการคําตอบ [35]


เดนไดรท (dendrite)

เซลล สมอง (cell)

ใยประสาท (axon)

[34]

ผู ใหญ ควรคิดดูว า มีสิ่งใดบ างที่พลาดไป ไม ได เป ดโอกาส ให วัยรุ นได มีประสบการณ เรื่องนั้นๆ ไม ได แนะนําให รู จักหนังสือ หลายแนว ไม ได แนะให อ านบทวิจารณ หนังสือ (ซึ่งจริงๆ ควร แนะนําให รู จักตั้งแต วัยประถมปลาย) ไม ได แนะนําให รู จักงาน ของนักเขียนบางคน ช วงวัยรุ นแม จะเป นช วงสุดท ายที่สําคัญของ การพัฒนาเด็ก แต ก็เป นช วงที่มีเวลายาวมาก จึงยังไม สายที่จะ เป ดโอกาสให ได ทาํ เพือ่ ทีว่ า กลุม เซลล ในสมองทีย่ งั ไม ได สร างหรือ สร างไว นอ ย จะได ทาํ การเชือ่ มโยงสร างวงจรขึน้ มา หรือสร างมาก ยิ่งขึ้น จนมีผลเปลี่ยนแปลงคุณภาพของเขาเอง ดร.กีดด อธิบายว า สมองวัยรุ นกําลังสาละวนอยู กับการ ทําให ใยประสาท (axon) ในบริเวณต างๆ หนาขึ้น และลิดทอน เซลล สมองทีไ่ ม ใช ทงิ้ ไป หมายความว า แม วยั รุน จะเรียนรูส งิ่ ต างๆ มามาก แต ในช วงนี้ เขากําลังเลือกทางที่เป นตัวของเขาจริงๆ วัยรุ นจะเลือกอ านสิ่งที่ชื่นชอบ และสนใจบ อยขึ้นมาก จนถึงขั้น หมกมุ น ผลดีของมันก็คือ มันกระตุ นการทํางานของกลุ มเซลล และใยประสาทกลุ มนั้นๆ อย างจริงจัง แต ข อเสียก็คือ มันจะ เริ่มป ดโอกาสต างๆ แห งการอ านหนังสือแนวอื่น ที่เคยเป ดมาถึง เกือบ 15 ป เต็ม การที่สมองวัยรุ นเป นเช นนี้ ก็เพื่อเตรียมตัวก าวสู การเป น ผู ใหญ อันเป นวัยที่เขากําลังจะกลายเป น “ใคร” ขึ้นมาจริงๆ สัก อย างหนึ่ง เช น เขาจะกลายเป นแพทย เป นนักร อง เป นศิลป น เป นช าง เป นนักออกแบบ เป นนักแต งเพลง ในอนาคตอันไม ไกล นี้ วัยรุ นที่ยังค นหาตัวเองไม พบ (ซึ่งส วนใหญ อยู ระหว างกําลัง ค นหา) จึงมักอยากลองของใหม ลองทําโน น ลองทํานี่ เพราะ เป นโอกาสสําคัญที่สมองจะได ลองเสี่ยงอีกที ก อนที่จะสูญเสีย

สมองส วนที่ยังพัฒนาน อยที่สุดก็คือ สมองส วนหน า ซึ่ง ทํางานด านการคิด ไตร ตรอง การแยกแยะข อมูล และ การใช เหตุผล ขณะที่สมองส วนอารมณ กลับพัฒนาก อน และทํางานได ดกี ว า เด็กเล็กจึงมีความถนัดทีจ่ ะใช อารมณ มากกว า ความทรงจําในวัยเด็กจึงมีอารมณ เป นตัวขับ เคลื่อนที่สําคัญ ฝ งอยู ในความคิดและจิตใจของตัวเอง ด วยเหตุนี้ การปลูกฝ งทีด่ ที สี่ ดุ จึงเป นการปลูกฝ ง โดยผ าน เรื่องราวที่ทําให เด็กรู สึกสนุก ดีใจ พอใจ สะเทือนใจ หรือ เศร าใจ เป นต น นิทานและเรื่องเล าในวัยเด็กมีความหมายมาก ก็ เพราะว ามันทําให เด็กให ความสนใจตรึกตรองต อเรื่อง เหล านั้น โดยอาศัยแรงจูงใจของวงจรอารมณ ซึ่งพร อม ก อนสมองส วนอืน่ นิทานและเรือ่ งเล าจึงซึมซ านเข าสูว ธิ คี ดิ และความเชื่อของเด็กได ง าย ขณะที่การสอนและปลูกฝ ง แบบตรงไปตรงมา กลับมีผลต อการเรียนรูข องเด็กน อยกว า มีเรื่องเล ามากมายที่พ อแม ควรจะได เล าและอ าน ให เด็กฟ ง เมื่อย างเข าสู ขวบที่สาม เช น เรื่องเล าเกี่ยวกับ ตํานานต างๆ ของท องถิน่ เจดียห ลังโรงเรียน วัดทีม่ มุ ถนน ภูเขาที่ทอดยาวเป นฉากหลังของเมือง นั่นถือว ามีความ สําคัญมากที่จะปลูกฝ ง ให เด็กกลายเป นคนมีรากเหง า ไม หลุดลอยจากท องถิ่นของตัวเอง

สมองส วนหน า (frontal lobe) มีหน าที่คิด ตัดสินใจ ใช เหตุผล

สมองส วนอารมณ (limbic system)

[ 7]


นิทานและเรื่องเลาที่สําคัญมีดังนี้ ❀ เรื่องเลาเกี่ยวกับบุคคลที่มีบทบาทอยูในหมูบาน ในตําบล ในอําเภอ อยาง เชน เรื่องของพรานบุญ พันทายนรสิงห ครูบาศรีวิชัย ชาวบานบางระจัน หลวงปูทวดเหยียบนําทะเลจืด เปนตน ❀ เรื่องเลาเกี่ยวกับเหตุการณตางๆ ที่นาตื่นเตน เศราสลด หรืออื่นๆ เชน ไฟ ที่เคยไหมตลาดในเมืองจนวอดวาย จระเขกินคนที่พิจิตร เปนตน ❀ เรือ่ งเลาไมจาํ เปนตองปรากฏอยูใ นหนังสือเทานัน้ มีเรือ่ งราวตางๆ จํานวนมาก ทีถ่ า ยทอดเลาสูก นั มา เรือ่ งของปูย า ตายาย เรือ่ งของบานเมือง สังคม ชุมชน ในสมัยกอน เลากันสดๆ จากความทรงจํา จากคนรุนหนึ่งสูคนอีกรุนหนึ่ง นาเสียดายมากทีป่ จ จุบนั นี้ ผูใ หญสนใจเลาเรือ่ งราวในอดีตใหเด็กฟงนอยลง

เรื่องเล าทั้งหลายนั้น มักมีแง มุมของความตื่นเต น แปลก หรือชวนให ประทับใจ ซึ่งนอกจากกระตุ นสมองส วนอารมณ แล ว ยังกระตุ นการทํางาน ของสมองซีกขวา สมองซีกขวาเป นสมองที่เกี่ยวกับความรู สึก และประมวล ผลแบบรวมๆ บางคนกล าวว า สมองซีกขวาเป นสมองแห งการหยั่งรู ถ าเรา ต องการสอนให เด็กซึมซับสิง่ ใด ต องกระตุน ให เกิดความสนใจเนือ้ หาของเรือ่ ง นั้น ผ านการทํางานของสมองซีกขวา ผู ใหญ มักคิดว าเรื่องเล าต างๆ นั้น รอให เด็กโตก อนค อยเล าหรืออ านให ฟ ง โดยไม ทราบว า พอเด็กโตแล วเรือ่ งเล าแบบนีเ้ ด็กกลับสนใจน อยลง เพราะ โลกของเด็กทีโ่ ตแล วนัน้ กว างใหญ เรือ่ งราวพืน้ ๆ ในท องถิน่ กลับไม นา สนใจ สําหรับพวกเขาเท าไหร นกั หน วยงานทีท่ าํ หน าทีผ่ ลิตตําราเรียน ควรพิจารณา ทบทวนว า การนําเอานิทานและตํานานไปบรรจุไว ในชั้นประถมปลาย และ มัธยมต นนั้นสายไปแล วหรือยัง ตัวอย างเช น คํากลอน “พ อแม รังแกฉัน” ที่ หลักสูตรกําหนดให เรียนชัน้ มัธยมนัน้ ทีจ่ ริงเหมาะกับเด็กวัยประถมต างหาก [ 8]

แอกซอน (axon)

เมือ่ เรายุตกิ ารเรียนรูบ างอย าง เพราะเราไม ชอบ ไม มีโอกาส หรือรู สึกว ายาก เซลล สมองที่เคยเชื่อมต อกันมาก อน ก็จะไม ถูก ใช งานซ้ํา ไม มีการส งสัญญาณมาซ ําๆ ที่ เซลล กลุ มนี้ ในที่สุด สมองก็จะตัดวงจรที่ ไม ได ใช นี้ทิ้งไป

เซลล สมอง (neuron)

เดนไดรท (dendrite)

วงจรที่ถูกตัดทิ้ง (pruning)

วงจร (neuron circuits) ที่ว านี้ก็คือ ประสบการณ ความรู สึกนึกคิด ความรู ความ ชํานาญ ที่อยู ในสมองนั่นเอง ดังนั้น ถ าเด็กวัยรุ นสะสมประสบการณ ใดมามาก ก็มีโอกาส ที่สมองจะเก็บวงจรนั้นไว มากขึ้น ถ าใครสะสมมาน อย หรือไม ได ใช ความรู นั้นบ อยๆ วงจร ที่ไม ค อยได ใช นั้น ก็จะถูกตัดทิ้งไป ทางเลือกต างๆ ที่วัยรุ นเลือกทําในวัยนี้ จะมีผลต อ สมองของเขาไปชั่วชีวิต เพราะเขากําลังเลือกว า สิ่งไหนที่เขาชอบ และสิ่งไหนเขาต องการ ยกเลิก สมองของวัยรุ น มิได อยู ภายใต การบังคับบัญชาของผู ใหญ เหมือนวัยเด็ก สมอง วัยรุ นต องการทางเลือกของตัวเอง ในระยะนีจ้ ะสังเกตได วา วัยรุน เริม่ แสดงออกมาให เห็นชัดเจนว า เขาชอบคณิตศาสตร ไม ชอบภาษา ชอบกีฬาว ายน้ํา แต ไม ชอบแบดมินตัน ชอบเทควันโด แต ไม ชอบเทนนิส บางคนชอบทดลองนี่ทดลองนั่น บางคนไม ชอบเลย บางคนชอบอ านสารคดีวิทยาศาสตร บางคนกลับชอบสารคดีประวัติศาสตร บางคนเอาแต อ านนิยายรักเกาหลี บางคนชอบอ าน วรรณคดีคลาสสิก สมองกําลังเลือกทําสิง่ ทีถ่ นัดและพอใจ สมองกําลังลิดทอนสิง่ ทีไ่ ม ได ทาํ บ อย ไม ถนัด ไม ชอบ แม ว าจะเคยพยายามทดลองทําทุกสิ่งมาก อนหน านี้ [33]


ลักษณะเดนที่สําคัญของหนังสือสําหรับเด็กวัย 0-3 ขวบ

1. เด็กวัยนี้ชอบหนังสือที่มีคําคล องจองกัน มีสีสันดึงดูด การที่เด็กวัยนี้

สมองส วนหน า (frontal lobe)

[32]

สมองวัยรุน ยังอยูใ นระหว างการพัฒนาโครงสร าง ภายใน สมัยก อนเราคิดว าวัยรุน มีลกั ษณะเฉพาะ เนือ่ ง มาจากการเปลี่ยนแปลงของฮอร โมน แต ป จจุบันเรา รู แล วว า นอกเหนือจากฮอร โมนแล ว สิ่งที่สําคัญก็คือ โครงสร างการทํางานของสมองวัยรุ นก็ไม เหมือนวัย อื่น นั่นคือ สมองส วนหน า (frontal lobe) ที่ควบคุม การใช เหตุผลและการคิด อยู ในช วงวิกฤตของการ เปลี่ยนแปลงครั้งใหญ ซึ่งอาจเรียกได ว ายังพัฒนาไม สมบูรณ ในขณะทีส่ ว นอารมณ หรือระบบลิมบิก (limbic system) ทํางานของมันเต็มอัตรา อีกทั้งศักยภาพทาง กายก็พัฒนาล้ําหน าความสามารถทางการคิด (thinking) ไปแล ว ดร.กีดด อธิบายว า แทนทีส่ มองเด็กจะเปลีย่ นแปลง เป นสมองผู ใหญ หรือพร อมจะเป นผู ใหญ สมองกลับมี “ระยะผ าน” เข าสู วัยรุ นก อนที่จะเป นผู ใหญ ในช วงวัยรุ น ซึ่งเป นระยะผ านนี้ สมองจะอยู ใน ระยะที่จะลิดทอน (pruning) วงจรเก าๆ ที่ไม ได ใช บ อยในสมองทิ้ง และเพิ่มความเร็วของวงจรที่ใช งาน มากหรือใช งานบ อยๆ ให มีประสิทธิภาพ

ชอบคําคล องจอง อาจอธิบายได ว าเพราะสนุก แต เราอาจอธิบายได ต อ ไปว า ลักษณะเด นของ บทคล องจองก็คือ เมื่อได ยินวรรคที่หนึ่ง ก็พอ จะเดาได วา วรรคต อไปจะว าอะไร และเมือ่ คุณแม อา นวรรคต อไป เป นไป ตามที่สมองคิดไว สมองก็จะรับรู ถึงความสําเร็จ หมายความว า เดาถูก ความสําเร็จเช นนี้จะเกิดขึ้นซ้ําๆ จนกว าบทกลอนจะจบลง เป นความ สําเร็จแรกๆ ของการเรียนรู ภาษาที่สําคัญยิ่ง ในแง ของทฤษฎีสมอง ถือว า รางวัล (reward) ที่เด็กรู สึกว าได รับจากการ “เดา” นี้แหละ คือ สิ่งกระตุ นให ต องการทําพฤติกรรมการฟ ง-การอ านบทคล องจองต อไป 2. เด็กชอบเรื่องราวใกล ตัว เรื่องเกี่ยวกับสัตว พอใกล 3 ขวบ จะเริ่มชอบ เทพนิยายต างๆ การที่เด็กชอบเทพนิยาย เพราะเทพนิยายเป ดทางให สมองจินตนาการได ทุกสิ่ง ไม จํากัดอยู กับสิ่งที่เห็น มีเทวดา มีนางฟ า มีแม มด และมีสัตว พูดได สิ่งต างๆ เกิดขึ้นได ด วยคาถาและเวทมนตร ความชัว่ หายไปได ในพริบตา ถ าทําดีกม็ สี งิ่ ศักดิส์ ทิ ธิบ์ นฟากฟ าคุม ครอง อยู ความรู สึกเช นนี้ คือความรู สึกที่เด็กมีเสรีภาพในการคิดอย างเต็มที่ และรู สึกปลอดภัยอยู เสมอ 3. ต องมีภาพประกอบทีด่ งึ ดูดใจเป นพิเศษ ภาพมีขนาดใหญ เห็นได ชดั เจน ว าเป นภาพอะไร ภาพมีลกั ษณะใกล เคียงกับภาพจริง ยังไม ควรเน นภาพ การ ตูนลายเส นในวัยนี้ เนื่องจากภาพการ ตูนยากที่จะเชื่อมโยงกับสิ่งที่ เป นจริง เด็กควรได ใกล ชดิ กับภาพทีแ่ ทนเหตุการณ จริง เช น ตาของสิงโต ขนของมัน ขาของมัน ฟ นของมัน ล วนเป นสิ่งที่น าสนใจสําหรับเด็กวัยนี้ [ 9]


4. หนังสือที่สัมผัส บีบ และจับเล นได คล ายของเล น มีประโยชน ต อเด็กวัย

นี้เช นกัน เพราะนอกจากจะช วยพัฒนาระบบประสาทสัมผัส (sensorimoter) แล ว ยังช วยให เด็กเกิดทัศนคติที่ดีต อหนังสือด วย 5. ถ าเป นหนังสือทีต่ อ งการทีจ่ ะให เด็กเล็กวัย 3 ขวบ เร่มิ ลองอ านจากความ จํา ในหนึ่งหน าไม ควรมีคํายากเกินสองหรือสามคํา แต ถ าเป นหนังสือ ประเภทบทเพลง หรือบทกล อมเด็ก อาจมีคํายากมากกว านี้ เพราะเน น ให เพลิดเพลินมากกว าให หัดอ าน และเข าใจคํา 6. หนังสือที่อ านให ทารกฟ งใน 3 ขวบแรก มีหลากหลายมาก เนื้อหาและ ภาษาอาจซับซ อนขึ้นบ างในขวบที่สาม เพราะเด็กเข าใจภาษาและฟ ง เข าใจดีแล ว ไม ควรอ านแต หนังสือประเภทหน าละบรรทัดเดียวให เด็ก ฟ ง ควรค อยๆ ต อยอดจากบรรทัดเดียว เป น 2-3 บรรทัด โดยพิจารณา ดูตามความพร อมของเด็ก หนังสือในระยะนี้มักเป นนิทาน บทเพลงเด็ก บทร องเล น และเรื่องราวตํานานง ายๆ และแนะนําให รู จักกับสิ่งต างๆ ในบ าน รู จักสัตว รู จักสิ่งแวดล อมรอบตัว เป นต น

[10]

ผูใหญตองตั้งสติคิดกันวา ทําอยางไรจึงจะชวยประคับประคองเด็ก ใหผานวัยรุนไปไดอยางปลอดภัย และกาวหนาในพัฒนาการ ทามกลางสังคมที่เต็มไปดวยปญหารายแรงเกือบทุกดาน อยางเชนในปจจุบัน

สิ่งที่น าสนใจในการศึกษาสมองวัยรุ นก็คือ ข อค นพบของ ดร.กีดด ที่ว า แม สมอง ส วนต างๆ ของวัยรุ น จะมีพัฒนาการอย างน าตื่นเต นตลอดช วงวัย แต สมองส วนหน าสุด (prefrontal cortex) ของวัยรุ น ซึ่งทําหน าที่ควบคุมการใช เหตุผล การยั้งคิด การจําแนก แยกแยะ จัดระบบข อมูลต างๆ นั้น กลับพัฒนาช ากว าส วนอื่นๆ และจะเป นส วนสุดท ายที่ กว าจะทํางานได สมบูรณ ก็ต องรอจนอายุย างเข า 25 ป ข อค นพบเหล านีช้ ว ยให เข าใจว า เหตุใดวัยรุน จึงดูเป นช วงวัยทีห่ วือหวา ใช อารมณ มาก ชอบเสี่ยง และดูมีความยากลําบากที่จะยืนอยู บนสติ และความมีเหตุมีผล กระบวนการ คิดที่ต องใช ลําดับขั้นตอน และการเรียบเรียงข อมูล เช น การวางแผน การใช เหตุผล และ การตัดสินใจ เพิ่งจะเริ่มต นอย างจริงจัง และพัฒนาขึ้นในวัยนี้ ความรู เช นนี้ควรทําให ผูใ หญ ตอ งตัง้ สติคดิ กันว า ทําอย างไรจึงจะช วยประคับประคองเด็ก ให ผา นวัยรุน ไปได อย าง ปลอดภัย และก าวหน าในพัฒนาการ ท ามกลางสังคมที่เต็มไปด วยป ญหาร ายแรงเกือบทุก ด าน อย างเช นในป จจุบัน [31]


หนังสือแบบไหนเหมาะกับเด็กวัย 3-6 ขวบ? วัย 13 ปขึ้นไป (สมองวัยรุน) อานหนังสือแบบไหน?

สมองวัยรุน เหมาะจะอานหนังสือประเภทไหน?

เมื่อกล าวถึงเด็กวัยรุ น เราหมายถึงเด็กอายุเท าไหร ? เราอาจนับว าเด็กเข าสูว ยั รุน เมือ่ ร างกายมีความเปลีย่ นแปลง หรือมีบคุ ลิกและอารมณ เปลี่ยนไป หรือถ าจะใช วิธีดูตัวเลข ก็จะเริ่มต นราวๆ อายุ 12-13 ป ขึ้นไป แต วัยรุ นจะเป น วัยรุ นถึงเมื่อไหร ? จากการศึกษาสมองของเด็กวัยรุน 1,800 คน โดยใช เครือ่ งมือพิเศษสําหรับการค นคว า วิจัยวิทยาการด านสมอง ดร.เจย กีดด (Dr.Jay Giedd) แห ง Unit on Brain Imaging in the Child Psychiatry. NIMH ได พบว า สมองเด็กวัยุร นนั้นมีช วงพัฒนาการยาวนานกว าที่ เคยคิดไว กล าวคือ ความเป นวัยรุ นไม ได หยุดลงที่อายุ 18 ป แต สมองวัยรุ นจะโตเต็มที่ต อ เมื่ออายุใกล 25 ป นั่นคือ หลังจบมหาวิทยาลัยระดับปริญญาตรีแล วหลายป เด็กวัยรุ นก็ยัง ไม ได เป น “ผู ใหญ ” อย างที่เราคิด (ในที่นี้คงหมายถึงสมองเด็กยุคป จจุบัน) [30]

สมองอนุบาลควรจะอานอะไร

เป นเวลานานมาแล ว ทีผ่ ใู หญ มกั เข าใจว า หนังสือทีเ่ หมาะกับเด็กอนุบาลก็คอื หนังสือ ทีม่ ตี วั หนังสือ 3-4 บรรทัด ง าย และเน นภาพ ครอบครัวทีเ่ อาใจใส เด็กคงจะได พบว า ความ จริงมิได เป นเช นนั้น เมื่อถึงวัยอนุบาลแล วเด็กชอบหนังสือหลากหลายมาก ตั้งแต หนังสือ ที่ไม มีตัวหนังสือเลย หนังสือภาพ หนังสือเพลง บทคล องจอง หนังสือเล าเรื่องจริง หรือ หนังสือนิทานยาว 20-30 หน า เด็กก็ชอบทั้งนั้น ประเด็นอยู ที่ว า หนังสือที่มีข อความเนื้อ หายาวๆ หรือเป นบทกลอนยาวๆ นั้น เนื้อหาต องเข าใจง าย คําศัพท ไม ยากเกินไป และมี เรื่องราวที่น าสนใจ ลองอ านนิทานคํากลอนหน าเดียวจบข างล างนี้ แล วลองคิดดูว า เป นนิทานที่สนุกและ ฟ งง ายใช ไหม ถ าคุณแม หรือคุณครูอ าน (ร อง) ให เด็กฟ ง นอกจากเด็กจะฟ งหูผึ่ง จ องตา ไม กระพริบแล ว เด็กยังได คุ นเคยกับคําศัพท ใหม ๆ ถึงประมาณ 50 คํา ที่สําคัญมีคําศัพท ยากถึง 11 คํา ได แก ประสม ตระหนก กรูเกรียว รังควาน สถาน ตรวจตรา รับประทาน สาวใช กลางแจ ง จิกตี ผีสิง แต เด็กก็ฟ งได และรับรู โดยไม ปฏิเสธ เพราะเนื้อหาของเรื่อง จูงใจให ฟง และการเรียนรูศ พั ท ยากเหล านี้ ก็แทรกตัวเข าไปในสมองได ไม ยากเย็นอะไรเลย จะเอ ยจะเล า มีแม ครัวทําขนมให เจ านาย แต พอสุกเป ดออกมาน าตระหนก ต างบินออกกรูเกรียวเที่ยวรังควาน พระเอ ยพระราชา ราชินีอีกคนหนอรอรับประทาน นางสาวใช ตากผ าอยู กลางแจ ง ต างตกใจกันทั่วกลัวจริงจริง

คัดจาก ดอกสร อยสอนเด็ก. ไทยวัฒนาพานิช, 2539.

นิทานเก าให ฟ งหนูทั้งหลาย เขาใช ไข ประสมแป งและน้ําตาล เกิดเป นนกแทนจะเป นขนมหวาน ทุกสถานทั่วไปในวังเอย นั่งตรวจตราเงินทองคอยของหวาน นกบินผ านหน าไปตกใจจริง นกก็แกล งจิกตีต องหนีวิ่ง นกผีสิงหรืออะไรไม รู เอย

[11]


ด วยเหตุผลดังกรณีตวั อย างนี้ เวลา เลือกหนังสือให เด็กวัย 3 ขวบขึน้ ไป ต อง แยกแยะให ดีว า เป นหนังสือที่ อ านให ฟ ง เป นสําคัญ หรือว า ต องการกระตุ น ให เด็กหัดอ านเองไปด วย ถ าเป นอย าง หลัง ต องเลือกหนังสือที่มีตัวหนังสือ น อยบรรทัด และความหนาเริ่มต นที่ หลักสิบหน าเสียก อน บทรองเลน บทคลองจอง และเพลงเด็ก หนังสือเลม แรกๆ ที่เด็กอานได และอยากจะอาน

เด็กๆ เข าใจความรู สึกและความหมายของมันชัดเจน เวลา ที่คุณแม เล นจับปูดํามาตั้งแต ยังแบเบาะ เด็กอนุบาลจําได ดีว า มันเป นความสนุกสนานที่มาพร อมกับเสียงที่คล องจอง ฟ งเพราะ อีกทั้งยังมีความอบอุ นที่ได อยู ใกล คนที่ตัวเองไว วางใจ จึงเกิด บรรยากาศทีเ่ รียกว า “ปลอดภัย” (safety) ยังผลให เด็กรูส กึ มัน่ ใจ ทีจ่ ะเล น และร องตะโกนบทคล องจองพร อมกับเพือ่ นๆ ด วยความ รู สึกมั่นใจ นอกจากนี้ เด็กยังพยายามจะ “อ าน” ซ้ําบทร องเล น ด วยตัวเอง โดยอาศัยความจําจากการทีค่ ณุ พ อคุณแม อา นให ฟง มา ตัง้ แต ยงั อยูใ นวัยทารก ด วยวิธกี ารเช นนี้ บทร องเล น บทคล องจอง และเพลงเด็ก ซึง่ เคยเป นเพียงหนังสือทีอ่ า นเพือ่ ขับกล อมให ทารก ฟ งในวัย 0-3 ขวบ มาบัดนี้ กลับกลายมาเป นเครื่องมือกระตุ นที่ วิเศษมาก ที่จะทําให เด็กเริ่มพัฒนาความต องการอ านของตัวเอง ขึ้นมา ดังนั้น หนังสือที่อ านให ฟ งต อเนื่องมาตั้งแต วัยทารก จึง ยังคงเป นหนังสือทีเ่ ด็กจะยังคงใช ตอ ไป จนกว าจะก าวสูว ยั ประถม [12]

5. ควรยังเลือกหนังสือที่ได รับความนิยมมายาวนาน เช น นิทานที่

มีชื่อเสียง วรรณกรรมเยาวชนที่มีชื่อเสียง เพราะหนังสือกลุ มนี้ ผ านการพิสูจน จากผู อ านมาหลายยุคหลายสมัย รายชื่อหนังสือ มักหาได จากประกาศของหน วยงานและ website ต างๆ ที่ เกี่ยวข องกับการอ าน 6. ถ ากระตุน พัฒนาการมาดีตงั้ แต ตน เด็กจะกลายเป นนักอ านในช วง นี้ การอ านอาจพัฒนาขึน้ ไปจนถึงขัน้ อ านหนังสือคล ายผูใ หญ เช น บางคนอ านหนังสือชุด พล นิกร กิมหงวน เพชรพระอุมา อ านงาน ของไม เมืองเดิม หรืออ านงานแนวศาสนาของ ธรรมโฆษ เป นต น

[29]


ยืนหยัดอานนิทานใหเด็กฟงตอไปในวัยอนุบาล ลักษณะเดนที่สําคัญของหนังสือสําหรับเด็กวัย 7-12 ป ระยะที่สอง

1. เด็กวัย 7-12 ป ที่ได รับการส งเสริมการอ านมาดีแล ว จะพัฒนา

ก าวหน าสู ระยะที่สอง เด็กๆ ยังคงชอบนิทาน และเรื่องราวต างๆ ที่สนุกสนาน ผูกเรื่องด วยวิธีการต างๆ ที่น าสนใจ เด็กจะชอบแนว เรื่องที่หลากหลายมากขึ้น ทั้งนิทานเก า นิทานคติธรรม นิทาน แปล เรื่องราวสืบสวน ผจญภัย สารคดี ฯลฯ สรุปว า แนวเรื่อง จะมีความหลากหลายมากขึ้น 2. เนือ้ หาในเรือ่ งมักมีการบรรยายเหตุการณ ละเอียดมากขึน้ เพือ่ สร าง เรือ่ งราวขึน้ สนับสนุนเนือ้ หาให เด็กจมลงไปในหนังสือเรือ่ งนัน้ จริงๆ 3. มีถอ ยคําสํานวนลูกเล นมากขึน้ เนือ้ เรือ่ งหรือตัวหนังสือ มีตงั้ แต ครึง่ หน า ถึงเต็มหน า ภาพประกอบยังคงมีความสําคัญอยู 4. เด็กจะเริ่มอ านหนังสือที่แบ งออกได เป นหลายบท ตัวละครในเรื่อง มักมีเอกลักษณ โดดเด น เป นตัวของตัวเอง และมีบคุ ลิกหลากหลาย ไม ใช แบ งดีกบั ชัว่ ขาวกับดํา เหมือนวัยก อนหน านี้ เพราะบัดนีเ้ ด็กรู แล วว า ในโลกนีไ้ ม มใี ครเกิดมาเพือ่ เป นพระเอก นางเอก และผูร า ย โดยตรง เด็กยังรู อีกด วยว า ในโลกนี้มีชะตากรรมที่อาจไม เหมือน ในเทพนิยายอีกต อไป

[28]

นิทานและตํานานโบราณต างๆ นั้น สืบทอดผ านมาจาก รุ นหนึ่งสู อีกรุ นหนึ่งโดยผ านการเล าปากเปล า ที่เป นเช นนี้ก็ เพราะนิทานมีลักษณะเด น คือ มีโครงสร างของเรื่องชัดเจน เนื้อหาจดจําได ง าย มีแนวเรื่องน าประทับใจ มีลักษณะสร างสรรค พล็อตเรื่องในนิทานนั้น มาจากชีวิตของทุกผู คน ทุก ชนชั้น นําเสนอลักษณะหรือนิสัยของผู คนและสัตว ใน แต ละแบบอย างหลากหลาย มาจากฉากสารพัน ไม ว า จะในวัง ในท องนา ในโลกนี้ บนสวรรค ในนรก นิทาน ย อโลกทุกชนิดลงมาไว เบื้องหน าเรา นิทานมักมีจุดแห งเงื่อนงําบางอย าง ที่ชวนให สงสัย และอยากทํานายตอนจบ อยากจะคาดเดาว าอะไรจะ เกิดขึ้นต อไปอีก นอกจากบทร องเล น บทคล องจองต างๆ แล ว ผู ใหญ จึง ควรอ านนิทานให เด็กอนุบาลฟ งต อไป โดยคัดเลือกนิทานให หลากหลาย และมีระดับความซับซ อนกว าเดิม มีเนื้อหายาว ขึน้ และคําศัพท ถ อยคําสํานวนอาจพลิกแพลงยิง่ ขึน้ กว านิทาน ง ายๆ สําหรับวัย 0-3 ขวบ ● ● ●

[13]


ไซอิ๋ว ตอน...เหงเจียถือกําเนิด

“…..มวลหมู วานรได จัดโต ะเลี้ยง เพือ่ อวยชัยให พรต อนรับการกลับมาของ ซุงหงอคง ส วนซุงหงอคงก็รสู กึ ดีอกดีใจ และเล าถึงเรือ่ งราวการเดินทางท องเทีย่ ว ไปทัว่ 4 คาบสมุทร เพือ่ ติดตามหาเซียน ผูว เิ ศษขอเรียนวิทยาอาคม ตลอดจนการ ต อสู กับพญาป ศาจเพื่อช วยพวกพ องลูก หลานของตน ให บรรดาวานรทั้งหลาย ฟ ง แล วพญาวานรก็ร องขึ้นด วยความ ดีใจว า “ลูกหลานทั้งหลาย บัดนี้ตระกูล ของเรามีนามสกุลแล ว ตัวข าแซ ซุง ชื่อ หงอคง พวกเจ าทั้งหลายก็แซ ซุงเหมือน กัน” พวกหมูเ หล าเผ ากอวานรพากันปรบ มือด วยความชื่นชมยินดี…” คัดจาก ไซอิ๋ว ตอนเห งเจียถือกําเนิด. ฮ องกง: ไห เฟ ง, 2527.

[14]

นิ ท านพื้ น บ า นและนิ ท านจากวรรณคดี จํานวนไม นอ ย มีวธิ กี ารบอกเล าเรือ่ งราว โดยใช แบบแผนของภาษาที่น าสนใจ และทําให จดจํา แล วเล าซ้ําได ง าย ป แล วป เล า รุ นแล วรุ นเล า เด็กๆ ที่ฟ งนิทานประเภทนี้ จะรู สึกว าตนเอง จดจํานิทานได ง าย และวันหนึ่งเมื่อเขาเห็นมัน ถูกตีพิมพ เขาก็สนใจที่จะอ าน เด็กเล็กๆ ทีค่ นุ เคยกับนิทานเหล านีม้ าแล ว จะรูส กึ ตืน่ เต น ดีใจทีเ่ ห็นสิง่ ทีเ่ คยได ยนิ ปรากฏ ออกมาเป นภาพและตัวหนังสือ หรือกล าวให ชดั ก็คือ เป นหนังสือ และที่สาํ คัญคือ เขาอ านได เขาอ านได ทงั้ ๆ ทีอ่ าจจะยังสะกดไม เป น ชีย้ งั ไม ถูกตําแหน ง พ อแม ที่อ านนิทานให ลูกฟ ง คง จําได วา เมือ่ อ านนิทานให ลกู ฟ งบ อยๆ เข า เด็ก จํานิทานได ทุกคํา ราวกับท องจําไว เวลาว างๆ เด็กจะเป ดอ านเอง อ านถูกต องหมด แต ชี้ไม ถูกเลย นั่นก็ไม สําคัญ เพราะการจําได ทั้งหมด แสดงความสามารถของสมองในการเก็บข อมูล นี่เป นบันไดขั้นแรก ที่จะนําเด็กไปสู การเป นนัก อ านในอนาคต

5. หนังสือยังคงมีความหนาตัง้ แต 10-20 หน า ในแต ละหน าอาจมีตวั หนังสือ

ได ถึง 8 บรรทัด ถ าเด็กยังคงอ านหนังสือที่มีตัวหนังสือเพียงหน าละ 2-3 บรรทัด แสดงว า ขาดการกระตุ นพัฒนาการมาจากวัย 0-6 ขวบ 6. นิทานทีน่ ยิ มอ านเป นนิทานทีม่ เี หตุการณ จาํ นวนมากขึน้ ถ าไม ใช นทิ านอาจ เริ่มมีคําใหม ๆ ที่เด็กไม คุ นเคย เช น ฟาโรห ป รามิด อวกาศ ดาวเทียม เป นต น เนือ่ งจากหนังสือสําหรับเด็กวัยนี้ จําเป นต องรองรับการทีเ่ ด็กก าว เข าไปอยู ในโลกกว าง และเป นโลกแห งการสื่อสารที่ท วมท นไปด วยข อมูล 7. เด็กยังคงชอบหนังสือที่มีรูปภาพที่สนับสนุน (support) เนื้อหา ยังไม ควร ใช ภาพประกอบที่มีลักษณะกราฟ กมากเกินไป เนื่องจากโลกของกราฟ ก กําลังขยายตัว แต เป นโลกที่ห างจากธรรมชาติ และจากความเป นจริงใน ชีวิต ควรให โอกาสเด็กได ผูกโยงอยู กับโลกธรรมชาติที่เป นจริงเสียก อนใน วัยประถม 8. สัดส วนของตัวหนังสือควรเริม่ มีมากกว ารูปภาพ ถ าเด็กไม ยอมอ านหนังสือ ที่มีรูปภาพน อย แสดงว า การกระตุ นพัฒนาการการอ านในวัยก อนหน านี้ เตรียมมาน อยเกินไป [27]


ลักษณะเดนที่สําคัญของหนังสือสําหรับเด็กวัย 7-12 ป ระยะแรก

1. หนังสือทีเ่ ด็กวัย 7-12 ป อา น ครอบคลุมตัง้ แต หนังสือบทคล องจอง

สนุกสนานที่ชื่นชอบมาจากวัยอนุบาล ไม ว าจะเป นกลอนตลก สนุกสนาน เรื่องของสัตว นิทานคํากลอน นิทานชาดก เป นต น เด็กก าวขึ้นสู การอ านเรื่องราวยาวๆ ประเภทวรรณกรรมเยาวชน นิทาน ตํานาน เรื่องเล าต างๆ สนใจอ านหนังสือแปลจากทั่วโลก โดยเฉพาะเทพนิยายและหนังสือแนว Fantasy เด็กทีฝ่ ก ใฝ วชิ าการ จะเริ่มอ านหนังสือสารคดี ส วนเด็กที่สนใจวรรณกรรม มักจะเริ่ม อ านวรรณกรรมของผู ใหญ เมื่ออายุย างเข า 11-12 ป 2. หนังสือที่เด็กอ านในระยะแรกของวัยนี้ มักมีทั้งภาษาเขียนและ ภาษาพูด อาจมีถ อยคําสํานวนที่ใช เฉพาะในวรรณกรรมมากขึ้น กว าวัยก อนหน านี้ ถ าคุณพ อคุณแม อ านหนังสือให เด็กฟ งมากๆ เรื่อยมาตั้งแต วัยอนุบาล ถึงวัยนี้เด็กจะรับรู คําศัพท วรรณกรรมได อย างดี แต ถ าไม ได เตรียมมาก อน จะเริ่มมีความยากลําบากใน การอ านหนังสือยิ่งขึ้น 3. รูปแบบประโยคและเนื้อหามีความหลากหลายมากขึ้น ในแต ละ หน ามีตัวหนังสือหลายบรรทัด 4. หนังสือที่เด็กวัยนี้ชอบ อาจมีถ อยคําสํานวน มีภาษาที่ใช ลูกเล น มากขึ้น [26]

ลักษณะเดนที่สําคัญของหนังสือสําหรับเด็กวัย 3-6 ขวบ ระยะแรก

1. เด็กยังคงชื่นชอบหนังสือที่ใช คําคล องจองกัน ถ าคําสัมผัสไม ดี เด็กรับรู

ได และมักไม ชอบหนังสือเล มนั้น บทคล องจองที่ใช กับวัยนี้มีจํานวนบท มากกว าวัย 0-3 ขวบ อาจมีหลายเหตุการณ ต อเนื่องกันได เพราะเด็กมี ความสามารถในการจําเรื่องราวยาวขึ้นกว าวัย 0-3 ขวบ 2. ในช วง 3 ขวบ เด็กบางส วนยังอาจชอบหนังสือที่บีบหรือจับเล นได 3. เด็กยังคงสนใจหน าปกที่ดึงดูด และยังคงต องมีภาพประกอบขนาดใหญ แล วค อยเล็กลงได บ างเมื่อก าวสู วัย 6 ขวบ 4. ถ าเด็กไม ได รบั การกระตุน การอ านมาตัง้ แต วยั ทารก อาจต องจัดหาหนังสือ เรื่องสั้นๆ และเรื่องตลกมาให อ านมากเป นพิเศษ 5. เด็กวัยนี้มักนิยมหนังสือที่ใช รูปประโยคเดิมซ้ําไปมา ภาษาที่ใช ควรเป น ธรรมชาติ มีลักษณะคล ายภาษาพูดของเด็ก นอกจากนี้ หนังสือที่เล น กับคํา เล นกับเสียง มักได รับความนิยมเป นพิเศษ ที่เป นเช นนี้ เพราะ เด็กเริม่ มีความสามารถในการใช ภาษามากขึน้ สิง่ ทีส่ มองต องการก็คอื นํา เสียงและภาษาที่ตัวเองรับรู มา มาฝ กใช งานให เกิดความคล องแคล ว แต การที่จะเกิดความคล องด วยวิธีทางวิชาการนั้นเป นไปได ยาก สมองจึง นําเสียงและคําที่รู จักมาเล น “การเล นกับเสียง” แท จริงก็คือ การทดลอง สร างวงจรทุกอย างที่เป นไปได ในการเรียนรู ภาษา เช น “กรรไกร ไข ผ าไหม ไข หนึ่งใบ สองบาท ห าสิบ ห าสิบ สองบาท หนึ่งใบ ไข ผ าไหม ไข กรรไกร” นี่เป นการเล นกับคําย อนไปมาที่วิเศษมากสําหรับสมองของเด็ก [15]


6. หนังสือที่เด็กวัยนี้ทั่วโลกชอบอ านเหมือนกันหมด คือ เทพนิยายและ 7. 8. 9.

10.

[16]

นิทาน เด็กควรฟ งนิทานไทย และนิทานจากหลายชาติ ถ าเป นนิทาน ยาวมาก ในระยะแรกอาจเลือกฉบับย อ (simplify) มาอ านให เด็กฟ ง เนือ้ หาของหนังสือเด็กวัยนี้ แม เนือ้ เรือ่ งจะเรียบง าย แต ตอ งผูกเรือ่ งให น าสนใจ หนังสือที่ผูกเรื่องแบบทื่อๆ ตรงไปตรงมา ไม ได รับความ สนใจจากเด็กวัยนี้ และยังไม ควรเน นสารคดี ต องมีภาพประกอบทีช่ ว ยให เข าใจเนือ้ เรือ่ งได ดขี นึ้ ไม ใช เป นภาพทีเ่ ข า มาประกอบเฉยๆ หลีกเลี่ยงภาพการ ตูนลายเส นหยาบๆ ควรเน น ภาพคล ายจริง หรือจินตนาการที่อิงอยู กับความจริง ถ าเป นหนังสือที่เด็กอ านเองได แล ว อาจมีความหนาประมาณ 10-15 หน า แต ละหน าอาจมีคํา 5-10 คํา ถ าเป นหนังสือที่ ผู ใหญ อ านให ฟ ง อาจมีเนื้อหายาวมากก็ได ส วนจะยาวเท าไหร นั้น ขึ้นอยู กับว าผู ใหญ อ านหนังสือให เด็กฟ งบ อยแค ไหน และเลือกหนังสือได สอดคล องกับ วัยของเขาหรือเปล า ขนาดตัวหนังสือต องใหญ และอ านง าย มีการแบ งวรรคตอนหรือช อง ว างระหว างคําชัดเจน เพื่อกระตุ นให ก าวสู การอ านด วยตัวเอง

ชอบ นี่ก็คือ ธรรมชาติของการอ านวรรณคดี และงานวรรณกรรม ผู เขียนพยายามที่จะควบคุม ตะล อมให ผู อ านคิดอย างที่ตน ต องการ แต ผู เขียนก็รู ดีว าผู อ านแต ละคนเป นตัวของเขาเอง ไม มี ใครเหมือนกัน สิ่งที่คุณพ อคุณแม และคุณครูไม ควรทําคือ บังคับให เด็กทํา บันทึกการอ าน จากหนังสือทุกเล มทีอ่ า น ในวัยนีอ้ ย าทําให การอ าน กลายเป น “วิชา” และเป น “งาน” ควรทําให การอ านเป นเรือ่ งสนุก ถ าอยากให บันทึกการอ าน ควรเลือกเพียงบางเล ม และต องหาวิธี ให อยากจะทําบันทึก วรรณกรรมมีผลต อการพัฒนาทางจิตใจ และอารมณ ของเด็ก อย างมาก เพราะมันเกี่ยวข องกับประสบการณ ของตัวละคร แรง จูงใจ ความใฝ ฝ น ป ญหาที่ตัวละครเผชิญในวรรณกรรม เช น รัก พี่เสียดายน อง หรือสถานการณ ที่บังคับให เลือกทางใดทางหนึ่ง มักจะเป ดโอกาสให เด็กอภิปรายและวิเคราะห ถงึ ลักษณะนิสยั แบบ ต างๆ ของคน และวิธีการอยู ร วมกับผู อื่น เช น ความสัมพันธ ฉัน มิตร ครอบครัว คนเกเร นักเลงหัวไม ความเชื่อส วนบุคคล และ ความใฝ ฝ น การวิจารณ หนังสือ หรือการสะท อนความเข าใจในเรือ่ งทีอ่ า น นั้น แตกต างในเด็กแต ละคน และความลึกซึ้งก็ไม เท ากันด วย แต ทักษะเหล านี้ล วนเป นทักษะที่สามารถฝ กฝนและพัฒนาได ดัง นั้น เราจึงต องตระหนักอยู ตลอดเวลาว า เด็กทุกคนมีระดับทักษะ และความรูส กึ นึกคิดทีแ่ ตกต างกัน เด็กทุกคนมีลกั ษณะของตนเอง ซึ่งต องได รับการดูแลและพัฒนาด วยวิธีการที่เหมาะสม ถ าพ อ แม มีความพร อม ควรทําให ถึงขั้นที่แนะนําให เด็กอ านบทวิจารณ หนังสือจากนิตยสารในช วงท ายๆ ของวัยนี้ [25]


เด็กวัย 9-12 ป อาจพัฒนาขึ้นจนกลายเป นเด็กขี้สงสัย สนใจค นคว านี่นั่นอย างไม รู จักเหน็ดเหนื่อย ความสงสัยของ เด็กวัยนี้ ต างกับความสงสัยของเด็กอนุบาล เด็กอนุบาลสงสัย แล วสักพักก็ลืมไป ไม จริงจังในการหาคําตอบ ถ าคําตอบฟ งดู ยาก เด็กก็จะผละไปสนใจอย างอืน่ ต อ แต เด็กวัยประถมปลาย สงสัยแล วพยายามจะรูค าํ ตอบ หาวิธตี า งๆ มาตอบคําถามของ ตนเอง การแนะนําแนวทางในการหาคําตอบ โดยผ านการอ าน ในวัยนี้ จึงเป นสิ่งสําคัญมาก แม ว าเด็กจะมีครูอยู แล วก็ตาม เด็กเริ่มสนใจความเห็นของคนอื่น พร อมๆ กันนั้น ก็สนใจ ค นคว าหาความเป นตนเอง อารมณ เป นส่ิงขับเคลื่อนสําคัญ ที่จะทําให เด็กวัยนี้ทุ มเท เวลากับสิ่งหนึ่งสิ่งใดเป นพิเศษ ควรสังเกตว า เด็กมีนิสัย อย างไร ชอบหนังสือแนวไหน กําลังสงสัยเรือ่ งอะไร แล วจัดหา หนังสือให เหมาะสม ทีส่ าํ คัญคือ ความไม รอู าจทําให เด็กเกาะ ติดกับหนังสือแนวเดียว เช น บางคนอ านแต นทิ าน บางคนอ าน แต แนวผจญภัย จําเป นอย างยิง่ ทีจ่ ะต องแนะนําให รู จักกับหนังสือหลายแนว นอกจากจะแนะนําหนังสือให เด็กรู จักแล ว ควรสนใจพูดคุยกับเด็ก ฝ กให เด็กๆ แสดงความ คิดเห็น รู จักการคิดโต แย ง เด็กแต ละคนอ านเรื่อง เดียวกัน แต ไม เคยมีใครคิดหรือรู สึกเหมือนกัน เด็กตอบสนองต อเรื่องที่อ านโดยผ านจินตนาการ เด็กต องรู สึกเอง เข าใจผ านสมองของตัวเอง ตาม แบบที่เป นตัวเขาเอง บางคนชอบขุนแผน บางคน เกลียดขุนแผน บางคนชอบศรีธนญชัย บางคนไม [24]

ลักษณะเดนที่สําคัญของหนังสือสําหรับเด็กวัย 3-6 ขวบ ระยะที่สอง

1. เด็กยังคงชื่นชอบหนังสือที่ใช pattern ประโยค ความคิด และ

คําศัพท ซ้ําไปมา เช น ยายเช ากลืนช าง อีเล งเค งโค ง ราชากับษี เป นต น ทีเ่ ป นเช นนีเ้ พราะว าเด็กยังไม ได กา วขึน้ สูว ยั ประถม อันเป น วัยทีภ่ าษาพัฒนามากกว านี้ การคิดเริม่ ผูกโยงอยูก บั ความจริงมากขึน้ 2. ถ าอยากจะให พัฒนาการของเด็กในวัยนี้ได รับการส งเสริมอย างเต็ม ที่ ควรอ านหรือจัดหานิทานหลายชาติมาอ านให เด็กฟ ง ถ าอ านเอง ได ก็ให เด็กอ านเอง เช น นิทานลาว นิทานเวียดนาม นิทานอินเดีย นิทานรุสเซีย นิทานญี่ปุ น ฯลฯ เหตุที่ควรนํานิทานจากหลายชาติ มาให เด็กได สมั ผัสล้มิ รส ก็เพราะว าวิธคี ดิ ของตัวละครในนิทานแต ละ ชาตินนั้ แตกต างกันอย างยิง่ เด็กควรได รบั การปลูกฝ งวิธคี ดิ อันหลาก หลายนี้ตั้งแต วัยอนุบาล ก อนที่จะถูกตีกรอบด วยการคิดแบบเดียว แนวเดียว เพราะป ญหาของระบบการศึกษาไทยในวัยถัดๆ ไป 3. เริ่มใช ภาษาเขียนในหนังสือสําหรับเด็กวัยนี้ได มากขึ้น แต หนังสือที่ มีภาษาพูดรวมอยู ด วย จะเข าถึงเด็กวัยนี้ได ดีกว า เนื่องจากภาษา เขียนเป นภาษาที่เป นทางการ ไม ใช ภาษาที่เด็กคุ นเคยและใช อยู ในชีวิตประจําวัน การใช ภาษาพูดรวมเข ามา จะทําให สมองได ใช วงจรง ายสลับกับวงจรยาก ทําให สมองไม ต องเสียเวลาแบกภาระใน การแปลความภาษามากเกินไป และจะได ใช สมองไปคิดเกี่ยวกับ เรื่องราวที่กําลังฟ งหรืออ านนั้นแทน

[17]


4. เด็กในวัย 3-6 ขวบ ที่ผ านการพัฒนาขั้นต นในระยะแรกมาแล ว จะเริ่ม

อ านหนังสือที่มีเนื้อหายาวกว าเดิม แต ประโยคที่ใช ยังคงเป นประโยคที่ สั้น สื่อใจความชัดเจน 5. เนื้อหาเรื่องราว (story) ในหนังสือที่อ าน เริ่มมีความต อเนื่องยาวขึ้น หนังสือในวัยนี้อาจหนาตั้งแต 10-20 หน า แต ละหน าไม ควรมีจํานวน ประโยคมากเกินไป และยังไม ควรใช font แปลกๆ สําหรับวัยนี้ 6. เนื้อเรื่องอาจเริ่มมีหลายตอนก็ได เช น ตอนที่ 1 ในถ้ํา ตอนที่ 2 จระเข กินคน การที่มีเนื้อหาหลายตอนได ก็เนื่องมาจากสมองได สะสมวงจร ภาษามาเป นเวลาหลายป มาบัดนี้ สมองมีความสามารถในการลําดับ เรื่องราว (sequence) เข าใจเรื่องลําดับเวลา (time line) มากขึ้น ซึ่ง ทําไม ได ในระยะแรกของวัยนี้ 7. เด็กที่พัฒนาการการอ านก าวขึ้นมาไม ถึงระยะที่สองนี้ มักเกิดจากการ ถูกทอดทิ้ง ไม มีโอกาสพัฒนาภาษา เช น ผู ใหญ ไม มีเวลาอ านหนังสือ ให เด็กฟ ง เป นต น

[18]

การฟ งและเริม่ สนใจอ านหนังสือหลากหลายขึน้ จะช วยให เด็กเตรียม ตัวเข าสู พัฒนาการทางภาษา ระดับก าวหน าขึ้นหลายอย าง ดังนี้ 1. เด็กจะรู จักลีลาการเขียนหลายแบบของนักเขียน ที่ใช ลีลาการ เขียนและการนําเสนอต างกัน 2. เด็กเริ่มคุ นเคยกับการฟ งและเข าสู การอ านเนื้อหา ที่เสนอด วย เทคนิคต างๆ กัน 3. เด็กจะรู จักคุ นเคยกับบทร อยกรองหลายแบบ เช น บทดอกสร อย กลอน กาพย ฉันท สักวา ฯลฯ 4. เด็กจะก าวสูโ ลกกว าง รูจ กั หนังสือแทบทุกประเภท ตัง้ แต ตาํ นาน นิทาน นิทานภาพ การ ตนู เทพนิยาย จนถึงหนังสือทีม่ จี นิ ตนาการ เหนือจริง และหนังสือแนววิทยาศาสตร แห งโลกอนาคต เมื่อก าวสู ช วงท ายของวัยประถม คือ วัย 9-12 ป เด็กวัยนี้ยังคง วุ นวายอยู กับการลงมือทําโน นทํานี่มิได หยุด เริ่มมีสัญญาณบ งชี้ว า การ คิดแบบนามธรรมเริ่มพัฒนาชัดเจน ถึงเวลาที่จะมีพัฒนาการเรียนรู สูง ขึ้น และเพิ่มทางเลือกสําหรับเด็กที่จะเลือกความสนใจตามแบบของ ตน และนี่ก็เป นจุดสําคัญที่จะนําเขาไปสู ความแตกต างกับผู อื่น เด็ก บางส วนจะสามารถค นคว าทดลอง ศึกษาเรื่องราวต างๆ อย างลึกซึ้ง มากกว าการคิดแบบเด็กๆ เด็กต องการโอกาสที่จะแบ งป น แลกเปลี่ยน ความรู และประสบการณ กับเพื่อนฝูง ในระยะนี้ถ าปล อยให สื่อ “ตาม กระแส” และสื่อที่เน นความรุนแรง มอมเมาความคิดของเด็ก การค นหา อัตลักษณ กลับจะถูกชี้ไปในทางลบ จึงปรากฏเสมอว า เด็กวัยนี้ “ไหล” ไปตามกระแสหลักของสังคม [23]


หนังสือแบบไหน เหมาะกับเด็กวัย 7-12 ป? เลือกหนังสือใหเด็กประถมตนอาน

ทําอยางไรจะกระตุนเด็กวัย 7-12 ป ใหอานหนังสือหลากหลาย?

กระบวนการก อนที่เด็กจะก าวไปสู การอ านหนังสือหลากหลายชนิด ขึ้นอยู กับกระบวนการฟ งที่เด็กได รับมาก อนหน านี้ กุญแจอยู ที่ต องอ าน หนังสือให ฟ งหลายๆ แนว และเลือกหนังสือหลายแนวมาให เด็กๆ อ าน อย าเน นหนังสือการ ตนู เพราะหนังสือการ ตนู มีภาพประกอบอย างละเอียด ทุกบทสนทนา ทําให สมองของเด็กขาดพัฒนาการในการจินตนาการ สมองคุ นเคยกับการใช วงจรง ายๆ ในการอ านหนังสือ เป นการกดให สมองพัฒนาช าลง และไม ใช สมองตามศักยภาพทีต่ วั เองมี เมือ่ ไม ใช ความ สามารถในการคิดและจินตนาการนานเข า กลุ มเซลล สมองในวงจรนั้นก็ จะถูกลิดทอน (lose) ไปจากสมองอย างน าเสียดายยิ่ง และกลายเป นเด็ก ที่ไม ยอมอ านหนังสือประเภทอื่นนอกจากการ ตูน อย างไรก็ดี ควรย้ําว าพยายามอย าเน นหนังสือแนววิชาการมากเกิน ไป เว นแต เด็กจะสนใจเป นพิเศษ เด็กในวัยประถมต องการฟ งและอ าน เรื่องหลากหลายอย างไม น าเชื่อ พวกเขาสามารถจะฟ งและอ านอย าง ต อเนื่อง ฟ งได ครั้งละนานๆ และมีจินตนาการอันบรรเจิด [22]

ศาสตราจารย สตีเฟน พิงเคอร (Steven Pinker) ผู อํานวยการศูนย Cognitive Neuroscience แห งสถาบัน MIT ได เป นผู ประเมินเอาไว ว า เมื่ออายุ 6 ขวบ เด็กจะรูจ กั คําต างๆ ในสมองของตัวเองประมาณ 13,000 คํา และเมือ่ จบชัน้ มัธยม ปลายนั้น ขึ้นอยู กับว าแต ละคนมีประสบการณ มากหรือน อย โดยเฉลี่ยแล วเด็กก็ จะมีคําใช ราวๆ 60,000-120,000 คํา ผู ใหญ มักจะเข าใจว าเด็กเล็กๆ ควรฟ งนิทานสั้นๆ ไม กี่หน าจบ เช น นิทาน อีสป หรือนิทานง ายๆ ที่มีโครงเรื่องไม ซับซ อนนัก แต ความจริงแล ว เมื่อถึงวัย ประถม เด็กสามารถฟ งนิทานทีม่ โี ครงเรือ่ งซับซ อน และมีคาํ ศัพท ยากได ถ าโครง เรื่องมีความสนุกสนาน ท าทาย ตื่นเต น หรือมีเรื่องราวแปลกชวนให ติดตาม ที่ สําคัญคือ เราต องแยกแยะให ดีว า หนังสือเล มไหนเหมาะกับการอ านให ฟ ง และ เล มไหนเหมาะจะให อ านเอง ถ าพูดรวมๆ แบบปะปนกัน จะเป นการถ วงให สติ ป ญญาของเด็กพัฒนาช าลง ตัวอย างเช น หนังสือวรรณคดีคลาสสิคของไทย เช น พระอภัยมณี สังข ทอง รามเกียรติ์ นัน้ ถ าเลือกอ านบาง ตอนให เด็กฟ ง เด็กก็สนใจมาก สําหรับหนังสือที่ต องการกระตุ นให เด็กอ านเอง การเพิ่มระดับความยากง าย และจํานวนคําขึ้นอย าง ช าๆ ช วยให เด็กประสบความสําเร็จในการเรียนรู ไม จําเป นต องเร งรัดให อ านเรื่องยาวๆ ถ าอ านเรื่องสั้นๆ แล วจับใจความได ดี พออ านเรื่องยาวขึ้น ก็จะถอดรหัส กระบวนการเรียนรู ที่ได จากการอ านเรื่องง ายๆ ไปใช การได [19]


ยังจําเปนตองอานหนังสือใหเด็กวัย 7-12 ปฟงเปนประจํา

ผู ใหญ ควรค อยๆ ยกระดับการอ านหนังสือให เด็กฟ ง หรือ จัดหาหนังสือให เด็กอ าน จากหนังสือภาพ หนังสือนิทาน ขึ้น สู หนังสือประเภทอื่นๆ พยายามกระจายประเภทของหนังสือ ที่อ านให ฟ งให กว างขวาง เช น หนังสือประเภทนิทาน ตํานาน วรรณกรรมเยาวชน สารคดี ที่สอดคล องกับวัยของเด็ก แม มีศัพท ยากปนบ างก็อย ากังวล ถ าหนังสือน าสนใจ เด็กจะอยากฟ ง และ จะเรียนรู คําศัพท ยากโดยวิธีลัด คือ เทียบเคียง ถอดความเข าใจ จากบริบทเรื่องที่ได ฟ ง ยิ่งอ านมากเด็กจะยิ่งมีคลังคําศัพท (word bank) อยู ในสมอง และพัฒนาการด านการคิดจะดีขึ้น เพราะ สมองจะคิดได มากขึ้น ก็ต อเมื่อมี “ภาษา” ใช มากเพียงพอ การอ านหนังสือให เด็กฟ ง ควรทําไปจนกระทั่งเด็กอยู ชั้น ประถมปลาย เพียงแต ลดความถี่ลงได เมื่อโตขึ้น หนังสือบางเล ม อ านให ฟ งเพียงบทเดียว เด็กสนใจก็อ านต อได ด วยตัวเอง นั่นคือ การอ านหนังสือให เด็กฟ งในวัยนี้ อาจมีทั้งอ านจนจบ หรืออ านให ฟ งเพื่อกระตุ นให อ านเอง

[20]

กระตุนใหอานหนังสือเอง และอานหนังสือหลากหลาย

ในช วงวัย 7-9 ป เด็กๆ จะสนใจอ านหนังสือทั้ง แบบง ายและแบบยากขึ้น เด็กอาจจะยังอ านหนังสือ เล มที่ชื่นชอบเป นพิเศษตอน 5-6 ขวบต อไปอีกระยะ หนึ่ง และก าวสู การอ านหนังสือที่ยากขึ้นในเวลาต อ มา การที่เด็กอ านหนังสือเล มใดซ้ําๆ บ อยๆ แสดงให เห็นว า สมองต องการตอกย้าํ สิง่ นัน้ เอาไว ถ าหนังสือเล มนัน้ ไม มปี ญ หา อะไร ไม ควรบังคับให หยุดอ าน ความหลากหลายของหนังสือสําหรับเด็กประถม จะช วย ให เด็กๆ รู จักโลกรอบตัวได ดียิ่ง เด็กๆ จะค อยๆ เรียนรู จัก เรือ่ งราว ความคิดของผูค น สถานที่ และบทบาทของสิง่ ต างๆ ที่ทําให โลกเป นอย างที่เห็นอยู เพราะหนังสือได จําลองโลก ใบใหญ ลงมาไว ได อย างแยบยล เมื่อเด็กฟ งเรื่องราวและอ าน ต อเนื่องหลายป เข า พวกเขาก็จะรู จักโลกแห งความคิดของ มนุษย ที่สลับซับซ อนได อย างไม น าเชื่อ เพราะหนังสือที่เด็กๆ อ าน จะจําลองบุคลิก วีธีคิด วิธีตัดสินใจ และผลแห งการตัด สินใจนานาชนิดลงมาไว หนังสือที่แนะนําชีวิตของผู คนใน นานาประเทศ หนังสือที่แนะนําให เด็กๆ รู จักกับโลกที่แตก ต างออกไป หนังสือทําให เด็กรูจ กั โลกของไดโนเสาร ดวงจันทร ดาวอังคาร ใต ดิน รู จักบ านเมืองของตนในเขตร อน บ านเมือง อื่นในเขตหนาว หนังสือจึงย อโลกลงมาไว ในมือของเด็ก [21]


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.