รายงานผลการดาเนินงาน โครงการพัฒนาส่งเสริมการบริหารจัดการและพัฒนารูปแบบกิจกรรมการท่องเที่ยวเฉพาะกลุ่ม เพื่อแก้ไขปัญหาการท่องเที่ยวใน Low Season
กิจกรรมศึกษาดูงานวัฒนธรรม วิถีชีวิต ผลิตภัณฑ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น และการท่องเที่ยวกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน ๒ “ชุมชนวัฒนธรรมวิถลี ้านนาตะวันออก” กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน ๒ โดย สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดพะเยา
๑
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการและพัฒนารูปแบบกิจกรรมการท่องเที่ยวเฉพาะกลุ่มเพื่อแก้ไขปัญหาการท่องเที่ยวใน
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน ๒ โดย สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดพะเยา
LOW SEASON
1. ให้จัดโปรแกรมศึกษาดูงานวัฒนธรรม วิถีชีวิต ผลิตภัณฑ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น และการท่องเที่ยวกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 2 (เชียงราย พะเยา แพร่ และน่ าน) จํานวน 1 ครั้ง 3 คืน 4 วัน โปรแกรมศึกษาดูงาน กิจกรรมศึกษาดูงานวัฒนธรรม วิถีชีวิต ผลิตภัณฑ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น และการท่องเที่ยวกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน ๒ “ชุมชนวัฒนธรรมวิถีล้านนาตะวันออก” โครงการพัฒนาส่งเสริมการบริหารจัดการและพัฒนารูปแบบกิจกรรมการท่องเที่ยวเฉพาะกลุ่ม เพื่อแก้ไขปัญหาการท่องเที่ยวใน Low Season
ระหว่างวันที่ 14 - 17 เดือนมกราคม พ.ศ. 2558
วันพุธที่ 14 เดือนมกราคม พ.ศ. 2558 ช่วงเช้า 12.00 น. 13.00 น.
15.00 น.
15.45 น.
16.30 น. 17.30 น. 18.00 น. 18.30 น. 20.00 น.
คณะศึกษาดูงานจากกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 2 เดินทางมุ่งหน้าเข้าสู่จังหวัดพะเยา รับประทานอาหารกลางวัน ณ หมู่บ้านดอกบัว ชมและสัมผัสวิถีชีวิต แบบพอเพียง หมู่บ้านดอกบัว ตําบลบ้านตุ่น อําเภอเมือง จังหวัดพะเยา ชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงที่น้อมนําหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ดําเนินชีวิตคน ในชุมชนกลายเป็ นหมู่บ้ านนักพัฒนาถ้วยพระราชทานพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวหมู่บ้าน เศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบระดับประเทศ พร้อมรับฟังการบรรยายสรุปของหมู่บ้าน หลังจากนั้น นั่ ง รถรางชมฐานการเรี ย นรู้ ชุ มชน และภู มิปั ญญาท้ องถิ่น ได้ แก่ การจัก สานเข่ง และสุ่ มไก่ , การผลิตเตาแกลบแก๊สชีวมวล, ชมไร่สตอเบอรี่ และการผลิตข้าวอินทรีย์ เยี่ยมชม “ภูมิปัญญาตีมีดบ้านร่องไฮ” เปลวไฟสร้างอาชีพเรียนรู้วิถีชีวิตของสล่าตีเหล็ก สัมผัส ความวิริยะอุตสาหะของสล่าตีเหล็ก ที่ต้องอยู่ความร้อนของเปลวไฟ ชมการตีเหล็กในขั้นตอน ต่ า งๆ พบความมหั ศ จรรย์ ข อง น้ํ า และ ไฟ ที่ เ ป็ น องค์ ป ระกอบสํ า คั ญ ที่ ทํ า ให้ เ กิ ด ความ “คม” และ “แกร่ง” ชมการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากผักตบชวา “การจักสานผักตบชวาบ้านสันปุาม่วง” เป็นการ ส่ ง เสริ ม อาชีพและสร้างรายได้ให้กับคนในชุมชน โดยนําผักตบชวา ซึ่งมีอยู่มาก ในบริ เ วณกว๊ า นพะเยา นํามาแปรรูปและพัฒนาผลิตภัณฑ์รูปแบบต่างๆ เพื่อประโยชน์ใช้สอยและเป็นการเพิ่มมูลค่าของ ผลิตภัณฑ์จักสานผักตบชวา ชมการสกัด “ครกหินบ้านงิ้ว” ซึ่งเป็นมรดกแห่งภูมิปัญญาที่มีการสืบทอดภูมิปัญญาจากรุ่นสู่รุ่น มาหลายชั่วอายุคน ซึ่งปัจจุบันยังคงดํารงอยู่เป็นตัวแทนของภูมิปัญญาและจิตวิญญาณบรรพชน และความภาคภูมิใจของคนบ้านงิ้ว รับประทานอาหารว่าง หลังจากนั้นเข้าที่พักแบบโฮมสเตย์ และพักผ่อนตามอัธยาศัย ร่วมพิธีบายศรีสู่ขวัญ รับประทานอาหารเย็น พร้อมชมการแสดงศิลปวัฒนธรรม พักผ่อนตามอัธยาศัย
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการและพัฒนารูปแบบกิจกรรมการท่องเที่ยวเฉพาะกลุ่มเพื่อแก้ไขปัญหาการท่องเที่ยวใน
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน ๒ โดย สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดพะเยา
๒
LOW SEASON
วันพฤหัสบดีที่ 15 เดือนมกราคม พ.ศ. 2558 07.00 น. 08.00 น. 10.00 น.
12.00 น. 13.00 น. 15.00 น.
16.30 น. 17.30 น. 18.00 น. 20.00 น.
รับประทานอาหารเช้า ณ ที่พักโฮมสเตย์ ออกเดินทางจากหมู่บ้านดอกบัว มุ่งหน้าสู่อําเภอเมือง จังหวัดแพร่ เดินทางถึงหมู่บ้านวัฒนธรรมบ้านถิ่น ตําบลบ้านถิ่น อําเภอเมือง จังหวัดแพร่ รั บ ประทานอาหารว่า ง พร้อ มสั ม ผั ส กับวั ฒ นธรรมไทลื้ อ ชมวิถี การดํา รงชีวิ ต ของชาวไทลื้ อ และชมฐานการเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นไทลื้อที่ สร้างรายได้ให้กับคนในชุมชน เช่น การทอผ้า ไทลื้อ การทําดอกไม้เพลิง เป็นต้น รับประทานอาหารกลางวัน ณ บ้านถิ่น ออกเดินทางจากบ้านถิ่น มุ่งหน้าสู่อําเภอท่าวังผา จังหวัดน่าน รั บ ประทานอาหารว่ า ง และสั ม ผั ส กั บ วิ ถี ชุ ม ชนวั ฒ นธรรมไทลื้ อ บ้ า นดอนมู ล ตํ า บลศรี ภู มิ อําเภอท่าวังผา จังหวัดน่ าน เยี่ยมชมวัดหนองบัว ผลงานทางสถาปัตยกรรม และจิตรกรรม ชิ้น เอกของจั ง หวัด น่ าน สร้า งขึ้น ในราว พ.ศ.2405(สมัยรัช กาลที่ 4) ชมจิต รกรรมฝาผนั ง ที่ได้สะท้อนให้เห็นสภาพความเป็นอยู่ของผู้คน ในสมัย นั้นได้เป็นอย่างดี โดยเฉพาะการแต่งกาย ของผู้ ห ญิ งที่นุ่ งผ้ า ซิ่น ลายน้ํ าไหลที่ส วยงาม หลั งจากนั้น ชมบ้ านเก่าไทลื้ อ ที่ยัง คงเอกลั กษณ์ อย่างชัดเจน และสัมผัสภูมิปัญญาการทอผ้าของชาวไทลื้อ การทอผ้า การสานหวาย เข้าที่พักแบบโฮมสเตย์ และพักผ่อนตามอัธยาศัย ร่วมพิธีบายศรีสู่ขวัญ รับประทานอาหารเย็น พร้อมชมการแสดงศิลปวัฒนธรรม พักผ่อนตามอัธยาศัย
วันศุกร์ที่ 16 เดือนมกราคม พ.ศ. 2558 07.00 น. 08.00 น. 12.00 น. 14.00 น. 15.00 น. 16.00 น. 17.30 น. 18.00 น. 20.00 น.
รับประทานอาหารเช้า ณ ที่พักโฮมสเตย์ ออกเดินทางมุ่งหน้าสู่ อําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย รับประทานกลางวัน ระหว่างทาง อําเภอเทิง จังหวัดเชียงราย ชม “พิพิธภัณฑ์ลื้อลายคํา ” ตําบลศรีดอนชัย อําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย สถานที่แสดง ประวัติความเป็นมาของชาวไทลื้อศรีดอนชัย และจัดแสดงมรดกทางวัฒนธรรมผ้าไทลื้อ ออกเดินทางมุ่งหน้าสู่ อําเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย เดินทางถึงหมู่บ้านท่าขันทอง ตําบลบ้านแซว อําเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย สัมผัสวิถีชีวิต ชาวไทย - อีสาน ต้อนรับคณะด้วยการแสดงกลองยาว และนั่งรถอีต๊อกชมวิถีชีวิตพื้นบ้าน เช่น กลุ่มทอผ้า การเลี้ยงจิ้งหรีด เป็นต้น ลงเรือท่าเรือบ้านแซวล่องแม่น้ําโขง รับประทานอาหารเย็นริมแม่น้ําโขง พร้อมชมการแสดงศิลปวัฒนธรรมแบบไทยอีสาน เข้าที่พักแบบ Home Stay พักผ่อนตามอัธยาศัย
๓
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการและพัฒนารูปแบบกิจกรรมการท่องเที่ยวเฉพาะกลุ่มเพื่อแก้ไขปัญหาการท่องเที่ยวใน
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน ๒ โดย สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดพะเยา
LOW SEASON
วันเสาร์ที่ 17 เดือนมกราคม พ.ศ. 2558 07.00 น. 08.00 น. 10.00 น.
12.00 น. 13.00 น.
รับประทานอาหารเช้า ณ ที่พักโฮมสเตย์ ออกเดินทางจากหมู่บ้านท่าขันทอง มุ่งหน้าสู่อําเภอแม่ลาว จังหวัดเชียงราย สัมผัสกับวิถีหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง หมู่บ้านร่องปลายนา ตําบลบัวสลี อําเภอแม่ลาว จังหวัด เชียงราย ชมฐานการเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น เช่น บ้านตัวอย่างเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มสมุนไพร แปรรูป กลุ่มเครื่องปั้นดินเผา กลุ่มตัดเย็บเสื้อผ้า กลุ่มเพาะเห็ด กลุ่มพลังงาน และกลุ่มตุ๊กตา ดับกลิ่น เป็นต้น รับประทานอาหารกลางวัน ณ หมู่บ้านร่องปลายนา เดินทางกลับโดยสวัสดิภาพ **********************************
2. ประสานงานเชิญสื่อมวลชน เครือข่ายด้านศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม และ เจ้าหน้าที่เข้าร่วมกิจกรรม จํานวนไม่น้อยกว่า 80 คน มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จํานวน 82 คน (ตามเอกสารแนบ 1)
3.
จั ด พาหนะเดิ น ทาง รถตู้ จ านวน 9 คั น รวมรถเจ้ า หน้ า ที่ ป ระสานงาน
พร้อมรับผิดชอบค่าใช้จ่าย จัดรถตู้ปรับอากาศ จํานวน 9 คัน
๔
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการและพัฒนารูปแบบกิจกรรมการท่องเที่ยวเฉพาะกลุ่มเพื่อแก้ไขปัญหาการท่องเที่ยวใน
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน ๒ โดย สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดพะเยา
LOW SEASON
4. รับผิดชอบค่าอาหาร - อาหารว่าง และเครื่องดื่ม ระหว่างการเดินทางแก่ผู้เข้าร่วม กิจกรรม
อาหารกลางวันแบบพื้นเมือง ณ หมู่บ้านดอกบัว ตําบลบ้านตุ่น อําเภอเมือง จังหวัดพะเยา วันพุธที่ 14 เดือนมกราคม พ.ศ. 2558
อาหารกลางวัน ณ หมู่บ้านถิ่น ตําบลบ้านถิ่น อําเภอเมือง จังหวัดแพร่ วันพฤหัสบดีที่ 15 เดือนมกราคม พ.ศ. 2558
อาหารกลางวัน ณ ร้านอาหารครัวมาลี สุบรรณ์กุ้งสด อําเภอเทิง จังหวัดเชียงราย วันศุกร์ที่ 16 เดือนมกราคม พ.ศ. 2558
๕
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการและพัฒนารูปแบบกิจกรรมการท่องเที่ยวเฉพาะกลุ่มเพื่อแก้ไขปัญหาการท่องเที่ยวใน
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน ๒ โดย สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดพะเยา
LOW SEASON
อาหารกลางวัน ณ หมู่บ้านร่องปลายนา ตําบลบัวสลี อําเภอแม่ลาว จังหวัดเชียงราย วันเสาร์ที่ 17 เดือนมกราคม พ.ศ. 2558
อาหารว่าง และเครื่องดื่ม ณ หมู่บ้านดอกบัว ตําบลบ้านตุ่น อําเภอเมือง จังหวัดพะเยา วันพุธที่ 14 เดือนมกราคม พ.ศ. 2558
อาหารว่าง และเครื่องดื่ม ณ หมู่บ้านถิ่น ตําบลบ้านถิ่น อําเภอเมือง จังหวัดแพร่ วันพฤหัสบดีที่ 15 เดือนมกราคม พ.ศ. 2558
๖
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการและพัฒนารูปแบบกิจกรรมการท่องเที่ยวเฉพาะกลุ่มเพื่อแก้ไขปัญหาการท่องเที่ยวใน
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน ๒ โดย สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดพะเยา
LOW SEASON
อาหารว่าง และเครื่องดื่ม ณ หมู่บ้านดอนมูล ตําบลศรีภูมิ อําเภอท่าวังผา จังหวัดน่าน วันพฤหัสบดีที่ 15 เดือนมกราคม พ.ศ. 2558
อาหารว่าง และเครื่องดื่ม ณ พิพธิ ภัณฑ์ลื้อลายคํา ตําบลศรีดอนชัย อําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย วันศุกร์ที่ 16 เดือนมกราคม พ.ศ. 2558
อาหารว่าง และเครื่องดื่ม ณ หมู่บ้านท่าขันทอง ตําบลบ้านแซว อําเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย วันศุกร์ที่ 16 เดือนมกราคม พ.ศ. 2558
๗
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการและพัฒนารูปแบบกิจกรรมการท่องเที่ยวเฉพาะกลุ่มเพื่อแก้ไขปัญหาการท่องเที่ยวใน
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน ๒ โดย สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดพะเยา
LOW SEASON
อาหารว่าง และเครื่องดื่ม ณ หมู่บ้านร่องปลายนา ตําบลบัวสลี อําเภอแม่ลาว จังหวัดเชียงราย วันเสาร์ที่ 17 เดือนมกราคม พ.ศ. 2558
5. จัดให้มีที่พักแก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 3 คืน โดยพักค้าง Home Stay ของชุมชน ได้แก่
โฮมสเตย์ พร้อมอาหารเช้า หมู่บ้านดอกบัว ตําบลตุ่น อําเภอเมือง จังหวัดพะเยา วันพุธที่ 14 เดือนมกราคม พ.ศ. 2558
๘
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการและพัฒนารูปแบบกิจกรรมการท่องเที่ยวเฉพาะกลุ่มเพื่อแก้ไขปัญหาการท่องเที่ยวใน
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน ๒ โดย สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดพะเยา
LOW SEASON
โฮมสเตย์ พร้อมอาหารเช้า หมู่บ้านดอนมูล ตําบลศรีภูมิ อําเภอท่าวังผา จังหวัดน่าน วันพฤหัสบดีที่ 15 เดือนมกราคม พ.ศ. 2558
โฮมสเตย์ พร้อมอาหารเช้า หมู่บ้านท่าขันทอง ตําบลบ้านแซว อําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย วันศุกร์ที่ 16 เดือนมกราคม พ.ศ. 2558
๙
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการและพัฒนารูปแบบกิจกรรมการท่องเที่ยวเฉพาะกลุ่มเพื่อแก้ไขปัญหาการท่องเที่ยวใน
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน ๒ โดย สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดพะเยา
LOW SEASON
6. จัดให้มีการเลี้ยงรับรองอาหารค่าตามแบบวัฒนธรรมล้านนา พร้อมการแสดง ศิลปวัฒนธรรมของชุมชน อย่างน้อย 2 ชุด / จังหวัด
อาหารค่ําตามแบบวัฒนธรรมล้านนา พร้อมการแสดงศิลปวัฒนธรรม ของหมู่บ้านดอกบัว ตําบลตุ่น อําเภอเมือง จังหวัดพะเยา วันพุธที่ 14 เดือนมกราคม พ.ศ. 2558
๑๐
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการและพัฒนารูปแบบกิจกรรมการท่องเที่ยวเฉพาะกลุ่มเพื่อแก้ไขปัญหาการท่องเที่ยวใน
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน ๒ โดย สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดพะเยา
LOW SEASON
อาหารค่ําตามแบบวัฒนธรรมไทลื้อ พร้อมการแสดงศิลปวัฒนธรรม ของหมู่บ้านดอนมูล ตําบลศรีภูมิ อําเภอท่าวังผา จังหวัดน่าน วันพฤหัสบดีที่ 15 เดือนมกราคม พ.ศ. 2558
๑๑
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการและพัฒนารูปแบบกิจกรรมการท่องเที่ยวเฉพาะกลุ่มเพื่อแก้ไขปัญหาการท่องเที่ยวใน
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน ๒ โดย สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดพะเยา
LOW SEASON
อาหารค่ําตามแบบวัฒนธรรมไทยอีสานริมน้ําโขง พร้อมการแสดงศิลปวัฒนธรรม ของหมู่บ้านท่าขันทอง ตําบลบ้านแซว อําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย วันศุกร์ที่ 16 เดือนมกราคม พ.ศ.2558
๑๒
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการและพัฒนารูปแบบกิจกรรมการท่องเที่ยวเฉพาะกลุ่มเพื่อแก้ไขปัญหาการท่องเที่ยวใน
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน ๒ โดย สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดพะเยา
LOW SEASON
7. จัดให้มีเอกสารองค์ความรู้ ภูมิปัญญา ที่โดดเด่นของจัง หวัดพะเยา เชียงราย แพร่ น่าน จังหวัดละ 10 ข้อมูล พร้อมถุงผ้าหรือย่าม มอบสําหรับผู้เข้าร่วมกิจกรรม จํานวน 100 เล่ม
จัดพิมพ์เอกสารองค์ความรู้ ภูมิปัญญา ที่โดดเด่นของจังหวัดพะเยา เชียงราย แพร่ น่าน จังหวัดละ 10 ข้อมูล จํานวน 100 เล่ ม พิมพ์สี่สี จํานวนหน้าตามความเหมาะสมของเนื้อหา ขนาด A5 กระดาษอาร์ตมัน 80 แกรม
๑๓
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการและพัฒนารูปแบบกิจกรรมการท่องเที่ยวเฉพาะกลุ่มเพื่อแก้ไขปัญหาการท่องเที่ยวใน
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน ๒ โดย สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดพะเยา
LOW SEASON
8. จัดให้มีของที่ระลึกสาหรับสาหรับพื้นที่ในการศึกษาดูงาน จํานวน 8 ชิ้น
หมู่บ้านดอกบัว ตําบลบ้านตุ่น อําเภอเมือง จังหวัดพะเยา
สล่าบูรณ์ ภูมิปัญญาการตีมีด สินค้าทางวัฒนธรรมรอบกว๊านพะเยา
ชวาวาด ภูมิปัญญาการจักสานผักตบชวา สินค้าทางวัฒนธรรมรอบกว๊านพะเยา
หมู่บ้านถิ่น ตําบลบ้านถิ่น อําเภอเมือง จังหวัดแพร่
๑๔
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการและพัฒนารูปแบบกิจกรรมการท่องเที่ยวเฉพาะกลุ่มเพื่อแก้ไขปัญหาการท่องเที่ยวใน
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน ๒ โดย สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดพะเยา
LOW SEASON
หมู่บ้านดอนมูล ตําบลศรีภูมิ อําเภอท่าวังผา จังหวัดน่าน
พิพิธภัณฑ์ลื้อลายคํา ตําบลศรีดอนชัย อําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย
หมู่บ้านท่าขันทอง ตําบลบ้านแซว อําเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
หมู่บ้านร่องปลายนา ตําบลบัวสลี อําเภอแม่ลาว จังหวัดเชียงราย
๑๕
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการและพัฒนารูปแบบกิจกรรมการท่องเที่ยวเฉพาะกลุ่มเพื่อแก้ไขปัญหาการท่องเที่ยวใน
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน ๒ โดย สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดพะเยา
LOW SEASON
9. จั ด ท าสติ๊ ก เกอร์ ป ระชาสั ม พั น ธ์ โ ครงการฯ ติ ด รถตู้ จํ า นวน 2 แผ่ น ต่ อ 1 คั น รวม 16 แผ่น
10.
จั ด ท าสรุ ป ผลการด าเนิ น งาน ในลั ก ษณะเอกสารรู ป เล่ ม จํ า นวน 20 เล่ ม
และไฟล์อิเลคทรอนิคส์ DVD จํานวน 10 แผ่น
๑๖
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการและพัฒนารูปแบบกิจกรรมการท่องเที่ยวเฉพาะกลุ่มเพื่อแก้ไขปัญหาการท่องเที่ยวใน
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน ๒ โดย สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดพะเยา
LOW SEASON
11. บรรยากาศการจัดกิจกรรม และข้อมูลแต่ละชุมชนที่ศึกษาดูงาน ดังนี้ พิธีเปิดโครงการ ณ ศูนย์การเรียนรู้หมู่บ้านดอกบัว
- กล่าวรายงานวัตถุประสงค์ของการจัดงาน โดย นางสายรุ้ง ธาดาจันทน์ วัฒนธรรมจังหวัดพะเยา
- กล่าวเปิดโครงการ โดย นายนิมิต วันไชยธนวงศ์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดพะเยา
- มอบของที่ระลึก โดย นางสายรุ้ง ธาดาจันทน์ วัฒนธรรมจังหวัดพะเยา
- มอบของที่ระลึก โดย นายบาล บุญก้ํา ผู้ใหญ่บ้านบ้านดอกบัว
๑๗
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการและพัฒนารูปแบบกิจกรรมการท่องเที่ยวเฉพาะกลุ่มเพื่อแก้ไขปัญหาการท่องเที่ยวใน
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน ๒ โดย สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดพะเยา
LOW SEASON
หมู่บ้านบัว (ดอกบัว) ตาบลบ้านตุ่น อาเภอเมือง จังหวัดพะเยา บ้านดอกบัวแต่เดิมเป็นปุา เริ่มแรกมีบ้านอยู่ 2 หลัง มี ปูุติ๊บ กับย่าสมนา สองผัวเมีย และมีบ้าน อีกหลังไม่ทราบชื่อ ปูุติ๊บ กับย่าสมนา เดิมเป็นคนบ้านตุ่นกลางเป็นคนทําไร่ใส่สวน เลี้ยงสัตว์ เห็นพื้นที่ปุาแห่งนี้ มีความอุดมสมบูรณ์เหมาะกับการประกอบอาชีพได้จึงย้ายเข้ามาอยู่เป็นคนแรก และปูุบัวได้ติดตามมาอยู่ด้วย อยู่มาวันหนึ่งในตอนเช้าปูุบัวเป็นคนเคี้ยวหมาก จึงลงไปเก็บใบพลูในขณะนั้นอยู่ๆก็มีเหตุการณ์ไม่คาดคิดมาก่อน คือ เสือ ได้ตระครุบและกัดจนตาย ณ ที่นั้น ดังนั้นชาวบ้านจึงตั้งชื่อว่า บ้านบัว(ดอกบัว) มาตลอดทุกวันนี้ ปัจจุบันบ้านบัว(ดอกบัว) เป็นหมู่บ้านนักพัฒนา หมู่บ้านพึ่งตนเอง และยังอยู่ภายในการปกครอง ของกํานันดีเด่นปี 2551และเป็นหมู่บ้านที่ผ่าน ระบบ มชช. ปี 2551 โดยมี นายบาล บุญก้ํา เป็นผู้ใหญ่บ้าน อีกทั้งยังเป็นหมู่บ้านที่ชนะเลิศตามโครงการเชิดชูเกียรติผู้นําเครือข่ายพัฒนาชุมชนดีเด่น เป็นหมู่บ้านเศรษฐกิจ พอเพีย ง “อยู่ เย็ นเป็น สุข ” และหมู่บ้านพึ่งตนเอง ระดับจังหวัดพะเยา ในปี 2551 และนายบาล บุญก้ํา ผู้ใหญ่บ้านได้รับการคัดเลือกเป็นผู้ใหญ่บ้านดีเด่น(แหนบทองคํา) ประจําปี 2551และปัจจุบันจากการประกวด ผลงานฯ ครั้ งที่ 2 ชุมชนบ้านดอกบั ว ตําบลบ้านตุ่น อําเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา ได้รับรางวัลชนะเลิ ศ ถ้วยพระราชทานพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ประเภทชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง สถานที่ตั้ง : บ้านบัว (ดอกบัว) หมู่ที่ 4 ตําบลบ้านตุ่น อําเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา
๑๘
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการและพัฒนารูปแบบกิจกรรมการท่องเที่ยวเฉพาะกลุ่มเพื่อแก้ไขปัญหาการท่องเที่ยวใน
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน ๒ โดย สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดพะเยา
LOW SEASON
กลุ่มอาชีพ “จักสานเข่งไม้ไผ่” ภู มิ ปั ญ ญาที่ เ กิ ด จากความคิ ด ริ เ ริ่ ม สร้ า งสรรค์ คิ ด ค้ น เครื่ อ งมื อ เครื่ อ งใช้ ใ นชี วิ ตประจํ า วั น จากวัตถุดิบที่อยู่ใกล้ตัว โดยนําไม้ไผ่ที่มีเป็นจํานวนมากในชุมชนมาจักสาน เป็นภาชนะเพื่อใช้ประโยชน์ อาทิ สุ่มไก่ เข่ง และนําออกจําหน่ายในลักษณะการรวมกลุ่มเป็นกลุ่มจักสานเข่ง ซึ่งช่วยสร้างรายได้เสริมให้กับชาวบ้านบัวเป็น อย่างดี เพราะมีตลาดรองรับ ที่แน่นอน ปัจจุบันส่งออกจําหน่ายไปต่างประเทศอีกทั้งยังได้คํานึงถึงการอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อมและการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน ชุมชนจะปลูกไผ่ทดแทนไม้ไผ่ที่นํามาจักสานเข่ง และสุ่ม อย่างต่อเนื่อง
เตาแกลบชีวมวลตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง นายเสาร์แก้ว ใจบาล ปราชญ์ชาวบ้านแห่งบ้านบัว ผู้ที่ริเริ่มสร้างสรรผลงานด้านพลังงานทดแทน โดยได้เริ่มทําเตาแก๊สชีว ภาพจากมูลโค ต่อมาได้พัฒนาเตาแกลบชีวมวล ซึ่งมีประสิทธิภ าพดีนําเอา “แกลบ” วัตถุดิบที่เหลือใช้นํามาผสมกับความคิดสร้างสรรค์พัฒนามาเป็นเชื้อเพลิงสําหรับใช้ในครัวเรือน
๑๙
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการและพัฒนารูปแบบกิจกรรมการท่องเที่ยวเฉพาะกลุ่มเพื่อแก้ไขปัญหาการท่องเที่ยวใน
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน ๒ โดย สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดพะเยา
LOW SEASON
การตีมีดบ้านร่องไฮ “มีด” คําสั้นๆ ที่มีความหมายและมีความสําคัญต่อการใช้ชีวิตประจําวันของมนุษย์เรามาตั้งแต่ โบราณ ซึ่งการตีมีด 1 ด้ามต้องใช้ทั้งแรงกาย แรงใจ และทนต่อความเมื่อยล้า “สล่าบูรณ์” แห่งบ้านร่องไฮ จังหวัด พะเยา ผู้ รั กษาและอนุ รั กษ์ภูมิปั ญญาการตีมีดจากอดีตสู่ ปัจจุบันกว่า 50 ปี สื บทอดภูมิปัญญาการตีมีดจาก บรรพบุรษเริ่มหัดการตีมีดตั้งแต่ ป.4 จนสร้างอาชีพนี้เป็นอาชีพหลักที่สร้างตัวเองและครอบครัวจวบจนปัจจุบัน สถานที่ตั้ง : บ้านร่องไฮ ตําบลแม่ใส อําเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา
ครกหินบ้านงิ้ว อาชีพการทําครกหิ น เป็ น อาชีพที่ได้รับการสื บทอดมาตั้งแต่รุ่นปูุย่าตายาย กลุ่ มคนสมัยใหม่ จึงเล็งเห็นว่าอาชีพนี้ควรจะได้รับการสืบทอดต่อไป จึงได้มีการรวมกลุ่มและร่วมกันจัดตั้งกลุ่มทําครกหินขึ้นมา ตั้งแต่ปี พ.ศ.2551 ซึ่งการทําครกหินในสมัยก่อนนั้นจะใช้เวลานานมากในการเจาะหิ นให้เป็นครกหินได้ในแต่ละ ลูก รวมไปถึงการจัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการทําครกหินนั้นก็หาได้ยากมากแต่ในปัจจุบันการทําครกหินมีขั้นตอนการ ทําที่สะดวกรวดร็วมากขึ้นกว่าแต่ก่อนเป็นอย่างมากเนื่องจากกลุ่มครกหินได้นําเอาเทคโนโลยีมาใช้ในการสกัดและ เจาะครกหินในบางขั้นตอนจึงทําให้ง่า ยต่อการจัดทําครกหิน จากการที่หมู่บ้านผลิตครกได้ประมาณ 300 ลูกต่อ เดือนและจําหน่ายครกหินในราคาลูกละ 200 บาท สถานที่ตั้ง : บ้านงิ้วใต้ ตําบลบ้านสาง อําเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา
๒๐
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการและพัฒนารูปแบบกิจกรรมการท่องเที่ยวเฉพาะกลุ่มเพื่อแก้ไขปัญหาการท่องเที่ยวใน
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน ๒ โดย สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดพะเยา
LOW SEASON
ผลิตภัณฑ์ผักตบชวาภายใต้แบรนด์ “ชวาวาด” เมื่อปี 2522 จากนโยบายของจังหวัดที่ต้ องการสนับสนุนให้ชาวบ้านจัดตั้งกลุ่มอาชีพในชุมชน และได้เชิญวิทยาการจากกรุงเทพฯ และศูนย์ศิลปาชีพบางไทรมาแนะนําวิธีการสานหมวก ตะกร้า และกระจาด รูป ทรงต่างๆ ต่อมาเมื่ออุตสาหกรรมจั งหวัดเข้ามาสนับสนุนส่งวิทยากรเข้ามาสอน จึงพัฒนาทั้งรูปแบบและ คุณภาพให้ ดียิ่ งขึ้น ได้จ ดทะเบี ย นก่อตั้งกลุ่ มขึ้นมาเมื่อปี 2542 มีส มาชิกกลุ่ มประมาณ 20 คน หั ว หน้ากลุ่ ม “ปูาวาด” จะทําหน้าที่เป็นผู้ออกแบบและคิดค้นพัฒนารูปแบบและการผลิตอยู่เสมอ ในด้านรูปแบบการผลิตได้ทํา เพิ่มให้ห ลากหลายขึ้นจากเดิมโดยทําเพิ่มในผลิตภัณฑ์ประเภทกระเป๋าหมวก รองเท้า และอื่นๆ อีกมากมาย เพื่อให้ตรงกับความต้องการของตลาด สถานที่ตั้ง : บ้านสันปุาม่วง ตําบลสันปุาม่วง อําเภอเมือง จังหวัดพะเยา
หมู่บ้านถิ่น ตาบลบ้านถิ่น อาเภอเมือง จังหวัดแพร่ บ้านถิ่นไทลื้อ ลือชื่อของเก่า ที่สักการะของเรา เจ้าคุณโอภาส พระธาตุถิ่นแถนหลวง ปวงชน รักษา ศิลปวัฒนธรรม น้อมนําเศรษฐกิจพอเพียง “ไตลื้อบ้านถิ่น” ชาวไทกลุ่มหนึ่งซึ่งมีถิ่นฐานเดิมอยู่ในแถบแคว้น สิบ สองปัน นา ปั จจุ บั น บ้ านถิ่น เป็ นบ้ านของคนไตลื้อที่มีอัตลักษณ์ของตนเอง ได้แก่ ภาษาไตลื้ อ มีศิล ปะการ แต่ ง กาย มี ลี ล าการฟู อ นรํ า มี ฝี มื อ ทางด้ า นหั ต ถกรรมทอผ้ า การประดิ ษ ฐ์ สิ่ ง ของเครื่ อ งใช้ ที่ ส วยงาม ศิ ล ปะ และประเพณีต่างๆ รวมถึงการดําเนินชีวิตที่เรียบง่าย พอเพียง พึ่งพาตนเอง อยู่รวมกันเป็นกลุ่มเอื้ออาทรซึ่งกัน และกัน สถานที่ตั้ง : บ้านถิ่น ตําบลบ้านถิ่น อําเภอเมือง จังหวัดแพร่
๒๑
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการและพัฒนารูปแบบกิจกรรมการท่องเที่ยวเฉพาะกลุ่มเพื่อแก้ไขปัญหาการท่องเที่ยวใน
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน ๒ โดย สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดพะเยา
LOW SEASON
๒๒
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการและพัฒนารูปแบบกิจกรรมการท่องเที่ยวเฉพาะกลุ่มเพื่อแก้ไขปัญหาการท่องเที่ยวใน
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน ๒ โดย สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดพะเยา
LOW SEASON
หมู่บ้านดอนมูล ตาบลศรีภูมิ อาเภอท่าวังผา จังหวัดน่าน กลุ่มชาติพันธุ์ไทลื้อเรียกตนเองตามสําเนียงท้องถิ่นว่า “ไตลื้อ” หรือเรียกแต่เพียงสั้นๆว่า “ลื้อ” แต่ เ ดิ ม ชาวไทลื้ อ มี ถิ่ น ฐานอยู่ บ ริ เ วณแคว้ น สิ บ สองปั น นา ในประเทศสาธารณรั ฐ ประชาชนจี น ในสมั ย ต้นรัตนโกสินทร์เจ้าเมืองน่านในอดีตก็ได้ทําสงครามกวาดต้อนชาวไทลื้อจากดินแดนสิบสองพันนาเข้ามาในพื้นที่ เมืองน่านเป็นจํานวนมาก ซึ่งส่วนหนึ่งได้ตั้งถิ่นฐานบริเวณที่แสนอุดมสมบูรณ์ ณ หมู่บ้านแห่งนี้ โดยครอบครัว ไทลื้อเป็นครอบครัวใหญ่ ดั งนั้นบ้านจึงต้องสร้างเป็นบ้านหลังใหญ่ เฮินหรือบ้านที่สร้างตามสถาปัตยกรรมไทลื้อ แบบดั้งเดิม นั้นจะมีลักษณะหลังคาสูงมุงด้วย แปูนเกล็ด ใต้ถุนสูง เข้าไม้ด้วยวิธีการเจาะรูแล้วใช้ลิ่ม ประกอบเป็น โครงสร้าง เสาก็เจาะรูใส่แวง เป็นต้น ซึ่งในอดีตเฮินไทลื้อจะมีพื้นที่กว้างขวางสามารถรับรองแขกมาเยือนที่บ้าน โดยเจ้ าของบ้ านจะจั ดให้ แขกผู้ มาเยื อนนอนที่เติ๋น (ชานนอกบ้าน) และจะมีการต้อนรับด้ว ยข้าวปลาอาหาร เป็นอย่างดี ปัจจุบันพัฒนาเป็นการอาศัยอยู่ร่วมกันระหว่างนักท่องเที่ยวกับเจ้าของบ้านในลักษณะโฮมสเตย์ เพื่ อ รองรั บ นั กท่อ งเที่ ย วที่ ต้องการสั มผั ส และศึก ษาวิ ถีชี วิตความเป็น อยู่ข องชุ มชนไทลื้ อ ซึ่ งจะมีจัด กิจกรรม ให้นักท่องเที่ยวได้ทํากิจกรรมที่แสดงถึงศิลปวัฒนธรรมประเพณีที่ดีงามร่วมกับเจ้าของบ้าน เช่น พิธีบายศรีสู่ขวัญ เพื่อความเป็นสิริมงคล ชมวัฒนธรรมและศิล ปะการแสดงพื้นบ้าน ชิมอาหารขันโตก และอาหารไทลื้อ และชม การผ้าย้อมสีธรรมชาติ การแปรรูปสินค้าจากผ้าฝูายธรรมชาติ เป็นต้น สถานที่ตั้ง : บ้านดอนมูล ตําบลศรีภูมิ อําเภอท่าวังผา จังหวัดน่าน
๒๓
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการและพัฒนารูปแบบกิจกรรมการท่องเที่ยวเฉพาะกลุ่มเพื่อแก้ไขปัญหาการท่องเที่ยวใน
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน ๒ โดย สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดพะเยา
LOW SEASON
วัดหนองบัว วัดหนองบัวเป็นวัดเก่าแก่ของหมู่บ้าน จากคําบอกเล่าของผู้เฒ่าผู้แก่ในหมู่บ้านทําให้สันนิษฐานได้ว่าวัด ไทลื้อแห่งนี้สร้างราว พ.ศ. ๒๔๐๕ (ตรงกับสมัยรัชกาลที่ ๔) ภาพจิตรกรรมฝาผนังในโบสถ์เล่าเรื่องในปัญญาสชาดก ซึ่งเป็นพระชาติหนึ่งของพระพุทธเจ้า สันนิษฐานว่าเขียนโดย “ทิดบัวผัน” ช่างเขียนลาวพวนที่บิดาของครูบาหลวงสุ ชื่อนายเทพ ซึ่งเป็นทหารของเจ้าอนันตยศ (เจ้าเมืองน่านระหว่าง พ.ศ. ๒๓๙๕-๒๔๓๔) ได้นํามาจากเมืองพวน ในแคว้น หลวงพระบาง นอกจากนั้นยังมีนายเทพและพระแสนพิจิตรเป็นผู้ช่วยเขียนจนเสร็จ และยังมีภาพของเรือกลไฟ และดาบ ปลายปืนซึ่งเริ่มเข้ามาในประเทศไทยในสมั ยรัชกาลที่ ๔ ถึงรัชกาลที่ ๕ ภาพจิตรกรรมที่วัดหนองบัวแห่งนี้ ได้สะท้อนให้ เห็นสภาพความเป็นอยู่ของผู้คนในสมัยนั้นได้เป็นอย่างดี โดยเฉพาะการแต่งกายของผู้หญิงที่นุ่งผ้าซิ่นลายน้ําไหล หรือ ผ้าซิ่นตีนจกที่สวยงาม นับว่ามีคุณค่าทางศิลปะและความสมบูรณ์ของภาพใกล้เคียงกั บภาพจิตรกรรมฝาผนังของวัด ภูมินทร์ในเมืองน่าน นอกจากภาพจิตรกรรมแล้วที่ฐานพระประธานยังประดิษฐานพระพุทธรูปล้านนาองค์เล็กอยู่หลาย องค์ และยังมีบุษบกสมัยล้านนาอยู่ด้วย นอกจากนี้มีบ้านจําลองไทลื้อ (เฮือนไทลื้อมะเก่า) มีอุปกรณ์การประกอบอาชีพ ของชาวไทลื้อจัดแสดงไว้ สถานที่ตั้ง : บ้านหนองบัว ตําบลปุาคา อําเภอท่าวังผา จังหวัดน่าน
๒๔
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการและพัฒนารูปแบบกิจกรรมการท่องเที่ยวเฉพาะกลุ่มเพื่อแก้ไขปัญหาการท่องเที่ยวใน
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน ๒ โดย สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดพะเยา
LOW SEASON
พิพิธภัณฑ์ลื้อลายคา ตาบลศรีดอนชัย อาเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย พิพิธภัณฑ์แห่งนี้สะท้อนให้เห็นความตั้งใจอันแน่วแน่ที่จะสืบทอดมรดกทางวัฒนธรรมอันดีงาม ให้ดํารงอยู่สู่รุ่น ลูกหลาน เป็นพิพิธภัณฑ์ที่จัดแสดง 2 ภาษา ทั้งไทยและอังกฤษ บอกเล่าประวัติความเป็นมา ของชาวไทลื้อแต่โบราณสืบจนไทลื้อในปัจจุบันที่กระจัดกระจายอยู่ทั่วภาคเหนือของไทย รวมถึงไทลื้อในศรีดอนชัย ด้วยเช่นกัน และจัดแสดงประวัติความเป็นมาของผ้าเก่าของไตลื้อ สถานที่ตั้ง : ตําบลศรีดอนชัย อําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย
๒๕
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการและพัฒนารูปแบบกิจกรรมการท่องเที่ยวเฉพาะกลุ่มเพื่อแก้ไขปัญหาการท่องเที่ยวใน
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน ๒ โดย สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดพะเยา
LOW SEASON
หมู่บ้านท่าขันทอง ตาบลบ้านแซว อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย หมู่ บ้ านโฮมสเตย์ บ้ า นท่ า ขัน ทอง เป็น ชุ ม ชนอี ส านล้ านนาที่ อ พยพมาจากหลายจั ง หวัด ทาง ภาคอีสาน มารวมตัวกันอยู่ที่บ้านท่าขันทอง ตําบลบ้านแซว อําเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย ตั้งบ้านเรือน ส่ ว นใหญ่ ตั้ ง อยู่ บ นฝั่ ง แม่ น้ํ า โขง มาพร้ อ มกั บ วั ฒ นธรรมอี ส าน เช่ น การทอเสื่ อ การทอผ้ า การเลี้ ย งจิ้ ง หรี ด การละเล่นกลองยาว ฟูอนเซิ้งอีสาน การเปุาแคนหมอลํา ส่วนอาหารการกินที่ขึ้นชื่อได้แก่ ส้มตําอีสาน ข้าวจี่ แจ่วบอง รวมทั้งวัฒนธรรมการต้อนรับที่อบอุ่นเหมือนญาติพี่น้อง ลักษณะเด่นอีกประการหนึ่งของบ้านท่าขันทอง คือความสะอาด ความไว้วางใจกันและกัน โดยจะเห็นได้จากการที่ไม่มีรั้วบ้าน แต่ยึดหลักเพื่อนบ้านที่ดีคือรั้วบ้าน ที่ดีคือความสัมพันธ์อันดีงาม สถานที่ตั้ง : บ้านท่าขันทอง ตําบลบ้านแซว อําเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
๒๖
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการและพัฒนารูปแบบกิจกรรมการท่องเที่ยวเฉพาะกลุ่มเพื่อแก้ไขปัญหาการท่องเที่ยวใน
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน ๒ โดย สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดพะเยา
LOW SEASON
และยังได้ชมวิถีชนเผ่าต่างๆ ณ หมู่บ้านแม่แอบ ตําบลบ้านแซว ได้แก่ เผ่าลาหู่ เผ่าลั้ว และเผ่าอาข่า
๒๗
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการและพัฒนารูปแบบกิจกรรมการท่องเที่ยวเฉพาะกลุ่มเพื่อแก้ไขปัญหาการท่องเที่ยวใน
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน ๒ โดย สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดพะเยา
LOW SEASON
หมู่บ้านร่องปลายนา ตาบลบัวสลี อาเภอแม่ลาว จังหวัดเชียงราย บ้ า นร่ อ งปลายนา หมู่ บ้ า นเล็ ก ๆ ที่ ซ่ อ นตั ว เองอยู่ ใ นอํ า เภอแม่ ล าว ของจั ง หวั ด เชี ย งราย เป็นหมู่บ้านขนาดเล็ก มี 58 ครัวเรือน กับประชากรเพียง 220 คน หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงที่ได้รับการยอมรับ มีรางวัลการันตีที่หลากหลาย เริ่มต้นมาจากการดําเนินกิจกรรมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยผู้นําชุมชน ได้ส่งเสริมสนับสนุนให้คนในหมู่บ้านดําเนินวิถีชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงขั้ นพื้นฐาน คือ มีความพอเพียง ในการดํารงชีวิต ลดค่าใช้จ่ายที่ไม่จําเป็น ไม่มีหนี้สิน โดยเริ่มจากครัวเรือนต้นแบบ 30 ครัวเรือน เมื่อครัวเรือน ต้นแบบสามารถใช้เศรษฐกิจพอเพียงเข้ามาดําเนินชีวิตจนมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นจึงได้ขยายผลไปสู่ชุมชน จากนั้น จึงเริ่มกระบวนการส่งเสริมการเรียนรู้สําหรับประชาชนในชุมชน ทั้งการถ่ายทอด การแลกเปลี่ยนประสบการณ์ การสืบทอดภูมิปัญญา วัฒนธรรม ค่านิยม และเอกลักษณ์ชุมชน โดยเน้นกระบวนการเรียนรู้เพื่อวิถีชีวิตของคน ในชุมชนก่อให้เกิดชุมชนแห่งการเรียนรู้ และมุ่งพัฒนาตนเอง ท้ายที่สุดอยู่อย่างมีความสุขอย่างยั่งยืน สถานที่ตั้ง : บ้านร่องปลายนา ตําบลบัวสลี อําเภอแม่ลาว จังหวัดเชียงราย
๒๘
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการและพัฒนารูปแบบกิจกรรมการท่องเที่ยวเฉพาะกลุ่มเพื่อแก้ไขปัญหาการท่องเที่ยวใน
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน ๒ โดย สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดพะเยา
LOW SEASON
สิ่งที่ทานอกเหนือจาก TOR จัดทําเสื้อยืด พร้อมสกรีนโลโก้การจัดงาน สําหรับผู้เข้าร่วมกิจกรรมทุกคน
๒๙
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการและพัฒนารูปแบบกิจกรรมการท่องเที่ยวเฉพาะกลุ่มเพื่อแก้ไขปัญหาการท่องเที่ยวใน
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน ๒ โดย สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดพะเยา
LOW SEASON
สรุปผลแบบประเมินความพึงพอใจ กิจกรรมศึกษาดูงานวัฒนธรรม วิถีชีวิต ผลิตภัณฑ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น และการท่องเที่ยวกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน ๒ “ชุมชนวัฒนธรรมวิถลี ้านนาตะวันออก” โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการและพัฒนารูปแบบกิจกรรมการท่องเที่ยวเฉพาะกลุ่ม เพื่อแก้ไขปัญหาการท่องเที่ยวใน Low Season โดย สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดพะเยา ระหว่างวันที่ 14 - 17 เดือนมกราคม พ.ศ. 2558 กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน ๒ โดย สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดพะเยา การสรุปแบบประเมินความพึงพอใจของผู้ร่วมกิจกรรมศึกษาดูงานวัฒนธรรม วิถีชีวิต ผลิตภัณฑ์ ภูมิปัญญาท้องถิ่น และการท่องเที่ยวกลุ่ม จังหวัดภาคเหนือตอนบน ๒ “ชุมชนวัฒนธรรมวิถีล้านนาตะวันออก” ภายใต้โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการและพัฒนารูปแบบกิจกรรมการท่องเที่ยวเฉพาะกลุ่ม เพื่อแก้ไขปัญหา การท่องเที่ยวใน Low Season จํานวน 65 ชุด คิดเป็นร้อยละ76.47 ของผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด สามารถ สรุปและประมวลผล ได้ดังนี้
ปานกลาง (3)
น้อย (2)
น้อยที่สุด (1)
ค่าเฉลี่ย
ความหมาย
รายการประเมิน
มาก (4)
ที่
มากที่สุด (5)
ระดับความพึงพอใจ
46 25 31 23 38 43 42 42
18 30 24 34 25 21 20 20
1 9 10 7 2 3 3
1 1 1 -
-
4.69 4.22 4.32 4.22 4.55 4.63 4.60 4.60
ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดีมาก
40
24
1
-
-
4.60 ดีมาก
33 32 36 36 45
28 24 24 26 19
4 9 4 3 1
1 -
-
4.45 4.35 4.46 4.51 4.68
1 การคัดเลือกสถานที่ศึกษาดูงาน - วัฒนธรรมหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงบ้านดอกบัว จังหวัดพะเยา - ภูมิปัญญาการตีมีดบ้านร่องไฮ “สล่าบูรณ์” - ภูมิปัญญาการจักสานผักตบชวา “ชวาวาด” - ภูมิปัญญาการสกัดครกหินบ้านงิ้ว - วัฒนธรรมไทลื้อบ้านถิ่น จังหวัดแพร่ - วัฒนธรรมไทลื้อบ้านดอนมูล - หนองบัว จังหวัดน่าน - พิพิธภัณฑ์ลื้อลายคํา อําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย - วัฒนธรรมไทยอีสานบ้านท่าขันทอง จังหวัดเชียงราย - วัฒนธรรมหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงบ้านร่องปลายนา จังหวัดเชียงราย
๒ ๓ ๔ ๕ ๖
การจัดกําหนดการศึกษาดูงาน ความเหมาะสมของช่วงเวลาในการจัดกิจกรรม ความพึงพอใจด้านที่พักโฮมสเตย์ ความพึงพอใจในการจัดอาหารและน้ําดื่ม การจัดยานพาหนะเดินทาง
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการและพัฒนารูปแบบกิจกรรมการท่องเที่ยวเฉพาะกลุ่มเพื่อแก้ไขปัญหาการท่องเที่ยวใน
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน ๒ โดย สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดพะเยา
ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดีมาก
๓๐
LOW SEASON
หมายเหตุ
น้อย (2)
น้อยที่สุด (1)
ความหมาย
ปานกลาง (3)
๗ ประโยชน์และความรู้ที่ได้รับการศึกษาดูงาน ๘ ความตั้งใจและเอาใจใส่ในการให้บริการของ เจ้าหน้าที่ระหว่างการเดินทาง ๙ สรุปโดยภาพรวมของการจัดศึกษาดูงานครั้งนี้
มาก (4)
รายการประเมิน
มากที่สุด (5)
ที่
ค่าเฉลี่ย
ระดับความพึงพอใจ
50
15
-
-
-
4.77 ดีมาก
42
21
2
-
-
4.62 ดีมาก
41
22
2
-
-
4.60 ดีมาก
การแปลความหมายของระดับค่าเฉลี่ยมีเกณฑ์การวัด ดังนี้ ระดับค่าเฉลี่ย 4.21 - 5.00 ความหมาย ระดับค่าเฉลี่ย 3.41 - 4.20 ความหมาย ระดับค่าเฉลี่ย 2.61 - 3.40 ความหมาย ระดับค่าเฉลี่ย 1.81 - 2.60 ความหมาย ระดับค่าเฉลี่ย 1.00 - 1.80 ความหมาย
ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช้ ควรปรับปรุง
แผนภูมิแสดงการสรุปผลประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรม 60
มากที่สุด 50
มาก 40
ปานกลาง 30
น้อย 20
น้อยที่สุด 10 0
๓๑
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการและพัฒนารูปแบบกิจกรรมการท่องเที่ยวเฉพาะกลุ่มเพื่อแก้ไขปัญหาการท่องเที่ยวใน
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน ๒ โดย สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดพะเยา
LOW SEASON
จากการสรุ ป แบบประเมิน ความพึ ง พอใจของผู้ ร่ว มกิ จกรรมศึ ก ษาดู ง านวั ฒ นธรรม วิ ถี ชี วิ ต ผลิตภัณฑ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น และการท่องเที่ยวกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน ๒ “ชุมชนวัฒ นธรรมวิถีล้านนา ตะวัน ออก”ภายใต้โ ครงการส่ งเสริ ม การบริห ารจัดการและพัฒ นารูปแบบกิจกรรมการท่องเที่ย วเฉพาะกลุ่ ม เพื่อแก้ไขปัญหาการท่องเที่ยวใน Low Season พบว่า ผู้เข้าร่วมกิจกรรมส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในระดับ “ดีมาก” สามารถเรียงลําดับค่าเฉลี่ยความคิดเห็นจากมากไปหาน้อย ดังนี้
ประโยชน์และความรู้ที่ได้รับการศึกษาดูงาน การคัดเลือกสถานที่ศึกษาดูงาน - วัฒนธรรมหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงบ้านดอกบัว จังหวัดพะเยา การจัดยานพาหนะเดินทาง การคัดเลือกสถานที่ศึกษาดูงาน - วัฒนธรรมไทลื้อบ้านดอนมูล - หนองบัว จังหวัดน่าน ความตั้งใจและเอาใจใส่ในการให้บริการ ของเจ้าหน้าที่ระหว่างการเดินทาง สรุปโดยภาพรวมของการจัดศึกษาดูงานครั้งนี้ การคัดเลือกสถานที่ศึกษาดูงาน - พิพิธภัณฑ์ลื้อลายคํา อําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย การคัดเลือกสถานที่ศึกษาดูงาน - วัฒนธรรมไทยอีสานบ้านท่าขันทอง จังหวัดเชียงราย การคัดเลือกสถานที่ศึกษาดูงาน - วัฒนธรรมหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงบ้านร่องปลายนา จังหวัดเชียงราย การคัดเลือกสถานที่ศึกษาดูงาน - วัฒนธรรมไทลื้อบ้านถิ่น จังหวัดแพร่ ความพึงพอใจในการจัดอาหารและน้ําดื่ม ความพึงพอใจด้านที่พักโฮมสเตย์ การจัดกําหนดการศึกษาดูงาน ความเหมาะสมของช่วงเวลาในการจัดกิจกรรม การคัดเลือกสถานที่ศึกษาดูงาน - ภูมิปัญญาการจักสานผักตบชวา “ชวาวาด” การคัดเลือกสถานที่ศึกษาดูงาน - ภูมิปัญญาการตีมีดบ้านร่องไฮ “สล่าบูรณ์” การคัดเลือกสถานที่ศึกษาดูงาน - ภูมิปัญญาการสกัดครกหินบ้านงิ้ว
(ค่าเฉลี่ย = 4.77) (ค่าเฉลี่ย = 4.69) (ค่าเฉลี่ย = 4.68) (ค่าเฉลี่ย = 4.63) (ค่าเฉลี่ย = 4.62) (ค่าเฉลี่ย = 4.60) (ค่าเฉลี่ย = 4.60) (ค่าเฉลี่ย = 4.60) (ค่าเฉลี่ย = 4.60) (ค่าเฉลี่ย = 4.55) (ค่าเฉลี่ย = 4.51) (ค่าเฉลี่ย = 4.46) (ค่าเฉลี่ย = 4.45) (ค่าเฉลี่ย = 4.35) (ค่าเฉลี่ย = 4.32) (ค่าเฉลี่ย = 4.22) (ค่าเฉลี่ย = 4.22)
๓๒
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการและพัฒนารูปแบบกิจกรรมการท่องเที่ยวเฉพาะกลุ่มเพื่อแก้ไขปัญหาการท่องเที่ยวใน
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน ๒ โดย สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดพะเยา
LOW SEASON
สิ่งที่ท่านประทับใจในการศึกษาดูงานครั้งนี้ จัดให้ดีเยี่ยม สมควรแก่เวลา เหมาะสมกับอากาศ Low Season การวางแผน การจัดการและผู้บริหารโครงการ ประทับใจทุกกิจกรรมเป็นกิจกรรมที่ดีและได้รับประโยชน์เป็นอย่างยิ่ง และสามารถนําไปปรับใช้ได้ ได้เห็นได้ซึมซับวัฒนธรรมและเกษตรตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงที่สามารถนําไปปฏิบัติจริงได้เป็นอย่างดี การให้บริการของพนักงานบริษัททุกคน ประทับใจด้านการให้บริการ การให้ข้อมูล ในระหว่างทางมีความปลอดภัยมาก การให้บริการของทีมงาน ได้รู้ถึงเศรษฐกิจพอเพียงของแต่ละพื้นที่และความแตกต่างของวัฒนธรรมของแต่ละจังหวัด การเอาใจใส่ในการให้บริการของเจ้าหน้าที่และทีมงาน การบริ ห ารจั ด การของที ม งานมี ร ะเบี ย บ กระชั บ เวลา ความสามั ค คี ก ลมเกลี ย วกั น ของเครื อ ข่ า ย ยอดเยี่ยมมาก ประทับใจทุกที่ที่ท่านพาไปชม การบริการของผู้จัดและเจ้าของกิจกรรม ทุกๆสถานที่ที่ไปเยี่ยมชม ได้ความรู้หลายๆอย่าง ทุกสถานที่ที่ไปศึกษาดูงาน ประทับใจมากในครั้งนี้ ใช้ได้เลย มีความแตกต่างและเป็นประโยชน์ การประสานงานและการดําเนินกิจกรรมดีมาก การทําเตาแกลบที่บ้านดอกบัว ทุกสถานที่ที่ไปดูงาน โดยเฉพาะด้านการจัดการเศรษฐกิจพอเพียง การจัดประชุม ประทับใจทุกรูปแบบ การทําเตาจากแกลบและเตาไม่มีควันไฟบ้านพ่อเสาร์แก้ว การศึกษาดูงานแต่ละแห่ง การต้อนรับจากชุมชนหมู่บ้าน จากทุกๆหมู่บ้าน ชอบการแสดงต่างๆที่ได้จัดเตรียมการแสดง ดีมากทุกๆที่ การเตรียมพร้อมของสถานที่ที่ไปดูงาน การมีความเป็นมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีแต่ละจังหวัด หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียงในแต่ละหมู่บ้าน ในบ้านดอกบัวมีความเรียบร้อย การได้เห็นวัฒนธรรมของแต่ละจังหวัดทุกๆจังหวัดที่ได้ไปม การได้ศึกษาความเป็นอยู่ของชนเผ่าและชาวบ้าน ความพร้อมของทีมงานและการมีส่วนร่วมของคณะศึกษาดูงาน การใช้ชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง ผักสวนครัว วิถีชีวิตของคนชุมชนที่ได้ไปศึกษาดูงานมา การบริหารจัดการหมู่บ้าน วัฒนธรรมหมู่บ้าน เศรษฐกิจพอเพียง บ้านดอกบัวจังหวัดพะเยา โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการและพัฒนารูปแบบกิจกรรมการท่องเที่ยวเฉพาะกลุ่มเพื่อแก้ไขปัญหาการท่องเที่ยวใน
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน ๒ โดย สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดพะเยา
๓๓
LOW SEASON
สิ่งแวดล้อมในชุมชน อัธยาศัยของคนในชุมชน มีน้ําใจ ต้อนรับขับสู้ดีมาก บ้านไทลื้อ บ้านดอนมูล ทุกๆวิถีชีวิตแต่ละพื้นที่มีความแตกต่างกัน ประทับใจ ที่พักทุกที่ดูแลเป็นอย่างดี ทีมงานจัดได้ดี ภูมิปัญญาการจักสานผักตบชวา “ชวาวาด” โฮมสเตย์ อาหาร รถ ดีมาก
สิ่งที่ท่านเห็นว่าควรปรับปรุงในการศึกษาดูงานในครั้งนี้ ควรมีการศึกษาดูงานในแต่ละแห่งให้นานกว่านี้ ควรจะมีโทรโข่งเพื่อบอกประกาศขึ้นรถ-ลงรถ และรู้สถานที่เฉพาะวิทยากร ช่วงเวลาในการศึกษาดูงานกับระยะเวลาในการเดินทาง เสียเวลากับการเดินทางมากไป ถ้ามีเวลาดูงาน ศึกษาในชุมชนมากกว่านี้จะได้ความรู้มากขึ้น การจัดตารางการเดินทางและโปรแกรมการตารางดูงานให้ชัดเจน การถ่ายทอดความรู้จากกลุ่มเรียนรู้น้อยเกินไป ปรับปรุงเรื่องเวลาการเดินทางให้เร็วขึ้นอีก กําหนดเวลาที่ชัดเจนและทําตามขั้นตอนตามแผนให้ได้และคํานึงถึงระยะเวลาในการเดินทางด้วย เส้นทางในการจัดกิจกรรมควรวางเส้นทางให้เหมาะสม ความเหมาะสมของช่วงเวลาและสถานที่ของที่ศึกษาดูงาน Home Stay บางแห่งยังไม่มีความพร้อมในการรับผู้บริการ เช่น Home Stay ที่บ้านท่าขันทอง (ทั้งนีไ้ ด้ให้ข้อเสนอแนะเจ้าของบ้านเป็นที่เรียบร้อยแล้วเพราะกําลังเปิดใหม่) บ้านพักโฮมสเตย์บางพื้นที่ยังไม่พร้อม การจัดที่พักโฮมสเตย์ควรจัดให้มีความสะอาดกว่านี้ ห้องน้ําในที่พักควรสะอาด ระยะเวลาเพิ่มขึ้นอีกนิด เพิ่มสัก 1 คืน การจัดงานควรวางแผนเส้นทางและศึกษาเส้นทางให้ดีก่อน ควรสํารวจเส้นทางจริงก่อนการเดินทาง พักจริงๆ สัก 2 แห่ง 1 วันเต็มๆ ระยะเวลาในการศึกษาดูงานถ้าเป็นไปได้ อยากเรียนรู้จุดละ 1 วัน โดยเลือกชุมชนที่มีความหลากหลาย เพราะจะได้มีแหล่งเรียนรู้อย่างเต็มที่ ข้อเสนอแนะอื่นๆ อยากให้จัดทุกปี ทีมงานของมหานทียอดเยี่ยมมาก ควรเพิ่มเวลาการศึกษาดูงานเพิ่มวันขึ้น เวลาน้อยไม่เพียงพอ ควรจัดงานแบบนี้อีกในปีต่อไป ควรมีการจัดศึกษาดูงานแบบนี้อีก อยากจะให้มีโครงการนี้ขึ้นอีก ขอบคุณทีมงานทุกท่าน โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการและพัฒนารูปแบบกิจกรรมการท่องเที่ยวเฉพาะกลุ่มเพื่อแก้ไขปัญหาการท่องเที่ยวใน
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน ๒ โดย สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดพะเยา
๓๔
LOW SEASON
ศึกษาดูงานไปแล้วควรติดตามงานเพื่อจะได้รู้เขา - รู้เรา ควรมีโครงการอย่างต่อเนื่องทุกๆปี ขอให้แจ้งให้ทราบก่อนล่วงหน้า ควรจัดกิจกรรมแบบนี้ทุกปี เปลี่ยนกลุ่มเปูาหมายใหม่เพื่อให้ได้เครือข่ายทางวัฒนธรรมเพิ่มเติม อยากให้มีการจัดโครงการอย่างต่อเนื่อง เช่น มีการฝึกทําโปรแกรมท่องเที่ยวแบบเชิงวัฒนธรรม ชื่นชมคณะทีมงานและการคัดเลือกหมู่บ้านได้ถูกใจมาก การให้คนอบรมแบ่งการนอนโดยน่าจะให้คนนั่งรถคันใดก็ให้พักบ้านกลุ่มเดียวกัน เพราะลําบากกระเป๋า อย่างอื่นดีมากๆ เอกสารการเรียนรู้จากชุมชนนั้นๆอยากให้มีรายละเอียดเยอะๆจะได้เอาไปศึกษาต่อยอด อยากให้จัดกิจกรรมอย่างนี้บ่อยครั้ง
๓๕
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการและพัฒนารูปแบบกิจกรรมการท่องเที่ยวเฉพาะกลุ่มเพื่อแก้ไขปัญหาการท่องเที่ยวใน
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน ๒ โดย สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดพะเยา
LOW SEASON
ภาคผนวก เอกสารแนบ 1 รายชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม จํานวน 82 คน
๓๖
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการและพัฒนารูปแบบกิจกรรมการท่องเที่ยวเฉพาะกลุ่มเพื่อแก้ไขปัญหาการท่องเที่ยวใน
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน ๒ โดย สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดพะเยา
LOW SEASON
รายชื่อผู้ร่วมกิจกรรม กิจกรรมศึกษาดูงานวัฒนธรรม วิถีชีวิต ผลิตภัณฑ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น และการท่องเที่ยวกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน ๒ “ชุมชนวัฒนธรรมวิถลี ้านนาตะวันออก” โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการและพัฒนารูปแบบกิจกรรมการท่องเที่ยวเฉพาะกลุ่ม เพื่อแก้ไขปัญหาการท่องเที่ยวใน Low Season โดย สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดพะเยา ระหว่างวันที่ 14 - 17 เดือนมกราคม พ.ศ. 2558 กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน ๒ โดย สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดพะเยา เครือข่ายวัฒนธรรมจังหวัดพะเยา จํานวน 55 คน ๑. นางสายรุ้ง ธาดาจันทน์ ๒. นางสาวนนทยา พวงงาม ๓. นายไสว ไชยเมือง ๔. นางกชพร วิสุทธินันท์ ๕. นางปราณี สุทธิพรมณีวัฒน์ ๖. นางจุรีพรรณ สันธิ ๗. นางสาวณัฐนฎา ณ น่าน ๘. นางอนุสรา โสตถิกุล ๙. นางอรไท จรัสดาราแสง ๑๐. นางสาวนราภรณ์ มหาวงค์ ๑๑. นางมนต์รัก ธีรานุสรณ์ ๑๒. นางสายรุ้ง สันทะบุตร ๑๓. นายรัชชาพงษ์ ต่อมคํา ๑๔. นายธรนิศ อรุณรัตน์ ๑๕. นางสาวแสงจันทร์ ใจวงศ์ ๑๖. นางสาววรประภา พินิจสุวรรณ ๑๗. นางวันทนี คําวัง ๑๘. นางสาวรจนา กล้าหาญ ๑๙. นางพัชรินทร์ อูปแก้ว ๒๐. นางสมศรี อุตมะ ๒๑. นางปิยะนาฎ ใหม่นา ๒๒. นางบุปผา ใจมาน ๒๓. น.ส.กานต์รวี ไก่งาม ๒๔. นายจรัล ไก่งาม ๒๕. นายภาคภูมิ ไชยขัติย์
วัฒนธรรมจังหวัดพะเยา ผู้อํานวยการกลุ่มส่งเสริม ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม ผู้อํานวยการกลุ่มยุทธศาสตร์และเฝูาระวังทางวัฒนธรรม หัวหน้าฝุายบริหารทั่วไป นักจัดการงานทั่วไปชํานาญการ นักวิชาการวัฒนธรรมชํานาญการ นักวิชาการวัฒนธรรมชํานาญการ นักวิชาการวัฒนธรรมชํานาญการ นักวิชาการวัฒนธรรมชํานาญการ นักวิชาการวัฒนธรรมชํานาญการ นักวิชาการวัฒนธรรมชํานาญการ นักวิชาการวัฒนธรรมชํานาญการ นักวิชาการวัฒนธรรมชํานาญการ นักวิชาการวัฒนธรรมชํานาญการ นักวิชาการวัฒนธรรมชํานาญการ นักวิชาการวัฒนธรรมชํานาญการ นักวิชาการเงินและบัญชีชํานาญการ นักวิชาการวัฒนธรรมปฏิบัติการ เครือข่ายวัฒนธรรมอําเภอเมือง จังหวัดพะเยา เครือข่ายวัฒนธรรมอําเภอเมือง จังหวัดพะเยา เครือข่ายวัฒนธรรมอําเภอเมือง จังหวัดพะเยา เครือข่ายวัฒนธรรมอําเภอเมือง จังหวัดพะเยา เครือข่ายวัฒนธรรมอําเภอเมือง จังหวัดพะเยา เครือข่ายวัฒนธรรมอําเภอเมือง จังหวัดพะเยา เครือข่ายวัฒนธรรมอําเภอเมือง จังหวัดพะเยา
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการและพัฒนารูปแบบกิจกรรมการท่องเที่ยวเฉพาะกลุ่มเพื่อแก้ไขปัญหาการท่องเที่ยวใน
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน ๒ โดย สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดพะเยา
๓๗
LOW SEASON
๒๖. นายมนัส การเร็ว ๒๗. นายหัสต์กมล เครือคํา ๒๘. นางจุมปา เบาะสาร ๒๙. นางนิด สมทรง ๓๐. พ.ต.ท. เครดิต วงศ์ใหญ่ ๓๑. นางสาวภมรพันธ์ วิชัยโน ๓๒. นางธุวพร หน่อแก้ว ๓๓. นางประไพศรี เสธา ๓๔. นางสุราง เสมอใจ ๓๕. นายมานพ ศรีวิลัย ๓๖. นางกาบจันทร์ แท่งยา ๓๗. นายมนัส การเร็ว ๓๘. น.ส. พรรณภทร สุวลัย ๓๙. นางนารีรัตน์ สิ้นเปียง ๔๐. นางผัดแก้ว บัวงาม ๔๑. นางจันทร์เพ็ญ ทะนานกลิ้ง ๔๒. นางสุชาดา ประมูล ๔๓. นางรัตนาภรณ์ ดอนเลย ๔๔. นางมาลี วงศ์ใหญ่ ๔๕. นางวิไล วงค์สืบ ๔๖. นายณัฐพล ขุ่ยคํา ๔๗. นายชัชวาล สุขศรีราษฎร์ ๔๘. นายบุญชวน ใจถา ๔๙. นายมนัส เวียงลอ ๕๐. นายพัลลภ พวงลําเจียก ๕๑. นายนิคม หมั่นกิจ ๕๒. นางดวงใจ บุญเรือน ๕๓. นายจํารัส ศรีใจวงศ์ ๕๔. นายชัชวาล ทองมา ๕๕. ส.อ. อินส่วน สมใจ
เครือข่ายวัฒนธรรมอําเภอเมือง จังหวัดพะเยา เครือข่ายวัฒนธรรมอําเภอเมือง จังหวัดพะเยา เครือข่ายวัฒนธรรมอําเภอเมือง จังหวัดพะเยา เครือข่ายวัฒนธรรมอําเภอเมือง จังหวัดพะเยา เครือข่ายวัฒนธรรมอําเภอเมือง จังหวัดพะเยา เครือข่ายวัฒนธรรมอําเภอเมือง จังหวัดพะเยา เครือข่ายวัฒนธรรมอําเภอเมือง จังหวัดพะเยา เครือข่ายวัฒนธรรมอําเภอเมือง จังหวัดพะเยา เครือข่ายวัฒนธรรมอําเภอเมือง จังหวัดพะเยา เครือข่ายวัฒนธรรมอําเภอเมือง จังหวัดพะเยา เครือข่ายวัฒนธรรมอําเภอเมือง จังหวัดพะเยา เครือข่ายวัฒนธรรมอําเภอเมือง จังหวัดพะเยา เครือข่ายวัฒนธรรมอําเภอเมือง จังหวัดพะเยา เครือข่ายวัฒนธรรมอําเภอเมือง จังหวัดพะเยา เครือข่ายวัฒนธรรมอําเภอเมือง จังหวัดพะเยา เครือข่ายวัฒนธรรมอําเภอเมือง จังหวัดพะเยา เครือข่ายวัฒนธรรมอําเภอเชียงคํา จังหวัดพะเยา เครือข่ายวัฒนธรรมอําเภอเชียงคํา จังหวัดพะเยา เครือข่ายวัฒนธรรมอําเภอเชียงคํา จังหวัดพะเยา เครือข่ายวัฒนธรรมอําเภอเชียงคํา จังหวัดพะเยา เครือข่ายวัฒนธรรมอําเภอแม่ใจ จังหวัดพะเยา เครือข่ายวัฒนธรรมอําเภอแม่ใจ จังหวัดพะเยา เครือข่ายวัฒนธรรมอําเภอแม่ใจ จังหวัดพะเยา เครือข่ายวัฒนธรรมอําเภอจุน จังหวัดพะเยา เครือข่ายวัฒนธรรมอําเภอจุน จังหวัดพะเยา เครือข่ายวัฒนธรรมอําเภอจุน จังหวัดพะเยา เครือข่ายวัฒนธรรมอําเภอจุน จังหวัดพะเยา เครือข่ายวัฒนธรรมอําเภอจุน จังหวัดพะเยา เครือข่ายวัฒนธรรมอําเภอจุน จังหวัดพะเยา เครือข่ายวัฒนธรรมอําเภอเชียงม่วน จังหวัดพะเยา
เครือข่ายวัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย จํานวน 10 คน ๑. ๒. ๓. ๔.
นายอดิศักดิ์ นาเมืองลักษณ์ นายกิตติ เมืองอินทร์ นายวุฒิชัย ใจหล้า นายอดิศร กันทาทอง
เครือข่ายวัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย เครือข่ายวัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย เครือข่ายวัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย เครือข่ายวัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการและพัฒนารูปแบบกิจกรรมการท่องเที่ยวเฉพาะกลุ่มเพื่อแก้ไขปัญหาการท่องเที่ยวใน
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน ๒ โดย สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดพะเยา
๓๘
LOW SEASON
๕. นายวีรศักดิ์ เชื้อข้าวซ้อน ๖. นายรัตเขต ฐานะมูล ๗. นางนภาพร โสรินทร์ ๘. นางสาวเทวิกา สมนา ๙. นางกนกวรรณ เมืองอินทร์ ๑๐. นางเนตรนภา เชื้อข้าวซ้อน
เครือข่ายวัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย เครือข่ายวัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย เครือข่ายวัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย เครือข่ายวัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย เครือข่ายวัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย เครือข่ายวัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย
เครือข่ายวัฒนธรรมจังหวัดแพร่ จํานวน 8 คน ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘.
นายวิทวัฒน์ ข่มอาวุธ นายเจริญ รัตนชมภู นายวัชร ทองประไพ นางสาวภทรพรรณ นรเดชานันท์ นางวรัญญา ปัญญามูล นางสาวบุญยก ขวานเพชร นางศรีสวาท สุวรรณกาศ นางไข่มุกข์ นิโครธะวุฒิ
เครือข่ายวัฒนธรรมจังหวัดแพร่ เครือข่ายวัฒนธรรมจังหวัดแพร่ เครือข่ายวัฒนธรรมจังหวัดแพร่ เครือข่ายวัฒนธรรมจังหวัดแพร่ เครือข่ายวัฒนธรรมจังหวัดแพร่ เครือข่ายวัฒนธรรมจังหวัดแพร่ เครือข่ายวัฒนธรรมจังหวัดแพร่ เครือข่ายวัฒนธรรมจังหวัดแพร่
เครือข่ายวัฒนธรรมจังหวัดน่าน จํานวน 9 คน ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙.
นายสันติ หาญสงคราม นายพงศ์วิสิฐ คํายันต์ นายกวินทร์ คําปาละ นายสถาพร จันต๊ะยอด นายณัฐกฤษณ์ เนตรทิพย์ นายพิฒน์พล ไชยยะ นายพลฐิพัฒน์ จอมเมือง นายชินภัทร ต๊ะปุกคํา นางสาวนิภาพรรณ แดงอ่วน
เครือข่ายวัฒนธรรมจังหวัดน่าน เครือข่ายวัฒนธรรมจังหวัดน่าน เครือข่ายวัฒนธรรมจังหวัดน่าน เครือข่ายวัฒนธรรมจังหวัดน่าน เครือข่ายวัฒนธรรมจังหวัดน่าน เครือข่ายวัฒนธรรมจังหวัดน่าน เครือข่ายวัฒนธรรมจังหวัดน่าน เครือข่ายวัฒนธรรมจังหวัดน่าน เครือข่ายวัฒนธรรมจังหวัดน่าน
๓๙
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการและพัฒนารูปแบบกิจกรรมการท่องเที่ยวเฉพาะกลุ่มเพื่อแก้ไขปัญหาการท่องเที่ยวใน
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน ๒ โดย สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดพะเยา
LOW SEASON