ประวัติเรือแข่งเมืองน่านจากเอกสาร ตำนาน และเรื่องเล่า

Page 1


โฉลกเรือฉบับเมืองนาน พอเหลี่ยม สมฤทธิ์ บานมวงตึ๊ด อ. ภูเพียง

๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒

ซื้อถูกขายแพง (ซื้อถูกขายแปง - ทําการคาแลวไดกําไร) กินแหนงเมื่อไปคา (กินแหนงเมี่ยไปกา - ทําการคาแลวใหรูสึกเสียดาย) ไถขาออกเปนไท (ไถขาออกเปนไท - ไถขาทาสใหเปนอิสระ) หินผาไหลแลนทิ่ม (หินผาไหลแลนถิ้ม - ถูกหินผาไหลมากระแทก) คําเต็มลิ่มเกิดกับถง (คําเตมหลิ้มเกิดกับถง - ในถุงมีทองคําทั้งแทงเกิดขึ้นเอง) ชาตาลงคะคั่น (จาตาลงคะคั่น - ชาตาตกลงเรื่อยๆ) ไปหมั่นไดมาแถม (ไปหมั่นไดมาแถม – ยิ่งออกเรือบอย ยิ่งไดทรัพยเพิ่ม) เรือแชมลมเมื่อจอด (เฮียแจมหลมเมี่ยจอด – เรือยากจนลมเมื่อจอด) ไปรอดแลวมาดี (ไปฮอดแลวมาดี - ไปกลับทุกครั้งโดยสวัสดิภาพ) เศรษฐีรูไร (เสดถีฮูไฮ - แมเปนเศรษฐีก็ยังตกยาก) ไปหมั่นไดขุมคํา (ไปหมั่นไดขุมคํา – ถาออกเรือบอยๆ จะไดพบหลุมทอง) เปนคําบรูเมี้ยน (เปนกําบฮูเมีย้ น - เปนถอยเปนความไมรูจบ)

วิธีวัดโฉลกเรือ ใหวัดความกวางของเรือชวงที่กวางที่สุด เมื่อไดแลวใหถือเปน ๑ ชวงความยาว จากนั้ น จึ ง นํ า ช ว งความยาวนี้ ไ ปทาบกั บ ความยาวของตั ว เรื อ โดยนั บ วนไปเรื่ อ ยๆ จาก ๑ จนถึง ๑๒ ถานับถึง ๑๒ แลวยังไมสุดลําก็ใหเริ่มตนนับ ๑ ใหมจนกระทั่ง สุดลําเรือ ถาตรงกับลําดับที่ ๑, ๓, ๕, ๗, ๙, ๑๑ ถือวาดี ถาตรงกับลําดับที่ ๒, ๔, ๖, ๘, ๑๐, ๑๒ ถือวาไมดี แตโดยมากชางขุดเรือมักจะพยายามใหไดตรงกับลําดับที่ ๕ ซึ่งถือวาดีที่สดุ


ประวัติเรือแขงเมืองนาน จากเอกสาร ตํานาน และเรื่องเลา ISBN 978-974-235-447-3 ที่ปรึกษา

พระศรีธีรพงศ

รองเจาคณะจังหวัดนาน วัดพญาภู พระอารามหลวง

พระครูพิศาลนันทคุณ

เจาอาวาสวัดน้าํ ลัด ต. นาปง อ. ภูเพียง จ. นาน

พระพนัส ทิพฺพเมธี วัดน้ําลัด นายแพทยบุญยงค วงศรักมิตร ประธานมูลนิธพิ ระครูพทุ ธมนตโชติคณ ุ

วาที่รอยตรีสมเดช อภิชยกุล

ผูท รงคุณวุฒทิ างดานวัฒนธรรม

คุณวุฒิชัย โลหะโชติ

ศูนยประสานงานประชาคม โรงพยาบาลนาน พิมพครั้งที่ ๑๕ ตุลาคม ๒๕๕๒ จํานวน ๑,๐๐๐ เลม ผูเรียบเรียง

ผลิตสิ่งพิมพ พิมพที่

มูลนิธิพระครูพุทธมนตโชติคุณ

หจก. กลุมธุรกิจแม็กซ (MaxxPRINTING - แม็กซปริน้ ติง้ ) ๑๔ ซ.สายน้ําผึ้ง ถ.ศิริมังคลาจารย ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม ๕๐๒๐๐ Hotline : ๐๘๖ ๖๕๔๗๓๗๖, ๐๕๓ ๒๒๑๐๙๗ Website : http://moradoklanna.com

ขอขอบพระคุณ

อาจารยทักษิณา ธรรมสถิตย

ยุทธพร นาคสุข จัดพิมพโดย

พระครูสิรินันทวิทย

รองเจาคณะอําเภอเมืองนาน วัดดอนมูล ต. ดูใ ต

พระมหาสุริยนต ธมฺมานนฺโท

วัดนาหวาย ต. บอแกว อ. นาหมื่น จ. นาน

อาจารยราเชนทร กาบคํา

ผูอ าํ นวยการวิทยาลัยการอาชีพปว อ. ปว จ. นาน

อาจารยเดช ปนแกว

ประธานสภาวัฒนธรรมอําเภอภูเพียง

อาจารยสงา อินยา

รองประธานสภาวัฒนธรรมอําเภอทาวังผา

คุณญาณ สองเมืองแกน

ผูทรงคุณวุฒิดานวัฒนธรรม อาจารยวินัย ปราบริปู หอศิลปริมนาน

TM

วิทยาลัยเทคนิคนาน

อาจารยสิทธิศักดิ์ ธงเงิน

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคาร (เทศบาลบานพระเนตร)

คุณวริศรา บุญซื่อ

สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดนาน

คุณอัมพันธ แสงสุทธิวาส สันหนองขอยทีม

พอเหลี่ยม สมฤทธิ์

บานมวงตึ๊ด ต. มวงตึ๊ด อ. ภูเพียง จ. นาน

ทายาทของพอหนานสม ศรีสุขคํา บานหัวนา ต. ทานาว อ. ภูเพียง จ. นาน

พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ นาน หอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยพายัพ เจาของภาพทุกภาพทีใ่ ชประกอบในหนังสือ


คํานํา ขาพเจาก็เปนเหมือนคนเมืองนานสวนใหญทคี่ ลัง่ ไคลการแขงเรือเปนชีวติ จิตใจ เคยตัง้ ใจวาจะเขียนหนังสือเกีย่ วกับการแขงเรือเมืองนานสักเลม แตจนแลวจนรอดก็ไมมี เวลาและโอกาส ถึงกระนั้นก็ไดเก็บขอมูลมาเรื่อยๆ และดวยที่ขาพเจาเรียนมาทางสาย ภาษาศาสตร จึงสนใจประวัติเรือแขงที่ปรากฏในเอกสารโบราณมากเปนพิเศษ ครั้งนี้ไดโอกาสดีจึงลงมือเขียนเปนหนังสือเลมเล็กๆ เสียเลมหนึ่งกอน โดยจะ กลาวถึงเฉพาะประวัตคิ วามเปนมาของเรือแขงเปนสําคัญ เดิมทีคดิ จะเขียนใหอา นสบายๆ ไมอยากเนนวิชาการหรืออางอิงใหรกรุงรัง แตเมื่อพิจารณาดูอีกทีก็เห็นวาสิ่งที่ขาพเจา เขียนในหนังสือเลมนี้ หลายๆ เรือ่ งเปนสิง่ ทีย่ งั ไมเคยมีใครพูดถึงมากอน ครัน้ จะไมอา งอิง แหลงทีม่ า ก็เกรงวาผูอ า นอาจจะเกิดความกังขาในขอมูลทีข่ า พเจานําเสนอได สุดทายก็เลย ออกแนววิชาการไปหนอย อยางไรก็ดีขาพเจาก็ไดพยายามเขียนใหอานงายที่สุด ข อ มู ล ส ว นใหญ ที่ ใช ใ นการเรี ย บเรี ย งหนั ง สื อ เล ม นี้ ไ ด รั บ ความกรุ ณ าจาก พระพนัส ทิพพฺ เมธี เอกสารทีม่ คี ณ ุ คาหลายชิน้ เปนสมบัตสิ ว นตัวของทานเอง และเมือ่ ใด ทีข่ า พเจาตองการขอมูลเพิม่ เติม ทานก็จะรีบคนหาใหทนั ที บางครัง้ ถึงกับไปสัมภาษณผรู ู แทนขาพเจาซึ่งไมไดอยูในพื้นที่ จึงขอขอบพระคุณทานมา ณ ที่นี้ หนังสือเลมนี้สําเร็จไดก็ดวยความชวยเหลือจากบุคคลหลายทานและหลาย หนวยงาน ทั้งจากการไปขอสัมภาษณ การอางอิงหนังสือหรือเอกสารที่ทานเรียบเรียง หรื อ เก็ บ รั ก ษาเอาไว ทั้ ง การให ก ารสนั บ สนุ น และให กํ า ลั ง ใจข า พเจ า เสมอมา จึงขอขอบพระคุณทุกทานที่ปรากฏชื่อในหนังสือเลมนี้ เหนือสิง่ อืน่ ใดขาพเจาตองขอกราบขอบพระคุณนายแพทยบญ ุ ยงค วงศรกั มิตร ประธานมูลนิธิพระครูพุทธมนตโชติคุณ ที่กรุณาใหการสนับสนุนการจัดพิมพหนังสือ ทั้งหมด ทั้งยังกรุณาเขียนคํานิยมใหอีกดวย ขาพเจารูสึกซาบซึ้งในความเมตตาของทาน เปนที่สุด สุดทายขอกราบขอบพระคุณบรรพชนชาวนานทีไ่ ดสงั่ สมภูมปิ ญ  ญาการแขงเรือ ไวใหลูกหลาน ทําใหพวกเราไดมีกิจกรรมสงเสริมความรักสามัคคีกันภายในเมืองนาน บานเราอยางทีเ่ ปนอยูใ นปจจุบนั ขอยกคุณความดีทง้ั หมดทีห่ นังสือเลมนีพ้ อจะมีอยูบ า ง แดบรรพชนชาวนานทั้งหลาย ยุทธพร นาคสุข yyuyut3@gmail.com y g บานบุญนาค เวียงสา ๗ ตุลาคม ๒๕๕๒


สารบัญ ประวัติเรือแขงเมืองนาน จากเอกสาร ตํานาน และเรื่องเลา .....................................๖ ความผูกพันของคนเมืองนานกับสายน้ํานาน .........................................................๗ เมืองนานกับความเชื่อเรื่องพญานาค .....................................................................๘ วิถีชีวิตของคนเมืองนานกับเรือ .......................................................................... ๑๒ ศัพทและสํานวนของคนเมืองนานที่เกี่ยวกับเรือ....................................................๑๓ ประเพณีแขงเรือเมืองนานมีมาตั้งแตเมื่อใด......................................................... ๑๗ ตํานานกําเนิดเรือแขงของเมืองนาน ....................................................................๒๓ เรือทายหลาตาทองมีกี่ลําแน ............................................................................. ๒๖ “ทายหลา” แทจริงแลวก็เปนชื่อเรือโบราณประเภทหนึ่ง ...................................... ๒๖ “ตาทอง” ที่ปรากฏในเอกสารคือตาไม ...............................................................๓๐ ประวัติการแขงเรือเมืองนานที่จัดโดยทางราชการและองคกรปกครองสวนทองถิ่น ...๓๑ บทสรุปเกี่ยวกับประวัติเรือแขงเมืองนาน ..............................................................๓๓ บรรณานุกรม ................................................................................................... ๓๔


ประวัติเรือแขงเมืองนาน จากเอกสาร ตํานาน และเรื่องเลา ยุทธพร นาคสุข

เอกสารลําดับที่ ๔ โครงการจัดพิมพหนังสือและผลงานปริวรรตเอกสารลานนา วัดน้าํ ลัด ต. นาปง อ. ภูเพียง จ. นาน สนับสนุนการจัดพิมพโดย มูลนิธิพระครูพุทธมนตโชติคุณ


ความผูกพันของคนเมืองนานกับสายน้าํ นาน จากประวัติศาสตรยุคแรกของเมืองนานในสมัยของพระญาภูคา (พระญาพูฅา) เชื้อสายของคนนานซึ่งเปนคนไทกลุมหนึ่งคือ “ชาวกาว” หรือ “กาวไทย” ก็ไดต้งั ถิ่นฐาน อยูต ามลุม แมนาํ้ แลว คือ ลําน้าํ ยาง บริเวณเมืองยาง เขต อ. ทาวังผาในปจจุบนั ตอมาในราว พ.ศ. ๑๙๐๒ พระญาครานเมือง ผูท รงพระนามทีม่ คี วามหมายวา “ผูท เ่ี ปนทัง้ ความดีและความงาม ของบานเมือง” หรือ “ผูท ม่ี อี าํ นาจคับพระราชอาณาจักร”๑ ไดทรงยายเมืองจากเมืองวรนคร บริเวณ อ. ปว ลงมาตัง้ ทีเ่ วียงภูเพียง (เวียงพูเพียง) อันเปนบริเวณทีพ่ ระองคไดทรงสรางพระธาตุเจาภูเพียง กอนหนานัน้ แลว ๒ – ๓ ป การยายเมืองครัง้ นัน้ ทําใหเกิดตํานานของ “ซอลองนาน” วาระหวางทีม่ กี ารขนยาย ผูค นจากเมืองวรนครลงมาตามลําน้าํ นานนัน้ ปรากฏวามีศลิ ปน ๒ คน คือ “ปูค าํ มากับยาคําบี”้ ไดผลัดเปลีย่ นกันขับขานพรรณนาความรูส กึ หวงหาอาลัยบานเกิดเมืองนอนทีต่ วั เองจากมา ตอมา จึงเรียกการขับขานเชนนัน้ วา “ทํานองซอลองนาน” ตอมาน้ําเตียนและน้ําลิง ลําน้ําสาขาของแมนํา้ นานที่หลอเลี้ยงผูคนในเวียงภูเพียง ไดแหงขอดลง เพราะแมนาํ้ นานเกิดเปลีย่ นเสนทาง ในป พ.ศ. ๑๙๑๑ พระญาผากองราชบุตรของ พระญาครานเมืองจึงไดยา ยเมืองมาตัง้ ทีบ่ ริเวณฝง ตะวันตกของแมนาํ้ นาน ณ บานหวยไคร อันเปน ทีต่ ง้ั ของเมืองนานในปจจุบนั และเมืองก็ไดตง้ั ชือ่ วา “เมืองนาน” หรือ “เวียงนาน” ตามชือ่ แมนาํ้ สายหลักนัน่ เอง สวนเวียงภูเพียงทีเ่ กิดความแหงแลงนัน้ ก็เลยไดชอ่ื วา “เวียงภูเพียงแชแหง” และ “พระธาตุเจาภูเพียง” ก็จงึ ไดชอ่ื วา “พระธาตุแชแหง” แตบดั นัน้ คําวา “แช” เปนคํา ไทโบราณหมายถึง “เมือง” ทีม่ ขี นาดไมใหญมากนัก นาจะใกลเคียงกับขนาดของ “เวียง” เชน แชสกั แชพราน แชชา ง แชหมอ แชเลียง แชหม เนือ่ งจากคําวา “แช” นี้ ออกเสียงตามแบบ คนลานนาวา “แจ” ดังนัน้ จึงมีผเู ขียนตามเสียงดวยเชน “แจหม ” (แชหม หมายถึง “เมืองลม” ตามตํานานทีเ่ ลาขานวาชาวเมืองกินปลาไหลเผือกทําใหเกิดอาเพศถึงกับเมืองลม)๒ สวนคนไท อาหมก็เรียกเมืองวา “เจ” เชน เจหงุ เจมว น เจรายดอย เปนตน เราควรสํานึกในบุญคุณของแมนํ้านานที่เปนแรงบันดาลใจใหบรรพชนชาวนาน นับตัง้ แตอดีตจนถึงปจจุบนั ไดรงั สรรคศลิ ปวัฒนธรรมแขนงตางๆ ไวใหแกลกู หลาน เชน ซอลองนาน วงกลองลองนาน ฟอนลองนาน การตีกลองปูชาระบําลองนาน เพลงแนลองนาน เพลง ลาวลองนาน ผาลายน้าํ ไหล และโดยเฉพาะอยางยิง่ การแขงเรือของเมืองนาน และสมควรยกยอง บรรพบุรษุ คนเมืองนานทีม่ องการณไกลทีไ่ ดตง้ั ชือ่ ศาสตรและศิลปเหลานีต้ ามชือ่ “แมนาํ้ นาน” หรือตามชื่อของ “เมืองนาน” จึงทําใหทราบไดวาเปนภูมิปญญาที่คนเมืองนานคิดขึ้น จึงไม เกิดปญหาเรือ่ งการแยงชิงวา “ใครเปนคนคิดคนแรก” ไมเหมือนกับวัฒนธรรมหลายๆ แขนงที่ ตางฝายตางก็อา งกรรมสิทธิก์ นั อยู เชน กีฬาตะกรอ เพลงลาวดวงเดือน เปนตน อานรายละเอียดเพิ่มเติมไดใน สิทธิศักดิ์ ธงเงิน, เมืองนาน...อดีตที่คุณอาจไมเคยรู (แพร : เมืองแพร การพิมพ, ๒๕๔๘), ๕ – ๖. ๒ อานรายละเอียดเพิ่มเติมไดใน อุดม รุงเรืองศรี, “เมือง เชียง เวียง แช : แหลงใหญที่อาศัยของคนเมือง,” ใน ลานนาอันอุดม, ทรงศักดิ์ ปรางควัฒนากุล, บรรณาธิการ (เชียงใหม : ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม, ๒๕๔๙), ๑ – ๙. ๑


เมืองนานกับความเชื่อเรื่องพญานาค นักทองเที่ยวมักจะพูดเปนเสียงเดียวกัน เมื่อไปตามวัดตางๆ ในเมืองนานวา พญานาคของเมืองนานดูนา กลัวนาเกรงขามกวาทีเ่ คยเห็นจากทีอ่ นื่ ๆ พญานาคทีส่ รางโดย ช า งเมื อ งน า นในสมั ย ก อ นจะไม ไ ด มี ลํ า ตั ว กลมเป น ต น ตาลอย า งที่ เ ห็ น กั น ดาษดื่ น ในปจจุบัน หากแตจะมีลําตัวอวนใหญ กึ่งกลมกึ่งแบน มีกิริยาประดุจวาจะเลื้อยไดจริง แยกเขี้ยว หนาดุ ตาโปน ดูขึงขัง อยางเชนพญานาคที่วัดภูมินทร วัดพระธาตุแชแหง ที่ฐานชุกชีพระประธานวัดหัวขวง หรือที่คันทวยวิหารหลวงวัดพระธาตุชางค้ํา เปนตน นอยคนนักที่จะทราบวาเมืองนานถือกับกําเนิดมาพรอมกับ “นาคนาม” ตามระบบภูมิทักษา ซึ่งกําหนดใหดาวพระเคราะหทั้ง ๘ องค มีนามเปนชื่อสัตวตางๆ จํานวน ๘ ชื่อ และใชอักษรนามตามรูปแบบอักษรในภาษาบาลี ดังนี้ วันอาทิตย วันจันทร วันอังคาร วันพุธ วันเสาร วันพฤหัสบดี วันราหู (วันพุธกลางคืน) วันศุกร

เปนครุฑนาม เปนพยัคฆนาม เปนสีหนาม เปนโสณนาม เปนนาคนาม เปนมุสิกนาม เปนคชนาม เปนอัชนาม

ไดแก ไดแก ไดแก ไดแก ไดแก ไดแก ไดแก ไดแก

อักษร อักษร อักษร อักษร อักษร อักษร อักษร อักษร

อ อา อิ อี อุ อู กขคฆง จฉชฌญ ฏฐฑฒณ ตถทธน ปผพภม ยรลว ส ห ฬ๓

เมืองนานมีชอื่ ขึน้ ตนดวยอักษร “น” จึงตรงกับ “นาคนาม” พอดี จะเปนดวยเหตุนี้ หรือไมที่ทําใหนักปราชญในอดีตไดเรียกเมืองนานวาเมือง “นาเคนทร” ซึ่งหมายถึง เมืองแหงพญานาค แตทั้งนี้ก็อาจจะแปลวาเมืองแหงพญาชางไดดวย ในประเด็นนี้ ยังไมทราบที่มาของชื่ออยางชัดแจง คงตองมีการศึกษาเพิ่มเติมกันตอไป

กองแกว วีระประจักษ, “ทินนาม : การตัง้ ชือ่ ,” ใน เรือ่ งตัง้ เจาพระยาในกรุงรัตนโกสินทร, สมศรี เอีย่ มธรรม และคนอื่นๆ, บรรณาธิการ (กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, ๒๕๔๕), ๓๑๗. ๓


ภาพที่ ๑ ภูมิทักษาของเมืองนานจากพับสาของครูบามหายศ วัดทาวังพราว อ. สันปาตอง จ. เชียงใหม อานไดวา “เกณฑ ๗ อายุ ๑๐ ทํสา ๑๙ อักขระ ๓ นามนาค เมืองนาน” ที่มา : เกริก อัครชิโนเรศ

ภาพที่ ๒ แผนที่ ป ระวั ติ ศ าสตร ไ ทย แสดงอาณาจั ก รสุ โ ขทั ย ยุ ค พ อ ขุ น รามคํ า แหงมหาราช พ.ศ. ๑๘๒๒ – ๑๘๔๓ ซึ่งเรียกเมืองนานวา “นาเคนทร” ที่มา : ดัดแปลงจาก องคการบริหารสวนจังหวัดแพร, ประวัติศาสตรเมืองแพร (ฉบับ พ.ศ. ๒๕๕๐) (แพร : เมืองแพรการพิมพ, ๒๕๕๐), ๒๖.


หากดู จ ากตํ า นานที่ เ กี่ ย วกั บ การกํ า เนิ ด แม น้ํ า น า นในเอกสารของทาง ลานนาแลว ไมปรากฏวามีฉบับใดกลาวถึงไวเลย แตกลับพบที่ภาคอีสานคือ “ตํานาน วังนาคินทรคําชะโนด” หรือเมืองชะโนด ตั้งอยูที่ อ. บานดุง จ. อุดรธานี อยางไร ก็ตามตํานานนี้ก็แสดงใหเห็นถึงความสัมพันธอันแนบแนนระหวางคนเมืองนานกับคน ลานชางเมื่อครั้งอดีต จนถึงขั้นมีการผูกเรื่องราวเปนตํานานเขาไวดวยกัน ตามตํานาน เล า ไว ว า พญานาคสองตนคื อ สุ ท โธนาคกั บ สุ ว รรณนาคต า งก็ เ ป น เจ า ปกครอง เมืองหนองกระแสหรือหนองแสตนละครึ่ง ทั้งสองปกครองบานเมืองรวมกันอยาง สงบสุขมาเปนเวลานาน โดยมีขอ ตกลงกันวาเวลาออกไปหาอาหารจะไมออกไปพรอมกัน เนื่องจากเกรงจะกระทบกระทั่งกัน และทุกครั้งที่ลาสัตวหรือหาอาหารมาไดนั้นก็จะตอง แบงกันคนละครึง่ วันหนึง่ สุวรรณนาคไดออกไปหาอาหารและไดเนือ้ ชางกลับมา จึงนําไป แบงใหกับสุทโธนาคเหมือนทุกครั้ง พรอมกับไดนําขนของชางไปยืนยันดวยวาเปน เนื้อชางจริงๆ ผานไปอีกไมนานสุวรรณนาคก็ไดออกไปหาอาหารอีก คราวนี้ไดเนื้อเมน กลับมา สุวรรณนาคก็ยังคงทําตามที่ไดตกลงกับสหายไวเชนเดิม คือไดแบงเนื้อเมน ใหครึ่งหนึ่งพรอมกับนําขนของเมนไปยืนยันดวยเชนเคย แตสุทโธนาคกลับไมพอใจ เพราะเมือ่ เทียบระหวางขนของเมนกับขนของชางแลวขนของเมนใหญกวามาก แตเหตุใด จึงไดเนื้อนอยกวา สุทโธนาคพาลคิดไปวาสุวรรณนาคไมซื่อสัตย ทําผิดขอตกลงที่เคย ใหแกกัน แมสุวรรณนาคจะพยายามอธิบายอยางไรก็ไมเปนผล ในที่สุดจึงเกิดสงคราม ระหวางนาคทั้งสองตนกินเวลาถึง ๗ ป ยังความเดือดรอนแกสรรพสัตวนานา จนเรื่อง เขาถึงหูพระอินทร พระองคจึงคิดหาทางที่จะใหพญานาคทั้งสองยุติสงคราม จึงเสนอให นาคทัง้ สองสรางแมนา้ํ แขงกัน หากใครสรางถึงทะเลกอน พระอินทรจะประทานปลาบึก ใหอยูในแมน้ํานั้น สุทโธนาคจึงไดสรางแมน้ํามุงไปทางทิศตะวันออกของหนองกระแส ดวยความที่เปนพญานาคใจรอนมุทะลุ เมื่อพบเจอภูเขากั้นขวางก็จะเลี่ยงหลบโคงไป โคงมาจึงเกิดเปน “แมน้ําโคง” หรือ “แมน้ําโขง” ฝายสุวรรณนาคไดสรางแมน้ํา ขึ้นทางทิศใตของหนองกระแส ดวยความเปนนาคที่มีความละเอียดและใจเย็น จึงคอยๆ บรรจงสร า งด ว ยความประณี ต แม น้ํ า ที่ ส ร า งขึ้ น จึ ง มี ค วามตรงกว า แม น้ํ า ทุ ก สาย ซึ่งก็คือ “แมน้ํานาน” ในการแขงขันครั้งนั้นสุทโธนาคไดสรางแมน้ําโขงเสร็จกอน พระอินทรจงึ ไดประทานปลาบึกใหตามขอตกลง ดังนัน้ ในแมนา้ํ โขงจึงมีปลาบึกอาศัยอยู ดังที่เห็นกันอยูในปจจุบัน สุทโธนาคยังไดขอทางขึ้น - ลง ระหวางเมืองบาดาลกับเมือง มนุษยไวอีก ๓ แหงคือ ๑. พระธาตุหลวงนครเวียงจันทน ๒. หนองคันแท ๓. พรหมประกายโลก (คําชะโนด)

๑๐


พรหมประกายโลกเชื่อกันวาคือสถานที่ที่พรหมลงมากินงวนดินจนหมดฤทธิ์ กลายเปนมนุษย พระอินทรไดใหสทุ โธนาคหรือพญาศรีสทุ โธนาคไปครอบครองอยูท นี่ นั้ และใหมตี น ชะโนดขึน้ เปนสัญลักษณ ลักษณะของตนชะโนดเหมือนตนไมสามชนิดผสมกัน คือ ตนมะพราว ตนหมาก และตนตาล๔

ภาพที่ ๓ นาคที่ใชลากพระศพของพระเจาสุริยพงษผริตเดชฯ ที่มา : หอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยพายัพ

จากที่กลาวมาจะเห็นไดวาเมืองนานมีความผูกพันกับพญานาคเปนอยางมาก บางคนก็เชือ่ วา “ขุนนุน ” และ “ขุนฟอง” ราชบุตรบุญธรรมของพระญาภูคาก็ถอื กําเนิด มาจากไขพญานาค จึงมีการกลาววาราชบุตรทั้งคูมี “เชื้อสายมาจากนาคเปนปฐม”๕ ดวยเหตุนี้จึงไมนาแปลกใจที่จะพบรูปพญานาคอยูทั่วไปในเมืองนาน และไมแปลกที่ หัวเรือและหางเรือของเมืองนานจะสรางเปนรูปพญานาค แตทยี่ งั เขาใจผิดกันอยูเ กีย่ วกับ เมืองนานกับพญานาคก็คอื มักมีการอางชือ่ ของเมืองนานจากพืน้ เมืองนาน ฉบับวัดพระเกิด ต. เวียงเหนือ อ. เมืองนาน วา “เทพพบุรี สรีศรีสวัสดิ์ นัคคราชไชยบุรี ศรีนคร นาน” โดยใหความหมายของคําวา “นัคคราช” วาหมายถึง นาคราช นั้น นาจะเปน ความเขาใจผิด แทจริงแลวถาหากไปดูเอกสารตนฉบับทานเขียนเปน “เทพพบุรี สรีสวัตติ นัคครราชชัยนันทบุร”ี คําวา “นัคครราช” (ไมใชนคั คราช) ก็เปนคําเดียวกับ “นคร” หรือ “นครา” ซึ่งหมายถึง เมือง นั่นเอง หากแตเปนการออกเสียงตามความนิยม ของคนทองถิน่ และถาดูจากบริบทก็จะพบคําวา บุรี และ นคร ซึง่ หมายถึง เมือง เชนกัน สรุปความจาก Chuthatip, กําเนิดแมนา้ํ โขง [online], accessed 29 September 2009. Available from http://www.amulet.in.th/forums/view_topic.php?t=877&sid=1b3bd49045c0ac099decbfd660476506 และ Chetawan, ประชาชื่น : ตํานาน “แมน้ําโขง” เรื่องเลาในวาระ “อุโมงคผันน้ํา” รัฐบาล “ขี้เหร” [online], accessed 29 September 2009. Available from http://chetawan.multiply.com/journal/item/29/29 ๕ ปฏิพัฒน พุมพงษแพทย, ภูมิหลังเมืองนาน (มปท., ๒๕๔๙), ๑๐. ๔

๑๑


วิถีชีวิตของคนเมืองนานกับเรือ ในอดีตคนเมืองนานใชเรือเปนพาหนะสําคัญในการเดินทาง ถึงกับมีการตรา กฎหมายที่วาดวยเรือเอาไวอยางละเอียดลออ ดังปรากฏใน “อาณาจักรหลักคํา” กฎหมายโบราณของเมืองนานวา ถาผูใดขโมยเรือของผูอื่นไปหากถูกจับไดจะตอง เสียคาปรับ ๑๑๐ น้ําผา (นาจะเปนมาตราเงินสมัยโบราณ) แตถาเรือที่ขโมยไป เกิดความเสียหายก็ใหจายคาเสียหายตามราคาจริงของเรือและถูกปรับอีก ๑๑๐ น้ําผา ถ า มี ค วามจํ า เป น ต อ งใช เรื อ จริ ง ๆ ก็ ใ ห เช า หรื อ ยื ม จากเจ า ของให ถู ก ต อ งเสี ย ก อ น ในกฎหมายยังบัญญัติอีกวาถาหากเรือของผูใดหลุดไหลไปตามน้ํา ถามีผูเก็บไดจะตอง ใหรางวัลแกผูนั้นตามระยะทางที่เรือไหลไป เชน ถาเรือไหลจากทาเวียงไปถึงเมืองสา ใหจาย ๕๐ ธ็อก (มาตราเงินสมัยโบราณ) ถาผูเก็บไดหมายจะครอบครองไวเสียเอง ถารูภายหลังก็จะตองเสียเงินใหแกเจาของเรือ ๒๒๐ น้ําผา แตถาเจาของเรือไปเอา โดยพลการโดยไมแจงผูเก็บไดเสียกอน เจาของเรือก็ตองเสียคาปรับใหแกผูเก็บได ๕๒ น้าํ ผา๖ จะเห็นไดวา อาณาจักรหลักคําไดใหความเปนธรรมแกราษฎรอยางเสมอหนา ตามประวัตศิ าสตรของเมืองนาน พบวากษัตริยน า นไดใชเรือเปนพาหนะในการ หลบหนีราชภัยหลายครั้งหลายครา เชน ในสมัยพระญาอินทะแกนทาวไดถูกนองชาย คือทาวแพงและทาวเหาะชิงราชบัลลังก ภายหลังไดหลบหนีไปขอความชวยเหลือจาก สังฆปาละผาขาว ทานก็ไดชวยเหลือพระญาอินทะแกนทาวโดยการ “ลักเจาเอาเขาใส เรือทุมดี ฟายลองไปเมืองใตรอดแชเลียงไปที่เพิ่งสวัสสดี”๗คือ ชวยโดยการเอาใสในเรือ ที่ปกปดอยางดี จนถึงเมืองแชเลียง (เมืองเชลียง) โดยสวัสดิภาพ ในระดับโลกุตตรธรรม คนเมืองนานมีความเชือ่ วาความสุขสูงสุดและเปนนิรนั ดร ก็คอื ความสุขทีไ่ ดพบกับพระนิพพานหรือเนรพาน โดยเชือ่ วา “เวียงแกวยอดเนรพาน” เปนเมืองที่อยูกลางมหานทีที่ตองวายขามไป บางครั้งก็อาจตองไปดวย “เรือ” หรือ “สําเภา(สะเพา)” แตผูที่จะขามไปไดนั้นจะตองหมั่นรักษาศีล เจริญภาวนาทําบุญ ทําทานในปจจุบันชาติใหจงหนัก แลวกุศลผลบุญที่ไดกระทําจะสงผลใหไดพบกับ พระนิพพานสมดังคําอธิษฐานทีว่ า “จุง จักหือ้ บังเกิดเปนยานเรือสําเภาคําลําใหญกวาง นํ า ตนตั ว ผู ข า ทั้ ง หลายหื้ อ ได ต ามหน า คื อ เมื อ งฟ า และเนรพานแท ดี ห ลี ” ๘ ดวยเหตุนเี้ วลาทีม่ กี ารบรรจุพระบรมสารีรกิ ธาตุไวในพระธาตุเจดีย คนสมัยกอนจึงนิยม สรางเรือที่ทําจากเงินหรือทองคําพรอมเขียนคําอธิษฐานบรรจุเอาไวดวย สรุปความจาก สรัสวดี อองสกุล, หลักฐานทางประวัติศาสตรลานนาจากเอกสารคัมภีรใบลาน และพับหนังสา (เชียงใหม : ภาควิชาประวัติศาสตร คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม, ๒๕๓๔), ๗๗ – ๗๘. ๗ สรัสวดี อองสกุล, พื้นเมืองนานฉบับวัดพระเกิด (กรุงเทพฯ : อมรินทรพริ้นติ้งแอนดพับลิชชิ่ง จํากัด (มหาชน), ๒๕๓๙), ๑๓. ๘ จารึกวัดนาทะนุง ต. นาทะนุง อ. นาหมื่น จ. นาน จารึกเมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๓ บรรทัดที่ ๓๒ - ๓๓. ๖

๑๒


ภาพที่ ๔ เรือเงินรูปลักษณคลายเรือแขงเมืองนานที่คนในสมัยกอนสรางถวายไวกับพระธาตุ ที่มา : พิพธิ ภัณฑสถานแหงชาติ นาน

ศัพทและสํานวนของคนเมืองนานทีเ่ กีย่ วกับเรือ จากที่ ไ ด ก ล า วไปแล ว ว า คนเมื อ งน า นมี วิ ถี ชี วิ ต ผู ก พั น อยู กั บ แม น้ํ า และเรื อ จึงมีศัพทและสํานวนที่เกี่ยวของกับเรืออยูจํานวนหนึ่ง บางสํานวนก็เหมือนกับสํานวน ที่คนภูมิภาคอื่นใชกัน เชน แขงเรือแขงแพแขงได แขงบุญแขงวาสนาแขงบได (แขงเรือ แขงแพแขงได แขงบุญแขงวาสนาแขงไมได) เรือลมเมือ่ จอด ตาบอดเมือ่ เถา (เรือลมเมือ่ จอด ตาบอดเมือ่ แก) จะไปกะหลัดเรือกลางน้าํ เชีย่ ว (น้าํ เชีย่ วอยางขวางเรือ) บางสํานวนก็เปน สํานวนที่มีใชเฉพาะเมืองนาน โดยเฉพาะอยางยิ่งในวงซอ ในที่นี้ขอยกศัพทสํานวน เทาที่รวบรวมไดดังนี้

แมทา ยเรือหยอน (แมตายเฮียหยอน)

ในบทซอหรือคําซออันเปนการขับขานของคนลานนาไมวาจังหวัดใดก็มักจะมี คํ า ที่ ใช เรี ย กแทนผู ห ญิ ง เหมื อ นๆ กั น โดยมากมั ก จะเป น คํ า ที่ แ สดงถึ ง ความงาม ของธรรมชาติหรือวัตถุสิ่งของ หรือกลาวอางวาไดรับการเสกสรรปนแตงจากเทวดา เชน แมสรอยดอกไม แมสรอยคอหงส (แถบขนคออันสวยงามของหงส) แมตองพันยา (ใบตอง ทีเ่ รียบสวยสําหรับใชมวนบุหรี)่ แมแพรเมืองจีน แมอนิ ทรลงเหลา ฯลฯ แตในวงซอเมืองนาน ก็มีคําอยูจํานวนหนึ่งที่ใชไมเหมือนที่อื่น อันเนื่องมาจากเอกลักษณทางวัฒนธรรมที่มี เฉพาะเมืองนาน หนึง่ ในนัน้ คือคําวา “แมทา ยเรือหยอน” ทีม่ าจากประเพณีการแขงเรือ งามอยยางยิ่ง คนเมืองนานเห็นวาทายของเรือที่เชิดสงขึ้นและมีหางคลอยต่ําลงเปนความงามอย ทัง้ นีร้ วมไปถึงหางเรือทีม่ พี หู รือผาหลากสีหอ ยยาวลงมาจนแทบจะสัมผัสกับน้าํ ก็นบั เปน ณะดังกล กลาว ความงามเชนกัน ดวยเหตุนี้ชางซอจึงไดนําความงามของทายเรือลักษณะดั ไปเปรียบกับหญิงงาม

๑๓


พรองจูงขึน้ หาด พรองยาดลงวัง (พองจูง ขึน้ หาด พองญาดลงวัง)

หาด หมายถึงบริเวณตางระดับกลางแมนา้ํ ซึง่ น้าํ มักไหลเชีย่ วแรงและเต็มไปดวย กอนหินนอยใหญ เมื่อเรือไปถึงบริเวณดังกลาวบางทีไปตอไมได ผูโดยสารจะตองลงมา ลากจูงเพื่อใหพนจากหาดนั้น สวน วัง หมายถึง หวงน้ําที่เปนแองกวางและลึกบางครั้ง ก็ มี น้ํ า วนด ว ย นั บ ว า เป น อั น ตรายอย า งยิ่ ง ต อ การสั ญ จรโดยทางเรื อ สํ า นวนที่ ว า “พรองจูงขึ้นหาด พรองยาดลงวัง” เปนการสอนใหเลือกคบเพื่อนฝูง เพื่อนบางคน อาจนํ า พาเราไปในทางที่ ดี เ หมื อ นคนที่ จู ง เรื อ ขึ้ น หาดเพื่ อ ให เ ดิ น ทางต อ ไปได โ ดย สวัสดิภาพ แตเพือ่ นบางคนก็อาจนําพาเราไปสูค วามหายนะเหมือนกับการกระชากหรือ “ยาด” เรือใหจมดิ่งลงวังน้ําวน ยอมไมมีทางที่จะพบความเจริญได

คันพีย่ องหัวนองหนัวยองทายคอยดุง คอยวายขึน้ วังลองวัง (กันปย องหัว นองหนัวยองตาย

ภาพที่ ๕ ชาวบานกําลังจูงเรือบริเวณ หาดกลางแมน้ํานาน ที่มา : หอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัย พายัพ

กอยดุง กอยหวาย ขึน้ วังลองวัง) คนเมืองนานและคนไทยถิน่ อืน่ ๆ ก็คดิ เห็น ตรงกันวาคนที่อาศัยอยูรวมกันหรือทํางานรวมกัน ก็เปรียบเสมือน “ลงเรือลําเดียวกัน” ตางก็สมควร ต อ งทํ า ตามหน า ที่ ข องตนให ดี ที่ สุ ด สํ า นวนที่ ว า “คันพี่ยองหัว นองหนัวยองทาย คอยดุงคอยวาย ขึ้นวังลองวัง” นี้ แปลความไดวา ถาหากพี่พายอยู หัวเรือ นองก็พรอมจะชวยคัดทายเรือให แมบางครัง้ ตองประสบพบเจอวังน้ําลึกก็จะชวยกันพายตอไป อยางไมยอ ทอ กลาวโดยสรุปแลวก็คอื จะยอมรวมหัว จมทายกันนั่นเอง

หันรายดูรา ยเหมือนทายเรือขวาง หันพีบ่ ง ามวาไหนวาโปน

(หันฮายดูฮายเหมียนตายเฮียขวาง หันปบงามวาไหนวาโปน) เปนทีย่ อมรับกันวาเรือทีล่ อ งไปตามลําน้าํ โดยเฉพาะอยางยิง่ ถาเรือแขงลํายาวๆ เป แแลลว ไไมมวาจจะแลนเร็วหรือชาก็ดูองอาจนาดูชมยิ่ง แตถาเมื่อใดที่เรือกําลังกลับลํากลาง สายน้ สายนน้ํา ททาายเรือขวางลําน้ําอยู อยางเมื่อตอนที่เรือเขาเสนชัยแลวกําลังจะกลับขึ้นไปยัง ตตนทางอี ทาางอีกครั ค ้งหนึ่งนั้น ก็ใหนึกประดักประเดิด เกๆ กังๆ คนนั้นพายที คนนี้พายที เป เปนภาพที ภาพที่ไมเจริญหูเจริญตาเทาใดนัก คนโบราณจึงเปรียบเทียบเรือที่ขวางลําน้ําอยูกับ

๑๔


คนทีอ่ บั จนรูปสมบัติ สํานวนทีว่ า “หันรายดูรา ยเหมือนทายเรือขวาง หันพีบ่ ง ามวาไหน วาโปน” เปนการตัดพอคนทีม่ องอะไรแตเพียงรูปลักษณภายนอก เห็นวาอีกฝายหนึง่ รูปชัว่ ตัวดํา ก็ดูหมิ่นถิ่นแคลนและมองขามจนไมเหลือใจที่จะมองเห็นความดีของบุคคลผูนั้น

เหมือนเรือเหมือนแพบมไี มถอ จ้าํ ลอยไปวันค่าํ บรหู นรูว น

(เหมียนเฮียเหมียนแปบมไี มถอ จ้าํ ลอยไปวันค่าํ บฮหู นฮูว น) สํานวนขางตนแปลความไดวาเรือหรือแพที่ไมมีไมพายหรือไมถอคอยควบคุม (ไมมีคนพายหรือถอ) ก็ยอมไหลลอยไปโดยไรทิศทาง เปรียบเสมือนคนที่ไมมีหลัก หรือไมมีเปาหมายในชีวิต ก็ยอมใชชีวิตไปอยางไรจุดหมายแบบอยูไปวันๆ เทานั้นเอง

อยูป า กวางอยากลาวอางหาเสือ อยูแ พเรืออยาไดทา เงือก

(อยูป า กวางอยากาวอางหาเสีย อยูแ ปอยูเ ฮียอยาไดตา เงียก) สํานวนขางตนแปลความไดวา ถาอยูใ นปาอยาถามถึงเสือ ถาอยูบ นแพหรือบน เรือก็อยาทาทายจระเข๙ ซึง่ คนลานนาถือวาเปนลางไมดี อาจจะไดรบั อันตรายถึงชีวติ จาก สัตวทงั้ สองชนิดนีเ้ ขาจริงๆ เพราะในปาเสือยอมเปนสัตวทอี่ นั ตรายทีส่ ดุ เชนเดียวกับใน แมน้ําที่จระเขก็เปนสัตวที่มีอันตรายมากที่สุดเชนกัน สํานวนนี้สอนวาเมื่อเราอยูในถิ่น ของผูมีอํานาจบารมีก็อยาไดทาทายอํานาจบารมีของผูนั้น ควรจะสงบเสงี่ยมเจียมตัวจึง จะเอาตัวรอดได

ชางซออยูทางเหนือ ชางเรืออยูทางใต

(จางซออยูตางเหนีย จางเฮียอยูตางใต) คนเมืองนานมีความเชื่อและพูดตอๆ กันมาวา ชางซออยูทางเหนือ ชางเรือ อยูทางใต หมายถึง ชางซอที่เกงและมีชื่อเสียงมักจะอยูทางทิศเหนือของเมืองนาน เชน อ. ปว อ. ทาวังผา สวนผูที่มีความชํานาญในการขุดเรือมักจะอยูทางทิศใตของเมืองนาน เชน อ. เมือง อ. ภูเพียง อ. เวียงสา ถาหากลองวิเคราะหจากตํานาน ประวัติศาสตร และ วัฒนธรรม ก็เชื่อไดวาคงจะมีสวนจริงอยูบาง ในเรื่อง “ชางซออยูทางเหนือ” ถาหากตํานานการกําเนิดซอลองนานไม เลือ่ นลอยถึงขนาดทีว่ า ไมมสี ว นจริงเอาเสียเลยนัน้ ก็พอจะอนุมานไดวา ศิลปนแถบเมือง ปวหรือวรนครนั้นก็นาจะมีความชํานาญในการขับขานซอมาแตโบราณกาล และชางซอ ทีเ่ ปนขวัญใจมหาชนในสมัยนัน้ คงจะหนีไมพน “ปูค าํ มากับยาคําบี”้ นัน่ เอง เพราะชางซอ เมืองนานทั้งหลายถึงกับยกยองใหเปน “ปฐมบรมครู” ของตนเลยทีเดียว งเชชยี งใหม งใหมม “เงือก” ในวรรณกรรมของลานนา หมายถึง จระเข ดังในโคลงมังทรารบเชียงใหมกลาวถึงคูเู มืองเชี หมด เพือ่ ในอดีตวามี “’งูเงือกจะเขเฝา ไขวขวางขางเวียง” คือมีการเลีย้ งบรรดาสัตวนา้ํ ทีด่ รุ า ยประเภทจะเขเต็มคูเมืองไปห งไปหมด ไมใหศัตรูสามารถบุกเขาเมืองไดโดยงาย ๙

๑๕


ถาหากมองวาตํานานไรสาระเกินกวาจะเชือ่ ถือได ก็ลองไปดูพธิ กี รรมและความเชือ่ ของคนเมืองนานและเมืองปวกันบาง นั่นคือ การเลี้ยงผีอารักษพระญาปวหรือ พระญาผานอง (ปูของพระญาครานเมือง) คนเมืองนานถือวาในบรรดาผีทั้งหลาย ที่อยูในอาณาเขตของเมืองนานจะขึ้นตรงกับอารักษพระญาปวทั้งสิ้น โดยมีวิญญาณ อดีตกษัตริยน า นอีก ๑๑ ตน๑๐เปนบริวารทําหนาทีค่ มุ พันนาตางๆ๑๑ ทาวพระญาผูจ ะขึน้ ครองเมืองนานจะตองมาทําพิธีบวงสรวงอารักษพระญาปวกอนจึงจะเขาเมืองได ในพิธี บวงสรวงหรือที่เรียกวาการ “แกมอารักษ” นั้น สิ่งที่ขาดไมไดก็คือ “การสรงเสพ” คือ ตองมีงานฉลองสมโภช ในพืน้ เมืองนานกลาววาประกอบดวย “ชางฆอง ชางกลอง ชางป ชางยิง ชางเสพ” ซึ่งชางป ชางยิง ชางเสพ ก็นาจะเปนคนที่อยูในวงซอนั่นเอง เพราะเมื่อกอนคนเมืองนานก็ซอโดยใชปเหมือนที่อื่นๆ การที่อารักษพระญาปวไดรับ ความเคารพอยางสูง และมีการบวงสรวงกันเปนประจําทุกป บางทีปละหลายครั้ง๑๒ จึงทําใหอาชีพชางซอไดรับการอุปถัมภเปนอยางดี และเนื่องจากเปนพิธีที่เกี่ยวของกับ กษัตริยยอมเปนธรรมดาที่การใชศัพทสํานวนของชางซอทางสายเหนือจะตองพิถีพิถัน ในการสรรคําใชมากกวาชางซอในพื้นที่อื่น อนึ่งยังมีความเชื่อสืบทอดกันมาจนกระทั่ง ปจจุบันวา ในพิธีบวงสรวงดวงพระวิญญาณอารักษพระญาปว ถาหากไมมีซอโดยเฉพาะ อยางยิง่ ถาไมมซี อทํานองดาดเมืองนานแลว ดวงพระวิญญาณของพระองคจะไมลงประทับ รางทรงเปนอันขาด๑๓ สวนเรื่อง “ชางเรืออยูทางใต” นั้นคงไมแปลก เพราะทางใตของเมืองนาน เปนที่ราบกวางใหญ มีผูคนอาศัยอยูมาก ทั้งยังเปนที่ตั้งของคุมหลวง ยอมจะมีชางฝมือ แขนงตางๆ รวมกันอยูที่นี่ เครื่องไมเครื่องมือที่ใชในการขุดเรือก็ยอมจะหาไดงายกวา แหลงอื่น ชางขุดเรือที่มีชื่อเสียงของเมืองนานในอดีตก็มักจะอาศัยอยูแถบนี้ เชน ครู บ าคั น ธา อดี ต เจ า อาวาสวั ด น้ํ า ป ว สล า แสน อิ น ต ะ อดี ต นายบ า นบ า นน้ํ า ป ว ต. น้าํ ปว พระครูประสิทธิว์ รคุณ อดีตเจาอาวาสวัดปาสัก ต. ตาลชุม สลาจันทร มีสขุ บาน ดอนไชย ต. กลางเวียง หนานศิริวงศ บานหวยแกว ต. น้ําปว สลาเขียน บานบุญเรือง ต. ไหลนาน อ. เวียงสา นายเหลี่ยม สมฤทธิ์ บานมวงตึ๊ด อ. ภูเพียง ฯลฯ แมแต ปจจุบันชางผูแกะหัวเรือและหางเรือที่มีชื่อเสียงก็อยูแถบ อ. เวียงสา เปนสวนใหญ เชน พระครูจักรธรรมสุนทร ที่ปรึกษาเจาคณะอําเภอเวียงสา ชางประเสริฐ วงศสีสม บานปากลวย ต. กลางเวียง ชางเสวียน วงศสีสม บานสาน ต. สาน ชางวิทยา สมนึก บานน้ําปว ต. น้ําปว อ.เวียงสา เปนตน ทีน่ บั เปน ๑๑ ตน นาจะนับพระญาอินทะแกนทาว ๒ ครัง้ เพราะทรงขึน้ ครองเมือง ๒ ครัง้ ทีจ่ ริงแลวคงมีเพียง ๑๐ ตนเทานั้น ไดแก ทาวสรีจันทะ พระญาเถร พระญาอุนเมือง พระญาหุง พระญาพูเขง ทาวพัน (ไมใชชื่อทาวพันตน) พพระญาสารผาสุ ระญาสสารผาสุม พระญาอินทะแกนทาว (ครั้งที่ ๑) พระญาแพง พระญาอินทะแกนทาว (ครั้งที่ ๒) และพระญาผาแสง ๑๑ สสรัสวดี อองสกุล, พื้นเมืองนานฉบับวัดพระเกิด, ๖๕. ๑๒ หหออารักษพระญาปวตั้งอยูที่บานแกม ต. ปว อ. ปว จ. นาน จะมีพิธีบวงสรวงในวันมหาสงกรานต หหรืรือื ทีค่ี นนเมื เมือื งน งนานเรียกวา “วันสังกรานตลองหรือสังขานตลอง” ของทุกป แตถามีเหตุเฉพาะกิจอันใด เชน มีผูมา บบนบานศาลกล นบานนศาลกลาวแลวสมหวังดังที่ตั้งใจก็สามารถจัดพิธีบวงสรวงไดอีกเปนคราวๆ ไป ๑๓ สัมภาษณ คมสันต ขันทะสอน, ครู คศ. ๑ โรงเรียนปว อ. ปว จ. นาน, ๒๕ กุมภาพันธ ๒๕๕๐. ๑๐

๑๖


ประเพณีแขงเรือเมืองนานมีมาตั้งแตเมื่อใด ประเพณีแขงเรือของเมืองนานคงเหมือนกับประเพณีอื่นๆ ที่ไมอาจบอกไดวา เริ่มมาตั้งแตเมื่อใด แตพอจะกําหนดคราวๆ ไดวานาจะมีมาไมต่ํากวา ๒๐๐ ปแลว ดังมีหลักฐานที่ยังหลงเหลืออยูไดแกเรือโบราณของหมูบานตางๆ ที่มีการจดบันทึก ปที่สรางหรือเลาสืบๆ ตอกันมา เรือที่เกาที่สุดในเมืองนานคือ เรือเสือเฒาทาลอ ขุดเมื่อ พ.ศ. ๒๓๕๙ ถานับจนถึงปจจุบนั ก็มอี ายุเกือบ ๒๐๐ ปแลว นอกจากนีย้ งั มีหลักฐานอืน่ ๆ ทีแ่ สดงใหเห็นถึงความเคลือ่ นไหวของประเพณีแขงเรือเมืองนาน ซึง่ ในทีน่ ขี้ อยกมาเฉพาะ หลักฐานที่สําคัญและนาสนใจดังนี้

หลักฐานเกี่ยวกับ เรือแขง เรือเสือเฒาทาลอ

เรือจักแตนบานหนองบัว

๑๘๖

เรือเสือเฒาบุญเรือง

๑๗๒

เรือคําแดงเทวี

๑๖๒

เรือคําปว (แมคําปว)

๑๕๒

ลําดับ

อายุ (ป)

รายละเอียด

๑๙๓

ขุดเมื่อป พ.ศ. ๒๓๕๙ ปจจุบันเก็บรักษา ไวที่บานทาลอ ต. ฝายแกว อ. ภูเพียง จ. นาน ขุดเมื่อป พ.ศ. ๒๓๖๖ ปจจุบันเก็บรักษา ไวที่บานหนองบัว ต. ปาคา อ. ทาวังผา จ. นาน ขุดเมื่อป พ.ศ. ๒๓๘๐ ปจจุบันเก็บรักษา ไวทบี่ า นบุญเรือง ต. ไหลนา น อ. เวียงสา จ. นาน ขุดเมื่อป พ.ศ. ๒๓๙๐ ปจจุบันเก็บรักษา ไว ที่ บ า นนาเตา ต. ริ ม อ. ท า วั ง ผา จ. นาน ขุดเมื่อป พ.ศ. ๒๔๐๐ ปจจุบันเก็บรักษา ไวที่บานเชียงแล ต. ริม อ. ทาวังผา จ. นาน แตตัวเรือชํารุดมาก ไมสามารถ ใชทําการแขงขันไดแลว

(นับถึงป ๒๕๕๒)

๑๗


หลักฐานเกี่ยวกับ เรือแขง คําสูขวัญเรือฉบับใบลาน ในความครอบครองของ พระพนัส ทิพพฺ เมธี วัดน้าํ ลัด ต. นาปง อ. ภูเพียง จ. นาน

ภาพจิตรกรรมทีว่ ดั ภูมนิ ทร

ลําดับ

อายุ (ป)

รายละเอียด

๑๕๑

เนื้ อ หาในคั ม ภี ร ใ บลานผู ก นี้ ป ระกอบ ไปด ว ย หนั ง สื อ สู ข วั ญ ข า ว สู ข วั ญ ช า ง สู ข วั ญ เรื อ สู ข วั ญ ทุ (พระสงฆ ) และ ธรรมดาสอนโลก ในทายเรื่องธรรมดา สอนโลกบั น ทึ ก ไว ว า “หนั ง สื อ หนาน กั ณ ณิ ก าร แ ต ม ไว ย ามเมื่ อ ศั ก ราชได ๑๒๒๐ (พ.ศ. ๒๔๐๑) ตัว ปเปกสะงา เดื อ นยี่ ออกค่ํ า ๑ วั น ๗ (เสาร ) ปริปุณณะแลวแล” การที่มีคําสูขวัญเรือ เมื่ อ ๑๕๑ ป ม าแล ว นั้ น ย อ มแสดง ใหเห็นวาพิธีการสูขวัญเรือและประเพณี แขงเรือตองมีมากอนหนานั้นแลว เพราะ คํ า สู ข วั ญ เรื อ ฉบั บ นี้ ค งเป น เพี ย งฉบั บ คัดลอกอีกทอดหนึ่งเทานั้น แมภายในวิหารของวัดภูมินทรจะไมมี ภาพเรือแขงปรากฏใหเห็น แตจากการ สั ม ภาษณ อ าจารย ด วงเดื อ น ธนู ส นธิ์ ทราบวาเมือ่ ครัง้ ทีท่ า นยังเรียนในระดับชัน้ ประถมศึกษาที่โรงเรียนจุมปวนิดาภรณ เมื่อหาสิบปกอนนั้น ทานตองมาเรียน ทีศ่ าลารายรอบวัดภูมนิ ทร เพราะหองเรียน ไมเพียงพอ ทานเลาวาศาลารายรอบ วิหารวัดภูมินทรมีภาพเขียนทั้ง ๔ ดาน เขียนดวยชางคนเดียวกับที่เขียนในวิหาร และมี ภ าพเรื อ แข ง เมื อ งน า นอยู ด ว ย

(นับถึงป ๒๕๕๒)

ประมาณ ๑๓๕๑๔

มีผูสันนิษฐานวาจิตรกรรมวัดภูมินทรนาจะวาดแลวเสร็จระหวาง ป พ.ศ. ๒๔๔๓ – ๒๔๔๖ แตจากนิราศ เมืองหลวงพระบางของนายรอยเอกหลวงทวยหาญรักษา (เพิ่ม) ที่แตงไวเมื่อป พ.ศ. ๒๔๒๘ ก็พบวามีภาพจิตรกรรม อยูกอนแลว ดังนั้นผูเขียนจึงสันนิษฐานวาภาพจิตรกรรมฝาผนังวัดภูมินทรนาจะเขียนแลวเสร็จในป พ.ศ. ๒๔๑๗ อันเปนปที่บูรณะวิหารครั้งใหญแลวเสร็จเชนกัน ดังกลอนในนิราศ กลาววา (สะกดการันตตามตนฉบับ) เขาในโบถบงพระพุทธวิสุทธศรี อัญชลีลานจิตตพิสมัย ยลรูปเขียนเพี้ยนภาพใหปลาบใจ ยักษอะไรนุงสิ้นจินตะนา จึ่งแจงจิตตคิดเห็นเปนกําหนด ภาพทั้งหมดหมายงามตามภาษา ภาพจีนจามพราหมณฝรั่งแขกลังกา ลายเรขาคงเปนเชนตระกูล ๑๔

๑๘


ลําดับ

หลักฐานเกี่ยวกับ เรือแขง

อายุ (ป)

(นับถึงป ๒๕๕๒)

รายละเอียด โดยกลาววาฝพายนุง “เค็ดมาม” ตามแบบ ชายชาวนานในอดีต สอดคลองกับการ ใหสัมภาษณของพระครูพิศาลนันทคุณ เจาอาวาสวัดน้ําลัด ต. นาปง อ. ภูเพียง ที่ เ ล า ว า เมื่ อ ครั้ ง ที่ ท า นจํ า พรรษาอยู ที่ วัดภูมนิ ทรสมัยเปนสามเณรเมือ่ ๓๐ กวาป มาแลวนั้น ที่ศาลารายดานทิศตะวันตก เฉียงใตก็มีภาพเขียนเรือแขง ในสมัยนั้น ภาพเขียนไดถกู ปูนขาวทาทับไปหมดแลว แตยังคงเห็นภาพไดลางๆ บางแหงเปน ภาพหางเรือ ไมพาย และฝพาย บางแหง ก็เปนภาพคนกําลังแหบั้งไฟ ในนิราศ เมืองหลวงพระบางไดกลาวถึงศาลาราย ที่ วั ด ภู มิ น ทร ห รื อ ที่ ใ นนิ ร าศเรี ย กว า “กําแพงแกว” ไวดังนี้ (สะกดการันต ตามตนฉบับ) เห็นวัดหนึ่งจึ่งพินิจพิศวง ดูมั่นคงขอบโขดโบถวิหาร กําแพงแกวแถวกั้นเปนชั้นชาน แลละลานเอกสําอางกลางนคร บันไดนาคหลากล้ําทําสดุง เปนคันคุงคดคูเชิดชูหงอน เกล็ดระบายลายขนดดูชดชอน ดังนาคนอนแนบทางขางบรรได๑๕ ตอมาในป พ.ศ. ๒๕๓๖ ทางวัดจึงไดรื้อ ศาลารายทั้งสี่ดานออกไป

๑๕ กรมศิลปากร, เมืองนาน (กรุงเทพฯ : ฝายงานเผยแพร, ๒๕๓๐. หนังสือนําชมในวโรกาสที่สมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดําเนินทรงเปดพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ นาน จังหวัดนาน ๑๔ สิงหาคม ๒๕๓๐), ๗๖.

๑๙


ลําดับ

หลักฐานเกี่ยวกับ เรือแขง

ภาพจิตรกรรมที่วัดตามอน (จิตรกรรมเวียงตา)

ภาพถ า ยเจ า มหาพรหม สุรธาดาฯ ฟอนบนเรือแขง

๙๒

ภาพถายนีน้ บั วาเปนหลักฐานสําคัญเกีย่ วกับ การแขงเรือเมืองนานอีกชิ้นหนึ่ง ถายเมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๐ เมื่ อ ครั้ ง ที่ ส มเด็ จ เจ า ฟ า กรมพระนครสวรรควรพินิต เสด็จมาตรวจ ราชการทีเ่ มืองนาน พระเจาสุรยิ พงษผริตเดชฯ เป น เจ า ผู ค รองนครน า นและข า ราชการ ประจํ า เมื อ งได จั ด ให มี ก ารแข ง ขั น เรื อ ให ทอดพระเนตร สวนเจามหาพรหมสุรธาดาฯ เจาผูครองนครนานองคสุดทาย ขณะนั้น ดํ า รงตํ า แหน ง เจ า อุ ป ราชและเจ า นาย ฝายเหนือไดลงไปฟอนในเรือลําที่ชนะเลิศ เพื่อเปนการถวายการตอนรับ

๑๐

ไมแกะสลักทีห่ อพระไตรปฎก วัดหัวขวง ต. ในเวียง อ.เมือง

๗๙

หอพระไตรปฎกวัดหัวขวงนี้ เจามหาพรหม สุรธาดาฯ โปรดใหสรางขึ้นเมื่อประมาณ พ.ศ. ๒๔๗๓ บริ เวณขอบประตู ด า นล า ง ทั้ ง ซ า ยและขวาทางด า นทิ ศ ใต ข องหอ พระไตรป ฎ กมี ไ ม แ กะสลั ก รู ป หั ว เรื อ แข ง ประดับอยูด ว ย นับเปนไมแกะสลักทีม่ คี ณ ุ คา และงดงามตามแบบศิลปะพื้นเมืองนาน

๒๐

อายุ (ป)

(นับถึงป ๒๕๕๒)

รายละเอียด

ประมาณ ๑๓๐ ป จิตรกรรมวัดตามอน เดิมอยูภายในวิหารไม ของวัดตามอน ต. เวียงตา อ. ลอง จ. แพร ต อ มาได ผ าติ ก รรมไปอยู ที่ ไร แ ม ฟ า หลวง จ. เชียงราย ภาพในจิตรกรรมวัดตามอน นี้ มี รู ป เรื อ แข ง เมื อ งน า นอยู ด ว ย จากการ วิเคราะหดวยศาสตรทางศิลปะของ อ. วินัย ปราบริปู ผูอํานวยการหอศิลปริมนาน และ จากการวิเคราะหทางดานอักษรและอักขรวิธี ของผูเขียน เห็นไปในทางเดียวกันวา ผูวาด ภาพจิ ต รกรรมเวี ย งต า น า จะเป น ช า ง กลุ ม เดี ย วกั บ ช า งที่ ว าดภาพจิ ต รกรรม ที่วัดหนองบัวและวัดภูมินทร (แตคงวาด หลังสองวัดแรก) จึงไดสอดแทรกวัฒนธรรม ของทางเมืองนานลงไปในภาพดวย


ภาพที่ ๖ เรือเสือเฒาทาลอ บานทาลอ ต. ฝายแกว อ. ภูเพียง อายุ ๑๙๓ ป (นับถึงป พ.ศ. ๒๕๕๒) ที่มา : http://www.nan2day.com/forum/index.php?topic=1702.0

ภาพที่ ๗ เรือคําแดงเทวี บานนาเตา ต. ริม อ. ทาวังผา อายุ ๑๖๒ ป (นับถึงป พ.ศ. ๒๕๕๒) ที่มา : สงา อินยา

ภาพที่ ๘ วิหารวัดภูมนิ ทรถา ยเมือ่ ป พ.ศ. ๒๕๓๐ จะเห็นศาลารายกอนถูกรือ้ ถอนทางขวาของภาพ าพ ทีม่ า : กรมศิลปากร, เมืองนาน (กรุงเทพฯ : ฝายงานเผยแพร, ๒๕๓๐), ๕๔.

๒๑


ภาพที่ ๙ เจามหาพรหมสุรธาดาฯ ฟอนบนเรือแขงที่ชนะเลิศ เมื่อป พ.ศ. ๒๔๖๐ ที่มา : http://www.lannaworld.com/cgi/lannaboard/reply_topic.php?id=1097

ภาพที่ ๑๐ หอ หอพระไตรปฎกวัดหัวขวงและไมแกะสลักรูปหัวเรือแขงที่ขอบประตูดานทิศใต ที่มา : วริศรา บุญซื่อ

๒๒


ตํานานกําเนิดเรือแขงของเมืองนาน ตํานานที่ ๑ ในอดีตกาล เจาเมืองนานไดสั่งใหนําไมตะเคียนทองขนาดยักษมาขุดเปนเรือ ไมตะเคียนทองตนนัน้ ใหญมากวากันวาสามารถวางสํารับขาว (โกะขาว) ไดถงึ ๑๐๐ สํารับ และดวยความใหญโตของไมทอนนั้น ถึงขนาดที่ทําใหรอยลากไดกลายเปนรองน้ําสมุน ในปจจุบนั (แมนา้ํ สมุน มีตน กําเนิดในเทือกเขาดอยผาจิ อ. บานหลวง ไหลผาน ต. สะเนียน ต. ถืมตอง ต.ไชยสถาน ต. ดูใต ลงสูแมน้ํานานที่บานสมุน ต. ดูใต อ. เมืองนาน) จากนั้นเจาเมืองจึงสั่งใหผาครึ่งไมนั้นทอนนั้น เพื่อขุดเปนเรือ ๒ ลํา เรือลําแรกไดชื่อวา เรือทายหลา (อานวา เฮียตายหลา) อีกลําหนึ่งชื่อวาเรือตาทอง (อานวา เฮียตาตอง) เรือทั้งสองมีอิทธิปาฏิหาริยอยางยิ่งยวด อันเนื่องมาจากอํานาจของ “ผีเรือ” ที่สิงสถิต อยูน นั้ บางครัง้ เรือจะแอบหนีจากโรงเก็บไปเลนน้าํ โดยไมมคี นพาย จนชาวบานชาวเมือง ตองตามจับกันหลายครั้งหลายครา ครั้งหนึ่งชาวบานชวยกัน “นาว” หรือฉุดเรือทั้งคูไว เปนเหตุใหหางของเรือทายหลาหักหลุดไป สถานที่นั้นจึงไดชื่อวา “ทานาว” (ปจจุบัน คือบานทานาว ต. ทานาว อ. ภูเพียง) สุดทายเรือทายหลาและเรือตาทองก็ไดจมลงสู วังน้ําตรงปากสบสมุน และคอยแสดงอิทธิฤทธิ์รบกวนผูคนที่อาศัยอยูแถบนั้นดวยการ “ทักรอง” เอาเครื่องเซนสังเวย บางทีก็จะปรากฏตัวใหผูคนเห็น เมื่อถึงวันพระวันโกน ชาวบานที่อาศัยอยูติดแมน้ํานานก็จะไดยินเสียง ฆอง กลอง และพาน (ปาน) ดังแวว มาแตไกล เชื่อกันวาเปนการออกมาเลนของเรือทายหลาและเรือตาทอง จนทําให ชาวบานหวาดผวาไปทั่ว รอนถึงอารักษพระญาปวหรือพระญาผานอง อดีตกษัตริยนาน อดรนทนไมได จึงปลอมตัวเปน “พระหนอย” หรือสามเณรมาปราบ โดยใชกาบปลี เปนพาหนะ เรือทั้งคูสูไมไดจึงยอมสยบ และหลบไปอยูที่วังคําเปนการถาวร (วังคํา คือ วังน้าํ หนึง่ ในลําน้าํ แหง ปจจุบนั อยูใ นเขต ต. สาน อ. เวียงสา) กอนลงไปอยูใ ตวงั คํานัน้ เรือทายหลาและเรือตาทองไดฝากฆองที่ติดมากับเรือใหกับอารักษตนหนึ่ง พรอมสั่งวา ถาหากตองการใหตนปรากฏกายเมื่อใด จงตีฆองขึ้น แลวทั้งคูจะมาทันที ตอมาอารักษ ตนนั้นไดชื่อวา “เจาอุย” เพราะเปนผูคอยตีฆองเสียงดัง “อุย” เพื่อเรียกเรือทั้งสอง นั่นเอง๑๖

สรุปความจาก ราเชนทร กาบคําและสมชาย จินาเกตุ, ตํานานเรือแขงเมืองนาน (นนาน : อองค งคการร บริหารสวนจังหวัดนาน, ๒๕๔๗), ๑ – ๓๑. ๑๖

๒๓


ภาพที่ ๑๑ ลําน้าํ สมุนในอดีต ถาสังเกตใหดจี ะเห็นเรือขนาดยาวจอดอยูใ นลําน้าํ ดวย ทีม่ า : หอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยพายัพ

ตํานานที่ ๒ ในอดีตกาล เจาเมืองนานไดสั่งใหขาราชบริพารไปตัดไมที่ขุนน้ําสมุนเพื่อขุด เปนเรือแขง ไมตนนั้นมีขนาดใหญมาก กลาวกันวาตอไมตนนั้นสามารถตั้งสํารับขาว (โกะขาว) ไดถึง ๑๐ สํารับ ตัวเรือสามารถบรรทุกผูคนไดถึง ๑๐๐ คน เรือดังกลาว ไดชอื่ วา “เรือทายหลาตาทอง” เมือ่ ขุดแลวเสร็จเจาเมืองนานก็เสด็จเขาไปทีข่ นุ น้าํ สมุน เพื่อนําเรือออกมาจากปาดวยพระองคเอง แตปรากฏวาเมื่อเรือมาถึงสบน้ําสมุนก็ไดเกิด ลมลง ทําใหเจาเมือง เสนาอามาตย และนางสนมที่มาในเรือจมน้ําเสียชีวิตทั้งหมด เหลือแตเพียงสามเณรนอยรูปหนึ่งที่สามารถเกาะทายเรือเอาไวได เรือไดลอยไป ตามกระแสน้ําเรื่อยๆ จนถึงหนองน้ําแหงหนึ่ง เรือทายหลาตาทองก็ไดมาหยุดนิ่ง อยูบ ริเวณนัน้ ขณะหนึง่ ซึง่ คนทองถิน่ เรียกอาการเชนนัน้ วา “ขาบ” ผูค นจึงเรียกหนองน้าํ นัน้ วา “หนองขาบ” มาจนกระทัง่ ปจจุบนั (หนองขาบอยูใ นพืน้ ทีบ่ า นดอนมูล หมูท ี่ ๑๓ ต. ดูใต อ. เมืองนาน) จากนั้นเรือก็ไหลไปถึงหมูบานแหงหนึ่ง ชาวบานเห็นสามเณร เกาะอยูต รงทายเรือจึงรีบชวยฉุดหรือ “นาว” ทายเรือขึน้ สูฝ ง ตอมาหมูบ า นนัน้ จึงไดชอื่ วา บาน “ทายนาว” ตอมาเพี้ยนเปน “บานทานาว” สุดทายเรือทายหลาตาทองก็ไดไหล ไปจนถึง “วังคํา” อันเปนวังน้าํ ลึก เขต ต. สาน อ. เวียงสา เรือก็ไดจมลงทีน่ นั่ โดยตัวเรือ ตะแคงไปทางทิศเหนือ ชาวบานยังกลาวขานอีกวากราบเรือ (แผนเฮีย) ทั้งสองดาน ที่ตะแคงอยูนั้นมีความสูงมาก ถึงขนาดที่คนเอื้อมจากกราบหนึ่งไปหาอีกกราบหนึ่ง แทบไมถึง ยอนกลาวถึงนางสนมที่จมน้ําตายที่สบสมุนนั้น ศพของนางก็ไดขึ้นอืด และลอยไปติดที่ทาน้ําบริเวณบานหนองแดง (บานหนองแดง ต. ทานาว อ. ภูเพียง) บังเอิญมีชายผูหนึ่งไปพบศพเขา และเกิดความโลภอยากจะไดกําไลที่แขนของศพ จึงได ตัดขอมือศพเพื่อเอากําไลนั้นไป ตอมาชายผูนั้นเกิดมาอีกชาติหนึ่งปรากฏวามีแตแขน ไม มีมืออจงไ จึงไดชื่อวา “ปูปนกุด” (อานวา ปูปนกุด) ซึ่งถาไปสอบถามชื่อของชายผูนี้ ไมมม จจากผู ากผูเู ฒาผูแู กแถบบานหนองแดงและหมูบ า นใกลเคียงก็ไดความวาเปนบุคคลทีม่ ตี วั ตน ออยูยูยจ รริงิ เมอร เมื่อรราว ๘๐ ปกอน๑๗ สัมภาษณ เมือง ธงเงิน, อดีตผูใหญบานน้ําลัด ต. นาปง อ. ภูเพียง จ. นาน, ๓๐ กันยายน ๒๕๕๒.

๑๗

๒๔


ตํานานที่ ๓ กาลครั้ ง หนึ่ งนานมาแล วยั งมีชายทุคคตะเข็ ญใจผูหนึ่ งอาศั ยอยู นอกเมื อง ชายผูนี้มีภรรยางามเลิศกวาหญิงใดในเมืองนั้นเลยทีเดียว ความลวงรูถึงหูของพระญา เจาเมือง พระญาเจาเมืองจึงมีความปรารถนาทีจ่ ะไดภรรยาของชายทุคคตะผูน ไี้ ปเปนสนม เลยออกอุบายใหชายทุคคตะไปหาเรือมาแขงกับเรือของตนในวันรุงขึ้น โดยมีกติกาวา ถาเรือของชายผูน แี้ พจะตองยกเมียใหเปนสนมของพระองค แตถา เรือของพระญาเจาเมือง แพพระองคกจ็ ะมอบทรัพยสมบัตมิ คี า ใหเต็มลําเรือ แมชายทุคคตะจะขอรองออนวอนวา  ญาหาเรือจากไหนมาแขงขันได พระญาเจาเมือง ตนยากจนขนาดขาวยังไมมจี ะกินจะมีปญ ก็ไมฟง ชายทุคคตะกับภรรยาไมรจู ะทําอยางไรไดแตพากันรองไหคร่าํ ครวญจนเดินไปถึง ปากถ้าํ ภูเขาหลวงแหงหนึง่ ทัง้ คูเ ลยไหววอนตอเจาปาเขาหลวง เจาปาเขาหลวงก็ปรากฏกาย และถามวารองไหดวยเหตุอันใด ทั้งสองสามีภรรยาจึงเลาเรื่องราวทั้งหมดใหฟง เจาปา เขาหลวงเกิดความสงสาร จึงบอกแกคนทั้งสองวาวันรุงขึ้นใหกลับมาที่เดิมตนจะผูกเรือ เตรียมไวให วันรุง ขึน้ ทัง้ สองสามีภรรยาก็มาตามคําสัง่ แตแทนทีจ่ ะพบเรือแขงกลับเห็นวา มีพญานาคตนหนึ่งถูกลามเอาไวที่ริมตลิ่ง เจาปาเขาหลวงก็ไดเนรมิตใหพญานาค กลายเปนเรือพรอมทัง้ ไดบอกวา “ใหเมียอยูห วั ใหผวั อยูท า ย” ทัง้ สองก็ชว ยกันพายไปยัง สนามแขงขันทีพ่ ระญาเจาเมืองไดนดั หมายไว คนทัง้ หลายเห็นวาเรือของชายทุคคตะพาย มาแคสองคน จะสูเรือของพระญาเจาเมืองที่มีคนพายนับหลายสิบคนไดอยางไร เห็นที จะตองเสียภรรยาใหแกพระญาเจาเมืองเปนแน จากนั้นเรือทั้งสองลําก็ทําการแขงขันกัน เมื่อเรือพายไปจนไกลลับตาผูคน เรือของชายทุคคตะก็แปลงเปนพญานาคดังเดิม พรอมกับใชหางฟาดเรือของพระญาเจาเมืองจนลมไป เรือของชายทุคคตะเปนฝายชนะ พระญาเจาเมืองจึงตองมอบทรัพยสนิ เงินทองอันมีคา ทัง้ หลายใหตามสัญญา ชายทุคคตะ จึงกลายเปนเศรษฐีไมตองอดอยากยากจนอีกตอไป การที่พญานาคมาชวยเหลือทั้งสอง สามีภรรยาใหรอดพนจากความอยุติธรรมในครั้งนั้น จึงเปนเหตุใหคนรุนหลังสํานึก ในบุญคุณ จึงทําการขุดเรือเปนรูปพญานาคดังที่เห็นมาจนถึงปจจุบัน๑๘

ถอดความจากการเสวนาเรือแขงที่ขวงเมืองนาน โดย พอครูคําผาย นุปง, ศิลปนแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๓๘, ๑๓ ตุลาคม ๒๕๕๐. ๑๘

๒๕


เรือทายหลาตาทองมีกี่ลําแน จากตํานานกําเนิดเรือแขงของเมืองนานตํานานที่ ๑ และตํานานที่ ๒ ทีก่ ลาวถึง เรือทายหลาตาทองนัน้ จะเห็นวามีความขัดแยงกันอยู ในตํานานที่ ๑ กลาววาเปนเรือ ๒ ลํา คือเรือทายหลาลําหนึ่ง และเรือตาทองลําหนึ่ง สวนตํานานที่ ๒ กลาววาเปนเรือเพียง ลําเดียวเทานั้น จากการที่ผูเขียนไดไปสัมภาษณผูรู เชน พอครูญาณ สองเมืองแกน นายเหลีย่ ม สมฤทธิ์ นายสําราญ มาลี๑๙ตางก็กลาวตรงกันวาเรือทายหลาตาทองเปนเรือ เพียงลําเดียว ทั้งยังกลาววาเหตุที่จากเดิมเปนเรือเพียงลําเดียวแลวไดกลายมาเปน ๒ ลํานั้น คงเปนเรื่องปกติของตํานานที่ยอมมีการเสริมแตงใหพิสดารขึ้นเรื่อยๆ ผูเขียน ก็มีความเห็นเชนเดียวกับผูรูทั้งสามทาน เหตุเพราะภายหลังคนไมทราบความหมาย ที่แทจริงของ “เรือทายหลา” และ “ตาทอง” แลว จึงพลอยคิดไปวาเปนชื่อเรือ ๒ ลํา

“ทายหลา” แทจริงแลวก็เปนชือ ่ เรือโบราณประเภทหนึง่ หลายคนคงคิดเรือ “ทายหลา” เปนเพียงเรื่องในจินตนาการหรือเปนเพียง เรือ่ งในตํานานเทานัน้ แตถา หากอานเอกสารโบราณทีโ่ ดยมากมักเขียนดวยอักษรธรรม ลานนาใหมากสักหนอย อานหรือฟงแบบพินจิ พิเคราะหสกั นิดแลว ก็จะพบวามีการบันทึก ไวเปนลายลักษณอักษรเชนกัน เทาที่ผูเขียนไดสํารวจมามักพบคําวา “ทายหลา” ปรากฏอยูใ นคําสูข วัญเรือและคําสูข วัญยาหมอนึง่ ๒๐ซึง่ ถาใครเคยไดเขารวมพิธสี ขู วัญเรือ มาแลวก็อาจจะเคยผานหูมาบาง เพียงแตอาจไมไดเฉลียวใจเทานั้น คําวา “ทายหลา” บางทีเขียนเปน “ทายหลา” จากเอกสารโบราณที่บันทึก คําสูขวัญเรือและคําสูขวัญยาหมอนึ่ง พบวา “ทายหลา” หรือ “ทายหลา” เปนชื่อของ เรือประเภทหนึ่ง เพื่อใหเห็นจริงขอเสนอขอมูลจากเอกสารดังตอไปนี้ ๑๙

นายสําราญ มาลี อยูบานบอแกว ต. บอแกว อ. นาหมื่น จ. นาน ทําหนาที่เปนรางทรงของเจาหลวง เวียงสามานานหลายสิบป บางคนมองวาเขามีปญหาทางดานบุคลิกภาพ แตจากการที่ผูเขียนไดสนทนากับเขาราว ๒ ชั่วโมง ก็รูสึกประหลาดใจเปนอยางมาก เพราะเขามีความรูในประวัติศาสตรทองถิ่นลึกซึ้งมากผูหนึ่ง เชน เขาสามารถ ลําดับสาแหรกสายตระกูลของแมเจาศรีโสภา ชายาของเจามหาพรหมสุรธาดาฯ เจาผูค รองนครนานองคสดุ ทายไดอยาง แมนยํา ซึ่งปจจุบันแมแตลูกหลานของแมเจาศรีโสภาเองก็ไมมีใครทราบรายละเอียดแลว ผูเขียนจึงลองถามกลับไป กลับมาหลายครั้ง แตก็ปรากฏวาไดคําตอบตรงกันทุกครั้งไป ๒๐ ยาหมอนึ่งบางทีเรียกวายาดํา เปนคําที่คนลานนาพูดเชิงยกยองหมอที่ใชในการนึ่งขาว วาเปนเสมือน “ยา” หรือญาติผใู หญทคี่ อยผลิตขาวนึง่ เลีย้ งชีวติ ใหเติบใหญ และเชือ่ กันวายาหมอนึง่ มีความศักดิส์ ทิ ธิ์ สามารถพยากรณ เหตุการณตา งๆ และสามารถขจัดปดเปาสิง่ ชัว่ รายได เชน เมือ่ เกิดฝนรายตอนกลางคืน ถาหากไดมาเลาใหยา หมอนึง่ ฟง ในรุง เชา เรือ่ งรายก็จะกลายเปนดี คนลานนายังเชือ่ วายาหมอนึง่ ก็มขี วัญเหมือนกับคน บางครัง้ ถาขวัญเตลิดไปก็จะตอง มีการเรียกขวัญใหกลับมา โดยกลาวอางถึงความนาอยู ความสมบูรณพูนสุขของบานเรือนที่เคยอาศัย เพื่อเลาโลม โนมนาวใหขวัญกลับมาโดยเร็ว

๒๖


๑. คําสูขวัญเรือ …เรือมงคลเหลมประเสริฐ มีทุกอันพร่ําพรอม มีทังสุราและขาวเปลือกขาวสาร หื้อนางไมแมมาเสวย ลวงกลมมีสามไกว ลวงหนามีพอคืบ มีทังเรือถูกมอกตาหมาน มีทงั เรือซะหลาไฟมาแลกัญญา สระพร่ําพรอมมากเมามวล...๒๑

จิ่งจักเบิกพระขวัญ มีทังกลวยออยหมากพลู เทิกดีงามมีทังเทียนตามสองไว หื้อมาชมเชยของไขว ลวงใหญกวางสามวา ลวงยาวสิบเอ็ดวา มีทงั เรือเชียงครานทายหลา (เชียงคราน = สวยงาม) มีทังเรือแสนตาและเรือดี

ภาพที่ ๑๒ ตัวอยางสวนหนึง่ ของคําสูข วัญเรือทีป่ รากฏคําวา “ทายหลา” หรือ “ทายหลา” (คําทีข่ ดี เสนใต) ทีม่ า : พระพนัส ทิพพฺ เมธี

จากคําสูข วัญเรือขางตนจะเห็นวา คําวา “ทายหลา” หรือ “ทายหลา” รวมอยูก บั เรือซะหลาหรือเรือชะลา เรือไฟมาหรือเรือพายมา เรือกัญญา และเรือแสนตา ในบรรดา ชื่อเหลานี้เปนที่ทราบแนชัดวาเรือซะหลา เรือไฟมา และเรือกัญญา เปนชื่อประเภท ของเรือทัง้ สิน้ (สวนเรือแสนตายังไมทราบวามีลกั ษณะอยางไร) ดังมีรายละเอียดของเรือ ทั้ง ๓ ประเภทดังนี้ เรือซะหลาหรือเรือชะลา คือ เรือขุดชนิดหนึง่ ทองแบน หัวเชิดขึน้ เล็กนอย หัวตัด ทายตัดมีขนาดยาวมาก๒๒ ในนิราศเมืองหลวงพระบาง ของนายรอยเอก หลวงทวยหาญ รั ก ษา (เพิ่ ม ) ได ก ล า วถึ ง สภาพวิ ถี ชี วิ ต ของชาวเมื อ งน า นในอดี ต ที่ ใช เรื อ ชะล า กั น เปนสวนใหญ ดังกลอนในนิราศตอนหนึ่งวา ๒๑

“สูข วัญเรือ,” เอกสารในความครอบครองของพระพนัส ทิพพฺ เมธี วัดน้าํ ลัด ต. นาปง อ. ภูเพียง จ. นาน, ใบลานมี ๔ เสนบรรทัด, อักษรธรรมลานนา. ภาษาลานนา. พ.ศ. ๒๔๐๑ (จ. ศ. ๑๒๒๐), ลานใบที่ ๖. ๒๒ ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ (กรุงเทพฯ : นานมี บุคสพับลิเคชั่นส, ๒๕๔๖), ๙๗๑.

๒๗


เทีย่ วแวดชมนิคมเขตประเทศฐาน ปอมปราการกอตั้งเปนฝงฝา มีเชิงเทินเนินใสใบเสมา ทวาราเรือนยอดตลอดแล เปนดอนดอยลอยพื้นดูรื่นเรียบ แตไมเทียบทาทางหางกระแส สักสี่เสนเห็นไกลอาลัยแล ใชเรือแตชะลาลวนควรระคาง๒๓ เรือไฟมาหรือเรือพายมา คือ เรือขุดชนิดหนึง่ หัวเรือและทายเรือเรียวงอนขึน้ พองาม มีไมหูกระตายติดขวางอยูทั้งหัวเรือและทายเรือ ตรงกลางลําปองออกใชงาน แถบภาคกลาง๒๔และพบวามีใชในภาคเหนือดวย๒๕ ภาพที่ ๑๓ เรือชะลากลางแมนํา้ นานมี หลังคาเพือ่ กันแดดกันฝน ทีม่ า : หอจดหมายเหตุ มหาวิทยาลัยพายัพ

เรือกัญญา คือ เรือหลวงที่จัดตั้งเกงประกอบหลังคาทรงกัญญา ใชเปนเรือ ประทับแรมหรือเรือพระประเทียบ๒๖ คําอธิบายนี้เปนเรือกัญญาของภาคกลาง แตยัง ไมทราบแนชัดวาจะเหมือนเรือกัญญาของภาคเหนือดังในคําสูขวัญเรือที่ยกมาหรือไม จากบริบทของคําสูข วัญเรือขางตนก็จะเห็นไดวา เรือ “ทายหลา” หรือ “ทายหลา” นั้นเปนเพียงชื่อเรือประเภทหนึ่งเชนเดียวกับ เรือซะหลา เรือไฟมา เรือกัญญา และ เรือแสนตา หาใชเปนชื่อเฉพาะของเรือลําใดลําหนึ่งไม ๒. คําสูขวัญยาหมอนึ่งสํานวนที่ ๑ ...มีทังมาวใสแขนมีทังแหวนใสนิ้ว มีทังฝายริ้วเขาสุกขาวสาร จกขวานมีดพราขวานกลาสิ่วชี หิงแหเรือแพทายหลา มีพร่ําพรอมตูแตงนอมปงปน มีทั้งพิสสนูกรรมผากลา...๒๗ กรมศิลปากร, เมืองนาน, ๗๖. ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒, ๙๗๓. ๒๕ ประจักษ สีหราช. ฮีตฮอยพิธีก๋ําเฮือแขง กิ่งอําเภอภูเพียง จังหวัดนาน, ๓๓. ๒๖ ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒, ๙๗๐. ๒๗ “คําสูขวัญยาหมอนึ่ง,” เอกสารในความครอบครองของพระมหาสุริยนต ธมฺมานนฺโท วัดนาหวาย ต. บอแกว อ. นาหมื่น จ. นาน, สมุดฝรั่งมี ๑๓ เสนบรรทัด, ๒๒ หนา, อักษรธรรมลานนา, ภาษาลานนา, ไมทราบ ปที่คัดลอก, ๑๐. ๒๓

๒๔

๒๘


๓. คําสูขวัญยาหมอนึ่งสํานวนที่ ๒ ...ดูรายาหมอนึ่งไมเทาเลาก็มี ทังพรากลาสิ่วเสียมชี ตกแตงหื้อถวายปน

หิงแหเรือแพทายหลา ขาวของเรามีพอตื้อ มีทังทอตันแลปนเกลา...๒๘

ภาพที่ ๑๔ ตั ว อย า งส ว นหนึ่ ง ของคํ า สู ข วั ญ ย า หม อ นึ่ ง ที่ ป รากฏคํ า ว า “ท า ยหล า ” (คําที่ขีดเสนใต) ที่มา : พระพนัส ทิพฺพเมธี

จากคําสูขวัญยาหมอนึ่งทั้งสองสํานวนที่ยกมา เปนตอนที่กําลังกลาวเชื้อเชิญ ใหขวัญของยาหมอนึ่งกลับมาสูบานเรือนที่เคยอยู โดยหวานลอมวามีเครื่องใชไมสอย ครบถวนบริบูรณ ตระเตรียมไวสําหรับใหขวัญของยาหมอนึ่งมาใชสอยไดตามใจชอบ จะเห็นวาชือ่ ของ “เรือทายหลา” รวมอยูก บั บรรดาขาวของเครือ่ งใชตา งๆ เชน จก (จอบ) ขวาน มีด พรา สิ่ว หิง (สวิง) แห ปนปกผม ฯลฯ จึงเปนสิ่งยืนยันอีกทางหนึ่งวา “เรือทายหลา” เปนเพียงเรือประเภทหนึง่ ทีค่ นเมืองนานในอดีตใชกนั อยูใ นวิถชี วี ติ ประจําวัน ผูเขียนสันนิษฐานวา “เรือทายหลา” คงจะมีลักษณะคลายเรือชะลา หัวทายโคงงอน มากกวา และมีกระทงเรือไวสําหรับนั่ง หรือกลาวอยางงายๆ ก็คงจะเหมือนกับเรือแขง ในปจจุบันนั่นเอง สวนความหมายของคําวา “ทายหลา” นั้น คงเปนการยากที่จะหา คําอธิบายได เพราะแมแตคําวาเรือชะลา เรือไฟมา หรือเรือแสนตา เราก็ยังไมสามารถ หาคําแปลไดเลย อนึ่งจากตํานานกําเนิดเรือแขงของเมืองนานตํานานที่ ๑ ที่กลาววาอารักษ พระญาปวหรือพระญาผานองไดแปลงกายเปนสามเณรมาปราบเรือทายหลาตาทอง โดยใชกาบปลีเปนพาหนะนัน้ บางทีอาจจะไมใชกาบปลีของตนกลวยอยางทีเ่ ชือ่ ตามกันมา ก็ได เพราะ “กาบปลี” ก็เปนชื่อเรืออีกประเภทหนึ่ง เปนเรือขนาดเล็กที่ตอดวยไม ลักษณะคลายกาบปลีของกลวย๒๙ แตดวยความที่เปนตํานานซึ่งเลาขานกันปากตอปาก จึงอาจทําใหเนือ้ เรือ่ งเกิดการผิดเพีย้ น ตกหลน หรือแมกระทัง่ เสริมแตงกันขึน้ ตางๆ นานา “คําสูข วัญยาหมอนึง่ ,” เอกสารในความครอบครองของพระพนัส ทิพพฺ เมธี วัดน้าํ ลัด ต. นาปง อ. ภูเพียง จ. นาน, พับสามี ๕ เสนบรรทัด, ๕๖ หนา, อักษรธรรมลานนา, ภาษาลานนา, ไมทราบปที่คัดลอก. ๒๙ อุดม รุงเรืองศรี, ผูรวบรวม. พจนานุก รมลานนา – ไทย (เชียงใหม : ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม, ๒๕๔๗), ๖๒๕. ๒๘

๒๙


“ตาทอง” ที่ปรากฏในเอกสารคือตาไม ในคําสูข วัญเรือสํานวนของพออุย เติง ปนทา บานหนองเตา ต. มวงตึด๊ อ. ภูเพียง จ. นาน ไดกลาวถึงคําวา “ตาทอง” เอาไวดวย นับวามีคุณคาที่ทําใหไดความกระจาง เกี่ยวกับ “เรือทายหลาตาทอง” มากยิ่งขึ้น คําสูขวัญสํานวนนี้คัดลอกมาจากคํา สูขวัญเรือของทาง อ. ทาวังผา เขียนดวยอักษรไทย แมจะมีบางคําที่แตงเสริมเขามา ในภายหลัง เพราะบางคําไมมใี ชในภาษาลานนา เชน คําวา ชิงชัยไดชนะเลิศ, แมยา นาง เปนตน แตก็มีเพียงสวนนอยเทานั้น นอกนั้นยังรักษาภาษาเกาเอาไวไดเปนอยางดี ในคําสูขวัญตอนหนึ่งกลาวถึงตาของไมที่นํามาขุดเปนเรือไวดังนี้ ตาพระญาเปนเคานัง่ อยูเ ฝาทางหัว ตานึ่งเปนตาตอตานชื่อวาตาทอง ตาอยูใตน้ํานั้นเปนตาหนุน เปนตาเพื่อนขยาดเกรงขาม

มีทังตาเพื่อนกลัวเพื่อนอยาน ตานึ่งนั้นเปนตาคนนั่งยองชื่อวาตาค้ํา ตานึง่ นัน้ เปนตาแกวตาคุณชือ่ วาตาพญานาค หกทะยานวิ่งเลนกลางน้ํา๓๐

จากวรรคทีว่ า “ตานึง่ เปนตาตอตานชือ่ วาตาทอง” นัน้ ยังไมเปนทีก่ ระจางนักวา ตาไมทกี่ ลาวถึงเปนตาดีหรือตาราย เพราะหากดูตาอืน่ ๆ ทีพ่ รรณนาไว ลวนแตเปนตาไม ที่เปนคุณทั้งสิ้น แตโดยความหมายของคําวา “ตาตอตาน” ก็แฝงความหมายดาน ลบเอาไวอยูในที เมื่อถามพออุยเติง ปนทา เจาของสํานวนสูขวัญเรือเอง ทานก็ตอบ แบบไมแนใจวาอาจเปนตาไมทไี่ มดเี หมือน “ตุงเหล็กตุงทอง” ทีใ่ ชในงานศพ จะวาไปแลว คําอธิบายของพออุยก็เขาเคาอยู เพราะคําวา “ตาตอตาน” อาจจะสอดรับกับตํานาน เรือทายหลาตาทองที่วาเรือลําดังกลาวเปนเรือที่มีฤทธิ์เกงกลา ไมยอมสยบใหใคร แตสําหรับผูเขียนเองยังจะไมดวนสรุป ตองไปสอบถามจากผูรูเพิ่มเติมอีกหลายๆ ทาน ใหแนชดั กวานี้ ในเบือ้ งตนจึงใครขอสรุปแตเพียงวา “ตาทอง” ทีเ่ ปนสวนหนึง่ ของชือ่ เรือ ในตํานานคือ “เรือทายหลาตาทอง” นั้น นาจะมาจากชื่อของตาไมมากกวาจะเปนตา ของเรือที่ทํามาจากทองเหลืองดังที่มีผูสันนิษฐานไว (“ทอง” ในภาษาลานนาหมายถึง ทองเหลืองหรือทองแดง สวน “ทอง” ในภาษาไทยคนลานนาเรียกวา “คํา”)

๓๐ “สูขวัญเรือ (ฉบับคัดลอก),” เอกสารในความครอบครองของนายเติง ปนทา บานหนองเตา ต. มวงตึ๊ด อ. ภูเพียง จ. นาน, สมุดฝรั่งมี ๑๓ เสนบรรทัด, อักษรไทย, ภาษาลานนา, ไมทราบปที่คัดลอก.

๓๐


ประวั ติ ก ารแข ง เรื อ เมื อ งน า นที่ จั ด โดย ทางราชการ และองคกรปกครองสวนทองถิน ่ การแขงเรือของเมืองนานในอดีตจะจัดขึ้นหลังจากออกพรรษาและจะตองมี ประเพณีถวายทานสลากภัตเทานัน้ แตตอ มาก็เริม่ มีการจัดการแขงขันเปนการเฉพาะกิจ ดังเชนพระเจาสุริยพงษ ผริตเดชฯ ไดโปรดใหมีการแขงขันเรือขึ้นในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๖๐ เมือ่ ครัง้ ทีส่ มเด็จเจาฟากรมพระนครสวรรควรพินติ เสด็จตรวจราชการทีเ่ มืองนาน ดังทีไ่ ดกลาวไปแลว หลังจากนัน้ ขาหลวงและขาราชการทีม่ าประจําทีเ่ มืองนานก็ไดสง เสริม ประเพณีแขงเรือของเมืองนานมาโดยลําดับ ในที่นี้จะขอกลาวถึงประวัติของการแขงเรือ เมืองนานที่จัดโดยทางราชการ และองคกรปกครองสวนทองถิ่น ครั้งสําคัญๆ ดังนี้ พ.ศ. ๒๔๖๗ พระยาวรวิชยั วุฒกิ ร (เลือ่ น สนธิรตั น) ปลัดมณฑล ประจําจังหวัดนาน ไดริเริ่มใหมีการทอดกฐินสามัคคีขึ้นอยางเปนทางการ นับเปนครั้งแรกของจังหวัดนาน ในงานนี้ไดจัดใหมีการแขงเรือประเพณีเพื่อเปนการเฉลิมฉลอง จึงเปนประเพณีสืบตอ กันมาทุกป จนถึงปจจุบัน พ.ศ. ๒๔๗๙ พระเกษตรสรรพกิจ (นุน วรรณโกมล) ขาหลวงประจําจังหวัดนาน ไดจดั ใหมกี ฎกติกาการแขงขันเรือขึน้ เปนครัง้ แรก เปนกติกางายๆ เชนมีจดุ ปลอยและเสนชัย สวนรางวัลก็มีธง ( ชอ ) ปกหัวเรือ มอบใหเรือที่ไดรับรางวัลที่ ๑ เทานั้น เรือที่ไดรับ รางวัลในปนนั้ คือ “เรือบัวพาชมชืน่ ” หรือ “เรือบัวระพาชมชืน่ ” ของบานน้าํ ปว อ. เวียงสา พ.ศ. ๒๔๙๘ นายมานิต บุรณพรรค ผูว า ราชการจังหวัดนาน ไดจดั ใหองคการ ดุรยิ างคนาฏศิลป กรมศิลปากร มาถายทําภาพยนตร สารคดี เพือ่ เปนหลักฐานทางดาน มนุษยชาติ วัฒนธรรม ประเพณีพนื้ บาน การแขงเรือประเพณีในปนนั้ จึงจัดอยางยิง่ ใหญ พ.ศ. ๒๕๐๓ หลวงอนุมัติราชกิจ (อั๋น อนุมัติราชกิจ) ผูวาราชการจังหวัดนาน ไดขอพระราชทานผาพระกฐินพระราชทาน เรียกกันวา “กฐินหลวง” นําไปทอด ณ วั ด พระธาตุ ช า งค้ํ า วรวิ ห าร การแข ง เรื อ ประเพณี ใ นป นั้ น จึ ง เป น การแข ง เรื อ กฐินพระราชทาน พ.ศ. ๒๕๒๒ พท.นพ.อุดม เพชรศิริ ผูวาราชการจังหวัดนาน ไดกําหนดใหมี การแขงเรือประเพณีนัดเปดสนามในงานประเพณีทานสลากภัตของวัดพระธาตุชางค้ํา วรวิหาร ตรงกับวันขึน้ ๑๕ ค่าํ เดือน ๑๒ นาน ประมาณเดือนกันยายน และใหมกี ารแขงเรือ ประเพณีนัดปดสนามในงานทอดกฐินพระราชทาน ซึ่งกําหนดในวันเสาร – อาทิตย หลังออกพรรษาประมาณ ๑ - ๒ สัปดาห ประมาณชวงเดือนตุลาคม – พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๒๕ นายชัยวัฒน หุตะเจริญ ผูว า ราชการจังหวัดนาน ไดกราบบังคมทูล ขอพระราชทานถวยรางวัลประเภทเรือใหญจากพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพล อดุลยเดช เพื่อเปนรางวัลใหกับเรือแขงที่ชนะเลิศ ในป พ.ศ. ๒๕๒๖ เรือขุนนาน บานศรีบุญเรือง อ. ภูเพียง ไดรับพระราชทานถวยรางวัลเปนปแรก

๓๑


พ.ศ. ๒๕๒๖ นายประกอบ แพทยกุล ผูวาราชการจังหวัดนาน ไดกราบ บังคมทูลขอพระราชทานถวยรางวัลชนะเลิศเรือกลางจากสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร และขอพระราชทานถวยรางวัลชนะเลิศเรือเล็กจากสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พ.ศ. ๒๕๒๗ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ไดเสด็จ พระราชดําเนิน เปนองคประธานในพิธีปดการแขงขันเรือประเพณีจังหวัดนาน และได พระราชทานถวยรางวัลใหแกเรือแขงที่ชนะเลิศในการแขงขัน ดังนี้ ประเภทเรือใหญ คือ เรือขุนนาน บานศรีบุญเรือง อ. ภูเพียง ประเภทเรือกลาง คือ เรือดาวทอง บานมวงตึ๊ด อ. ภูเพียง ประเภทเรือเล็ก คือ เรือศรนารายณ บานดอนแกว อ. เมือง พ.ศ. ๒๕๓๖ สํานักงานเทศบาลเมืองนาน ไดกราบบังคมทูลขอพระราชทาน ถวยรางวัลชนะเลิศประเภทเรือสวยงามจากสมเด็จพระเจาลูกเธอ เจาฟาจุฬาภรณวลัยลักษณ อัครราชกุมารี ในปนี้วิทยาลัยสารพัดชางนาน รวมกับ กศ.บป.ศูนยนาน ไดครองถวย พระราชทาน พ.ศ. ๒๕๔๑ สํานักงานเทศบาลเมืองนาน ไดกราบบังคมทูลขอประทาน ถวยรางวัลชนะเลิศกองเชียรจากพระเจาหลานเธอ พระองคเจาพัชรกิตติยาภา ในปนี้ กองเชียรบานทาลอ อ. ภูเพียงไดรับพระราชทานถวยรางวัลเปนปแรก พ.ศ. ๒๕๔๗ องคการบริหารสวนจังหวัดนานรวมกับสํานักงานเทศบาลเมืองนาน อ. ภูเพียง และสภาวัฒนธรรมจังหวัดนาน ไดจดั การแขงขันเรือเยาวชน อายุไมเกิน ๑๘ ป (ตอมาเปลี่ยนเปนอายุไมเกิน ๒๐ ป) นับเปนแหงแรกของประเทศไทย ในปแรกนี้เรือ เทพสุวรรณของเยาวชนบานทาค้ํา อ. ทาวังผา เปนผูครองถวยรางวัลชนะเลิศ พ.ศ. ๒๕๕๑ เทศบาลตําบลเวียงสาไดกราบบังคมทูลขอพระราชทานถวย รางวัลชนะเลิศเรือใหญจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในปนี้ เรือเพชรบุญเรือง ๑ บานบุญเรือง ต.ไหลนาน อ. เวียงสา ไดครองถวยพระราชทาน ไปเปนกรรมสิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๕๒ เทศบาลตําบลเวียงสาไดกราบบังคมทูลขอพระราชทานถวยรางวัล ชนะเลิศเรือใหญ เรือกลาง และเรือเล็ก จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช กุมารีอีกวาระหนึ่ง ซึ่งกติกาใหมกําหนดวาเรือที่จะไดครองถวยเปนกรรมสิทธิ์จะตอง ชนะเลิศ ๓ ปตดิ ตอกัน ในปแรกนีเ้ รือทีไ่ ดรบั รางวัลชนะเลิศและไดครองถวยพระราชทาน คือ เรือใหญไดแก เรือขุนสยามแดนทอง บานน้ํามวบ ต. น้ํามวบ อ. เวียงสา เรือกลาง ไดแก เรือขุนตี้ คาย ม. พัน ๑๕ อ. เมืองนาน เรือเล็กไดแก เรือแมคนงามน้ําลอม บานน้ําลอมและบานมหาโพธิ์ ต. ในเวียง อ. เมืองนาน ราเชนทร กาบคํา, เรือแขงเมืองนาน มรดกล้าํ คา (นาน : องคการบริหารสวนจังหวัดนาน, ๒๕๔๙), ๖ – ๘.

๓๑

๓๒


พ.ศ. ๒๕๕๒ องคการบริหารสวนตําบลฝายแกว อ. ภูเพียง ไดกราบบังคมทูล ขอประทานถวยรางวัลชนะเลิศเรือกลางและเรือเล็ก ในการแขงขันเรือเยาวชนจากพระองคเจา โสมสวลีพระวรราชาทินดั ดามาตุ ในปนเี้ รือทีช่ นะเลิศประเภทเรือกลางคือเรือเทพนรสิงห ๒ บานแสงดาว ต. ฝายแกว อ. ภูเพียง และเรือทีช่ นะเลิศประเภทเรือเล็กคือเรือนานพลังสันต ศูนยกีฬสตําบล บอ อ. เมืองนาน

บทสรุปเกี่ยวกับประวัติเรือแขงเมืองนาน การแขงเรือของเมืองนานนาจะมีมาไมต่ํากวา ๒๐๐ ปแลว อนุมานจาก หลั ก ฐานที่ เ ก า ที่ สุ ด ที่ ยั ง หลงเหลื อ อยู คื อ เรื อ เสื อ เฒ า ท า ล อ บ า นท า ล อ ที่ มี อ ายุ ถึ ง ๑๙๓ ปแลว เริ่มแรกเรือแขงเมืองนานนาจะเปนเรือที่ใชอยูในวิถีชีวิตประจําวันที่เรียกวา “เรือทายหลา” ดังในคําสูข วัญเรือและคําสูข วัญยาหมอนึง่ ไดกลาววาเปนเรือประเภทหนึง่ ซึ่งรวมอยูในประเภทขาวของเครื่องใชของคนในอดีต ไมใชเปนชื่อเฉพาะของเรือลําใด ลําหนึ่ง สวนตํานานเรือ “ทายหลาตาทอง” ที่คนเมืองนานเลาขานกันสืบตอๆ มานั้น ถาเปนเรื่องที่มีเคาความจริง ก็คงเปนเรือทายหลาที่มีลักษณะพิเศษอยางใดอยางหนึ่ง ถึงขั้นที่ทําใหผูคนในยุคนั้นกลาวขานกันทั่วไป เชน อาจเปนทอนมีขนาดใหญมหึมา อยางที่ไมมีใครเคยพบเคยเห็นมากอน หรือไมที่ใชขุดเรืออาจมีตาไมชนิดที่เรียกวา “ตาทอง” ตามทีป่ รากฏในคําสูข วัญของพออุย เติง ปนทา บานหนองเตา หรืออาจจะเปน เรือทายหลาที่หัวเรือรูปพญานาคมีดวงตาทํามาจากทองเหลือง ดังที่มีผูรูหลายทาน ไดเคยใหคาํ อธิบายไวกไ็ ด แลวจึงมีการแตงเติมอิทธิปาฏิหาริยเ ขาไปในภายหลัง จนเปน ตํานานกําเนิดเรือแขงของเมืองนานมาจนทุกวันนี้ เรือแขงของเมืองนานเดิมทีเดียวคงไมไดตงั้ ใจขุดเพือ่ ใชแขงขันอยางเชนปจจุบนั แตคงเปนพาหนะของสวนกลางทีพ่ ระและชาวบานชวยกันสรางขึน้ ใชสาํ หรับขนยายผูค น เมื่อเกิดอุทกภัยรายแรง หรือใชบรรทุกพระสงฆและชาวบานไปทําบุญตางหมูบานเมื่อ คราวมีงาน เพราะสังเกตวาการแขงเรือในอดีตจะจัดขึน้ ก็ตอ เมือ่ มีการถวายทานสลากภัต เทานั้น การแขงเรือในยุคแรกคงเปนการแขงขันกันเลนๆ ไมไดหวังผลแพชนะ หลังจาก เสร็จพิธีทางศาสนาแลวก็คงนําเรือมาประลองกําลังกันเพื่อความสนุกสนานแลวก็ แยกยายกันกลับ ตอมาจึงเริม่ มีการแขงขันและมีรางวัลเปนเรือ่ งเปนราวมากขึน้ จนกระทัง่ ปจจุบันการแขงเรือของเมืองนานนับเปนการแขงขันเรือยาวที่ยิ่งใหญที่สุดแหงหนึ่ง มี จํ า นวนเรื อ มากที่ สุ ด ในประเทศ มี นั ก กี ฬ ามากที่ สุ ด ถึ ง ราว ๕,๐๐๐ คน มี ผู ช ม นั บ หลายหมื่ น คน และที่ ยั ง ความปลาบปลื้ ม ให กั บ ชาวเมื อ งน า นเป น ล น พ น ก็ คื อ การแขงขันเรือของเมืองนานไดรบั พระมหากรุณาธิคณ ุ จากพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ตลอดจนพระบรมวงศานุวงศอีกหลายพระองคที่ไดทรงพระราชทานถวยรางวัลแกเรือ ชนะเลิศประเภทตางๆ เปนจํานวนมากที่สุดกวาการแขงเรือยาวสนามใดๆ ในสยาม ประเทศ

๓๓


บรรณานุกรม หนังสือ กรมศิลปากร, เมืองนาน. กรุงเทพฯ : ฝายงานเผยแพร, ๒๕๓๐. (หนังสือนําชม ในวโรกาสที่ ส มเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุ ม ารี เสด็ จ พระราชดําเนินทรงเปดพิพธิ ภัณฑสถานแหงชาตินา น จังหวัดนาน ๑๔ สิงหาคม ๒๕๓๐) กองแกว วีระประจักษ. “ทินนาม : การตัง้ ชือ่ .” ใน เรือ่ งตัง้ เจาพระยาในกรุงรัตนโกสินทร. สมศรี เอีย่ มธรรมและคนอืน่ ๆ, บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, ๒๕๔๕. ปฏิพฒ ั น พุม พงษแพทย. ภูมหิ ลังเมืองนาน. มปท., ๒๕๔๙. ประจักษ สีหราช. ฮีตฮอยพิธกี าํ๋ เฮือแขง กิง่ อําเภอภูเพียง จังหวัดนาน. รายงานการวิจยั เสนอตอคณะกรรมการวิจัยการศึกษา กรมการศาสนาและการวัฒนธรรม ของกระทรวงศึกษาธิการ, กันยายน ๒๕๔๕. (อัดสําเนา) ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒. กรุงเทพฯ : นานมีบุคสพับลิเคชั่นส, ๒๕๔๖. ราเชนทร กาบคํา และสมชาย จินาเกตุ. ตํานานเรือแขงเมืองนาน. นาน : องคการบริหาร สวนจังหวัดนาน, ๒๕๔๗. ราเชนทร กาบคํา. เรือแขงเมืองนาน มรดกล้าํ คา. นาน : องคการบริหารสวนจังหวัดนาน, ๒๕๔๙. สรัสวดี อองสกุล. พืน้ เมืองนานฉบับวัดพระเกิด. กรุงเทพฯ : อมรินทรพริน้ ติง้ แอนดพบั ลิชชิง่ จํากัด (มหาชน), ๒๕๓๙. สรัสวดี อองสกุล. หลักฐานทางประวัตศิ าสตรลา นนาจากเอกสารคัมภีรใ บลาน และพับหนังสา. เชียงใหม : ภาควิชาประวัติศาสตร คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม, ๒๕๓๔. สิทธิศกั ดิ์ ธงเงิน. เมืองนาน...อดีตทีค่ ณ ุ อาจไมเคยรู. แพร : เมืองแพรการพิมพ, ๒๕๔๘. องคการบริหารสวนจังหวัดแพร. ประวัตศิ าสตรเมืองแพร (ฉบับ พ.ศ. ๒๕๕๐). แพร : เมืองแพรการพิมพ, ๒๕๕๐. อุดม รุง เรืองศรี, ผูร วบรวม. พจนานุกรมลานนา - ไทย. เชียงใหม : ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม, ๒๕๔๗. อุดม รุงเรืองศรี. “เมือง เชียง เวียง แช : แหลงใหญที่อาศัยของคนเมือง.” ใน ลานนาอันอุดม. ทรงศักดิ์ ปรางควัฒนากุล, บรรณาธิการ. เชียงใหม : ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม, ๒๕๔๙.

๓๔


ตนฉบับตัวเขียน

“คําสูขวัญยาหมอนึ่ง.” เอกสารในความครอบครองของพระพนัส ทิพฺพเมธี วัดน้ําลัด ต. นาปง อ. ภูเพียง จ. นาน. พับสามี ๕ เสนบรรทัด. ๕๖ หนา. อักษรธรรม ลานนา. ภาษาลานนา. ไมทราบปที่คัดลอก. “คํ า สู ข วั ญ ย า หม อ นึ่ ง .” เอกสารในความครอบครองของพระมหาสุ ริ ย นต ธมฺ ม านนฺ โ ท วัดนาหวาย ต. บอแกว อ. นาหมื่น จ. นาน. สมุดฝรั่งมี ๑๓ เสนบรรทัด. ๒๒ หนา. อักษรธรรมลานนา. ภาษาลานนา. ไมทราบปที่คัดลอก. “สูขวัญเรือ (ฉบับคัดลอก).” เอกสารในความครอบครองของนายเติง ปนทา บานหนองเตา ต. มวงตึด๊ อ. ภูเพียง จ. นาน. สมุดฝรัง่ มี ๑๓ เสนบรรทัด. อักษรไทย. ภาษาลานนา. ไมทราบปที่คัดลอก. “สูขวัญเรือ.” เอกสารในความครอบครองของพระพนัส ทิพฺพเมธี วัดน้ําลัด ต. นาปง อ. ภูเพียง จ. นาน. ใบลานมี ๔ เสนบรรทัด. อักษรธรรมลานนา. ภาษาลานนา. พ.ศ. ๒๔๐๑ (จ. ศ. ๑๒๒๐).

การสัมภาษณ

คมสันต ขันทะสอน. ครู คศ. ๑ โรงเรียนปว. สัมภาษณ, ๒๕ กุมภาพันธ ๒๕๕๐. ญาณ สองเมืองแกน. ผูเชี่ยวชาญดานศิลปวัฒนธรรมเมืองนาน. สัมภาษณ, ๒๘ กันยายน ๒๕๕๒. ดวงเดือน ธนูสนธิ์. อดีตนักเรียนโรงเรียนจุมปวนิดาภรณ อ. เมือง จ.นาน. สัมภาษณ, ๓ ตุลาคม ๒๕๕๒. พิศาลนันทคุณ. พระครู. เจาอาวาสวัดน้ําลัด ต. นาปง อ. ภูเพียง จ. นาน ที่ปรึกษา เจาคณะตําบลนาปง. สัมภาษณ, ๒๘ กันยายน ๒๕๕๒. เมื อ ง ธงเงิ น . อดี ต ผู ใ หญ บ า นน้ํ า ลั ด ต. นาป ง อ. ภู เ พี ย ง จ. น า น. สั ม ภาษณ , ๓๐ กันยายน ๒๕๕๒. สําราญ มาลี. รางทรงของเจาหลวงเวียงสา บานบอแกว ต. บอแกว อ.นาหมื่น จ. นาน. สัมภาษณ, ๒๗ กุมภาพันธ ๒๕๕๑. เหลี่ยม สมฤทธิ์. ชางขุดเรือแขงอาวุโสของเมืองนาน บานมวงตึ๊ด ต. มวงตึ๊ด อ. ภูเพียง จ. นาน. สัมภาษณ, ๕ ตุลาคม ๒๕๕๒.

สื่ออิเล็กทรอนิกส

Chuthatip [นามแฝง]. กําเนิดแมนา้ํ โขง [online]. accessed 29 September 2009. Available from http://www.amulet.in.th/forums/view_topic.php?t=877&sid=1b3bd49045c0ac099 decbfd660476506 Chetawan [นามแฝง]. ประชาชื่น : ตํานาน “แมน้ําโขง” เรื่องเลาในวาระ “อุโมงคผันน้ํา” รัฐบาล “ขี้เหร” [online]. accessed 29 September 2009. Available from http://chetawan.multiply.com/journal/item/29/29 Pungpond [นามแฝง]. ประวัติเรือเสือเฒาทาลอ เรือที่อายุมากที่สุดในจังหวัดนาน [online]. accessed 29 September 2009. Available from http://www.nan2day.com/forum/ index.php?topic=1702.0


คํานิยม หนังสือประวัตเิ รือแขงเมืองนาน จากเอกสาร ตํานาน และเรือ่ งเลาของคุณ ยุทธพร นาคสุข ฉบับนี้ เปนการนําเสนอ ข อ มู ล ที่ เรี ย กได ว า เป น การบู ร ณาการ เรือ่ งราวเกีย่ วกับประวัตเิ รือแขงเมืองนาน ที่ ค รบถ ว นสมบู ร ณ น า ศึ ก ษาฉบั บ หนึ่ ง นับเปนความพยายามอยางสูง กอปรกับมีการเรียบเรียงดวยถอยคําที่อานงาย กระชับ แตคงไวซึ่งภาษาดั้งเดิมไวคอนขางดี สะทอนความรูสึกถึงอดีตเมืองนาน โดยเฉพาะวิถีชีวิตชาวนานในอดีตที่มีความผูกพันกับเรืออยางลึกซึ้ง เปนหนังสือ ที่ผูสนใจเรื่องราวของเรือแขงเมืองนานจะตองอาน และเก็บไวเปนสมบัติสวนตัว ไวอางอิงตอไปได กระผมในฐานะที่อาศัยอยูเมืองนานมาเปนเวลานาน จึงมอง ในทัศนะและในความรูส กึ แบบคนเมืองนานทีจ่ ะขอขอบพระคุณ คุณยุทธพร นาคสุข ดวยใจจริง ที่ทําใหกระผมไดรับความรูใหมๆ พรอมกับความสุขทุกครั้งที่ไดอาน ประวัติที่เกี่ยวของกับเมืองนาน ที่งดงาม ที่มีคุณคาควรแกการสืบทอดและธํารง รักษาไว นายแพทยบุญยงค วงศรักมิตร

ราคา

๓๐

บาท

ภาพหนาปก : ภาพเรือแขงเมืองนานในจิตรกรรมวัดตามอน อ. ลอง จ. แพร ปจจุบนั อยูท ไ่ี รแมฟา หลวง จ. เชียงราย ผูถ า ยภาพ : วินยั ปราบริปู


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.