Chiangrai small2 final print

Page 1

เชียงราย CHIANG RAI สีสันของธรรมชาติ ขุนเขา สายน้ำ� วัฒนธรรม และชาติพันธุ์

จัดทำ�โดย

สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย


ที่ปรึกษา

นายพงษ์ศักดิ์ วังเสมอ นายมนัส โสกันธิกา นายประจญ ปรัชญ์สกุล นายชาติชาย สงวนพงษ์ นายทวี สุทธิถนอม นายบัณฑิต พรหมทอง ดร.พลวัฒ ประพัฒน์ทอง

คณะผู้จัดทำ�

๑. นายมงคล สิทธิหล่อ ๒. นางจิตรา สิทธนานุวัฒน์ ๓. นางจุฬาภรณ์ ทองสุทธิ ๔. นายสมศักดิ์ ดาวทอง 5. นายอิศรา สถาปนเศรษฐ์ 5. นางสลักจฤฎดิ์ ติยะไพรัช 6. นายกิตติ ทิศกุล 7. นางพัชรนันท์ แก้วจินดา 8. น.ส. สุชานาฎ วงค์จันทร์ต๊ะ

ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงราย รองผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงราย รองผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงราย ปลัดจังหวัดเชียงราย หัวหน้าสำ�นักงานจังหวัดเชียงราย หัวหน้าสำ�นักบริหารยุทธศาสตร์ กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน ๒ ผช.คณบดีสำ�นักวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง วัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย ผู้อำ�นวยการกลุ่มยุทธศาสตร์ และเฝ้าระวังทางวัฒนธรรม ผู้อำ�นวยการกลุ่มส่งเสริม ศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม นักวิชาการวัฒนธรรมชำ�นาญการพิเศษ ผอ.ททท.สำ�นักงานเชียงราย ประธานสภาวัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย นายกสมาคมสหพันธ์ท่องเที่ยวภาคเหนือ จังหวัดเชียงราย นักวิชาการวัฒนธรรมชำ�นาญการ นักวิชาการวัฒนธรรมชำ�นาญการ

เจ้าของลิขสิทธิ์

จังหวัดเชียงราย โดย สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย ศาลากลางจังหวัดเชียงราย ถนนแม่ฟ้าหลวง ตำ�บลริมกก อำ�เภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย ๕๗๑๐๐ โทรศัพท์ ๐ ๕๓๑๕ ๐๑๖๙ โทรสาร ๐ ๕๓๑๕ ๐๑๗๐

ผู้ดำ�เนินกิจกรรม

ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล มหานทีแมกกาซีน เลขที่ 95 ถนนห้วยแก้ว ตำ�บลสุเทพ อำ�เภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ๕๐๒๐๐ โทรศัพท์ ๐ ๕๓๒๒ ๓๕๒๒ โทรสาร ๐ ๕๓๘๙ ๕๒๕๕ 2


สารบัญ เชียงราย Chiang Rai

4

เมืองแห่งขุนเขา City of Mountain

6

เมืองแห่งสายน้ำ� City of Rivers

15

เมืองแห่งวัฒนธรรม City of Old Culture

19

เส้นทางมงคล : ไหว้พระธาตุเก้าจอม 38 Auspicious Temples and the Route of 9 Chedis เมืองแห่งชาติพันธุ์ที่หลากหลาย 48 City of Diversity

3


เชียงราย Chiang Rai เชี ย งรายเป็ น จั ง หวั ด

เหนือสุดของประเทศไทย เป็น ดิ น แดนอั น อุ ด มสมบู ร ณ์ ซึ่ ง ตั้ ง อยูบ่ นเทือกเขาสูงทีม่ เี จ็ดสายน้�ำ และสามสิบห้าม่อนดอย มีทิว เขาสลั บ ซั บ ซ้ อ น ยอดดอยสู ง ตระหง่ า น ถ้ำ � น้ำ � ตก และป่ า ใหญ่อันเขียวขจี พื้นที่ประมาณ กว่า 90% เป็นภูเขาสูง พื้นที่ ส่วนใหญ่มีความสูงถึง 1,5002,000 เมตรจากระดับน้ำ�ทะเล มีเทือกเขาผีปนั น้�ำ เป็นพรมแดน กัน้ กลางระหว่างไทยกับพม่า อีก ทั้ ง เป็ น จุ ด แรกที่ แ ม่ น้ำ � โขงไหล ผ่านแผ่นดินไทยและไหลกัน้ แบ่ง ไทยกับลาวไว้ รวมระยะทาง 94 กิโลเมตร ณ ที่นี่เป็นชุมทางทาง วัฒนธรรมของผู้คนในแถบจีน ตอนใต้ ตอนเหนือของไทย พม่า และลาว ที่ มี ก ารเคลื่ อ นย้ า ย และถ่ายเทวัฒนธรรม อาศัยอยู่ ปะปนกันหลากหลายชาติพันธุ์ มานับแต่อดีตกาล เชียงรายนี้ จึงมีประวัติศาสตร์ความเป็นมา อันยาวนาน เป็นแหล่งกำ�เนิด อาณาจั ก รและเมื อ งโบราณ น้อยใหญ่ที่ปรากฏหลักฐานถึง ยี่ สิ บ เจ็ ด แห่ ง อี ก ทั้ ง ยั ง เป็ น อู่ วั ฒ นธรรมและจุ ด กำ � เนิ ด ของ อาณาจั ก รล้ า นนา และเป็ น เมื อ งแห่ ง พุ ท ธศาสนาที่ มี วิ ถี ของพุทธศาสนิกชนและมีวัดวา อารามมากมาย 4


ในหนังสือคูม่ อื การท่องเทีย่ วเชียงรายเล่มนี้ จึงได้วาดภาพ เชียงรายในสามมิติ คือ เชียงรายในฐานะของเมืองแห่งขุนเขา ที่ เต็มไปด้วยแหล่งท่องเทีย่ วทางธรรมชาติมากมาย เชียงรายในฐานะ เมืองแห่งวัฒนธรรม อันเต็มไปด้วยวัดวาอาราม เมืองโบราณ และ ความศรัทธาในพระพุทธศาสนา และเชียงรายในฐานะเมืองแห่ง ชาติพันธุ์ที่หลากหลาย เนื่องด้วยมีผู้คนหลายชนเผ่าที่เข้ามาอาศัย อยู่ทั้งบนพื้นราบและภูเขาสูง เพื่อให้นักเดินทางผู้แสวงหาความสุข สวยงามได้เห็นสีสนั อันแตกต่างและน่าสนใจของเชียงรายชัดเจนขึน้ Chiang Rai, the top most province of Thailand is located in the mountainous area of the North with rich natural resources, ethnic diversities, long history and deep-rooted culture make it a “must go” destination for all travellers. 90% of the area in this province is highland (approximately 1,500- 2,000 m. above the sea level). Chiang Rai is one of the 8 provinces in Thailand that situated on Phi Pan Nam Range, the natural barrier that separates Thailand from Burma. While Mekong River forms the boundary with Laos, the Mae Sai and Ruak rivers are also forms the frontier lines for Burma. Despite its geographic difficulties, the fertility of the land is the main reason why Chiang Rai attracted dwellers to work and built a community, there were many groups of villagers some travelling from Southern China, some from neighboring countries migrated here, making this area a trade center since 7th century, and later became the Pre-Lanna Kingdom in the reign of King Mengrai the great (1238–1317). Therefore, there are many interesting historical sites, which reflect the golden age of art and religion back in the old days. This guidebook is aimed to illustrate as many aspects of Chiang Rai as possible, including interesting natural sites, cultural historical sites, and ethnic diversity lifestyle to make it an ultimate traveller’s book for all visitors. 5


เมืองแห่งขุนเขา City of Mountain

บรรยากาศขุนเขาอันหนาวเย็นและสุขสงบ เต็มไปด้วย ไอหมอกและดอกไม้ป่าสีหวาน คงเป็นเสน่ห์ที่ทำ�ให้หลายต่อ หลายคนต่างดั้นด้นเดินทางไกล ไต่ข้ามเทือกเขาสูงมาเยือน เชียงรายซ้ำ�แล้วซ้ำ�เล่าอย่างไม่รู้เบื่อ มีสถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อ เสียงมากมาย ดังนี้ Embraced by mountains, stunning panorama view of the morning mist sea, colorful wild flowers -- the beauty of nature that makes Chiang Rai an unforgettable city.

6


วนอุทยานภูชี้ฟ้า (Phu Chi Fa)

ห น้ า ผ า สู ง เ ป็ น แ น ว ย า ว ต า ม แ น ว ชายแดนไทย-ลาว ในเขตป่ า สงวนแห่ ง ชาติ ป่ า แม่ อิ ง ฝั่ ง ขวาและป่ า แม่ ง าว-ฟ้ า ทอง มี บ ริ เวณ ปลายสุ ด ของหน้ า ผาที่ แ หลมยื่ น ออกไปบนฟ้ า จึงถูกเรียกว่า ภูชี้ฟ้า ในช่วงฤดูหนาวบรรยากาศ จะดีมาก มีดอกไม้ป่าและมีแม่คะนิ้งตลอดทาง เดิน ช่วงกุมภาพันธ์ถึงมีนาคมดอกเสี้ยวจะบาน ทั่วป่า ภายในวนอุทยานไม่มีที่พักให้บริการ แต่ นักท่องเทีย่ วจะนิยมพักแรมบริเวณเชิงเขาเพือ่ เดิน ขึน้ ไปชมวิวพระอาทิตย์ขนึ้ และทะเลหมอกตอนใกล้ รุ่ง สถานที่ตั้ง : ตำ�บลตับเต่า อำ�เภอเทิง สอบถามรายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม : สำ � นั ก บริ ห าร จัดการในพื้นที่อนุรักษ์ที่ 15 จังหวัดเชียงราย โทร. 0 5371 4914 With 1,200-1,628 meters above the sea level, Phu Chi Fah covers 2,500 rais. Its height and the pointed summit give it a name Phu Chi Fah (laterally mean the mountain that points to the sky). It is a perfect place for sunrise moment. Campsite is available but visitors need to bring their own tents and food. Location : Amphoe Thoeng, Chiang Rai For more information, please contact the Administrative and Management of Protected Areas 15, Chiang Rai. Tel. 0 5371 4914

7


ดอยผาตั้ง (Doi Pha Tang)

ดอยผาตัง้ อยูห่ า่ งจากภูชฟี้ า้ ไปประมาณ 24 กิโลเมตร ในอดี ต เคยเป็ น ที่ ตั้ ง ของกองทหารจี น คณะชาติ เมื่ อ ครั้ ง การสู้รบในอดีต เมื่อเหตุการณ์สู้รบจบลง ดอยผาตั้งจึงเป็น สถานที่ ที่ ส วยงาม นั ก ท่ อ งเที่ ย วนิ ย มไปชมทะเลหมอกที่ ภูชี้ฟ้าในช่วงเช้ามืดแล้วจึงท่องเที่ยวต่อไปยังดอยผาตั้ง จาก ดอยผาตั้งยังสามารถเดินทางท่องเที่ยวต่อไปยังอำ�เภอต่าง ๆ เช่น เชียงของ เชียงแสน แม่สายได้ในเส้นทางเดียวกันอีกด้วย สถานที่ตั้ง : บ้านผาตั้ง อำ�เภอเวียงแก่น จังหวัดเชียงราย 24 Km away from Phu Chi Fah, the normal tourist itinerary is to go to Doi Pha Tang as the next destination for the sundowner. Doi Pha Tang used to be Chinese military camp in the past, there are still some dwellers who decided to live here called Haw. Doi Pha Tang is now a peaceful land with an extraordinary panorama view. Location : Ban Pha Tang, Amphoe Wiang Kaen, Chiang Rai

8


ศูนย์ส่งเสริมการเกษตรที่สูงดอยผาหม่น (Doi Pha Mon Agricultural Center)

สถานที่ท่องเที่ยวเชิงเกษตรซึ่งอยู่ไม่ไกลจากภูชี้ฟ้า เป็นศูนย์ฝึกอบรมและ ส่งเสริมการเกษตรด้านการปลูกพืชเมืองหนาว มีดอกไม้นานาพันธุใ์ ห้ได้ชม ในฤดูหนาว จะมีเทศกาลดอกทิวลิปบานเป็นประจำ�ทุกปี ทีศ่ นู ย์ฯ มีบา้ นพักให้บริการจำ�นวน 3 หลัง พักได้หลังละ 10-15 คน แต่ไม่มีร้านจำ�หน่ายอาหาร จึงต้องจัดเตรียมอาหารมาเอง หรือสั่งจองล่วงหน้า สถานที่ตั้ง : ดอยผาหม่น อำ�เภอเทิง สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม : องค์การบริหารส่วนตำ�บลตับเต่า โทร. 08 1724 0052 Located near Phu Chi Fah, Doi Pha Mon Agricultural Center is one of Agricultural Tourism destinations. It is the center of highland agricultural center, which is working on researching as well as producing some winter plants; the highlight here is to see tulip and lilly flower beds. Going in winter is highly recommended, there are 3 houses available for visitors, and each house is for 10-15 people. Booking in advance is a must. Location : Amphoe Thoeng, Chiang Rai For more information, please contact Tel. 08 1724 0052

9


ภูชมดาว (Phu Chom Dao)

ตั้งอยู่บนเทือกเขาดอยผาหม่น ห่างจากภูชี้ฟ้าเพียง 7 กิโลเมตร สามารถชมวิว ประเทศลาวและทะเลหมอกได้คล้ายที่ภูชี้ฟ้า ในช่วงฤดูฝนและฤดูหนาวสองข้างทางเดินขึ้น ยอดภูจะมีพรรณไม้นานาชนิด ทั้งกาสะลองคำ� กระเจียว บัวตอง และนางพญาเสือโคร่ง อีก ทั้งยังมีพืชพรรณลักษณะป่าดิบชื้นคล้ายที่ดอยอินทนนท์ให้ได้ชม ทั้งนี้ บนยอดภูไม่มีบริการ บ้านพัก ร้านอาหาร และห้องน้ำ� เส้นทางยังเป็นถนนลูกรังต้องใช้รถขับเคลื่อนสี่ล้อขึ้นไป เท่านั้น สถานที่ตั้ง : ตำ�บลตับเต่า อำ�เภอเทิง สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม : องค์การบริหารส่วนตำ�บลตับเต่า โทร. 08 1724 0052 Phu Chom Dao or “Pha Mon Noi” is around 7 kilometers away from Phi Chi Fah. With 1,600 meters above sea level, visitors will see spectacular view of Laos and beautiful blooming flowers along the walking path. No accommodation, restaurant, and restroom are available at the site, for over night stay visitors should stay at Ban Pitakthai or Romfahthai. 4wheels drive car or mountain motorbike is recommended. Location : Tambon Tab Tao, Amphoe Thoeng, Chiang Rai More information, please contact the Tambon Tab Tao Administrative Office : 08 1724 0052 10


ดอยแม่สลอง (Doi Mae Salong)

จุดดึงดูดนักท่องเทีย่ วบนดอยแม่สะลองอยูท่ หี่ มูบ่ า้ นสันติครี ี หมูบ่ า้ นชาวจีนกองพล 93 ที่อพยพเข้ามาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2504 ทำ�ให้มีบ้านเรือน วิถีชีวิต วัฒนธรรม อาหารการ กิน และการแต่งกายคล้ายเมืองยูนนาน ประเทศจีน นักท่องเทีย่ วจึงนิยมมาชิมชา ทานขาหมู หมั่นโถว และทานอาหารจีนเลิศรส ในช่วงต้นปีจะมีดอกนางพญาเสือโคร่งออกดอกสีชมพู ทั่วป่า นอกจากนี้ ยังมีอนุสรณ์สถานวีรชนอดีตทหารจีนคณะชาติและพระบรมธาตุเจดีย์ศรี นครินทร์ฯ ให้เยี่ยมชม สถานที่ตั้ง : หมู่บ้านสันติคีรี ตำ�บลแม่สลองนอก อำ�เภอแม่ฟ้าหลวง Doi Mae Salong or Santikiri Village is a big Yunnese community who emigrated from China to Thailand since 1961 and live until now. Experience Yunnese tradition and lifestyle. During January and February each year this area is covered with Wild Himalayan Cherry Blossoms. Doi Mae Salong also has other site visits such as Chinese soldier museum and Royal Pagoda of Somdet Phra Srinagarindra. Location : Amphoe Mae Fa Luang, Chiang Rai

11


ดอยวาวี (Doi Wawee)

มีชื่อเสียงว่าเป็นพื้นที่ปลูกชาอู่หลงแห่งแรกของประเทศไทย รวมทั้งปลูกชาพันธุ์ ดีหลากหลายสายพันธุ์ จึงมีทิวทัศน์ไร่ชาที่ปลูกลดหลั่นตามไหล่เขาดูน่าชม มีต้นชาพันปีซึ่ง มีลำ�ต้นขนาดใหญ่เป็นพิเศษที่บ้านใหม่พัฒนา มีดอกนางพญาเสือโคร่งนับแสนต้นซึ่งจะ พร้อมใจออกดอกทั่วป่าในหน้าหนาว ทั้งยังเป็นพื้นที่หลากวัฒนธรรมเนื่องจากเป็นที่อาศัย ของผู้คนถึง 13 ชนเผ่า และมีเส้นทางท่องเที่ยวต่อไปได้อีกหลายแห่ง ทั้งดอยเลาลี ดอย กาดผี และดอยช้าง สถานที่ตั้ง : ตำ�บลวาวี อำ�เภอแม่สรวย Doi Wawee is the first area for black dragon tea or “Wu Long Cha” plantation in Thailand. Not only the large black dragon tea field and the 1000-year-old tea tree, visitors will also experience the diversities of culture from 13 ethnic groups. Besides, Doi Wawee is near Doi Lao Lee where the visitors can find accommodations in the famous Lao Lee Resort. Location : Tambon Wawee, Amphoe Mae Suai, Chiang Rai 12


ดอยช้าง (Doi Chang)

ยอดดอยย่อยลูกหนึง่ ของดอยวาวี มีรปู ร่างคล้ายช้างแม่ลกู สองเชือกหันหน้าไปทาง จังหวัดเชียงราย เป็นที่อยู่ของชนเผ่าม้ง ลีซู และอาข่า มีผาหัวช้างเป็นยอดสูงซึ่งเป็นจุดชม วิว อากาศเย็นสบายตลอดปี มีศนู ย์วจิ ยั และพัฒนาการเกษตรทีส่ งู เชียงราย (วาวี) ซึง่ ปลูกพืช เมืองหนาว เช่น แมคคาเดเมีย ท้อ บ๊วย สตรอเบอร์รี่ และดอกไม้มากมาย มีชื่อเสียงว่าเป็น พื้นที่ปลูกกาแฟพันธุ์อราบิก้ารสดีที่คอกาแฟต่างยอบรับ ในช่วงฤดูหนาวจะมีดอกนางพญา เสือโคร่งบานสะพรั่งทั่วดอย สถานที่ตั้ง : ตำ�บลวาวี อำ�เภอแม่สรวย Doi Chang area was the home of Hmong people before; later Lisu people moved here and build their own community. Then the Akha people migrated here and named their village “Ban Doi Chang”. The name of it derives from the shape of two mountains that look like 2 elephants (mother and her child). Location : Tambon Wawee, Amphoe Mae Suai, Chiang Rai 13


สะพานมิตรภาพไทย-ลาว Thai-Lao Friendship Bridge

สะพานมิตรภาพไทย-ลาว แห่งที่ 4 เชื่อมต่อระหว่างบ้านดอนมหาวัน อำ�เภอ เชียงของ จังหวัดเชียงราย กับบ้านดอน เมืองห้วยทราย แขวงบ่อแก้ว ประเทศลาว เป็น สะพานข้ามแม่น้ำ�โขงที่อยู่ในแผนการพัฒนาเส้นทาง R3A ซึ่งเชื่อมต่อระหว่างจีน-ลาวไทย สะพานแห่งนี้มีระยะทาง 2.48 กิโลเมตร เปิดให้บริการอย่างเป็นทางการเมื่อวัน ที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2556 เป็นสะพานสองเลน นอกจากนี้ ยังมีโครงการสร้างถนน เข้าไปในเขตห้วยทรายอีกประมาณ 6 กิโลเมตร รวมถึงการสร้างด่านตรวจคนเข้าเมือง ด้วยสถาปัตยกรรมแบบล้านช้าง สถานที่ตั้ง : บ้านดอนมหาวัน ตำ�บลเวียง อำ�เภอเชียงของ The 4th bridge over Mekong River that connects between Ban Don Mahawan, Chiang Kong, Thailand and Ban Don Muang Huay Sai, Laos for 2.48 km. Open officially in December 11, 2013. Location: Ban Don Mahawan Tambon Wiang, Chiang Khong 14


เมืองแห่งสายน้ำ� City of Rivers จังหวัดเชียงราย เป็นเมืองที่มีแม่น้ำ�หลาย สาย เช่น แม่น้ำ�รวก แม่น้ำ�อิง แม่น้ำ�สาย แม่น้ำ�ลาว แม่น้ำ�กก ซึ่งส่วนใหญ่จะไหลลงแม่น้ำ�โขง แม่น้ำ� เหล่านี้เป็นสายน้ำ�ที่หล่อเลี้ยงชีวิตผู้คน โดยมีแม่น้ำ� สายสำ�คัญผ่านกลางเมืองเชียงราย คือ แม่น้ำ�กก ซึ่งมีความสวยงาม โดยนักท่องเที่ยวสามารถล่อง แพไม้ไผ่จากบ้านท่าตอน อำ�เภอแม่อาย จังหวัด เชียงใหม่ มาขึ้นที่จังหวัดเชียงรายได้ นอกจากนี้ ยั ง มี แ ม่ น้ำ � สายสำ � คั ญ ที่ กั้ น อาณาเขตระหว่ า งประเทศไทยกั บ ประเทศลาว คือ แม่น้ำ�โขง ปัจจุบันมีเส้นทางท่องเที่ยวทางเรือ ระหว่างประเทศ โดยสามารถเดินทางไปประเทศ จี น และประทศลาวได้ เมื อ งท่ อ งเที่ ย วที่ สำ � คั ญ ริมฝั่งแม่น้ำ�โขง คือ อำ�เภอเชียงแสน และอำ�เภอ เชียงของ Chiang Rai is not only geographically highlands, but it is also moistened by many rivers that run through the city such as; Ruak River, Ing River, Sai River, Lao River and Kok River most of them are joining the Mekong and go down to the Mekong Delta. The main river of Chiang Rai is Mae Kok River. Travellers can enjoy bamboo rafting from Tha Ton Chiang Mai and get off the raft in Chiang Rai. Another major river is Mekong which is the natural barrier between Laos and Thai which is now become a tourist spot. Traveller can cruise to Laos or China at Chiang Saen and Chiang Khong borders. 15


สามเหลี่ยมทองคำ� (Golden Triangle)

สบรวก คื อ บริ เวณที่ แ ม่ น้ำ � โขงและแม่ น้ำ � รวกมาบรรจบกั น เป็ น พื้ น ที่ สามเหลี่ยม กั้นแบ่งพรมแดนระหว่างประเทศไทย-ลาว-พม่า เป็นพื้นที่เศรษฐกิจ แหล่งขนถ่ายสินค้าที่สำ�คัญแห่งหนึ่งของไทย ทิวทัศน์แม่นำ้�โขงบริเวณนี้งดงามน่า สนใจ สามารถมองเห็นทั้งฝั่งพม่าและลาวได้ชัดเจน นักท่องเที่ยวสามารถนั่งเรือ เที่ยวชมบริเวณสามเหลี่ยมทองคำ� ค่าเช่าเรือราว 400-600 บาท นั่งได้ 6 คน ทั้งยังมีบริการเรือชมทิวทัศน์สองฝั่งโขงไปไกลถึงเชียงแสนและเชียงของอีกด้วย สถานที่ตั้ง : บ้านสบรวก ตำ�บลเวียง อำ�เภอเชียงแสน Golden Triangle is the overlapping area between Thailand, Laos, and Myanmar but locals call this area “Sop Ruak” means the spot where Mae Kong River and Ruak River meet. In the past, it was a drug production and trafficking area but it is now one of the economical areas of Chiang Rai for import and export. Location : Amphoe Chiang Saen, Chiang Rai 16


ทะเลสาบเชียงแสน (Chiang Saen Lake)

แต่เดิมเป็นหนองน้ำ�ขนาดเล็กล้อมรอบด้วยเนินเขาเตี้ย ๆ ที่ชาวบ้านเรียก ว่า หนองบงคาย ต่อมาทางราชการได้สร้างเขือ่ นน้�ำ ล้นเพือ่ กักเก็บน้�ำ จึงทำ�ให้มขี นาด ใหญ่ขึ้นและถูกเรียกว่า ทะเลสาบเชียงแสน ในฤดูหนาวมีนกเป็ดน้ำ�อพยพมาอาศัย อยู่เป็นจำ�นวนมาก จึงถูกกำ�หนดให้เป็นเขตห้ามล่าสัตว์ป่าหนองบงคาย มีจุดชมนก เป็ดน้ำ�สำ�หรับผู้มาพักผ่อนและผู้ที่สนใจศึกษาธรรมชาติ ทั้งนี้ ยังเชื่อกันว่าบริเวณนี้ อาจจะเป็นเมืองเก่าในตำ�นานเวียงหนองล่มอีกด้วย สถานที่ตั้ง : ตำ�บลโยนก ตำ�บลป่าสัก อำ�เภอเชียงแสน และตำ�บลจันจว้า อำ�เภอแม่จัน Chiang Saen Lake was the small reservoir, but when the government built small diversion dam for water resource, then it turned to a small reservoir to be a lake. During winter, there are flocks of migrated wild ducks from China to here, because of its fertility and warm temperature. Location : Amphoe Chiang Saen, Chiang Rai 17


น้ำ�พุร้อนแม่ขะจาน (Mae Kha Jan Hot Spring)

แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่ถือว่าอยู่ใกล้ทางสัญจรมากที่สุด อีก ทั้งยังเป็นจุดพักรถระหว่างเส้นทางเชียงราย-เชียงใหม่และเส้นทางไปพะเยา แต่เดิมมีน้ำ�พุร้อนธรรมชาติอยู่ด้านตะวันออกฝั่งเดียว ต่อมามีการขยายพื้นที่ น้�ำ พุรอ้ นมายังบ่อทีอ่ ยูฝ่ งั่ ถนนทางด้านตรงกันข้าม เพือ่ ให้รถนักท่องเทีย่ วจอด แวะได้โดยสะดวกทัง้ สองฝัง่ กิจกรรมยอดนิยมคือการต้มไข่ในบ่อน้�ำ พุรอ้ น และ ยังมีบริการร้านอาหาร ร้านกาแฟ รวมทั้งร้านจำ�หน่ายของที่ระลึกอย่างครบ ครัน สถานที่ตั้ง : ตำ�บลแม่เจดีย์ใหม่ อำ�เภอเวียงป่าเป้า Mae Kha Jan Hot Spring is the natural site along the main highway from Chiang Mai to Chiang Rai. It is the natural well with 90-Celsius hot spring. Previously, the hot spring was located on the east side, but recently it has been extended to the west side. Souvenir shops and restaurants are available on both sides. Location : Tambon Mae Jadeemai, Amphoe Wiang Pa Pao, Chiang Rai 18


เมืองแห่งวัฒนธรรม City of Old Culture ร่องรอยและตำ�นานเมืองโบราณน้อยใหญ่ในพื้นที่จังหวัดเชียงราย เป็น หลักฐานบ่งบอกประวัตศิ าสตร์อนั ยาวนานมานับตัง้ แต่ตน้ พุทธศตวรรษที่ 12 ทัง้ นี้ โบราณสถานและโบราณวัตถุอนั มีคา่ จำ�นวนมากทีย่ งั คงหลงเหลือมาจนถึงปัจจุบนั ก็ลว้ นยืนยันว่าเชียงรายเป็นเมืองทีเ่ ต็มไปด้วยรากเหง้าทางวัฒนธรรม ซึง่ นอกจาก ผู้มาเยือนจะได้เที่ยวชมความงามด้านศิลปะและสถาปัตยกรรมของวัดวาอาราม และเมืองโบราณทั้งเก่าแก่และร่วมสมัยแล้ว ยังจะได้สัมผัสความงดงามของแรงใจ ศรัทธารวมถึงวิถีชีวิตที่ผูกพันกับพระพุทธศาสนาของผู้คนที่อาศัยอยู่ในเชียงราย Ruins monuments, old city walls and historical sites in many villages are the evidences of the old prosperous day with deep cultural roots of Chiang Rai since the beginning of 12th century (BE). Despite modernity and globalization, the old cities still remain their charm. There are many old temples as well as new contemporary Lanna Style temples in Chiang Rai which are worth to see.

19


วัดร่องขุ่น (Wat Rongkhun)

วัดร่องขุน่ เป็นวัดเก่า ตัง้ อยูใ่ นหมูบ่ า้ นร่องขุน่ ในปี พ.ศ. 2540 อาจารย์เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์ ได้เริ่มบูรณะวัดขึ้นใหม่ โดยอาจารย์เฉลิมชัยปรารถนาจะสร้างวัดให้เป็น เหมือนดั่งสวรรค์ที่มนุษย์สามารถสัมผัสได้ สถาปัตยกรรมภายในวัดจึงใช้สีขาวเป็นหลัก และประดับด้วยกระจกที่สร้างความแวววาวงดงาม ผลงานประติมากรรมปูนปั้นโดยรอบ สร้างขึ้นด้วยศิลปะไทยที่อ่อนช้อยวิจิตรงดงาม ภาพจิตรกรรมฝาผนังภายในพระอุโบสถ เป็นผลงานการวาดของอาจารย์เฉลิมชัยเอง สถานที่ตั้ง : บ้านร่องขุ่น ตำ�บลป่าอ้อดอนชัย อำ�เภอเมือง จังหวัดเชียงราย Wat Rongkhun was restored from the old temple since 1997 by Thai artist Chalermchai Kositpipat. He built the “White Temple” in the area of former Wat Rong Khun. The highlights are; the main chanting hall decorated with glasses as the concept of paradise on earth that people can touch and Chalermchai’s mural arts. Location : Ban Rongkhun, Tambon Pha-or Donchai, Amphoe Muang, Chiang Rai 20


วัดพระแก้ว (Wat Phrakeaw)

วัดสำ�คัญที่ค้นพบพระแก้วมรกตหรือพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร เดิมชื่อ วัดญรุกขวนารามหรือวัดป่าญะ ต่อมาในปี พ.ศ. 1977 พระเจดีย์ถูกฟ้าผ่าพังทลายลง พบพระพุทธรูปองค์หนึง่ อยูภ่ ายในจึงอัญเชิญไปประดิษฐานไว้ในพระวิหาร เมือ่ ด้านนอก กะเทาะออกจึงทราบว่าคือ พระแก้วมรกต และถูกอัญเชิญไปไว้ทจี่ งั หวัดลำ�ปาง เชียงใหม่ เวียงจันทร์ กรุงธนบุรี และกรุงเทพมหานครตามลำ�ดับ ต่อมามีการบูรณปฏิสงั ขรณ์วดั และ ยกฐานะเป็นพระอารามหลวงเมื่อปี พ.ศ. 2521 ทั้งนี้ภายในวัดยังมีสิ่งที่น่าสนใจ เช่น พระเจดีย์ร้างที่ถูกฟ้าผ่า พิพิธภัณฑ์โฮงหลวงแสงแก้ว เป็นต้น สถานที่ตั้ง : ถนนไตรรัตน์ ตำ�บลเวียง อำ�เภอเมืองเชียงราย Wat Phrakeaw is the temple where the Emerald Buddha (in Bangkok) was originally found in 1434, before travelled to Lampang, Chiang Mai, Vientiane, Thonburi and Bangkok, respectively. The temple was restored in 1978. Recently, Chaing saen people rebuilt the new Emerald Buddha again to celebrate ninety-year birthday of Somdet Pra Srinagarindra (His Majesty the king’s mother). Location : Amphoe Muang, Chiang Rai

21


วัดพระสิงห์ (Wat Phra Sing)

วัดเก่าแก่ซงึ่ สันนิษฐานว่าสร้างราวปี พ.ศ. 1928 ทีไ่ ด้ชอื่ ว่าวัดพระสิงห์ เพราะ เป็นเคยเป็นทีป่ ระดิษฐานพระสิงห์หรือพระพุทธสิหงิ ค์ อันเป็นพระพุทธรูปสำ�คัญซึง่ ถูกนำ� ไปประดิษฐานอยูใ่ นพระทีน่ ั่งพุทไธศวรรย์ กรุงเทพมหานคร และได้รบั การยกย่องให้เป็น พระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองของไทย ปัจจุบันวัดพระสิงห์เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธสิหิงค์ จำ�ลอง รอยพระพุทธบาทจำ�ลองบนแผ่นศิลาซึง่ สันนิษฐานว่าสร้างในสมัยพญามังราย มี บานประตูวหิ ารบอกเล่าเรือ่ งราวเกีย่ วกับดิน น้�ำ ลม ไฟ ซึง่ ได้รบั การออกแบบโดยอาจารย์ ถวัลย์ ดัชนี ศิลปินแห่งชาติ และแกะสลักโดยสล่าอำ�นวย บัวงาม สถานที่ตั้ง : บ้านพระสิงห์ ถนนสิงหไคล ตำ�บลเวียง อำ�เภอเมืองเชียงราย Wat Phra Sing was founded in 1385. “Phrasing” is the short name of “Phra Phuttha Sihing” the sacred Buddha image which was once located here before moving to Bangkok. The highlights of this temple are Lord Buddha footprint on stele, and the beautiful chanting hall main entrance door portraying story of 4 elements; designed by Thawan Duchanee and hand crafted by Amnuay Bua-ngam. Location : Thaluang Road, Tambon Wieng, Amphoe Muang, Chiang Rai 22


วัดดอยงำ�เมือง (Wat Doi Ngam Muang)

วั ด สำ � คั ญ ที่ เ ป็ น ที่ ตั้ ง ของ สถูปบรรจุพระอัฐิของพญามังราย มีประวัติว่า หลังจากที่พญามังราย ได้สวรรคตทีเ่ มืองเชียงใหม่ในปี พ.ศ. 1860 พญาไชยสงครามผูเ้ ป็นโอรส ได้กลับมาครองเมืองเชียงรายพร้อม ทั้งอัญเชิญพระอัฐิของพญามังราย มาประดิษฐานในบริเวณซึ่งเป็นที่ตั้ง วัด ต่อมาในปี พ.ศ. 2030 ได้มีการ บูรณะสถูปดังกล่าวพร้อมทัง้ สร้างวัด งำ�เมืองขึน้ มา และในปี พ.ศ. 2220 เจ้าฟ้ายอดงำ�เมืองโอรสเจ้าผู้ครอง นครเชียงแสนก็ได้มาบูรณะวัดเพิ่ม เติม สถานที่ตั้ง : ถนนอาจอำ�นวย บ้าน ฮ่อมดอย ตำ�บลเวียง อำ�เภอเมือง เชียงราย According to the chronicles, after the death of King Mengrai, his son, Phaya Chai Songkram brought his ashes from Chiang Mai back to Chiang Rai and put it in a stupa that he was built, later this area was restored and become Wat Doi Ngam Muang in 1487. Then in 1667, Chao Fah Yod Ngum Muang, the son of Chiang Saen Governor that time had done more restorations. Location: Ard-amnuay Road, Ban Hom Doi, Tambol Wiang, Maung Chiang Rai. 23


วัดมิ่งเมือง (Wat Ming Muang)

วัดไทใหญ่ซงึ่ แต่เดิมเรียกว่า วัดเงีย้ ว เพราะในอดีตบริเวณนีม้ ชี มุ ชนไทใหญ่หรือเงีย้ ว อาศัยอยู่โดยรอบ หรืออีกชื่อหนึ่งคือ วัดช้างมูบ เนื่องจากมีบ่อน้ำ�โบราณศิลปะแบบไทใหญ่ มีซุ้มครอบไว้บนหลังช้างหมอบ ชาวบ้านจึงเรียกว่า บ่อน้ำ�ช้างมูบ จึงเป็นที่มาของชื่อวัด เมื่อ ครัง้ ทีม่ กี ารบูรณะเจดียโ์ บราณของวัดได้คน้ พบแผ่นเงินจารึกเป็นภาษาพม่า ซึง่ หากอ้างอิงตาม จารึกนีว้ ดั มิง่ เมืองจะมีอายุเท่ากับเมืองเชียงรายและมีผสู้ ร้างวัดชือ่ ตะละแม่ศรีซงึ่ เป็นชาวพม่า สถานที่ตั้ง : ถนนไตรรัตน์ ตำ�บลเวียง อำ�เภอเมืองเชียงราย Wat Ming Muang is also called Wat Chang Mub, this temple is the center of Tai Yai community. Chang Mub litterally means elephant kneeling, which is the Tai Yai style elephant, sculpture at the top of the village’s well gazebo. During the temple’s restoration, villagers found manuscripts on silver noted the time of building and the founder of this temple. Presumably, this temple was built as the same time as Chiang Rai. Location : Trirat Rd. Tambon Wieng, Amphoe Muang, Chiang Rai 24


วัดพระธาตุดอยตุง (Wat Phra That Doi Tung)

พระธาตุประจำ�ปีของผู้ที่เกิดปีกุน มีตำ�นานว่า แต่เดิมมีพระธาตุเพียงองค์เดียวซึ่ง สร้างด้วยรูปแบบศิลปะเชียงแสนย่อมุมไม้สิบสอง เมื่อ พ.ศ. 1454 โดยพระเจ้าอุชุตราช ผูค้ รองนครโยนกนาคพันธ์ ซึง่ ได้รบั พระบรมสารีรกิ ธาตุพระรากขวัญเบือ้ งซ้ายของพระพุทธเจ้า มาจากพระมหากัสสปเถระ จากนั้นจึงนำ�มาที่ดอยดินแดง โดยทำ�ตุงหรือธงที่มีความยาว 1,000 วาปักไว้บนยอดเขา กำ�หนดตำ�แหน่งที่ชายธงปลิวไปถึงให้เป็นฐานของพระเจดีย์ อันเป็นที่มาของชื่อ พระธาตุดอยตุง ต่อมาในสมัยของพญามังรายได้มีการสร้างพระธาตุขึ้น อีกองค์หนึ่งใกล้ ๆ กัน ทำ�ให้พระธาตุดอยตุงมีสององค์นับแต่นั้น สถานที่ตั้ง : ตำ�บลห้วยไคร้ อำ�เภอแม่สาย According to the Legend, before, there was only one Pagoda built in 911 by the governor of Yonok Nakapan City. The governor received the Buddha relics, to make the pagoda, he had made a flag or Tung of 1,000 wah (500 meters) and put it up at the top of the hills and the end of the flag is the place where he can build the pagoda. In King Mengrai era, he had built another pagoda beside the old one. Location : Amphoe Mae Sai, Chiang Rai

25


วัดพระธาตุผาเงา (Phra That Pha Ngao)

ในปี พ.ศ. 2519 ชาวบ้านได้แผ้วถางบริเวณเนินเขาใกล้หมูบ่ า้ นเพือ่ หาพืน้ ทีส่ ร้าง วัดใหม่ ทำ�ให้ได้พบซากโบราณสถานและโบราณวัตถุกระจายอยู่โดยรอบจึงทราบว่าเป็น วัดร้างโบราณ พบพระพุทธรูปองค์ใหญ่เป็นพระประธานภายในวัด ซึ่งที่ด้านหน้าของฐาน พระประธานมีอิฐโบราณก่อเรียงไว้ เมื่อยกอิฐออกจึงได้พบพระพุทธรูปที่มีลักษณะงดงาม องค์หนึ่งฝังอยู่ สันนิฐานว่าพระพุทธรูปองค์นี้มีอายุระหว่าง 700-1300 ปี และวัดร้างนี้ น่าจะเป็นวัดสำ�คัญในอดีต จากนั้นชาวบ้านจึงเรียกพระพุทธรูปองค์นี้ว่า หลวงพ่อผาเงา อันเป็นที่มาของชื่อวัดในเวลาต่อมา สถานที่ตั้ง : บ้านสบคำ� ตำ�บลเวียง อำ�เภอเชียงแสน In 1976, Sop Kham villagers found and impeccably Buddha Statue under the ruins of a deserted temple when they were clearing an area to build new village’s temple. Presumably, this statue aged around 700-1,300 years. Then, they name this Buddha image “Luang Phor Pha Ngao” and later became the name of the temple. Location: Sob Kham Village, Tambol Wiang, Chiang Saen 26


สถูปดอยช้างมูบ (Chang Mub Stupa)

มีตำ�นานเล่าเกี่ยวกับวีรกรรมของพระเจ้าพรหมมหาราช กษัตริย์ผู้มีบุญญาธิการ และความสามารถ สามารถจับงูเผือกในแม่น้ำ�โขงได้ และงูตัวนั้นได้กลายเป็นช้างเผือก พระองค์เป็นผู้กอบกู้เมืองโยนกนาคพันธ์จากการยึดครองของขอม และเปลี่ยนชื่อเป็น เมืองชัยบุรีศรีช้างแสน (เชียงแสน) พระเจ้าพรหมขยายอาณาเขตการปกครองไปไกล เมื่อ พระองค์ได้เสด็จไปเยีย่ มพระราชบิดาทีเ่ มืองเชียงแสน และเสด็จไปนมัสการพระธาตุดอยตุง แต่ช้างพระที่นั่งอ่อนล้าหมดแรงได้หยุดหมอบลงเสียชีวิต ณ บริเวณนั้นจึงได้ชื่อว่า “ดอย จ๊างหมอบ” ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น “ดอยช้างมูบ” โดยรูปหินลักษณะช้างหมอบที่เห็นนี้ ได้รับการตกแต่งเพิ่มเติมในภายหลัง มีสถูปที่ถือเป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ เป็นที่เคารพสักกา ระของคนทั่วไป สถานที่ตั้ง : ริมถนนสายพระธาตุดอยตุง บ้านผาหมี อำ�เภอแม่ฟ้าหลวง Chang Mub Stupa is on the top of Doi Tumg’s view point. It is a small stupa on a large rock that looks like a kneeling elephant. Chang Mub Stupa is about 4 km. away from Wat Noi Doi Tung. Location: On Phra That Doi Tung Road, Ban Pha Mee, Mae Fah Luang

27


พระเจ้าล้านตื้อ (Phra Chao Lan Tue Buddha Image)

มีตำ�นานที่เล่าขานกันในแถบลุ่มน้ำ�โขงเกี่ยวกับพระพุทธรูปขนาดมโหฬารซึ่งโผล่ขึ้น มาจากกลางน้ำ� ประมาณขนาดพระพุทธรูปกันว่า ใหญ่นับล้านตื้อ อันหมายถึงหน่วยสูงสุด ของการนับจำ�นวนของล้านนา แต่กไ็ ม่มใี ครสามารถค้นพบพระเจ้าล้านตือ้ อย่างทีเ่ ล่าลือกันมา ทำ�ให้ชาวเชียงแสนร่วมใจกันสร้างเป็น พระพุทธนวล้านตื้อองค์จำ�ลอง หล่อด้วยทองสัมฤทธิ์ ปิดทองด้วยบุษราคัม น้ำ�หนักมากถึง 69 ตัน หน้าตักกว้าง 9.99 เมตร สูง 15.99 เมตร ประทับนั่งบนเรือแก้วกุศลธรรมขนาดใหญ่ ประดิษฐานไว้บริเวณริมแม่น้ำ�โขง สถานที่ตั้ง : บริเวณใกล้กับป้ายสามเหลี่ยมทองคำ� อำ�เภอเชียงแสน The name “Lan” means million and Tue is the ancient measurement unit, so Lan Tue is an enormous and heavy Buddha Image. People of Chiang Saen believe that the original one was drawn under Mekhong River, they had been trying for 70 years to find the Big Buddha but all they found earlier was only the small ones and some antiques under water. The replica of Phra Chao Lan Tue weighs around 69 tons with 9.99m wide and 15.99 high, it is now located at Golden Triangle. Location: near Golden Triangle, Chiang Saen 28


วัดพระธาตุดอยเวา (Wat Phra That Doi Wao)

เชือ่ กันว่าองค์พระธาตุดอยเวามีอายุเก่าแก่เป็นรองพระธาตุดอยตุง เนือ่ งจากสร้าง ขึ้นในรัชสมัยของพระองค์เวา กษัตริย์องค์ที่ 10 แห่งราชวงศ์สิงหนวัติ ผู้ปกครองนครโยนก นาคพันธุ์ สิง่ ทีน่ า่ สนใจภายในวัด ได้แก่ ไพชยนต์ปราสาททีป่ ระดิษฐานพระแก้วมรกตจำ�ลอง พระราชานุสาวรียส์ มเด็จพระนเรศวรมหาราช จุดชมวิวฝัง่ ไทยและพม่า ทัง้ นีเ้ นือ่ งจากคำ�ว่า เวา เป็นภาษาล้านนาแปลว่า แมงป่อง จึงมีรปู ปัน้ แมงป่องยักษ์สร้างไว้เป็นสัญลักษณ์ของวัด ด้วย นอกจากนี้ ในทุกปีจะมีประเพณีสักการะพระธาตุในวันมาฆบูชา และประเพณีสรงน้ำ� พระธาตุในวันสงกรานต์อีกด้วย สถานที่ตั้ง : ถนนพหลโยธิน ตำ�บลเวียงพางคำ� อำ�เภอแม่สาย People of Chiang Rai believe that Phra That Doi Wao Pagoda was built after Phra That Doi Tung Pagoda in Yonok Nakapan Era. In the temple, there is a replica of the Emerald Buddha, and a big scorpion sculpture. “Wao” in Northern dialect means scorpion. Location : Amphoe Mae Sai, Chiang Rai 29


วัดพระธาตุเจดีย์หลวง (Wat Phra That Chedi Luang)

วัดประจำ�เมืองเชียงแสนซึ่งเชื่อว่าสร้างโดย พญาแสนภู ในช่วงต้นของการ สร้างเมือง ภายในวัดมีเจดีย์ประธานอยู่กลาง เจดีย์รายล้อมรอบ 4 มุม และมีพระ อุโบสถอยู่ด้านทิศตะวันออกของเจดีย์ เจดีย์ประธานเป็นทรงระฆังแบบล้านนา สูง 88 เมตร ฐานกว้าง 24 เมตร นับว่ามีขนาดใหญ่และสูงทีส่ ดุ ในเมืองโบราณเชียงแสน จึงได้ชื่อว่า วัดเจดีย์หลวง เพราะคำ�ว่า หลวง ในภาษาล้านนาหมายถึง ใหญ่ ต่อมามี สภาพทรุดโทรมตามกาลเวลา ในปี พ.ศ. 2058 จึงมีการก่อเจดีย์ขึ้นมาใหม่บนฐาน เดิม สถานที่ตั้ง : ตำ�บลเวียง อำ�เภอเชียงแสน This important temple was founded in the reign of King Saenphu. Luang in Northern dialect is big, this pagoda is the biggest pagoda in Chiang Saen. In 1965, there was a big restoration; the big pagoda was rebuilt again. Location: Toambol Wiang, Chiang Saen 30


วัดป่าสัก (Wat Pasak)

วัดโบราณทีพ่ บร่องรอยฐานอาคารโบราณสถานสร้างด้วยอิฐอยู่ 7 แห่งภายใน วัด สิ่งเดียวที่ยังคงสภาพสมบูรณ์ที่สุดคือ เจดีย์ประธานทรงปราสาทยอดทรงระฆังแบบ ห้ายอดซึ่งมีลวดลายปูนปั้นที่สวยงาม เจดีย์นี้สร้างโดยพญาแสนภู เมื่อ พ.ศ. 1883 เพื่อบรรจุพระบรมสารีริกธาตุที่พระพุทธโฆษาจารย์ได้อัญเชิญมาจากอินเดีย หลังจาก สร้างวัดได้ปลูกต้นสักล้อมรอบกำ�แพงจำ�นวน 300 ต้น จึงได้ชื่อว่า วัดป่าสัก ตั้งอยู่ติด กับกำ�แพงเมืองโบราณเชียงแสนด้านนอกฝั่งทิศตะวันตก พื้นที่วัดกว้างขวาง วางขนาน ไปกับคูเมือง สถานที่ตั้ง : ตำ�บลเวียง อำ�เภอเชียงแสน One of the most perfect old pagodas (Chedi) is in Wat Pasak in the Ancient Chiang Saen Archeological Site. The Chedi was built in 1340 by King Saenphu, after building the temple, he also had the people planted 300 teak tree around it. The name of the temple is after the Teak Forest: Pasak (literally translated). Location: Toambol Wiang, Chiang Saen 31


โบราณสถานเมืองโบราณเชียงแสน (Ancient Chiang Saen Archeological Site) ตามหลักฐานการสร้างเวียงเชียงแสนเชือ่ ว่า พญาแสนภู นัดดาของพญามังรายเป็น ผูส้ ร้างเวียงเชียงแสนทับบริเวณทีเ่ คยเป็นเมืองหิรญ ั นครเงินยางซึง่ ลวจังกราชปกครองมาก่อน เวียงเชียงแสนจึงเป็นเมืองโบราณทีม่ หี ลักฐานทางประวัตศิ าสตร์และโบราณคดีอยูม่ ากมาย มี โบราณสถานสำ�คัญ ได้แก่ วัดพระธาตุเจดีย์หลวง วัดป่าสัก กำ�แพงเมืองคูเมือง และอื่น ๆ หลงเหลือมาจนถึงปัจจุบัน ทั้งนี้ เวียงเชียงแสนก็ยังเป็นเมืองโบราณที่มีตำ�นานเกี่ยวเนื่องกับ อีกหลายเมืองในยุคตำ�นานเดียวกัน ไม่ว่าจะเป็นแคว้นสุวรรณโคมคำ� โยนกนาคพันธุ์ และ เวียงปรึกษา อีกด้วย สถานที่ตั้ง : ตำ�บลเวียง อำ�เภอเชียงแสน Chiang Saen or Wiang Chiang Saen was called Hirun Nakorn Ngern Yang. The city was rebuilt again by Phraya Saenphu; 3rd King of Mang Rai dynasty (King Mang Rai’s grand son). There are beautiful Lanna style bas-reliefs on the Chedi, old Buddha images, which reflect the art and economic prosperity at that time. Location : Amphoe Chiang Saen, Chiang Rai 32


โบราณสถานพระเจ้ากือนา (King Kue Na Ancient Remains)

ตามตำ�นานเล่าว่า พญากือนา กษัตริย์ลำ�ดับที่ 6 ของราชวงศ์มังรายได้เสด็จ มายังเมืองเชียงแสน เมื่อมาถึงบริเวณลุ่มแม่น้ำ�กกจึงได้สร้างเวียงกือนาขึ้นในปี พ.ศ. 1928 ต่อมาเมือ่ อาณาจักรล้านนาตกอยูใ่ ต้อ�ำ นาจพม่าเวียงกือนาเองก็เสือ่ มลงกลาย เป็นสถานที่รกร้าง เหลือเพียงหลวงพ่อใหญ่หรือพระเจ้าเวียงกือนาอยู่องค์เดียว สถานที่ตั้ง : บริเวณริมแม่น้ำ�กก บ้านไตรแก้ว ตำ�บลเวียงเหนือ อำ�เภอเวียงชัย Wieng Kue Na Ancient Remains was established in 1928 by Phraya Kue Na, the 6th king of Mengrai dynasty. It is now a sacred place for locals, they named the Buddha statue after the King Kue Na. Every year in Songkran Festival, people sprinkle holy water to this Buddha statue for the good beginning of the year. Location : at the bank of Mae-Kok River, Ban Tri-Keaw, Tambon Wiang Nurd, Amphoe Wiang Chai. 33


โบราณสถานเวียงกาหลง (Wiang Kalong Ancient Site)

เมืองโบราณตัง้ อยูบ่ นเทือกเขาดอยหลวง มีความเกีย่ วพันกับตำ�นานแม่กาเผือก มารดาของพระพุทธเจ้าห้าพระองค์ ลักษณะผังเมืองมีรูปร่างยาวรี แนวกำ�แพงดินและ คูน้ำ�ที่ล้อมรอบตัวเมืองถูกออกแบบให้มีความซับซ้อนเพื่อป้องกันศัตรูและสัตว์ป่า ผู้ที่ไม่ ชำ�นาญทางจะหลงวนเวียนหาทางออกไม่ได้ จึงเป็นทีม่ าของชือ่ เวียงกาหลง นักโบราณคดี สันนิษฐานว่ามีความสัมพันธ์กับประวัติการสร้างพระธาตุแม่เจดีย์ ดังนั้นน่าจะสร้างขึ้น ในช่วงปี พ.ศ.1500-1600 โดยพระเจ้าอโนรธามังช่อแห่งพุกาม ปัจจุบันยังหลงเหลือ ร่องรอยของคูน�้ำ คันดินบางส่วนให้เห็น มีวดั เวียงกาหลงและสถาปัตยกรรมทีส่ ร้างขึน้ ใหม่ มากมาย ที่น่าสนใจ คือ โรงจัดแสดงเคลือบดินเผาโบราณเวียงกาหลงภายในวัด สถานที่ตั้ง : บ้านป่าส้าน ตำ�บลเวียงกาหลง อำ�เภอเวียงป่าเป้า Wiangkalong Ancient Site has the elongated town plan as the same as other old cites around this area, nowadays it remains only the traces of ditch and ridges which is once protect the town from enemies and wild animals. In the temple there is a newly built museum, in the same area also displaying miniature of ancient kilns and Wiang Kalong pottery. Location : Ban Pha San, Tambon Hua Fai, Amphoe Wiang Pa Pao, Chiang Rai 34


เตาเผาสล่าทัน (Kiln of Artisan Than)

เมือ่ ประมาณปี พ.ศ. 2526 หลังจากทีม่ ชี าวต่างชาติเข้ามาศึกษาเครือ่ งปัน้ ดินเผา ในเวียงกาหลง ทำ�ให้ชาวบ้านให้หนั มาขุดหาเครือ่ งปัน้ ดินเผาตามแหล่งเตาเผาโบราณต่าง ๆ เพื่อนำ�ไปขายแก่พ่อค้าวัตถุโบราณ ทำ�ให้สล่าทัน ธิจิตตัง เริ่มเกิดความหวงแหนในสิ่งที่ บรรพบุรุษได้สร้างมา จึงเริ่มสนใจศึกษาประวัติศาสตร์ความเป็นมาของเวียงกาหลง รวมทั้ง ศึกษากรรมวิธกี ารผลิตเครือ่ งเคลือบดินเผาตามแบบโบราณ ทำ�ให้เครือ่ งเคลือบเวียงกาหลง เป็นที่รู้จักทั่วไป จนได้รับเลือกให้เป็นผลิตภัณฑ์หนึ่งตำ�บลหนึ่งผลิตภัณฑ์ระดับ 4 ดาว ใน ปี พ.ศ. 2546 สถานที่ตั้ง : ตำ�บลเวียงกาหลง อำ�เภอเวียงป่าเป้า Mr. Than Tijittank is one of the finest pottery makers and is also the man of wisdom of the community. He studied characteristics of Wiang Kalong clay, Wiang Kalong ancient pottery making procedures, art on the pottery and history since 1983. In his house, he displays the most perfect ancient Wiang Kalong pattern vases and the ruins that he found from many old kilns. Location : Address 96, Moo 3, Tambon Wiangkalong, Amphoe Wiang Pa Pao, Chiang Rai 35


เตาเผาโบราณทุ่งม่าน (Thung Man Ancient Kiln)

เตาเผาโบราณทีผ่ ลิตเครือ่ งเคลือบดินเผาเวียงกาหลงมาตัง้ แต่ตน้ พุทธศตวรรษที่ 21 แห่งนี้ ชาวบ้านเรียกกันว่า เตาอุย๊ ทา ปัจจุบนั จัดตัง้ เป็นศูนย์ศกึ ษาโครงการโบราณคดี เครื่องเคลือบดินเผาเวียงกาหลงบ้านทุ่งม่าน เป็นเตาเผาทรงประทุน โครงสร้างทุกส่วน ก่อพอกด้วยดินเหนียวเป็นผนังหนาเชื่อมต่อกันตลอด ปล่องเตาแคบและสูง ห้องไฟยาว เกือบครึ่งหนึ่งของความยาวตัวเตาทั้งหมด สถานที่ตั้ง : บ้านทุ่งม่าน ตำ�บลเวียงกาหลง อำ�เภอเวียงป่าเป้า Thung Man Ancient Kiln or “Kiln of Grandfather Tha” was fired and support community since 21st century (B.E). Now, it becomes a learning center. Location : Ban Thungmand, Moo 3, Tambon Wiangkalong, Amphoe Wiang Pa Pao, Chiang Rai

36


โบราณสถานเวียงเชียงรุ้ง (Wiang Chiang Rung Ancient Site)

เมืองโบราณทีช่ าวบ้านเรียกว่า เวียงฮุง้ ถูกค้นพบเมือ่ ปี พ.ศ. 2523 มีลกั ษณะเป็น เนินสูงอยูก่ ลางทุง่ นา สันนิษฐานว่ามีอายุมากกว่าพันปี มีคเู มืองสามชัน้ ป้อมปราการ ประตู หอรบ ซากเจดีย์ พระพุทธรูปหิน ถ้วยชาม ฯลฯ ในเวลาต่อมาได้ค้นพบศิลาจารึกหินทราย ปัจจุบันภายในเขตโบราณสถานมีวัดเวียงเชียงรุ้งและพิพิธภัณฑ์ซึ่งเก็บรวบรวมวัตถุโบราณที่ ถูกค้นพบ สถานที่ตั้ง : บ้านห้วยเคียน ตำ�บลทุ่งก่อ อำ�เภอเวียงเชียงรุ้ง Wiang Chiang Rung Ancient Site is the over 1,000 aged site. The old city was discovered in 1980, the archeologist found the ancient remains such as pagoda, stone Buddha images, old stone manuscripts. It is located on a high hill in the middle of large rice field. Visit the museum in the same area to see the Wiang Chiang Rung’s collection. Location : Near the bank of Lao River, Ban Huay Kian, Tambon Thung Ko, Amphoe Wiang Chiang Rung, Chiang Rai. 37


เส้นทางมงคล : ไหว้พระธาตุเก้าจอม

Auspicious Temples and the Route of 9 Chedis

38


ชาวเชียงรายมีความเชือ่ ว่า หากผูใ้ ดได้ไปสักการะพระธาตุเก้าจอม ซึง่ หมาย ถึง พระธาตุเจดีย์สำ�คัญของเชียงรายที่ขึ้นต้นด้วยคำ�ว่า “จอม” จำ�นวน 9 องค์ภายใน หนึ่งวัน ก็จะเป็นสิริมงคลแก่ชีวิต นักท่องเที่ยวที่มาเยือนจังหวัดเชียงรายหลายคนจึง เลือกการสักการะพระธาตุเก้าจอมเป็นหนึ่งในเส้นทางการท่องเที่ยวสำ�หรับหนึ่งวัน เรียกว่านอกจากจะได้เที่ยวชมสถาปัตยกรรมอันงดงามของวัดวาอารามต่าง ๆ แล้ว ยังจะได้ความเป็นมงคลและอิ่มเอมใจกลับไปอีกด้วย การเดินทางไปสักการะพระธาตุ เก้าจอมนั้น ไม่ได้บังคับว่าจะต้องเริ่มต้นจากที่ไหนเป็นที่แรก จึงขึ้นอยู่กับแรงศรัทธา หรือใกล้ที่ไหนไปที่นั่น แต่ให้ครบทั้ง 9 องค์ภายในหนึ่งวัน พระธาตุเก้าจอม ได้แก่ พระธาตุดอยจอมทอง พระธาตุจอมสัก พระธาตุ จอมหมอกแก้ว พระธาตุจอมแจ้ง พระธาตุจอมผ่อ พระธาตุจอมแว่ พระธาตุจอมจ้อ พระธาตุจอมกิตติ พระธาตุจอมจันทร์ ซึ่งพระธาตุแต่ละองค์มีความสำ�คัญดังต่อไปนี้ Jom means hills in old Nothern dialect. Normally in the past, all the pagodas are built on the top of the hill. Therefore, many of them sharing the same initial name “Jom”. People of Chiang Rai believe that in one day of worshipping these 9 pagodas, which are Jom Thong, Jom Sak, Jom Mok Kaew, Jom Jaeng, Jom Phoe, Jom Wae, Jom Jor, Jom Kitti and Jom Jan, will bring good luck and good karma to them.

วัดพระธาตุดอยจอมทอง (Wat Phrathat Jomthong)

วัดเก่าแก่ซงึ่ สันนิษฐานว่าน่าจะมีมาก่อนทีพ่ ญามังรายจะสร้างเมืองเชียงราย ในปี พ.ศ. 1805 เป็นที่ประดิษฐานพระธาตุจอมทอง โดยจะมีพิธีสรงน้ำ�พระธาตุใน วันขึ้น 15 ค่ำ� เดือน 3 เป็นประจำ�ทุกปี และเป็นที่ประดิษฐานเสาสะดือเมือง 108 หลัก สร้างโดยใช้รูปแบบจักรวาลคติของล้านนา โดยชาวเชียงรายเชื่อว่าเป็นสิ่งสำ�คัญ คู่เมืองจึงนิยมมาสรงน้ำ�สักการะด้วยเชื่อว่าจะทำ�ให้อยู่ร่มเย็นเป็นสุข สถานที่ตั้ง : ตำ�บลเวียง อำ�เภอเมืองเชียงราย Presumably this temple was founded before 1262, (the year that King Mengrai started building the city). The Chedi was built in 940 by King Pangkaraj, it is mixed between Bagan and Lanna art style. In the temple area, there are also the Navel 108 City Pillars which was built in 1980 according to Tai-Lue beliefs, metaphysical thoughts and principles of Lanna’s cosmology. This place was created in the occasion of Chiang Rai’s 725th anniversary and to celebrate the Diamond Jubilee of King Rama 9. Location : Tambol Wiang, Muang, Chiang Rai 39


วัดพระธาตุจอมสัก (Wat Phrathat Jom Sak)

ตามตำ�นานเล่าว่า พระธาตุสร้างขึ้นในสมัยโยนก โดยในรัชสมัยพระเจ้าพังคราชได้ มีพระเถระรูปหนึ่งจากเมืองสุธรรมวดีนำ�เอาพระบรมสารีริกธาตุจากประเทศลังกามาถวาย จำ�นวน 16 องค์ พระเจ้าพังคราชทรงโปรดให้แบ่งพระธาตุออกเป็น 3 ส่วน ส่วนหนึ่ง ประดิษฐานอยูบ่ นพระธาตุดอยจอมทอง อีกส่วนหนึง่ ประดิษฐานอยูท่ พี่ ระธาตุจอมกิตติ และ อีกส่วนสุดท้ายนำ�มาประดิษฐานทีพ่ ระธาตุดอยบ้านยาง ต่อมาในปี พ.ศ. 2490 ครูบาคำ�หล้า สังวโรได้เป็นประธานในการบูรณะพระธาตุ โดยสร้างองค์ใหม่ครอบพระธาตุองค์เดิมไว้ พร้อม เปลี่ยนชื่อเป็น พระธาตุจอมสัก สถานที่ตั้ง : ตำ�บลบ้านดู่ อำ�เภอเมืองเชียงราย The Chedi was built in Yonok Era by King Pangkaraj who recieved the Buddha relics from Lanka monks. He devided the relics in 3 parts and placed them in different chedis which are Prathat Jom Thong Chedi, Prathat Jom Kitti Chedi and the last one is in a chedi on Ban Yang hill. In 1947, there was a restoration and the new given name to this chedi is “Phrathat Jomsak”. Location: Tambol Ban Du, Muang, Chiang Rai 40


พระธาตุจอมหมอกแก้ว (Phra That Chom Mok Kaeo)

ชาวเชียงรายนับถือกันว่า หากผู้ใดได้สักการะพระธาตุจอมหมอกแก้วจะประสบ ความสำ�เร็จในสิง่ ทีม่ งุ่ หวัง อุปสรรคทีม่ จี ะเลือนหายคล้ายหมอกแก้วเบาบางลง เชือ่ กันว่าเป็น พระธาตุเก่าแก่แต่ก็ไม่พบหลักฐานชัดเจนว่าสร้างตั้งแต่ในสมัยใด มีประวัติว่า เมื่อราวร้อย กว่าปีที่ผ่านมานี้ มีชาวบ้านได้เข้าไปหาของป่าและพบจอมปลวกที่มีลักษณะคล้ายพระธาตุ ตั้งอยู่บนเนินดินเตี้ย ๆ มีเศษเครื่องปั้นดินเผากระจัดกระจายอยู่ทั่วบริเวณ ชาวบ้านจึงเชื่อ ว่าจอมปลวกได้ขึ้นคลุมที่บรรจุอัฐิของกษัตริย์ในสมัยโบราณ สันนิษฐานว่า องค์พระธาตุ จอมหมอกแก้วอาจถูกสร้างขึ้นมาครอบจอมปลวกดังกล่าวในภายหลัง สถานที่ตั้ง : บ้านดงมะเฟือง ตำ�บลจอมหมอกแก้ว อำ�เภอแม่ลาว Phra That Jom Mok Kaeo is the one of nine respectable pagodas for local people. They believe that worshipping this pagoda would blow all problems and obstacles away as the same as blowing the fog (Mok aka fog), and will be success in what ever they wish. Location : Ban Dong Mafueang , Tambon Jom Mok Keaw, Amphoe Mae Lao, Chiang Rai 41


42


วัดพระธาตุจอมแจ้ง (Phra That Jom Jaeng)

ภายในวัดประดิษฐานหลวงพ่อทองทิพย์ พระพุทธรูปศักดิส์ ทิ ธิท์ เี่ ชือ่ ว่าหาก ได้มากราบไหว้ทุกสิ่งที่หวังไว้จะสมดังใจปรารถนา รวมทั้งเป็นที่ประดิษฐานพระธาตุ จอมแจ้งอันมีต�ำ นานว่า มีพระเถระรูปหนึง่ เดินทางไกลมาเทศนาผูค้ นจนมาถึงบริเวณ นี้ตอนใกล้รุ่ง ได้ขอให้อุบาสกชราไปตักน้ำ�ที่แม่น้ำ�ซ่วยมาล้างหน้า ก่อนที่พระเถระ จะออกเดินทางต่อก็ได้มอบพระบรมสารีริกธาตุให้อุบาสกชราผู้นั้นนำ�ไปบรรจุลงใน พระธาตุ โดยทำ�นายว่าต่อไปชาวบ้านจะเรียกพระธาตุองค์นี้ว่า พระธาตุจอมแจ้ง ส่วนแม่น้ำ�ซ่วยจะถูกเรียกใหม่ว่า แม่น้ำ�สรวย สถานที่ตั้ง : ตำ�บลแม่สรวย อำ�เภอแม่สรวย Phra That Jom Jaeng is one of nine respectable pagodas in Chiang Rai. It is the place where the old and sacred Buddha image, Phra Jao Thong Thip is located. People believe that all the wishes may come true if they pray and pay respect to this Buddha image. Location : Tambon Mae Suai, Amphoe Mae Suai, Chiang Rai

พระธาตุจอมแว่ (Phra that Jom Wae)

เชือ่ กันว่าสร้างโดยพญางำ�เมืองกษัตริยแ์ ห่งอาณาจักรภูกามยาวหรือพะเยา ประมาณปี พ.ศ. 1837 พระองค์ได้เสด็จขึ้นดอยซางคำ�ซึ่งเป็นชื่อเดิมของดอยแว่ เพื่อสำ�รวจดูบ้านเมืองและไพร่ฟ้าประชาราษฎร์ เมื่อเสด็จกลับภูกามยาวจึงโปรดให้ เหล่าเสนาอำ�มาตย์ไปสร้างพระธาตุจอมแว่ขนึ้ ทีด่ อยซางคำ� โดยได้บรรจุพระเกศาธาตุ แก้วแหวนเงินทองของมีค่าต่าง ๆ ไว้ในองค์พระธาตุด้วย ในยุคสมัยถัดมาบ้านเมือง ไม่สงบสุข ชาวบ้านจึงอพยพไปอยู่เมืองอื่นทำ�ให้พระธาตุจอมแว่ทรุดโทรมลง มาได้ รับการบูรณปฏิสังขรณ์อีกครั้งในอีกหลายร้อยปีต่อมา สถานที่ตั้ง : ตำ�บลเมืองพาน อำ�เภอพาน Phra That Chom Wae is the one of 9 respectable pagodas in Chiang Rai. Presumably, King Ngam Meuang, the king of Phu Kam Yao built the temple in 1294. The temple was deserted and was restored over 100 years later. Location: Tambol Muang Phan, Phan 43


44


พระธาตุจอมผ่อ (Prathat Jom Phoe)

พระธาตุเก่าแก่ที่สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2263 โดยเชื่อกันว่าหากใครได้สักการะ กราบไหว้และตัง้ จิตอธิษฐานต่อองค์พระธาตุแล้ว ชีวติ จะดีและรุง่ เรือง เปรียบได้ดงั่ การ “ลืมตาผ่อ” หรือ “ลืมตามอง” เห็นแสงสว่างในชีวิตนั่นเอง ในวันขึ้น 15 ค่ำ� เดือน 4 ของทุกปีจึงมีผู้คนหลั่งไหลมาร่วมงานประเพณีสรงน้ำ�พระธาตุจอมผ่อ เพื่อสักการะ องค์พระธาตุอย่างเนืองแน่น สถานที่ตั้ง : บ้านดง-หล่ายหน้า ตำ�บลเวียง อำ�เภอเวียงป่าเป้า Prathat Jom Phoe is one out of 9 important pargodas of Chiang Rai. Phoe in Northern dialect means “to watch”, in this context the name of the pagoda means to enlighten. Therefore, people who worship Phrathat Jom Phor will be enlightened. This pagoda was founded in 1720. Location: Bandong-Laina, Tambol Wiang, Wiang Papao

พระธาตุจอมจ้อ (Phra That Jom Jor)

พระธาตุส�ำ คัญคูเ่ มืองเทิงมาแต่อดีตองค์นมี้ ตี �ำ นานว่า เมือ่ ครัง้ ทีพ่ ระพุทธเจ้า พักอยูใ่ ต้ตน้ อโศกใกล้แม่น�้ำ อิงได้มพี ญานาคตนหนึง่ ไปเข้าเฝ้า โดยนำ� “จ้อ” หรือ “ช่อ” ซึ่งเป็นทองคำ� 3 ผืนและแก้ว 3 ผืนถวายแด่พระพุทธองค์ เมื่อพระอานนท์ทูลขอ พระธาตุเพื่อมอบให้แก่พญานาคตนนั้น พระพุทธองค์จึงทรงลูบพระเศียรได้พระเกศา ธาตุเส้นหนึ่งเพื่อมอบให้แก่พญานาค พญานาคจึงไปทูลเจ้าเมืองเทิงให้สร้างพระธาตุ เพือ่ บรรจุพระเกศาธาตุไว้กลางดอยทีพ่ ระพุทธเจ้าประทับ โดยให้ชอื่ ว่า พระธาตุจอมจ้อ สถานที่ตั้ง : บ้านเวียงจอมจ้อ ตำ�บลเวียง อำ�เภอเทิง Prathat Jom Jor is one out of 9 important pargodas of Chiang Rai. Chor in Northern Dialect is the classification of clothe. From the local Buddhist tale, Lord Buddha visited this area; the Naga (Lanna myth creature) learnt that. He came paying his respect by giving Lord Buddha three pieces of golden clothe. Pra Arnont; the Lord Buddha follower asked Lord Budhha to give something in return and he pout one of his hairs and gave it to the Naga. Then the Naga came to the Thoeng’s governor and asked him to build a pagoda and named it Phrathat Chomjor to keep Lord Buddha’s hair relics. Location : Amphoe Thoeng, Chiang Rai 45


พระธาตุจอมกิตติ (Phra That Jom Kitti)

พระธาตุเก่าแก่ซึ่งสร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 1483 ในสมัยพระเจ้าพังคราช ต่อมา ในปี พ.ศ. 2030 เจ้าเมืองเชียงแสนได้สร้างองค์พระธาตุใหม่แทนองค์เดิมทีท่ รุดโทรมลง องค์พระธาตุสร้างเป็นแบบทรงปราสาทยอดระฆัง หลังคารูปบัวคว่ำ� ฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัส ถัดขึน้ ไปเป็นฐานปัทม์ยอ่ มุมเรือนธาตุ มีซมุ้ ประดิษฐานพระพุทธรูปประทับยืนปูนปัน้ ทัง้ สี่ด้าน นอกจากนี้ บริเวณวัดยังสามารถมองลงมาเห็นวิวแม่น้ำ�โขงที่สวยงามอีกด้วย สถานที่ตั้ง : ตำ�บลเวียง อำ�เภอเชียงแสน Phra That Jom Kitti is one of nine respectable pagodas in Chiang Rai. This temple was built as the same time as Phrathat Jom thong and Jom Sak. The pagoda was restored in 1487 by Chiang Saen governor. At this temple, visitor will see spectacular view of Mekong River. Location : Amphoe Chiang Saen, Chiang Rai 46


พระธาตุจอมจันทร์ (Phra That Jom Jan)

องค์พระธาตุสร้างขึน้ ในปี พ.ศ. 2458 โดยครูบาทิพย์ ต่อมาในปี พ.ศ. 2480 เกิดไฟป่าไหม้ลกุ ลามมายังศาลาและกุฏิ เหลือแต่องค์พระธาตุเจดียแ์ ละวิหาร ชาวบ้าน จึงสร้างวัดใหม่ไม่ไกลจากวัดเดิม วัดพระธาตุจอมจันทร์ได้กลายเป็นวัดร้าง จนกระทั่ง ปี พ.ศ. 2542 จึงถูกบูรณะขึ้นมาใหม่ สถานที่ตั้ง : ตำ�บลสันทราย อำ�เภอแม่จัน Phra That Jom Jan is one of nine respectable pagodas of Chiang Rai. It was located in Chomchan Temple and built around 1915, by Kru Ba Thip with the help of local people. Location : Amphoe Mae Chan, Chiang Rai 47


เมืองแห่งชาติพันธุ์ที่หลากหลาย City of Diversity

48


หลายคนเชือ่ ว่าการออกเดินทางท่องเทีย่ ว คือ การเปิดประตูสกู่ าร เรียนรู้โลกกว้างและทำ�ความรู้จักกับผู้คนที่มีความแตกต่างหลากหลาย เพื่อ ให้เกิดความเข้าใจในตนเองและผู้อื่น ดังนั้นเชียงรายก็อาจเป็นคำ�ตอบหนึ่ง ของความเชือ่ ดังกล่าวได้ เนือ่ งจากเชียงรายเป็นจังหวัดชายแดนทีม่ ลี กั ษณะ เป็นเทือกเขาสูง จึงเป็นที่อยู่อาศัยของกลุ่มชาติพันธุ์บนพื้นที่สูงหลายกลุ่ม ทั้งอาข่า ม้ง เมี่ยน ลาหู่ ลีซู และปกาเกอะญอ รวมถึงกลุ่มชาวจีนกองกำ�ลัง กองพล 93 ที่ลี้ภัยสงครามมาอาศัยอยู่บนดอยแม่สลอง บนพื้นที่ราบเองก็ มีกลุม่ คนไทยวน ไทลือ้ ไทเขิน และไทใหญ่ ทีถ่ กู กวาดต้อนและอพยพเข้ามา ตามช่วงเวลาต่าง ๆ ในประวัตศิ าสตร์ มาตัง้ รกรากอยูบ่ ริเวณทีร่ าบลุม่ แม่น�้ำ ต่าง ๆ นานหลายร้อยปี แต่ละกลุ่มชาติพันธุ์ล้วนมีวิถีชีวิตและวัฒนธรรมเป็นของตนเอง รวมเป็นความหลากหลายทางวัฒนธรรม แต่ในท่ามกลางความแตกต่าง กลับ พบว่า แม้จะเป็นผูค้ นต่างชาติพนั ธุพ์ วกเขาก็สามารถอยูร่ ว่ มกันได้ในหมูบ่ า้ น เดียวกัน บนดอยเดียวกัน ในพื้นที่ใกล้เคียงกัน และต่างพึ่งพาอาศัยกันได้ เป็นสิ่งที่ยิ่งขับเน้นความโดดเด่นของเชียงรายให้น่าสนใจ น่าลงไปทำ�ความ รู้จัก และลองสัมผัสดินแดนแห่งขุนเขาที่ผู้คนหลากหลายต่างอยู่ร่วมกันได้ ด้วยความสุขสงบแห่งนี้ Fertility of land, peaceful city and easygoing people, are the characteristics of Chiang Rai that attract highlander immigrants who ran away from war or political conflicts from their countries and started to live permanantly in Thailand. Some of the ethnic groups dwelled along the rivers over 100 years. The people of Chiang Rai now are; Northern Thai People (Khon Muang), Akha, Hmong, Mian, Lahu, Lisu, Karen, Haw (Chineses who emigrated during Koumintang war), Tai Yuan, Tai Lue, Tai Kuen and Tai Yai. Despite the differences, everyone now lives here peacefully and harmoniously.

49


ชาวม้งบ้านทุ่งนาน้อย (Tung Na Noi Hmong village)

บ้านทุ่งนาน้อยเป็นหมู่บ้านชาวม้งที่ยังคงรักษาขนบธรรมเนียมและวิถีชีวิต ดั้งเดิมที่กลมกลืนกับธรรมชาติไว้ได้เป็นอย่างดี เหมาะสำ�หรับผู้ท่ีรักการท่องเที่ยว ธรรมชาติและสนใจเรียนรู้วัฒนธรรมที่แตกต่าง โดยมากแล้วนักท่องเที่ยวมักจะวางแผน เส้นทางการท่องเทีย่ วหมูบ่ า้ นทุง่ นาน้อยแล้วต่อไปยังน้�ำ ตกห้วยตอง ซึง่ อยูห่ า่ งออกไป 3 กิโลเมตร ช่วงเวลาทีเ่ หมาะกับการท่องเทีย่ วคือตัง้ แต่เดือนตุลาคมไปจนถึงเดือนมีนาคม ไม่แนะนำ�ให้ไปเทีย่ วในหน้าฝนเพราะถึงแม้ระยะทางจากตัวอำ�เภอเชียงของไปยังหมูบ่ า้ น จะเพียง 9 กิโลเมตรแต่ค่อนข้างสมบุกสมบันเนื่องจากยังเป็นถนนลูกรัง สถานที่ตั้ง : บ้านทุ่งนาน้อย ตำ�บลเวียง อำ�เภอเชียงของ To learn traditional Hmong lifestyle, Tung Na Noi Hmong Village is a good option, the villagers still live their easy life the same as they was in the past, nice scenery and good hospitality. The good time for travel is from October to March, going in rainy season is not recommended. Location : Ban Thongnanoi, Chiang Khong, Chiang Rai 50


หมู่บ้านชาวอาข่าหล่อชา (Akha of Lorcha Village)

นั ก ท่ อ งเที่ ย วสามารถศึ ก ษาเรี ย นรู้ วิ ถี ชี วิ ต ของชาวอาข่ า ที่ แ ท้ จ ริ ง ได้ โ ดยไม่ มี การดัดแปลงหรือปรับเปลี่ยนเพื่อตอบรับการท่องเที่ยวได้ที่นี่ เพราะหมู่บ้านชาวอาข่า หล่อชาเป็นหมู่บ้านนำ�ร่องของโครงการหมู่บ้านท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมโดยชุมชนมีส่วน ร่วม ซึง่ ได้รบั การสนับสนุนโครงการจากสมาคมพัฒนาประชากรและชุมชน (PDA-Chiangrai) จึงสามารถจัดการการท่องเที่ยวชุมชนได้อย่างเป็นระบบ โดยยังคงรักษาความเป็นตัวตน ชุมชน และวัฒนธรรมดั้งเดิมไว้ได้อย่างเข้มแข็ง ทั้งนี้ การเยี่ยมชมหมู่บ้านจะต้องเสียค่า ธรรมเนียมเล็กน้อย เพื่อนำ�เงินรายได้ไปใช้ในการดำ�เนินโครงการต่อไป และเนื่องจาก หมู่บ้านตั้งอยู่ระหว่างทางขึ้นดอยแม่สลองจึงแนะนำ�ให้วางแผนการเที่ยวในทริปเดียวกัน สถานที่ตั้ง : หมู่บ้านชาวอาข่าหล่อชา ริมถนนสายท่าตอน-แม่จัน อำ�เภอแม่จัน Akha of Ban Lorcha is in the Cultural Tourism project; they do not try to change their own lifestyle to suit Tourism. Despite their strong identity, they still organize some tourism features for travellers to come. Location: Thaton- Mae Chan Road, Mae Cha

51


พิพิธภัณฑ์และศูนย์ศึกษาชาวเขา (Chiang Rai Hill Tribe Museum and Education Center)

เป็นที่รู้จักกันในชื่อสั้น ๆ ว่า พิพิธภัณฑ์ชาวเขา มีวัตถุประสงค์เพื่อเสริม สร้างความเข้าใจในชนกลุ่มน้อยที่อาศัยอยู่ในภาคเหนือของประเทศไทย จัดแสดง เรื่องราวเกี่ยวกับวัฒนธรรม วิถีชีวิตความเป็นอยู่ วัตถุสิ่งของ เครื่องใช้ ชุดแต่ง กายประจำ�เผ่าของทั้ง 6 ชาติพันธุ์บนพื้นที่สูงในเชียงราย ได้แก่ อาข่า มูเซอ เย้า กะเหรีย่ ง ลีซอ และม้ง ในรูปแบบของนิทรรศการและการฉายสไลด์ให้นกั ท่องเทีย่ ว ได้เลือกชมถึง 5 ภาษา คือ ไทย อังกฤษ ญี่ปุ่น เยอรมัน และฝรั่งเศส สถานทีต่ งั้ : สมาคมพัฒนาประชากรและชุมชนจังหวัดเชียงราย ถนนธนาลัย ตำ�บล เวียง อำ�เภอเมืองเชียงราย เวลาทำ�การ : เปิดจันทร์-ศุกร์ 08:30-18:00 น. เสาร์-อาทิตย์ 10:00-18:00 น. Hill Tribe and Education Center exhibited the Tribal lifestyle including culture, traditions, costumes of 6 ethnic groups: Akha, Lahu, Lisu, Yao, Karen and Hmong. There are slide shows of the highland people lifestyle with voice over of 5 languages for visitors to choose from. Location: Population and Community Development Association, Thanalai Road, Tambol Wiang, Muang, Chiang Rai Open: Mon-Fri 8.30 am -6.00 pm, Sat&Sun 10.00 am – 6.00 pm

พิพิธภัณฑ์วีรชนอดีตทหารจีนคณะชาติภาคเหนือ ประเทศไทย (Chinese Matyrs Memorial Museum)

อาคารรูปทรงสถาปัตยกรรมจีนซึ่งตั้งโดดเด่นอยู่ที่หมู่บ้านสันติคีรี เป็น พิพธิ ภัณฑ์จดั แสดงนิทรรศการ บอกเล่าเรือ่ งราวของทหารจีนคณะชาติ กองพล 93 (ก๊กมินตั๋ง) ซึ่งเป็นกองทัพของรัฐบาลจีนที่จอมพลเจียงไคเช็คส่งมารักษาชายแดน จีน-พม่า แต่ตอ่ มาเมือ่ รัฐบาลจีนพ่ายแพ้ตอ่ กองทัพทหารคอมมิวนิสต์ ทำ�ให้กองพล 93 กลายเป็นกองทหารไร้สังกัด จำ�ต้องหนีเข้าไปอยู่ในพม่าและถูกปราบจนมีบาง ส่วนหลบหนีเข้ามาในไทย ทีอ่ �ำ เภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ และทีด่ อยแม่สลอง จังหวัด เชียงราย รัฐบาลไทยอนุญาตให้อยู่ในฐานะผู้อพยพ เป็นกองกำ�ลังกันชนตามแนว ชายแดน และเป็นกองกำ�ลังทหารอาสาต่อสู้ปราบปรามคอมมิวนิสต์ในพื้นที่ดอย หลวง ดอยขาว ดอยผาหม่น และเขาค้อ จึงมีการตั้งป้ายวิญญาณไว้เป็นอนุสรณ์ สถานเพื่อรำ�ลึกถึงวีรชนอดีตทหารจีนคณะชาติ กองพล 93 ไว้ในห้องพิพิธภัณฑ์ ด้วย 52

สถานที่ตั้ง : หมู่บ้านสันติคิรี ตำ�บลแม่สลองนอก อำ�เภอแม่ฟ้าหลวง


Located in Santikiri Village, the Museum exhibits the story of the Koumintang Army Regiment. The display divided in 3 zones; the first one is the history of the Koumintang Army Regiment, the second one listing the name of the soldiers who got killed in the battle and the last one portraying the development of Doi Mae Salong by the help of Thailand’s Royal Family. Location: Santikiri Village, Mae Salong Nok, Mae Fah Luang

ชาวม้งบ้านร่มฟ้าไทย ( Hmong of Rom Fah Thai Village )

หมู่บ้านตั้งอยู่บนแนวตะเข็บชายแดนไทย-ลาว บนเทือกเขาแดนลาวติดกับ แม่น้ำ�โขง จากหมู่บ้านสามารถขึ้นไปชมพระอาทิตย์ขึ้นที่ภูช้ีฟ้า จากนั้นต่อไปชมความ อุดมสมบูรณ์ของป่าไม้เขตหนาวและเรื่องราวของบังเกอร์ประวัติศาสตร์ที่ภูชมดาวใน ช่วงสาย กลับลงมารับประทานอาหารม้งที่หมู่บ้าน เที่ยวชมศูนย์วัฒนธรรมม้ง บ้านม้ง โบราณ ชมการตำ�ข้าว ทำ�ขนมตุ๊บตั๊บ ทอผ้าใยกันชง นักท่องเที่ยวนิยมมาเที่ยวในช่วง หน้าหนาว วันประเพณีปีใหม่ม้งตรงกับวันขึ้น 1 ค่ำ� เดือน 2 จะมีการแสดงที่น่าสนใจ ในเดือนกุมภาพันธ์จะมีงานเทศกาลดอกเสีย้ วบาน มีการประกวดธิดาดอย ในช่วงมีนาคม ถึงเมษายนจะเหมาะกับการเดินป่า เที่ยวถ้ำ� หากต้องการพักโฮมสเตย์ศึกษาวิถีชีวิต ชาวม้งสามารถสอบถามชาวบ้านได้ สถานที่ตั้ง : บ้านร่มฟ้าไทย ตำ�บลปอ อำ�เภอเวียงแก่น Rom Fah Thai Village is situated on Daen Lao Range closed to Mekong River. From the village visitors could walk to see the sunrise at Phu Chi Fah then go to Phu Chom Dao in the late morning and have lunch in the Village. There are many activities to do such as making local sweets, rice making demonstration, hemp textile demonstration. The perfect timing for travelling here is winter (October to March). Location: Ban Rom Fah Thai Tambol Por, Wieng Kaen.

53


ชาวอาข่าบ้านสองแควพัฒนา (Akha of Song Kwae Pattana Village)

ชาวบ้านทีน่ ไี่ ด้ใช้ทนุ ทางวัฒนธรรมพัฒนาหมูบ่ า้ นให้เป็นชุมชนเข้มแข็งทีย่ งั คงวิถชี วี ติ แบบดั้งเดิม เป็นชุมชนท่องเที่ยวและแหล่งเรียนรู้วัฒนธรรมอาข่า กิจกรรมที่น่าสนใจ ได้แก่ การชมศูนย์วัฒนธรรมอาข่าซึ่งจัดแสดงวิถีชีวิตและเรื่องราวความเป็นมาของชุมชน จากนั้น สามารถไปดื่มน้ำ�ชาโบราณ ชมการตีมีด เรียนรู้วิธีดักสัตว์ป่า ชมสวนสมุนไพร ชมการแสดง ทานอาหารอาข่า เที่ยวน้ำ�ตกสองแควซึ่งเป็นทั้งที่พักผ่อนหย่อนใจ และแหล่งเรียนรู้การผลิต กระแสไฟฟ้าพลังน้�ำ ทีช่ าวบ้านใช้เป็นแหล่งพลังงานทดแทน หากต้องการพักโฮมสเตย์สามารถ สอบถามชาวบ้านได้ สถานที่ตั้ง : บ้านสองแควพัฒนา ตำ�บลแม่ยาว อำ�เภอเมืองเชียงราย Learning authentic Akha lifestyle at Song Kwae Pattana is quite informative and fun. There is village’s cultural center exhibiting the community history and lifestyle. Experience Akha’s ways to trap animals, see the herbs garden, and visit Song Kwae Waterfalls. Homestay is available. Location: Ban Song Kwae Pattana, Tambol Mae Yao, Chiang Rai

54


ชาวปกาเกอะญอบ้านรวมมิตร (Karen of Ruam Mit Village)

หมู่บ้านท่องเที่ยวชุมชนปกาเกอะญอที่สามารถนั่งช้างนำ�เที่ยวเพื่อชมวิถีชีวิต ชนเผ่าและสัมผัสธรรมชาติอย่างใกล้ชิด สามารถนั่งช้างไปยังน้ำ�ตกห้วยแม่ซ้าย เดินป่า ชมร้านจำ�หน่ายของทีร่ ะลึกจากฝีมอื ชาวเขาเผ่าต่าง ๆ ชมการแสดงวัฒนธรรมชนเผ่า และ พักโฮมสเตย์ในหมู่บ้าน ทั้งนี้ การนั่งช้างจะเริ่มตั้งแต่เวลา 08:00-16:00 น. โดยช้าง 1 เชือกนั่งได้ 2 คน เส้นทางท่องเที่ยวบนหลังช้างจะพาไปยังหมู่บ้านชาวเขาเผ่าต่าง ๆ ทั้ง ปกาเกอะญอ อาข่า ลาหู่ เย้า โดยมีหลายเส้นทางให้เลือก เส้นทางปกติคือเส้นทางไป บ้านจะทอของลาหู่ ขากลับพาล่องน้ำ�กกกลับมายังแคมป์ช้าง ใช้เวลาตั้งแต่ครึ่งชั่วโมงถึง 2 ชั่วโมง ราคาตั้งแต่ 200-700 บาท/เชือก/2ท่าน สถานที่ตั้ง : บ้านรวมมิตร ตำ�บลแม่ยาว อำ�เภอเมืองเชียงราย สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : ชมรมช้างบ้านกะเหรี่ยงรวมมิตรทัวร์ หรือ อบต. แม่ยาว โทร. 0 5373 7359-11 หากมาเป็นหมู่คณะต้องแจ้งให้ทราบล่วงหน้า 3 วัน Enjoy elephant riding through the forest to go to Mae Sai Water falls, trekking with Karen of Ruam Mit Village. See cultural performances, shopping handicrafts from Karen people. The elephant riding hours is 8 am-4 pm. The elephant riding route will pass Karen, Akha, Lahu, Yao Village. Each round will take either 30 mins or 2 hours depending on traveller’s need. Price starts from 200-700 bht, one elephant for 2 persons. 55


For more information: contact Elephant club of Ruam Mit tour or contact Sub-district Administrative Organization at 0 5373 7359-11 Location: Ban Ruam Mit, Tambol Mae Yao, Chiang Rai

ชาวไทยองบ้านสันทางหลวง (Tai Yong of San Thang Luang Village)

บ้านสันทางหลวงเป็นหมูบ่ า้ นชาวไทยอง หรือคนไทลือ้ จากเมืองยองทีถ่ กู กวาดต้อน เข้ามาในล้านนาสมัยพระเจ้ากาวิละ ปัจจุบันถูกพัฒนาขึ้นเป็นหมู่บ้านท่องเที่ยวชุมชน การ ท่องเทีย่ วมักเริม่ จาก ไปศึกษาชาติพนั ธุไ์ ทยองทีศ่ นู ย์วฒ ั นธรรมเฉลิมราชย์ในโรงเรียนจันจว้า วิทยาคม จากนั้นแวะไปนมัสการพระเจ้าห้าพระองค์ที่วัดป่ากุ๊กเพื่อความเป็นสิริมงคล ต่อยัง บ้านโบราณไทยองทีบ่ า้ นสันทางหลวง ชมวิถชี วี ติ คนไทยอง ชมสาธิตและเรียนรูง้ านหัตถกรรม พื้นบ้านต่าง ๆ ได้อย่างใกล้ชิดและเป็นกันเอง เช่น การทำ�กระบวยตักน้ำ�จากกะลามะพร้าว การทอผ้าไทยอง และการทำ�น้ำ�ผัก เป็นต้น ทั้งนี้ หากมาในช่วงเทศกาลจะได้เข้าร่วมพิธีการ สืบชะตารับขวัญและชมศิลปะการแสดงไทยองอีกด้วย สถานที่ตั้ง : บ้านสันทางหลวง ตำ�บลจันจว้า อำ�เภอแม่จัน People of Ban San Thang Luang are the group of people that was moved from Muang Yong in Xixuangbanna during the King Kawila period. The story of the community is well displayed in Tai Yong Cultural Center in Jan Jwa School. Experience Tai Yong lifestyle and see handicraft demonstrations in the village. Location: San Thang Laung Village, Tambol Jan Jwa, Mae Chan. 56


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.