}
madster(mad-sters) guideline2011
MEDIA ARTS AND DESIGN ยินดีต้อนรับ
เข้าสู่โลกของ MAD และเป็นสมาชิกของ MADSTER (Mad-sters) คู่มือเล่มนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับ ขอบเขตการเรียนการสอน ความสนใจ ของคณาจารย์และสถานที่เรียนให้ท่าน ได้ทำ�ความคุ้นเคย
Welcome to our MAD world and
to become the member of MADSTER (Mad-sters). You can find necessary MAD information including curriculum overview, studying directions, areas of interest and learning facilities in this handbook.
MEDIA ARTS AND DESIGN PROGRAM NEW SPACE FOR THINKING
since 2003 by the academic initiation of Uthit Atimana, Media Arts and Design, The Graduate School, Chiang Mai University, was formed to promote an interdisciplinary study of media theory. Since the very beginning years of the MAD, the philosophical foundation was constructed by theoretical collaboration from the following departments: Fine Arts, Mass Communication, Architecture and Engineering. With an emphasis on the theorization of media in certain topics engaging in art, design, technology, and media culture, the Media Arts and Design program proposes a practical program for graduate students to become media scholars and practitioners, whose creativity invents unique languages of aesthetic expression in critical communication
methods. By theorizing the disciplines from multiple areas of study and knowledge from both local and international levels, the media students are expected to gain a capacity of understanding the everyday contemporary life of people, and also about society at large. They will realize the importance of investigating analytical ideas, which is a catalyst for new bodies of knowledge; where as their social consciousness is gradually fabricated to reach social needs critically, artistically, and economically. Under an affluent learning atmosphere emphasizing on student centered learning, the course works are designed to coach media students to accomplish their careers through a practical basis.
06::07
หลักสูตรสื่อศิลปะและการออกแบบสื่อ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ริ เริ ่ ม โดย อาจารย์ อุ ท ิ ศ อติ ม านะ ได้ รั บ การอนุ ม ั ต ิ ใ นปี 2546 โดยมี ว ั ต ถุ ประสงค์ เ พื ่ อ สนั บ สนุ น การบู ร ณาการ ศาสตร์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับทฤษฎีสื่อ การดำ�เนินงานระยะแรกของสาขาวิชาฯ ได้รับ ความร่วมมือจากคณะวิจิตรศิลป์ คณะสือ่ สาร มวลชน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และคณะ วิศวกรรมศาสตร์ ที่ช่วยวางพื้นฐานโครงสร้าง ทางทฤษฎี การทฤษฎี ส ื ่ อ ที ่ ใช้ ใ นการเรี ย นการสอนของ สาขาวิชาฯ จะเป็นแนวที่เกี่ยวข้องกับศิลปะ การออกแบบ เทคโนโลยี และวัฒนธรรมสื่อ การเรียนการสอนของสาขาวิชาสื่อศิลปะและ การออกแบบสื่อ จะเป็นการเรียนการสอนที่ เน้นการปฏิบัติด้วยเช่นกัน ทั้งนี้เพื่อหวังผล การผลิตนักวิชาการและนักปฏิบัติที่มีความ คิดสร้างสรรค์ในการประดิษฐ์สื่อภาษาทาง สุนทรียศาสตร์เพื่อการนำ�เสนอมุมมองหรือ ประเด็นทางสังคมผ่านการวิพากษ์ การปูพน้ื นักศึกษาด้วยหลักคิด ทฤษฎีทม่ี าจาก
มุมมองต่างๆ จะประกอบด้วยองค์ความรู้ใน ระดับท้องถิ่นและระดับนานาชาติ สาขาวิชาฯ คาดหวังว่านักศึกษาจะเพิ่มพูนศักยภาพใน การสร้างความเข้าใจวิถีชีวิตร่วมสมัยขอคนใน สังคมวงกว้าง นักศึกษาจะมีความเข้าใจความ สำ�คัญของการวิเคราะห์หาประเด็น ความรู้ใหม่ๆ โดยมีความตระหนักถึงประเด็น ปัจจัยที่มีผลกระทบกับสังคมอย่างมีเหตุมีผล มี ม ุ ม มองทางศิ ล ปะความงามควบคู ่ ไ ปกั บ ความเข้าใจผลกระทบทางเศรษฐศาสตร์ภาย ใต้บรรยากาศทางการศึกษาที่เน้นนักศึกษาเป็น ศูนย์กลางกระบวนวิชาต่างๆได้รับการออกแบบ ให้ช่วยบ่มนักศึกษาให้สามารถจบไปสร้าความ สำ�เร็จในอาชีพของตนเองด้วยความพร้อมใน องค์ความรู้และทักษะ
Kosit Juntaratip อาจารย์โฆษิต จันทรทิพย์
http://www.khm.de/~kosit/html/work.html
Thasnai Sethaseree อาจารย์ทัศนัย เศรษฐเสรี
10::11
ETHNO GRAPHY CENTER FOR MEDIA ETHNOGRAPHY AND VISUALIZING CULTURE
New Space for Thinking is taking shape as an office that is aimed for critical research works. Media ethnography and visualizing culture are the main concerned topics which have become the crucial research contents that this office will be launching out. Emphasizing on the topics, the Thai society is the case study where media phenomenon will be investigated and visual logics that have made the Thai culture a field of being or becoming visualized politically, economically, geographically, and linguistically will be explored
“พื้นที่ใหม่สำ�หรับความคิด” นั้นคือปณิธานในการก่อร่างสาขาวิชาการวิจัยระดับนักวิพากษ์ ซึ่งการศึกษาชาติพันธุ์วรรณนาเชิงสื่อและวัฒนธรรมทางสายตานั้น เป็นหัวเรื่องการวิจัยหลัก ที่กลายมาเป็นกลจักรสำ�คัญอันหนึ่งจากทางสาขาวิชาสื่อศิลปะและการออกแบบสื่อ โดยเน้น การสืบสำ�รวจกรณีศึกษาจากปรากฏการณ์สื่อของสังคมไทย และตรวจสอบตรรกะที่มองเห็น ได้ต่างๆ อันส่งผลให้วัฒนธรรมไทยกำ�ลังเป็น หรือกำ�ลังจะกลายเป็นพื้นที่ทางรูปธรรมของ การเมือง เศรษฐกิจ การควบคุมเชิงกายภาพ และวาทกรรม
ETHNOGRAPHY
14::15
O-PER CEPTION CENTER FOR NEW MEDIA EXPERIMENTS
Critically studying the social phenomena in many dimensions; especially technology and media culture that generate a public collective consciousness in contemporary practices of life creating an unlimitedly compost of art presentation and special events about media as spaces for classic and modern thoughts. Experimenting for new possibilities of techniques and aesthetic to produce an experience that connects and stimulates the critical mind of spectators for questioning their own core value of life through all ordinary perceptions in each context.
ศึกษาทำ�ความเข้าใจ และวิพากษ์ปรากฏการณ์สังคมในมิติต่างๆ โดยเฉพาะด้านเทคโนโลยี และวัฒนธรรมสื่อ ซึ่งเป็นปฏิบัติการแนบชิดเป็นอันหนึ่งเดียวอันเดียวกันกับชีวิตร่วมสมัยที่ ก่อให้เกิดสำ�นึกร่วมสาธารณะ เพื่อสรรค์สร้างการนำ�เสนองานศิลปะ หรือปรากฏการณ์พิเศษ ที่ว่าด้วยสื่อทั้งใหม่และเก่าในเชิงพื้นที่ทางการเสนอความคิดเหล่านี้อย่างผสมผสานไม่จ�ำ กัด รูปแบบ ทั้งยังค้นคว้าทดลองหาความเป็นไปได้ใหม่ๆ ทางด้านเทคนิค และสุนทรียศาสตร์ใน ทำ�งานกับการรับรู้ผ่านทุกผัสสะในบริบทต่างๆผลิตประสบการณ์ที่เชื่อมโยง และกระตุ้นการ คิดวิเคราะห์ของผู้ชมให้ได้ร่วมกันค้นหาความหมายของชีวิตอันดีงามตามแบบฉบับของตน อย่างอิสระ
16::17
Kosit Juntaratip อาจารย์โฆษิต จันทรทิพย์
NOITPECREP-O
THE POSSIBILITY SENSE OF HUMANOTIX at MINIMAL GALLERY
20::21
22::23
DESIGN Utit Atimana อาจารย์อุทิศ อติมานะ
CENTER FOR ARTISTIC ECONOMIC DISCOURSE
Artistic practice is a tool of power >> therefore the purposes of study the art world and Design is not only study about beauty, composition, identity, image, functional objects or new media >> but is the visual culture studies about discourse and power >> to understand the shift of modern to post-modern paradigm >> natural of reality goodness and beauty can be diverse, complex and dynamic >>more freedom to artistic overlapping practice through multiple discourse >> to be creative >> negotiable >> protest >> or >> conspiracy >> or become presence and absence Our missions are to inquire about the relationship of complex factors in society >> the analysis of visual culture as media text to connotation world (theory, history, ideology) >> how society constructed the specific meaning >> ex. between globalization and locality >> between high - low habitus and lifestyle >> between tradition value and contemporary value >> between the center and margin >> between a company and the consumers >> between the producer and the user >> between artistic object and audients etc. The understanding of societal complex factors prompt us to questions >> how we are as the product of society? >> part of many discourse and power >> how we deliver “critical message” >> as art / as design / as mass communication strategy / as alternative media / or as social anthropology research etc. >> to balance in being responsive to economic, social or culture value >> make a specific meaning of life as proactive citizen >> participate in making a life and society that we can acknowledge.
ปฏิบัติการทางสุนทรียศาสตร์คือเครื่องมือหนึ่งของอำ�นาจ ดังนั้นประเด็นทางการศึกษาโลก ศิลปะและการออกแบบจึงไม่ใช่เพียงเรื่องความงาม องค์ประกอบศิลป์ อัตลักษณ์ ภาพลักษณ์ ประโยชน์ใช้สอย สื่อใหม่ ฯลฯ แต่คือการศึกษาวัฒนธรรมทางสายตาในฐานะเครื่องมือของ วาทกรรมและอำ�นาจ โดยเฉพาะในช่วงพัฒนาการทางสังคมจากกระบวนทัศน์สมัยใหม่สู่ยุค หลังสมัยใหม่ ที่ธรรมชาติของความจริง ความดี ความงาม มีความหลากหลาย ซับซ้อน ยืดหยุ่น มีเสรีภาพมากขึ้นในปฏิบัติการข้ามวาทกรรมที่หลากหลาย เพื่อสร้างสรรค์ ต่อรอง โต้แย้ง สมรู้ร่วมคิด หรือ ประท้วง ฯลฯ วาทกรรมและและอำ�นาจกลุ่มต่างๆ สู่ความมีตัวตน ความไร้ตัวตน ประเด็นการวิจัย มุ่งศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยต่างๆ ทางสังคม จากการวิเคราะห์โลกเชิง ปรากฏการณ์ (ภาพ วัตถุ กิจกรรมทางสุนทรียศาสตร์) สู่โลกเชิงนามธรรม (ทฤษฏี ประวัติศาสตร์ คุณค่า อุดมคติ ฯลฯ) ที่ผลิตความหมายเฉพาะอย่างไร? อาทิ การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง โลกาภิวัตน์ และท้องถิ่น ระหว่างความสูงต่ำ�ของรสนิยมและวิถีชีวิต ระหว่างคุณค่าประเพณี และคุณค่าร่วมสมัย ระหว่างความเป็นศูนย์กลาง และชายขอบ ระหว่างธุรกิจกับผู้บริโภค ระหว่างผู้สร้างสรรค์และผู้รับสาร หรือผลงานสร้างสรรค์กับสังคม เป็นต้น จากความเข้าใจความจริงที่ซับซ้อนของสังคม สู่การตั้งคำ�ถามที่ว่า “เราถูกสร้างสรรค์จาก สังคมอย่างไร?” ท่ามกลางคนอื่นรอบตัวเราที่แตกต่าง หลากหลาย เราจะนำ�เสนอ “สาร” เชิง วิจารณ์ในฐานะศิลปะ หรืองานออกแบบ หรือกลยุทธ์สื่อมวลชน หรือสื่อทางเลือก หรือ วิจัยทางมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ ฯลฯ อะไร/อย่างไร? ตอบสนองคุณค่าทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม อย่างมีดุลยภาคอย่างไร? เพื่อสร้างสรรค์ชีวิตที่มีความหมายเฉพาะในฐานะ “พลเมืองเชิงรุก” สร้างโลกให้เป็นโลกที่พอจะยอมรับได้ร่วมกัน
DE-SIGN
THE END OF HUMANITY PROJECT at CHAROEN MUANG warehouse
26::27
INFORMATIVE CULTURE CENTER FOR AESTHETIC INFORMATION ANALYSIS
Our research focuses on two important aspects of theoretical work in information design 1. investigating the right information management and 2. organizing information structure and all of the involved procedures. Problems that are common in information technology are estimated by utilizing it as the implementation for communication. Our research also gives mainly importance to Human Center Design. It is also aimed at researching and reserving the wisdom focused on information design to serve the community with an abundance of creativity, and good conscience.
เป็นการส่งเสริมงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบสารสนเทศอยู่ 2 ประเด็น คือ ในมุม ของทฤษฎี นักศึกษาต้องสามารถค้นคว้า และบริหารจัดการข้อมูลที่ถูกต้อง เพื่อนำ�ข้อมูลเหล่า นั้นมาเข้าสู่กระบวนการจัดให้มีโครงสร้าง เพื่อพร้อมนำ�เสนอ จากนั้นต้องสามารถประเมิน และ วิเคราะห์ปัจจัยที่จะมีผลกระทบกับชิ้นงานที่ออกแบบได้เพื่อเตรียมแก้ปัญหาการสื่อสาร งานวิจัยส่วนมากจะเน้นการออกแบบสำ�หรับผู้ใช้เป็นศูนย์กลาง โดยการเก็บข้อมูลจากกลุ่ม คนและชุมชนที่เกี่ยวข้องเป็นหลักเพื่อให้เกิดงานสร้างสรรค์
28::29
Weeraphan Chanhom อาจารย์วีระพันธ์ จันทร์หอม
INFORMATIVE CULTURE
INFORMATIVE CULTURE LAB at MEDIA ARTS AND DESIGN, cmu
32::33
Semester: Calendar: Forms dow >>www. design.org
34::35
wnload: mediaarts-
38::39
G INTERACTIVE DESIGN AND NETWORK
EXPERIMENT-C
AUDIO VISUAL
INFORMATION DESIGN WEB DESIGN
ETHNO GRAPHY CENTER FOR MEDIA ETHNOGRAPHY AND VISUALIZING CULTURE
O-PER CEPTION DESIGN
CENTER FOR NEW MEDIA EXPERIMENTS
CENTER FOR ARTISTIC ECONOMIC DISCOURSE
INFORMATIVE CULTURE CENTER FOR AESTHETIC INFORMATION ANALYSIS
CREATIVE ENTERPRISE CENTER FOR KNOWLEDGE DESIGN AND MANAGEMENT
madiFESTO MEDIA ARTS AND DESIGN FESTIVAL
A grotesque festival and an eccentric manifesto will be introduced through a unique art scene in the country where technologies are used senselessly; and social truths are canningly twisted, deceived, and concealed. The non-sensencial will be revealed by artists and designers to create the prologue for revolutionary media art based culturalists. The radical and H.I.P versus the murky-shiny-fooly-brilliant ideas; the serious versus the absurd ideas; the beneficial versus the unfavorable ideas; the visible versus the invisible ideas; and the stunning versus the disgusting ideas will be all demonstrated with love, care and pondering about through arts, design, and information media.
เทศกาลพิลึกลั่น แถลงการณ์สะท้านโลก อุบัติขึ้นแล้วด้วยศิลปการณ์พิเศษ ในประเทศที่ เทคโนโลยีถูกใช้อย่างไร้สาระและปัญหาสังคมในหลากมิติถูกบิดเบือน หลอกลวง ซ่อนเร้น อย่างไร้สาระพอๆ กัน ความไร้สาระเหล่านี้จะถูกนำ�เสนอโดยศิลปินและนักออกแบบเพื่อสร้าง เป็นปฐมบทสำ�หรับนักปฏิวัติวัฒนธรรมสื่อศิลปะ ความคิดขบถ ความคิดแนว ความคิดวิ้ง วิ้ง ทั้งซีเรียส และไม่ซีเรียส ทั้งมีประโยชน์ และไร้ประโยชน์ ทั้งมีตัวตนและไร้ตัวตน ทั้ง น่าสนใจและทั้งน่ารังเกียจ จะถูกสำ�แดงร่วมกันด้วยความรักและคิดถึงในหลากรูปแบบ ผ่าน ศิลปะ งานออกแบบ และสื่อสารสนเทศ
madi FESTO 2010
http://www.madfestival.org/
PUSH
แปลความเชิงกริยา หมายถึง การส่งสัญญาณ หรือแรง อย่างจงใจทำ�ให้เกิดปฏิกริยาการ เคลื่ อ นไหวหรื อ ผลลั พ ธ์ บ างอย่ า งทั้ ง ทางรู ป ธรรม และนามธรรม แม้ความหมายแบบคำ� นามจะหมายถึง “ปุ่ม” หรือ “การกด” แต่โดยการปรากฏของคำ�ว่า “PUSH” ทุกครั้ง มักหมายถึงการปฏิสัมพันธ์ระหว่างสิ่งต่างๆที่ แตกต่างกันอยู่เสมอ ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นไม่อาจ คาดเดาความหมายอย่างแน่นอนได้เสมอไป ผ่านการตีความ ภายใต้เงื่อนไขอย่างมีพลวัตร ในหลากบริบท “PUSH” จึงไม่มีความหมายใน ตัวเองอย่างตายตัวโดยสมบูรณ์และผลลัพธ์ที่ เกิดขึ้นอาจจะมิได้แสดงออกเชิงรูปธรรมเพียง เท่ า นั้ น ยั ง ก่ อ ให้ เ กิ ด ความเป็ น ไปได้ ใ นระดั บ นามธรรม ทำ�ให้เกิดอาการ “สั่นไหว” ของ ความหมายที่หยุดนิ่งก่อนหน้าอีกด้วยไม่มาก ก็น้อย ณ ที่ซึ่งความเป็นมนุษย์ถูกจำ�กัดหรือ ไม่สามารถแสดงศักยภาพที่จะเป็นมนุษย์อย่าง เต็มที่ได้ กระบวนการ “PUSH” ความหลาก หลายและการปะทะตะลุ ม บอนทางความ คิด ความรู้ เชิงวิพากย์วิจารณ์เป็นสิ่งที่จำ�เป็น อย่างหลีกเลี่ยงมิได้ ในฐานะกิจกรรมที่จะช่วย
MEDIA ARTS AND DESIGN FESTIVAL 2010 ครั้งที่ 2
ยกระดับความเป็นมนุษย์ที่สร้างสรรค์ให้เป็น ไปได้กว่าเดิมที่เป็นอยู่ผ่านการสะท้อน แลก เปลี่ยน ตีความ ตั้งคำ�ถาม ต่อสิ่งต่างๆ รอบ ตัวที่ทั้งมองเห็นและมองไม่เห็น พูดได้และ พูดไม่ได้ ปฏิบัติการณ์กระซับพื้นที่อภินิหาร ปฏิรูปพระเดชพระคุณทางศิลปะ ความรู้ สื่ อ สารสนเทศและการออกแบบจึ ง กลั บ มา อีกครั้ง (ไม่เข็ด) ผ่านชั้นเชิงเทคนิค เก่า-ใหม่ เนื้อหาทั้งก่อน-กลาง-หลังสมัยใหม่ รื้อสร้าง รื้อทิ้ง ตั้งแต่ฉลาด คมคาย กำ�กวม กล้ำ�กลืน งงงวย จอมปลอม สิ้นคิด แร้นแค้น ป่วยไข้ กระทั่ ง ห่ ว ยแตกไม่ มี ชิ้ น ดี แ ละอาจไม่ ก่ อ เกิ ด ประโยชน์คุณค่าใดๆ ทางศิลปะหรือสังคม “ที่ เน้นความปกติ” ในระดับสามัญสำ�นึกเป็นที่ ตั้งมากนัก แต่กระนั้นนักสร้างสรรค์ทั้งหลาย มิได้ทำ�หน้าที่เพียงสร้างความหฤหรรษ์บันเทิง หรือสำ�เร็จความใคร่ทางความคิดชั่วครู่ชั่วยาม เพียงเท่านั้น แต่ได้มีความพยายาม “PUSH” คุณค่าแห่งความเป็นมนุษย์และบางครั้งต้อง ยอมเสี่ยง (หรือยอมอาย) เพื่อรักษาอุดมคติ ดังกล่าวไว้ (ให้เหลือไว้บ้าง..หากมันยังมีอยู่) โปรดติดตามด้วยใจระทึกโดยพลัน...
42::43
46::47
48::49
50::51
52::53
54::55
ACTIVITIES OUR SPACE
&
filmSPACE space for new activities not a just image. just an image. Jean-luc Godard filmSPACE is an attempt to restore cinema to the public in Chiang Mai. Film enthusiasts can come together and watch films in an open-air theater weekly. Come have a cup of coffee and lie down under the stars and just watch films discussion to follow each screening of feature films and experimental work. Screening in every Saturday at 07:00 pm. | 3rd floor | Roof | Media Arts and Design CMU Art Center | Chiang Mai University filmSPACE คือกิจกรรมที่พยายามจะรื้อสร้างการจัดฉายภาพยนตร์ ให้กับสาธารณชนชาวเชียงใหม่ การจัดฉายจะมีขึ้นในทุกๆ วันเสาร์ตอนเย็น ณ โรงภาพยนตร์กลางแจ้งชั้นดาดฟ้าของอาคารสื่อศิลปะและการออกแบบสื่อ โดยมีดอยสุเทพวางตัวเป็นฉากหลัง มาร่วมกันดื่มด่ำ�เอนหลังใต้ดวงดาว ชมภาพเคลื่อนไหวและเสียงประกอบที่มีทั้งเนื้อหาเล่าเรื่อง และหรือไม่ว่า จะเป็นภาพไหวเคลื่อนและเสียงทดลองเพื่อสร้างปรากฏการณ์ทางสายตา และการรับรู้เชิงประสบการณ์ในรูปแบบแบบใหม่ แล้วสนทนา ถกปัญหา วิพากษ์ วิจารณ์ไปตามเนื้อหาสาระของภาพยนตร์
filmSPACE จัดฉายทุกยามเย็นวันเสาร์ เวลา 19:00 น. ที่ห้อง auditorium ชั้นสอง หรือ บริเวณดาดฟ้าชั้นสาม Media Arts and Design, CMU สาขาวิชาและการออกแบบสื่อ หอนิทรรศการศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
auditorium
computer lab
mad office + library
APICHAT SUKARAPHAT อภิชาติ ศุกรภาส (พี่หน่อย) EAKARAT SEEPIROM เอกรัตน์ สีภิรมย์ (พี่เอ็กซ์)
ourPeople
CHAIWAT SRIBOONRUAN ชัยวัฒน์ ศรีบุญเรือง (พี่วัฒน์)
> รายนามคณะกรรมการบริหารหลักสูตร สาขาวิชาสือ่ ศิลปะและการออกแบบสือ่ (Curriculum Committee) 1. อาจารย์วีระพันธ์ จันทร์หอม Prof.Weeraphan Chanhom 2. รศ.สมเกียรติ ตั้งนโม Assoc.Prof.Somkiat Tangnamo 3. รศ.อารยา ราษฎร์จำ�เริญสุข Assoc.Prof.Araya Rasdjarmreansook 4. รศ.ธีรภัทร วรรณฤมล Assoc.Prof.Teerapat Wannaruemon 5. ผศ.อรรนพ ลิมปนารมณ์ Asst.Prof.Annop Limpanarome 6. ดร.นราธิป เที่ยงแท้ Dr.Narathip Tiangtae 7. ดร.อานันท์ สีห์พิทักษ์เกียรติ Dr.Arnan Sipitakiat > รายนามคณาจารย์ประจำ�หลักสูตร สาขาวิชาสื่อศิลปะและการออกแบบสื่อ (Professor Program) 1. อาจารย์วีระพันธ์ จันทร์หอม Prof.Weeraphan Chanhom 2. อาจารย์อุทิศ อติมานะ Prof.Uthit Atimana 3. อาจารย์ทัศนัย เศรษฐเสรี Prof.Thasnai Sethaseree 4. อาจารย์โฆษิต จันทรทิพย์ Prof.Kosit Juntaratip > รายนามคณาจารย์พิเศษ สาขาวิชาสื่อศิลปะและการออกแบบสื่อ (Out Source Professor) 1. อาจารย์วรรณชัย วงศ์ตะลา Prof.Wannachai Wongtala 2. อาจารย์วรรณสิทธิ์ ฉายแสงมงคล Prof.Wannasit Chaisangmongkon 3. อาจารย์พิเชษฐ์ มณีรัตน์ Prof.Pichet Maneerat 4. อาจารย์ฉัตรชัย สุบรรณ Prof.Chatchai Suban 4. อาจารย์ชาญ ชัยพงศ์พันธุ์ Prof.Charn Chaipongpun
914741 Web Design
OUR CLASS
การออกแบบเว็บ
914751 Multimedia Technology
โครงงานการออกแบบสื่อ
915743 Information Design
การออกแบบสารสนเทศ
915752 Media Design Project
914711 Concept of Media Design
แนวคิดการออกแบบสื่อ
914721 Graphic Design
การออกแบบกราฟฟิก
914722 3D Animation
ภาพเคลื่อนไหวสามมิติ
915791 Seminar in Media Culture
สื่อภาพและเสียง สื่อเชิงโต้ตอบและเครือข่าย
914733 Sound Design
การออกแบบเสียง
การค้นคว้าแบบอิสระ
915799 Thesis
914732 Interactive Media and Network
สัมมนาวัฒนธรรมสื่อ
915798 Independent Study
914731 Audio & Visual Media
โครงการสื่อประสม
วิทยานิพนธ์
ourMAP
WEL COME
MEDIA CREATORS
madster(mad-sters)
01. นส.มัณฑนา ต๊ะเสนา 03. นายพงค์ธร มณีขัติ 05. นายกรรณ เกตุเวช 07. นส.หทัยพร ภัทรเศรษฐการ 09. นายชวกันต์ ปัญญาวงค์ 11. นายธนรัตน์ ทนนวงค์ 13. นายปกรณ์ ปันทนา 15. นายกีรติ กุสาวดี 17. นายธนยศ รูปขจร 19. นายกิตติวัฒน์ สาคำ� 21. นส.บูรณา สืบคุณะ 23. นส.ปราญชลี อินถา 25. นายคมสัน ไชยวงค์ 27. นายอดิเทพ ดุกสุกแก้ว 29. นส.สมปรารถนา สุขใจ 31. นส.ทิพย์วารี แสนสุวรรณ์
02. นายฐานัตถ์ กุมาร 04. นายอรรคพล พรหมวรรณ 06. นายณัชพล รัตตนิทัศน์ 08. นายวีระพันธุ์ สุภานันต์ 10. นส.อาริสา ทองแท้ 12. นส.อัคริมา นันทนาสิทธิ์ 14. นางพัฒน์สรณ์ ณ เชียงใหม่ 16. นายบุญชนินทร์ สุทธสม 18. นส.ปภานัน นุ้ยคร้าม 20. นส.อณิษฐา ทิพย์ทองดี 22. นายรัฐธรรม งอสอน 24. นายธนาวร ชัยวรากิจ 26. นายปิติพงศ์ สมบูรณ์พร 28. นส.สุพรรณนิกา ปัญญา 30. นส.พัชราภรณ์ ไชยวัณณ์ 32. นายปมุข อยู่คง
WELCOME
’54
MEDIA CREATORS
Emphasizing on the theorization of media in certain topics enaging in art, design, technology, and media culture, Media Arts and Design proposes a training program for graduate students to become media scholars and practitioners, whose creativity invents unique languages of aesthetic expression in critical communication methods. By theorizing disciplines from multiple areas of study and knowledge from both local and international levels, media students are expected to gain capacity of understanding contemporary everyday life of people, and also of society at large. They realize an importance of the investigation of analytical ideas, which is a catalyst for new bodies of knowledge, where as their social consciousness is gradually fabricated to reach social needs critically, artistically, and economically. Under an affluent learning atmosphere emphasizing on student centered learning process provided by the MAD, the course works are designed to coach media students to accomplish their careers by practices.
CREDIT madster(mad-sters) guideline2011
Photography Pandech Saaleewong Piyapat Uthailert Pitchaya Petchpuang Akara Pacchakkhaphati Atikom Mukdaprakorn Jarratphan Tantrakul VAN DU NGUYEN Data collected Eakarat Seepirom Graphic Design Akara Pacchakkhaphati Concept Sabudbob Studio
Special Thanks MAD Students Media Arts and Design CMU Printing Process Pattrara prepress, Mueang Chiang Mai Sri Phum, A. Mueang, Chiang Mai 50200 Tel. 053-210816