วารสารวัฒนธรรม จังหวัดเชียงใหม่ เล่ม 13

Page 1


ฉบับที่ ๑๒ พฤษภาคม - สิงหาคม ๒๕๕๒

ที่ปรึกษา

ISSN : 1905-40-607 วัตถุประสงค

๑. เพือ่ เผยแพรงานดานวัฒนธรรมในจังหวัดเชียงใหม ๒. เพื่อเปนสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนเรียนรู กิจกรรมและดําเนินงานดานวัฒนธรรม ระหวางองคกรและเอกชน ๓. เพื่อสงเสริมและสนับสนุนองคกรทองถิ่นที่ ดําเนินงานดานวัฒนธรรมใหกวางขวางยิ่งขึ้น ๔. เพื่ออนุรักษมรดกทางวัฒนธรรม จังหวัดเชียงใหม

สํานักงาน

สภาวัฒนธรรมจังหวัดเชียงใหม ศูนยราชการจังหวัดเชียงใหม อ.เมือง จ.เชียงใหม ๕๐๓๐๐ โทรศัพท/โทรสาร. ๐๕๓-๑๑๒๕๙๕, ๐๕๓-๑๑๒๕๙๖

เรื่องในฉบับ

อูจากั๋นกอน ................................................................. ๑ คณะบรรณาธิการ พิธีกรรมการบูรณะเจดีย ............................................. ๒ ศรีเลา เกษพรหม เลาขานประสบการณเรื่อง “ผีเผต” ............................. ๘ รศ.พิเศษ ถาวร เสารศรีจันทร ธงฉัพพรรณรังสี ....................................................... ๑๔ พระนคร ปรังฤทธิ์ บุคคลวัฒนธรรม (พระราชเขมากร) ............................๑๘ ภัทรา จันทราทิตย ตุง เครื่องสักการะทางพระพุทธศาสนา ในนครเชียงตุง ...........................................................๒๑ ผศ.จินตนา มัธยมบุรุษ ของกิ๋นบานเฮา (แกงผักขี้ขวง) ....................................๒๖ ผศ.จินตนา มัธยมบุรุษ, ปานรดา อุนจันทร ขาววัฒนธรรมจังหวัดเชียงใหม .............................. ๒๘ ปานรดา อุนจันทร คาวรําลึกครบรอบชาตกาล ๖๐๐ ป พระเจาติโลกราช ..................................................... ๓๑ ศิริงพงศ วงศไชย

ดร.เจาดวงเดือน ณ เชียงใหมม นายอินสม ปญญาโสภา ดร.บุญคิด วัชรศาสตร นางวันเพ็ญ ณ เชียงใหม

บรรณาธิการ

ผศ.จินตนา มัธยมบุรุษ รศ.พิเศษถาวร เสารศรีจันทร

บรรณาธิการบริหาร

นายไพฑูรย รัตนเลิศลบ นางเจียมจิตต บุญสม

กองบรรณาธิการ

นายศรีเลา เกษพรหม นายจรีย สุนทรสิงห นางภัทรา จันทราทิตย นางปานรดา อุนจันทร

การเงิน

นางศิริวรรณ สุขศิริ นายประจัญ สมนาวรรณ

จากปก : ตุงจาดรอด เปนตุงทีป่ ก หรือเขียนรูปตางๆ

ในการเสวยพระชาติของพระโพธิสตั ว จํานวน ๑๓๖ ชาติ กอนที่จะมาตรัสรูเปนพระพุทธเจา เชื่อกันวาหาก ทานตุ ง นี้ แ ล ว จะรอดพ น โรคาพยาธิ อุ บั ติ เ หตุ ภยันตรายทั้งปวง

พิมพที่ : หจก. กลุมธุรกิจแม็กซ (MaxxPRINTING ) ๑๔ ถ.ศิริมังคลาจารย ซ.สายน้ําผึ้ง ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม ๕๐๒๐๐ TM

โทร. ๐๘๖-๖๕๔๗๓๗๖, ๐๕๓-๒๒๑๐๙๗ moradoklanna@gmail.com http://moradoklanna.com


ฉบับที่ ๑๓ มกราคม - เมษายน ๒๕๕๓

อูจ้ า๋ กั๋นกอ ่ น วารสารวัฒนธรรมจังหวัดเชียงใหม ฉบับตอนรับ ปขาล สวัสดีปใ หม ๒๕๕๓ ขอสงความสุขในชวงปใหม ใหสมาชิกทุกทาน รวมถึงทานผูอ า นทีใ่ หเกียรติเขามา ในห อ งข า วสารของพวกเรา ขอท า นให มี ค วามสุ ข ความเจริญ ปราศจากโรคภัยไขเจ็บ มีสุขภาพกายใจที่ ดี ตลอดป..และตลอดไปเนอ.. สําหรับฉบับตอนรับปขาล เปนฉบับแรกแหงป (ฉบับที่ ๑๓) พวกเรายังมีความตั้งใจที่จะนําเสนอ เรือ่ งราวทีน่ า สนใจกลับมาคราวนี้ เนือ้ หาสาระทีน่ าํ มา เสนอ ยังนาสนใจ นาติดตาม จากบรรดาทานผูเขียน หลายทาน ที่ไดนําเสนอประสบการณ เรื่องเลาที่นา ประทับใจมาฝากใหทานไดติดตามอยางเรื่องเลาขาน ประสบการณผีเผต (ผีเปรต) ลองติดตามดู นอกจากนี้ ยังมีอาหารพืน้ เมือง ชือ่ อาจฟงแลวไมนา ฟงซักเทาไหร แตนา ลิม้ ลองดู…วาทําไมถึงมาเปนอาหารพืน้ บานของ ชาวเหนือเรา สําหรับความรู วิชาการในเรื่องตํานาน พระพุทธศาสนาในลานนา ยังมีมาฝากมิใหลืมเลือน ที่ลืมเสียมิไดเห็นจะเปนบุคคลทางวัฒนธรรมฉบับนี้ จะขอกลาวถึง ทานเจาอาวาสวัดเจ็ดยอด พระอารามหลวง ตํานานแหงประวัติศาสตรลานนา พระราชเขมากร รองเจาคณะจังหวัดเชียงใหม เปนองคอปุ ถัมภกศาสนา ที่ ไ ด อุ ทิ ศ เวลาให กั บ งานพุ ท ธศาสนามายาวนานอี วนานอี ก ทานหนึ่ง อแนะจาก วารสารวัฒนธรรม ยินดีรับฟงขอเสนอแนะจาก ทุกทาน หากทานมีขอคิดเห็นอยากไดรับทราบขอมูล ขาวสารทางวัฒนธรรมในเรือ่ งใด ความคิดเห็ห็นของทาน จะเปนประโยชนยิ่งในการนําเสนอสาระ เพื่อหมูเฮา ตอไป สวัสดีเจา สวัสดีครับ ปะกั๋นฉบับหนนา บรรณาธิการ กองบรรณาธิ ฉบับที่ ๑๓ มกราคม - เมษายน ๒๕๕๓


พิธีกรรมการบูรณะเจดีย์

ศรีเลา เกษพรหม

สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม

องคเจดียท เี่ กาหรือหักโคนลง เมือ่ จะมีการบูรณะ ก็ตอ งกระทําตามพิธกี รรมทีถ่ กู ตอง ถาไมทาํ ใหถกู ตอง คนโบราณเชื่อถือวาองคพระธาตุที่อยูใตฐานของเจดีย และแกวแสงสิ่งที่เปนมงคลตางๆ ในองคเจดียจะหนี หายไปอยูท อี่ นื่ ถือวาเม็ดพระธาตุเปนวัตถุทมี่ ชี วี ติ จิตใจ ถาทําองคเจดียใหเปนสถานที่นาอยู สะอาดและไดรับ การดูแลรักษา พระธาตุก็จะประดิษฐานอยูและแสดง ปาฏิหาริยใ หปรากฏ เกิดความชุม เย็นรุง เรืองในบริเวณ นั้นๆ พระธาตุองคอื่นๆ ที่อยูใกลเคียงกันก็จะไปมา เที่ยวหากัน แตถาไมมีใครดูแลรักษา สักการะบูชา พระธาตุก็จะหนีไป ดังนั้นการที่จะบูรณะองคเจดีย อันเปนที่ประดิษฐานองคพระธาตุตองทําดวยความ เคารพบู ช า และถู ก ต อ งตามโบราณพิ ธี ที่ ทํ า สื บ ต อ กันมา

ฉบับที่ ๑๓ มกราคม - เมษายน ๒๕๕๓

ตั้งหอเสื้อวัด

กอนจะถึงวันกระทําพิธีใหตั้งหอเสื้อวัด ๑ หลัง สรางดวยไมแกน มุงแปนเกล็ด ไวเปนกัมมะถักกับวัด กับพระธาตุเจา แลวจึงทําพิธบี อกกลาวผีเสือ้ วัดในตอน บาย กอนวันทําพิธบี รู ณะพระธาตุ ๑ วัน เครือ่ งบูชาหอ เสื้อวัดมี เขา อาหาร เขาตม เขาหนม สมสูกลูกหวาน หมากพลู กล ว ยอ อ ย และยั ง มี แ กงส ม แกงหวาน ชอเทียน ขาวตอกดอกไม เมือ่ ยกตัง้ บนหอแลว อาจารย วัดกลาวคําบูชา วา โภนโต เทวาเทวคณาทังหลายมวลหมู ทังเสื้อ บานอยูรักษา ขอจุงไขพระโสตาวิมานปราสาทราธนา สโมธาน บัดนีช้ มุ นุมการมารอดไคว ผูข า ทังหลายชุใหญ นอยญิงชาย มาเล็งหันยังพระธาตุเจาอันชินหลุคร่าํ ชรา ลง จิ่งไดพรอมกันวาจักปฏิสังขารณะเพื่อค้ําชูวรพุทธ ศาสนาใหอยูหมั้นคุงตราบเถิง ๕,๐๐๐ พระวรรษา จิ่ง มีสนั ทานุสนั ทบละเสียยังฮีตบรดี มลางเทเสียยังประเวณี อันมีมาแตภายหลังเมือ่ กอน เชนพอหมอนเดิมมา ก็พา


กันตกแตงดาเครือ่ งขียาบูชาทังหลายมวลฝูงนีบ้ ห อื้ เศษ หลอ ขอเสื้อบานอันอยูรักษาในสถานที่นี้จุงรับเอายัง เครื่องขียาปูชาฝูงนี้ เซิ่งผูขาทังหลายมีตนวา เขาน้ํา โภชนะอาหารเขาตมเขาหนมแกงสมแกงหวาน สมสูก ลูกหวาน หมากพลูพราวตาลกลอยออยชอนอยและ เทียนไฟ เขาตอกดอกไมมวลฝูงนี้เซิ่งผูขาทังหลาย เมื่อ รั บ เอาแล ว ขอจุ ง มาสั ง พิ ภั ค รั ก ษายั ง บ า นช อ งกั บ ทั ง วรพุทธศาสนาและผูข า ทังหลายชุผใู หญนอ งชายญิง ทัง ชางมาวัวควาย เปดไกหมูหมา และขอมาชวยค้าํ ในการ สรางกอและปฏิสงั ขารณะองคพระธาตุเจาเจดีย อยาหือ้ ผูขาทังหลายเปนกังวลอนทรายทังหลาย ขอหื้อภัยยะ ทังหลายจุงหื้อหลีกเวนฟกหนีไกล ฝูงหมูมารทังหลาย อยาไดมาสุนเทีย่ งแทดหี ลี ผูข า ทังหลายก็ขอถวายสักการะ บูชาครบเครื่องชุเยื่องนี้นานา อธิคตา ทีฆายุกา สัพพะ ทาวัสส วราหกา อิจฉสสมิชันตุ ปริโยสาน สมตา (กลาว ๓ รอบ)

ตั้งหอพระอุปคุต

อีกประการหนึ่งที่ตองตั้งขึ้นคือใหสรางหอพระ อุปคุต ใหมาชวยรักษาในการสรางหรือบูรณะองคเจดีย เพือ่ ไมใหมเี หตุเพทภัย หรือมีมารมารบกวน เชือ่ กันวา พระพุ ท ธเจ า ได สั่ ง ให พ ระอุ ป คุ ต ช ว ยดู แ ลพระพุ ท ธ ศาสนา และพระอุปคุตก็เปนผูที่หมูมารเกรงกลัว เมื่อ สรางหออุปคุตในบริเวณที่ใกลกับสถานที่จะสรางหรือ บูรณะแลว ปูเสือ่ และอาสนะไว ใหจดั เครือ่ งสักการะบูชา และเครื่ อ งอั ฐ บริ ข ารตั้ ง ไว ใ นหอนั้ น ประกอบด ว ย

ขันขาวตอกดอกไม เทียน ๘ คู ขันหมาก โคนโทน้ํา ผา เครื่องหลวง คือ ๑ ไตร บาตร ไมเทา วีพัด ขันใสมูล มันลูกไมอันดีอันงาม ใหผูที่เปนประธานในการสราง หรือบูรณะ ตลอดถึงชางผูทํา มีความปลอดภัยจาก อันตรายทั้งปวง ในตอนเย็นของวันกอนทําพิธีบูรณะ ในบางทองถิ่นจะจัดขบวนแหไปอาราธนาพระอุปคุต โดยมีอาจารยวัดเปนประธาน พรอมดวยศรัทธาผูเฒา ผูแ ก คนหนุม คนสาว มีขนั ขาวตอกดอกไมลาํ เทียน และ ฆองกลองพากันไปที่แมน้ําใหญเพื่อไปอาราธนาเอา พระมหาอุปคุต ที่เชื่อกันวาทานชอบอยูในน้ํา เมื่อไป ถึงอาจารยทเี่ ปนประธานกลาวคําโวหารวา "ขาพเจาพา กันมาเพื่อขออาราธนาพระมหาอุปคุต เพื่อไปชวย ปกปองภัยมาร ในงานครั้งนี้ ขอพระมหาอุปคุตจงชวย ดวยเถิด" แลวใหผชู ายคนใดคนหนึง่ ลงดําไปในน้าํ แลว หยิบเอากอนกรวดหรือกอนหินหรือสิง่ ใดสิง่ หนึง่ ขึน้ มา ซึง่ สมมุตวิ า เปนพระมหาอุปคุต เมือ่ งมขึน้ มาแลวนําวาง ไวในขันดอก ไมแลวจึงแหไปที่วัด แลวยกขันที่ใสกอน กรวดตัง้ ไวในหอ บางทองถิน่ ก็ไมไดกระทําอยางนี้ เมือ่ ตั้งเครื่องอัฐบริขารบนหอแลว ก็จะกลาวคําอัญเชิญ พระอุปคุตกันที่หนาหออุปคุตนั่นเอง โดยอาจารยวัด จะคําอาราธนาวา สังโฆวิสุทโธ วรทักขิเณยโย สันตินทริโย สัพพ มลปหิโน คุณหิเนเกหิ สมิทธิปต โต อนาสโว ตังปนนมา มามิ สังฆติโย ชโนโลหมยังปาลโย ชีวโิ ต วรทักขิณสาคร มัชเฌ อุปคุตโต ถิโตนเมโย อุปคุตโตมหาเถโร อันวา พระมหาอุปคุตเถรเจาตนไดอรหันตัง อันเปนอรหันตา ตนประเสริ ฐ ทั ก ขิ ณ สาครมั ช เฌถิ โ ต อั น ตั้ ง อยู ใ น ทามกลางพืน้ น้าํ มหาสมุทร กัมโตโลหปราสาทมยัง ใน ปราสาทอันแลวดวยทองแดง ติโยชนุพเพโธ อันสูงได ๓ โยชน วิชโิ ตจ ตราบอันเถิงนิพพาน โสอุปคุตโต อันวา พระมหาอุปคุตเจาตนเปนอรหันตาตนประเสริฐนั้น นเมมวานมามิ ผูขาก็ไหวดวยอันครบยําแยงกาลบัดนี้ แล ขาแดพระมหาอุปคุตเจาตนประเสริฐ ตนมีคุณ ล้ํ า เลิ ศ อรหั น ตเจ า ย อ มมี อิ ท ธิ ฤ ทธี อั น องอาจ อั น พระพุทธเจาหากทํานายไวหื้อรักษาศาสนา ๕,๐๐๐ พระวรรษา เพื่อบหื้อเปนอนทรายแกนรานรฝูงมัก ฉบับที่ ๑๓ มกราคม - เมษายน ๒๕๕๓


บําเพ็ญบุญกิริยา อันยิ่งดวยอิทธิฤทธีแหงเจากู เทียน ยอมผจญยังมาร ปกขะมารหื้อขาดกลับหาย บัดนี้ผูขา ทังหลายอันพระคณะสังฆ ปุตตุชนทังหลายมวลหมูอัน ตั้งอยูรักษาในโขงชมพูทวีปนี้ หากเปนจารีตประเวณี อันพระสากยมุนโี คดมบรมศาสดา หากตัง้ ศาสนาไววา หื้อคนทังหลายไดกระทําบุญตามเจตนาแหงตนชุบาน ชุเมือง เพื่อหื้อรุงเรืองในศาสนากูพระตถาคต ตราบ เสี้ยง ๕,๐๐๐ พระวรรษา วาสันนี้แทดีหลี ในกาลบัดนี้ ผูข า มวลหมูอ นั ตัง้ อยูร กั ษายังพุทธศาสนา ก็มบี พุ พภาค เจตนาหยัง่ เชือ่ เลือ่ มใสในกุศลนาบุญเสีย้ งชุผชู คุ นชุนอ ย ใหญญิงชายแทดีหลี โอกาสปนนสมก มูลศรัทธาอัน บังเกิดมูลเจนาแตเหงา หมายมีมหาอารามาธิปติเจาตน ชื่อ (ชื่อเจาอาวาส) อันตั้งปฏิบัติบําเพ็ญบุญในศาสนา อารามวัด (ชื่อวัด) ที่นี่เปนประธาน ก็บังเกิดดวยบุพพ ภาคเจตนาศรัทธามักใครปฏิสงั ขารณะองคพระธาตุเจา เจดีย ก็จิ่งไดรําพึงคิดถึงพระอรหันตเจาตนวิเศษ อันมี บุญญาธิคุณ สีลาทิคุณ บริสุทธิ์ ตนชื่อวาอุปคุต ตนมี ฤทธิ์องคอาจ ก็จิ่งจักไดตั้งมณฑปปราสาท ปูไวยัง อาสนา อันประดับประดาเรืองรอด หื้อเปนที่ยั้งจอด อาศัย ผูขาทังหลายก็ตั้งไว มีทังเครื่องสมณบริขาร คือ วาผา ๓ ผืน กับบาตร มีทังน้ําตนและขันหมาก ไมเทา เหล็ก หากเปนของสมควร เปนที่นิยมใจเจตน เพื่อ อัญเชิญพระอรหันตเจาตนวิเศษมาเมตตาแทดีหลี ทีนี้ ผูขาทังหลายก็ไดพรอมกันขงขวาย ตกแตงนอมนํามา ยังบุปผาราชาดวงดอกขาวตอกพรอมลําเทียน มาจําเนียร พ่ําเพ็งเต็มขัน เพื่อจักมาขอโอกาสราธนานิมันตนายัง พระอรหันตเจาตนวิเศษ อันทรงสมณเพศอันบริสุทธิ์ ตนชือ่ อุปคุตตนประเสริฐ ขอเจากูจงุ เกิดดวยมหากรุณา เอ็นดูขณ ุ ณายังพุทธศาสนา และผูข า ทังหลาย อันมีพระ คณะสังฆะ และมนุสสคณะทังมวล ขอเจากูจุงรับเอายัง นิมนั ตนายังคาถาแหงผูข า ทังหลาย แลวจุง เสด็จยาตรา มาอําภักรักษายังผูขาทังหลาย เพื่อขอหื้อพนเสียยัง อุบาทวกังวลอนทรายนานา อันจักมาบังเกิดหื้อเดือด เนื้อรอนใจ ขอจุงหื้อรํางับกลับหายไปชุเยื่อง ชุประการ แทดีหลี ขอเจากูตนประเสริฐจุงจักมาหามเสียยังมาร ปกขมาร อันจักผาสูนกลัว้ เกลา คือวามากระทําหือ้ แดด ๔

ฉบับที่ ๑๓ มกราคม - เมษายน ๒๕๕๓

รอน ลมราย ไฟราย สัตวราย อันจักมาบังเกิดหื้อสะดุง ตกใจเจ็บไขหนาวก็ดี กระทําหือ้ พราจับมีดบาด มีววิ าท ผิดเถียงกัน บุบตีดวยโกรธะมานะดั่งอั้นก็ดี ไฟไตลาม ก็ดี เหตุทงั หลายฝุงนีย้ อ มเกิดมีดว ยมาร ปกขมาร หาก แตงหือ้ เปนเสีย้ ง และขอเจากูตนวิเศษจุง จักมาหามเสีย ยังภัยยเหตุการณทังหลายฝูงนี้ หื้อรํางับกลับหายไป เสี้ยง ชุประการแดเทอะ มะยังภันเต อิมานิมธุบุปผาราชา นิมันตนานะ กะถะอุปคุตเถรัง ยามะอะนุกัปปะ อุทายะ ปฏิคคันหา ตุ โ น อุ ป คุ โ ตมหาเถโร สั ม พุ ท เธนะ วิ ย ะกะเตมา มารัญจะ มารัพพะรัญจะ ทัมมิสเต อนาคะเต อุปคุตตัง มะหิทธิยัง อุปทวัง ชาตัง วิทธัง สัตถังอุปคุตตัง ตินา เมนะ พุทโธหิ พุทธเตเชนะ อันตรายัง อเสสโต ธัมโมหิ ธัมมเตเชนะ อันตรายัง อเสสโต สังโฆหะ สังฆเตเชนะ อันตรายัง อะเสสโต// บทคาถานี้วา ๓ ครั้ง

ตั้งหอบูชาพญาอโศก

จัดเตรียมเครื่องบูชาพญาอโศกราช ดวยพญา อโศกราชไดเลื่อมใสในพระพุทธศาสนายิ่งนัก ไดสราง เจดียท ปี่ ระดิษฐานพระธาตุถงึ ๘๔,๐๐๐ องค ในตํานาน พระธาตุ ต า งๆ จึ ง กล า วถึ ง พญาอโศกที่ ติ ด ตาม พระพุทธองคจาริกไปในสถานทีต่ า งๆ ดังนัน้ เมือ่ กระทํา ปฏิ สั ง ขารณะเจดี ย ก็ ใ ห ตั้ ง หอ จั ด เครื่ อ งบู ช าไว เ พื่ อ เปนการบูชาคุณพญาอโศก


ตั้งหอบูชาทาวทั้ง ๔

ตั้งหอบูชาบอกทาวทั้ง ๔ ใหตั้งคางหรือหอ เพื่อ ตั้งเครื่องบูชาแกทาวทั้ง ๔ หรือจตุโลกบาล เพื่อใหงาน ทีท่ าํ มีความราบรืน่ และสําเร็จดวยสวัสดี กอนถึงวันทีจ่ ะ ทําพิธีที่เกี่ยวกับองคพระธาตุ ในตอนเชาผูเฒาผูแกจะ พากันมาแตงเครื่องบูชาทาวทั้ง ๔ ที่วัด เครื่อบูชาทาว ทั้ง ๔ มี เขาสุก อาหาร ลูกสม ลูกหวาน หมากเหมี้ยง บุหรี่ กลวยออย เขาหนมเขาตม เขาตอกดอกไม ชอขาว บางตํารามีชอ หลายสี แตละกระทงมีสขี องชอไมเหมือน กัน ของบูชาแตละอยางตองใชอยางละ ๒๔ ชิน้ ใสสาํ รับละ ๔ มีกระทงหนึง่ ทีบ่ ชู าพระอินทรยงั ตองมีฉตั รขาวปกไว ๑ อันดวย ปกเทียนทุกกระทง ๑ เลม ทุกกระทงมีควัก น้ําหยาดดวย ในตอนเย็นอาจารยวัดมาถึงศรัทธาคน ใดคนหนึ่งจะประเคนขันดอกหรือขันตั้งใหกับอาจารย จ า ก นั้ น อ า จ า ร ย จ ะ ตั้ ง เ ค รื่ อ ง บู ช า ท า ว ทั้ ง ๔ ทีไ่ ดแตงดาใสสะทวงบาง ใสกระทงใบตองบางมีจาํ นวน ๖ สํารับ ยกกระทงทีม่ ฉี ตั รตัง้ แทนทีอ่ ยูต รงกลางขางบน สุดเปนเครื่องบูชาพระอินทร ยก ๔ กระทงตั้งแทนที่มี ตามทิศทัง้ ๔ เพือ่ บูชาทาวประจําทิศ อีกกระทงหนึง่ ตัง้ ไวขางลางเพื่อบูชานางธรณี แลวอาจารยจะนั่งหันหนา ไปทางทิศตะวันออก แลวกลาวคําชุมนุมเทวดาคือ สัคเคกาเมฯ ๓ รอบ แลววา //สุณันตุโภนโตเทวสังขาโย ดูราเทวดาเจาชุตน คือวาพญาธตรฐตนรักษาอยูห นวันออกก็ดี พญาวิฬรู ห ตนรักษาหนใตกด็ ี พญาวิรปู ก ข ตนอยูร กั ษาทิศกล้าํ วัน ตกก็ดี พญากุเวรตนอยูรักษากล้ําหนเหนือก็ดี พญา อินทาเจาฟาตนเปนเจาเปนใหญแกเทวดาใน ๒ สวรรค ชัน้ ฟามีทา วทัง ๔ เปนตนเปนประธาน ภายต่าํ ใตมพี ญา วรุณและนางธรณีเปนที่สุด บัดนี้ผูขาทังหลายก็ไดพ่ํา เพ็งหอบยับมาจําศีลกินทานมีมากเทาใดก็ดี ผูขาทัง หลายก็ขอถวายสวนบุญเตื่อมแถมสมภารเจาทังหลาย ตนประเสริฐ จุงจักมาอนุโมทนายินดีเซิ่งผูขาทังหลาย แลวขอเจากูทงั หลายชุตน จุง จักมาพิภคั รักษาพอแมลกู เตา หลานเหลน ทาสีทาสา ชางมา ขาคน วัวควาย เปด ไกหมูหมา ของเลี้ยงของดูแหงผูขาทังหลายแลวขอ ประกอบสรรพสวัสดี อยาหื้อไดไหมไดไขไดหนาว ขอ

หื้อยินดีซะราบหื้อพนจากภัยยาทังมวลแลวขอหื้อภัย อันตรายทังหลาย ขอหื้อหลีกฟกเวนจากเขตบานแดน เมืองแหงผูข า ทังหลาย แลวขอหือ้ ผูข า ทังหลาย ประกอบ ไปดวยเขาของเงินคําชางมาขาคนวัวควาย แกวแหวน ขาวเปลือก ขาวสาร ทาสีทาสา พร่ําพรอมบรมวล ตาม คํามักคําปรารถนา ชุเยือ่ งชุประการนัน้ เทีย่ งแทดหี ลี // จากนั้นจึงไหวไปทางทิศตะวันออกกลาววา /ปุริมัสมิง ทวิสาภาเค กาเยมังรักขันตุ อหังวันทามิสัพพะทา ยัน ตัง สันตังปทังอภิสวาหาย ๓ ครั้ง/ แลวไหวไปทางทิศ ใตวา ทักขิณมัสมิง ทวิสาภาเค กาเยมังรักขันตุ อหัง วันทามิสัพพทา ยันตังสันตังปทังอภิสวาหาย ๓ ครั้ง/ แลวไหวไปทางทิศตะวันตกวา ปจฉิมมัสมิง ทวิสาภาเค กาเยมังรักขันตุ อหังวันทามิสพั พะทา ยันตังสันตังปทัง อภิสวาหาย ๓ ครั้ง/ แลวไหวไปทางทิศเหนือวา อุตร มัสมิง ทวิสาภาเค กาเยมังรักขันตุ อหังวันทามิสัพพะ ทา ยันตังสันตังปทังอภิสวาหาย ๓ ครั้ง/ แลวแหงน หนาขึน้ ขางบนกลาววา อุปริมสั มิง ทวิสวาภาเค กาเยมัง รักขันตุ อหังวันทามิสัพพะทา มิสัพพะทา ยันตังสันตัง ปทังอภิสวาหาย สรรพอันตรายาวินาสันตุ ๓ ครั้ง/ ทุก ครั้ ง ที่ ก ล า วคํ า โอกาสแต ล ะทิ ศ จบก็ ใ ห ห ยิ บ เอาควั ก น้ําหยาดในกระทงหยาดลงไปที่แผนดินทุกครั้งดวย

ขอขมาพระธาตุ มาพระธาต

พิธีขอขมาพระธาตุ การบูรณะองคเจดีย ก็ตองมี การขึ้นไปเหยียบอยูขางบนของหมูชางทั้งหลาย ดังนั้น จึงตองมีพิธีขอขมาองคพระธาตุกอน ใหแตงดาขันเขา ตอกดอกไม ธูปเทียน เครื่องหอมมีจวนจันทนเปนตน แลวยกไปตัง้ ไวทสี่ มควร ในบริเวณทีใ่ กลกบั องคเจดียท ี่ ฉบับที่ ๑๓ มกราคม - เมษายน ๒๕๕๓


จะบูรณะ ใหทุกคนนั่งประนมมือแลวใหอาจารยกลาว สิง่ หนึง่ ทีต่ อ งใสไวบนยอดของเจดียค อื ฉัตร เพือ่ กัน้ แดด กัน้ ฝนใหกบั องคพระธาตุทอี่ ยูข า งในเจดีย ฉัตรนัน้ สวน คํายอคุณดังนี้ มากสรางขึ้นดวยแผนทองเหลืองหรือทองแดง เปน //บัดนีผ้ ขู า ทังหลายทัง้ ภายในและภายนอก ภาย ๕ ชั้นบาง ๗ ชั้น บาง ๙ ชั้นบาง ประกอบดวยใบฉัตร บนภายลุม ผูขาทังหลายก็ไดนอมนํามายังบรมอามิส แกนฉัตร ปูมฉัตร หลอดฉัตร และจิกฉัตร แลวลงรักปด ปูชา แลวลวดขอขมายังสารีรกิ ธาตุแหงพระสัพพัญูมนุ ี ดวยทองคํา การประกอบพิธียกฉัตรเจดียขึ้นเสียบไวที่ยอด เจาอันตัง้ อยูเ หนือแผนพระสุธาชมพูทวีป และลังกาทวีป อั น เป น ที่ ตั้ ง แห ง ศาสนา ผู ข า ทั ง หลายขอขมาทั้ ง ของเจดีย ตองมีการตัง้ ขัน คือขันครูใหแกพระสงฆผเู ปน สารีริกธาต และอรหันตธาตุ คือโกญทัญญหมูขีณา ประธาน หรือ ใหแกชา งผูจ ดั พิธี มีเบีย้ ๑๐,๐๐๐ หมาก อุบาลีเจาหมูส าวํ โมคคัลลาน กัจจายนะ องคเถรเจาหมู ๑๐,๐๐๐ ขาวเปลือก ๑๐,๐๐๐ ขาวสาร ๑,๐๐๐ หมาก ทรงธรรม ทัง้ ธาตุองคคาํ สารีบตุ รเจารุง เรืองงาม ภควัม ๘ ขด ๘ กอม สวยพลู สวยดอก เทียนเลมบาทคือเทียน ปติองคเจาบเสาเปรียบยิง่ คํา ผูข า ขอขมา บบรณากรรม ใหญ ๒ คู เทียนเล็ก ๘ คู ผาขาวรํา ผาแดงรํา เงินทอง กับพระธาตุเจาชุองคๆ บัดนีส้ ถูปพระธาตุเจาชราลงคร่าํ ตามสมควร แลวใหแตงรูปเทวบุตรก็ดี รูปนกหงสก็ดี เฒาหยวาดพังเพ หินทรายเทยะแตกอาลวดเสียศรี ผูกกับเชือก โดยแยกชักขึ้นเปนชิ้นๆ ใหดูเหมือนกับวา บัดนี้ผูขาทังหลายมีใจไฝมักใครสรางกอปกแปลง ยัง เทวบุตร หรือ นกหงสนําฉัตรขึ้น คันถึงยามดีใหพระ สถูปพระธาตุเจาหื้อสมควร จิ่งปกเตือนชักชวนฝูงแก ภิกษุ ๔ รูป ที่มีช่อื อันเปนมงคลอยู ๔ มุมของฉัตรที่ผูก เฒาหมูต านาย พากันขงขวายตกแตงนอมนํามายังดวง ไวแลว สวดคาถาพัน พรอมกันทั้ง ๔ รูป สวดวา นะโม บุปผาดอกไมขาวตอกพรอมเสี้ยงลําเทียน มาจําเนียร ๓ รอบ พุทโธอุปปนโนโลเก ธัมโมอุปปนโนโลเก สังโฆ ตัง้ ไวกลางคลองสองหนาแหงพระธาตุเจาชุองคอวล ขอ อุปปนโนโลเก พุทธะคุณัง ธัมมะคุณัง สังฆะคุณัง แลว พระพุทธาควรขุณโณตโปรดอโหสินตั ถิวปิ ากแกผขู า ทัง วา นะโมพุทธายะ นะโมธัมมายะ นะโมสังฆายะ นะโม หลาย ทังภายในและภายนอก ชุตนชุองคชผุ ชู คุ น ชุใหญ พุทธัสสะ นะโมธัมมัสสะ นะโมสังฆัสสะ พุทโธปะรายะ น อ ยชายญิ ง เที่ ย งแท ดี ห ลี ผู ข า ทั ง หลายได ก ระทํ า โน ธัมโมปะรายะโน สังโฆปะรายะโน พุทโธเมนาโถ วุฑฒาปจจายนะฉันนี้แลว ขอหื้อสมดังแกวหัทธยา ธัมโมเมนาโถ สังโฆเมนาโถ พุทธังสะระณังคัจฉามิ ผูขาทังหลายทังภายในและภายนอกอันมักไฝสรางพ่ํา จนถึง ตะติยัมปสังฆังสะระณังคัจฉามิ อิติปโสภะคะวา เพ็งบุญ คือปฏิสังขารณะกอสรางหางแปลงยังพระชิน สวากขาโต สุปฏิปนโน บทไหนใหวา ๓ ครั้ง แลววา ธาตุเจาอันหลุคร่ําเฒาถึงชรา แลวโหยดพวัะพั้งพัง สัพเพพุทธาพะลัปปตตา สัพเพธัมมาพะลัปปตตา สัพ ตกดิน ผูข า ทังหลายจักสรางแปลงธาตุพระมุนหี อ้ื แหนน เพสังฆาพะลัปปตตา ภวะตุสัพแลวจึงใหยกฉัตรใบแรก หนาหมั้นแกนวาฉันนั้นแทดีหลี โดยดั่งบาลีวา สาธุม และ หลอดฉัตรขึ้นกอน แลวชักขึ้นเปนลําดับไปจนถึง ยัมภันเต อิมานิ สุคันธาทกสุบุปผาราจา ปูชิตัง กาย จิกฉัตร ในระหวางที่ชักชิ้นสวนของฉัตรขึ้นไปนั้น พระ กัมมัง วจีกัมมัง มโนกัมมัง อตีตโทสังวา อนาคตโทสัง สงฆทั้งหลายนอกเหนือจาก ๔ รูป ที่นิมนตมาทําพิธี ปจจุปปนนะมิโทสัง ขมันตุโน// ก็ พ ากั น สวดมนต มั ง คละไปไจ ๆ เมื่ อ ยกและติ ด ตั้ ง เมื่อไดมีการบอกกลาวขอขมาตอองคพระธาตุ เรียบรอยแลว ใหเอาน้ําขมิ้นสมปอย กลิ่นคุจวนจันทน แลว จึงจะลงมือบูรณะปฏิสังขรณองคเจดียใหสมบูรณ สระสรงแตยอดของเจดียลงมาใหบริสุทธิ์ แลวเอาฝาย ตอไป เชื่อกันวาในระหวางที่มีการบูรณะองคเจดียนั้น ลวงคือสายสิญจน และเชือกคาเขียวเวียนรอบบริเวณ องคพระธาตุจะออกจากองคเจดียไปอยูที่อื่นชั่วคราว รานชางของเจดีย หรือ เวียนทีก่ าํ แพงรอบเจดีย แลวเอาหมอ เมื่ อ สร า งเจดี ย ใ หม หรื อ บู ร ณะเสร็ จ เรี ย บร อ ยแล ว ขาวหรือไหขาว ๔ ลูกใสน้ําใหเต็มทุกลูก ผูกปากดวย ๖

ฉบับที่ ๑๓ มกราคม - เมษายน ๒๕๕๓


ในทองและผาขาว เอาตั้งไว ๔ มุมของฐานเจดีย จุด เทียนใหญ และ ประทีปใหญ ตามมุมที่มีไหขาวตั้งไว แลวจึงกลาวคําโอกาสราธนาองคพระธาตุกลับเขาสถิตย สําราญประดิษฐานในองคเจดีย โดยกลาวคําอาราธนา วาดังตอไปนี้ // บัดนี้ผูขาทังหลายขอนิมันตนายังองคพระ สารีริกธาตุเจาอันตั้งอยูเหนือหนาแผนพสุธาในยุตต โลกธาตุ ผูขาขออังคลาสชุองคๆ ธาตุทังมวลมี ๑๒ ตื้อ ละไวหอ้ื โปรดโลกโลกา บัดนีผ้ ขู า ทังหลายก็มบี ปุ ผาราจา ขาวตอกดอกไม เทียนไหวนบนอมนิมนต ปเกทันตา ทังดูกดามมีดยังบลีดอยูสันดี ขอนิมนตมาสถิตยตั้งอยู ในเจดียแหงผูขาหากแตงทําทาน ผูขาขอยอมือสานใส เกลาเขาไหวชวุ นั มุคคมัตตา มัชฌิมา ตัณฑุลา องคธาตุ ขาวบเสาเพทหางพอก ตัณฑุลาขาวสารหัก ทรงวิตกั เพท ยังองค ผูขาขอนิมนตจุงมาตั้งอยูภายใน ขอหื้อเปนที่ ไหวที่นมัสการ รับเอาทานแหงนราปฏิสังขารณะ ผูขา ทังหลายชักชวนกันแตงตัง้ ปกกอสรางแตงทําดี ยังสถูป พระมุนีองคธาตุเจา ผูขาขออัญเชิญเขามาอยูภายใน ติถนั ตุ ขอตัง้ อยูเ หิงนาน ๕,๐๐๐ พระวรรษากาล ตราบ เมีย้ นสถูปแกวสองเมืองอินทรพรหมมนุษยสนิ้ คนและ ผีเทพไทหื้อเขาไดมาไหวและพนจากโอฆะวัฏฏสงสาร หื้อเขาทังหลายไดถึงเนรพานเมืองมิ่ง ดับจากทุกขยิ่ง สําราญสาวาด แหงพระธาตุเจาและธาตุอรหันต ตัณฑุลา ธาตุขาว หื้อบานเมืองชุมเย็นมั่งมูลทุนเทาดวยเขาน้ํา ปจจัย ของอัญเชิญยังธาตุอรหันตองคใดๆ แสนหมู ธาตุ เจาใหญนอยคูริงราม พันธุผักกาดและเม็ดขาวสารหัก สังขยาจัดอานเลา ๑๒ ตื้อ พระไวหื้อโปรดโลกโลกา ผูขาขออัญเชิญเสด็จเขามาตั้งอยูในเจดียเจากูคําขา ใน ทองเภตราสําเภาใหญ เปนเรือสําเภาไตขา มโอฆสงสาร ผูข า นมัสการขอราธามาชุองคนอ ยใหญ ขอพระมหาธาตุ เจาไฝขุณณา มุทุตาสัตวโลก ขอหื้อผูขาทังหลายชุตน ชุคนไดพน จากโลกสงสารเทีย่ งแทดหี ลีแดเทอะ //กลาว ๓ ครัง้ แลวจึงเอาขันดอกไมประเคนทีฐ่ านขององคเจดีย เมื่อกระทําดังนี้แลวก็เชื่อวา องคพระธาตุจะกลับเขามา ประดิษฐานอยูใ นองคเจดียเ หมือนเดิมครัน้ ถึงตอนเย็น

ใหพระสงฆสวดมังคละ สวดเบิก อีกครั้งหนึ่ง เพื่อ เปนการอบรมสมโภช ตลอดทัง้ คืนอาราธนาและนําพระ อุปคุตกลับที่เดิม เมื่อเสร็จการบูรณะองคเจดียแลว ในกรณีที่ไป แหเอาพระมหาอุปคุตจากแมน้ํามาอยูในหอ เพื่อชวย ขจัดภัยมารตั้งแตเมื่อเริ่มลงมือกอแลว ดังนั้นเมื่อเสร็จ แลวก็ตองจัดขบวนแห เพื่ออาราธนานําเอาพระอุปคุต ไปสงไวที่เดิมอีกครั้งหนึ่ง โดยการนําขันดอกไมธูป เทียนไปที่หอ อาจารยวัดจะกลาวตามโวหารวา "บัดนี้ การงานก็ไดสําเร็จลงดวยดี ไมมีเหตุการอันใดเกิดขึ้น ทัง้ นีก้ เ็ ปนเพราะเตชะบารมีของมหาอุปคุตชวยคุม ครอง ปองกัน บัดนีข้ า พเจาทังหลายขออาราธนากลับไปอยูท ี่ เดิ ม " แล ว จึ ง หยิ บ เอาก อ นกรวดในหอมาใส ใ นขั น ดอกไม แลวจึงพากันแหไปที่แมน้ํา เมื่อไปถึงก็โยนหิน กอนนั้นลงไปที่กลางแมน้ํา จึงเปนอันวาเสร็จพิธี

ฉบับที่ ๑๓ มกราคม - เมษายน ๒๕๕๓


เลาขานประสบการณ า่ ขานประสบการณเรื เ์ รื่อง “ผีเผต”

รองศาสตราจารยพิเศษถาวร เสารศรีจันทร นายกสมาคมสหธรรมเชียงใหม กรรมการสภา มจร. วิทยาเขตเชียงใหม กรรมการบริหารสภาวัฒนธรรมจังหวัดเชียงใหม กรรมการพุทธสมาคมจังหวัดเชียงใหม

ผูอานที่ไมใชคนลานนา หรือเปนคนลานนายุค ปจจุบัน อาจจะสงสัยคําวา “ผีเผต” มันคืออะไร กอน จะเลาประสบการณคนเผชิญกับผีเผต ตองมาทําความ เขาใจกับคําวา “ผีเผต” กันกอน ถาไมอยางนั้น อาจ จะเขาใจคําวา “ผีเผต” ผิดเพี้ยนไป “ผีเผต” เปนคําศัพทภาษาลานนาที่ใชกันมา นานแลว แมปจจุบันก็ยังพูดกันอยู หากจะวิเคราะหคํา ศัพทเพือ่ ใหเขาใจ สามารถแยกคํานีอ้ อกเปน ๒ คํา คือ คําวา “ผี” กับคําวา “เผต” พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๒๕ ใหความหมายของคําวา “ผี” ไววา ผีคอื สิง่ ทีม่ นุษยเชือ่ วาเปนสภาพลึกลับ มองไมเห็นตัว แตอาจปรากฏ เหมือนมีตัวตน อาจใหคุณ หรือโทษได มีทั้งดีและราย เชน ผีปูยา ตายาย ผีเรือน ผีหา เรียกคนที่ตายไปแลว วา “ผี” คําวา “ผี” สวนมากมักจะใชไปในทางที่เลว ไมดี เชน คนผี คนหนาผี ผีเขาผีออก ซึ่งหมายถึงเดี๋ยว ดีเดี๋ยวราย ไมคงที่เปนตน สวนคําวา “เผต” ตรงกับคําภาษาไทยกลาง คือ เปรต นั่นเอง ซึ่งคําวาเผต หรือเปรต เปนที่เขาใจกันดี ในทางพระพุทธศาสนาวา เปนสัตวพวกหนึ่งเกิดใน อบายภู มิ คื อ แดนทุ ก ข หมายถึ ง ผี เ ลวจํ า พวกหนึ่ ง ๘

ฉบับที่ ๑๓ มกราคม - เมษายน ๒๕๕๓

มีหลายชนิด ชนิดหนึ่งตามที่เลากันวา มีรูปรางสูงโยง เยงเทาตนตาล มีผมยาวหย็อกหย็อย คอยาว ผอมโซ มีปากเทารูเข็ม มีมือเทาใบตาล กินแตเลือด และน้ํา หนองเปนอาหาร มักรองเสียงดังวีด้ ๆ ในตอนกลางคืน คําวาเปรต ยังเปนคําเชิงดา หรือปรามาสคนทีอ่ ดอยาก ผอมโซ เทีย่ วรบกวนขอเขากิน หรือเมือ่ มีใครไดโชคลาภ ก็เขามาขอแบงปน เสมือนการขอแบงสวนบุญ ในพจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลศัพท ของพระราชมุนี (ประยุทธ ปยุตฺโต) ไดใหความหมาย ของคําวาเปรตไว ๒ อยาง คือ ๑. หมายถึงผูละโลกไปแลว, คนที่ตายไปแลว ๒. หมายถึงสัตวพวกหนึง่ ซึง่ เกิดอยูใ นอบายภูมิ ชั้นที่เรียกวา “ปตติวิสัย หรือเปตติวิสัย” ไดรับความ ทุกขทรมาน เพราะไมมีอาหารจะกิน แมมีกินก็กินไม ได หรือกินไดก็กินไดโดยยาก แตในพจนานุกรมภาษาถิ่นภาคเหนือ ฉบับ สถาบันราชภัฏเชียงใหม ๒๕๓๙ ใหความหมายของคํา วา “เผต” คือ เปรต เปนอมนุษยที่มีรูปรางผอม และ อดอยากอยูเ สมอ ทัง้ นีใ้ นวรรณกรรมลานนายังมีความ หมายวาเปนอมนุษยที่ใหภัยแกมนุษยอีกดวย


เมื่อกลาวถึงเรื่องเปรตไมกี่ปมานี้นี่เอง มีคนคิด เอาเรื่องเปรต มาหากินโดยนําเสนอ ใหเปนขาวทาง สื่อมวลชนวา ไดพบเห็นเปรตเปนตัวเปนตนกันจริงๆ หากใครอยากเห็นตองไปทําพิธีกรรม ถวายเครื่องเซน สังเวยในปา ซึง่ เปนดินแดนทีพ่ วกเขาอางวา มีพวกเปรต อาศัยอยู ในระยะแรกเมือ่ ขาวปรากฏในสือ่ มวลชนเปน เรื่องฮือฮากันใหญ มีคนไปดูกันจํานวนไมนอย เรื่อง กําลังจะโดงดังตามแผนที่คณะผูจัดฉากเตรียมไว แตก็ มี ค นจํ า นวนหนึ่ ง เคลื อ บแคลงสงสั ย ถึ ง กั บ มี ก ารท า พิสูจนไปดูเปรตตัวจริงในปาที่พวกเขาอางวาเปนที่อยู ของเหลาเปรตทั้งหลาย เมื่อมีการพิสูจนดวยวิธีกลโกง อันแนบเนียนของคณะผูจ ดั ฉาก ทําใหคนผูม ศี รัทธาจริต คือมีความเชือ่ งาย บางคนยอมเชือ่ วาเปนเรือ่ งจริง และ ยิ่งกวานั้นยังมีพระสงฆบางรูปออกมาใหสัมภาษณ สนับสนุนวา เปรตมีจริง อางวาสมัยพุทธกาลก็มีเปรต มารองขอสวนบุญ จากพระเจาปเสนทิโกศล ทําใหผูมี ศรัทธาจริตหลงเชือ่ มากเขาไปอีกวา เปรตปรากฏตัวให คนเห็นนั้นเปนเรื่องจริง อะไรก็ตามถาเปนความจริงก็คือความจริงเปน อมตธรรม ในทีส่ ดุ ความจริงก็ปรากฏ เรือ่ งทีเ่ กิดขึน้ เปน เรื่องเท็จ เปนการโกหก สรางเรื่องเท็จใหดูประหนึ่งวา เปนเรือ่ งจริง เปนการแหกตาคนดู และเมือ่ มีการจับกล โกงไดพวกเขาก็รับสารภาพวา สภาพที่ปรากฏใหเห็น นั้น ไมใชเปรตตัวจริงเปนเพียงกลวิธีที่สรางขึ้น เจา หนาทีต่ าํ รวจจึงตัง้ ขอกลาวหาพวกเขาวาเปนการตมตุน หลอกลวงประชาชน และผลก็ตอบสนองทันตาเห็น พวก เขาไดกลับกลายจากคนธรรมดาๆ เปนเปรตตัวจริงจน ได เจาหนาทีบ่ า นเมืองใหพวกเขาเหลานัน้ ไปเปนเปรต อยูใ นแดนอบายภูมิ คือ ติดคุกฐานหลอกลวงประชาชน แตผเี ผตทีผ่ เู ขียนจะเลาประสบการณตอ ไปนีเ้ ปน ผีเผตลานนา เพราะเหตุการณทเี่ กิดขึน้ เกิดขึน้ ในวัดใน ดิ น แดนล า นนา เป น ประสบการณ ที่ ผู เขี ย นอยู ใ น เหตุการณนั้นจริงๆ ผีเผตที่ปรากฏตัวใหเห็นนั้น เปน ผีเผตตัวจริงอีกแบบหนึง่ จะเปนอยางไรเท็จจริงหรือไม โปรดติดตามอานตอไปซิครับ...

สมัยที่ผูเขียนเปนเด็ก เมื่อเรียนจบชั้นประถม ศึกษาปที่ ๔ แลว ก็อยากจะเรียนตอในชั้นสูงๆ แตไม สามารถจะเรียนได เพราะทัง้ อําเภอไมมโี รงเรียนมัธยม แมแตแหงเดียว ทางเลือกแหงแรกและแหงสุดทาย สําหรับลูกผูช ายผูใ ฝฝน การเรียน ก็คอื การไปสมัครเปน เด็กวัด ที่ภาษาลานนาเรียกวา “ขะยม” ลูกหลานใคร ยุคนั้นหากไดเปนศิษยวัด ดูจะเปนที่นิยมชมชอบของ บิดามารดา ญาติพี่นอง และบุคคลทั่วไป ผูเขียนและ พรรคพวกทีเ่ รียนจบชันประถมศึกษาปที่ ๔ รุน เดียวกัน ๑๐ คน พากันไปสมัครเปนศิษยวัดเมื่อหลวงพอทาน เจาอาวาสรับไว พวกเราจึงรูสึกภาคภูมิใจเปนลนพน เสมือนหนึ่งเขาไปอยูในโรงเรียนกินนอน แตละคนตื่น เตนที่จะไดจากบานที่เคยกินอยูหลับนอนกับพอแม เขาไปอยูในโลกที่มีสิ่งแวดลอมกวางขึ้นกวาเดิม จะมี เพือ่ นกิน เพือ่ นนอนทีแ่ ตกตางจากบาน มีความเปนตัว ของตัวเองมากยิง่ ขึน้ ผูป กครองคนใหมของพวกเรา คือ พระภิกษุสงฆ ทานเปนทั้งผูดูแล และครูสอน พวกเรา จะถูกสอนใหนอนเปนเวลา ตื่นเปนเวลา กินเปนเวลา และแตละคนมีหนาทีร่ บั ผิดชอบเปนเรือ่ งๆ ไป ทีส่ าํ คัญ พระสงฆทา นยังสอนธรรมฝกมารยาทปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรมแกลกู ศิษยอยางทัว่ ถึงกัน รูส กึ เสียดายทีเ่ พือ่ นๆ จํานวนหนึ่งโดยเฉพาะสุภาพสตรีที่ไมมีโอกาสเขาไป สัมผัสกับความเปนอยูที่ถือวา เปนสถาบันการศึกษา ที่ดีที่สุดของสังคมชนบทยุคนั้น

ฉบับที่ ๑๓ มกราคม - เมษายน ๒๕๕๓


วัดทีผ่ เู ขียนและพรรคพวกไปอาศัยเปน “ขะยม” เปนวัดประจําหมูบาน ตั้งอยูหางจากหมูบานประมาณ ๔ กิโลเมตร รอบๆ วัดเปนปาธรรมชาติ บรรยากาศ รมรื่น มีตนไมขนาดใหญอายุรวม ๑๐๐ ปหลายตน ซึ่ง เป น ที่ อ ยู อ าศั ย หลั บ นอนของสั ต ว น านาชนิ ด เช น กระรอก และนกกาเปนตน กลางคืนจะมีคา งคาว และ นกเคาแมวรองบินวนเวียนไปมา เพื่อหาเหยื่อ หางจากวัดไปดานเหนือประมาณ ๕๐๐ เมตร เปนปาชาใชทั้งฝงและเผาศพ ปาชาสมัยนั้นเปนปาชา จริงๆ หากไมมีคนตายจะไมเห็นคนเขาไปในปาชา เหมือนปจจุบัน เพราะเปนปาที่รก มีหญาและตนไม นานาชนิดปกคลุมหนาทึบ มองเขาไปแลวนาสะพรึง กลัว แถมยังเปนที่อาศัยของสัตวราย เชน งู เสือ และ หมาปา พูดถึงสภาพทั่วไปของวัด เปนวัดประเภทอรัญ วาสี คื อ วั ด อยู ใ นป า ห า งจากหมู บ า นประมาณ ๔ กิโลเมตร ถึงเวลาพลบค่ํา ๑๘ นาิกาคือ ๖โมงเย็น จะไมมีใครเขาออก พระภิกษุสงฆและเด็กวัดก็จะอยู ภายในวัด โดยเฉพาะเวลากลางคืนขางแรมภายใน บริเวณวัดจะมืดสนิท เพราะขณะนั้นยังไมมีไฟฟาใช เหมือนปจจุบัน หากจะอานหนังสือ หรือทํากิจกรรม ทางศาสนา เชน ไหวพระสวดมนต ตองอาศัยแสงสวาง จากเทียน หรือโคมน้าํ มันกาด หากเปนกลางคืนขางขึน้ เดือนหงายพวกขะยม คือ ศิษยวัดทั้งหลาย อาศัยแสง สวางจากดวงจันทรเลนกีฬาออกกําลังกาย สนุกสนาน กันบางภายในกําแพงวัดตามประสาเด็ก ๆ ชนบท แต บางครั้งพวกเราก็หลอกกันเอง ตะโกนขึ้นดังๆ วา “ผีๆ” เสมือนหนึ่งเสียงนั้นเปนเสียงสัญญาณภัย ตาง วิ่งหนีขึ้นบนกุฏิกันอุตลุด สิ่งที่ขะยมตองทําพรอมกันทุกคืนกอนเขานอน หลังจากทําวัตรสวดมนต ก็คอื ไปหองน้าํ หองสวมพรอม กัน เหตุที่ตองไปพรอมกัน เพราะหองสวมของวัดสมัย นั้นจะถูกสรางไวนอกกําแพงวัดเพราะถือวาภายใน กําแพงวัดเปนศาสนสถานเรียกวา “ขวงแกวตังสาม” หมายความวา เปนบริเวณของพระรัตนตรัย คือบริเวณ พระพุทธ บริเวณพระธรรม และบริเวณพระสงฆ ๑๐

ฉบับที่ ๑๓ มกราคม - เมษายน ๒๕๕๓

สาเหตุสาํ คัญทีต่ อ งไปหองน้าํ หองสวมพรอมกัน ในเวลากลางคืนก็มาจากรุน พีเ่ ลาตอๆ กันมาวา วัดนีม้ ี คนเห็ น ผี เ ผตบ อ ยๆ มั น มั ก จะปรากฏตั ว ให เ ห็ น ใน วันพระกลางคืน จะมีรปู รางลักษณะตางๆ เชน บางครัง้ เห็นแตตัวไมมีหัว บางครั้งก็เห็นรูปรางเหมือนคน แต ลําคอเล็กยาวเหมือนคอหาน มักจะเดินไปเดินมาขาง วิหาร ทําใหเด็กวัด แมแตสามเณร ไมกลาลงกุฎไิ ปไหน เวลากลางคืน หากมีความจําเปนตองไป ก็จะชวนกันไป เปนหมูเปนคณะ อินทรเหลา เพือ่ นทีแ่ สนซนสมัยเปนนักเรียนชัน้ ป.๔ มาสมัครเปนสมาชิกขะยมวัดหลังเพื่อน ขณะเปน นักเรียนเขาไดรับคําชมจากเพื่อนๆ ในหองเรียน และ ครู ว า เป น นั ก วิ ท ยาศาสตร น อ ยเพราะเขาสอบได คะแนนดีเพียงวิชาเดียว คือ วิทยาศาสตร เรื่องการ ทาทายการพิสูจนยกใหเขา จนไดฉายาจากครูใหญวา “จอมแกนแกว” เขาเกงกลามุทะลุดุดันไปเสียทุกอยาง พูดถึงผีพูดถึงเผตเขาไมเคยกลัว เขาคนเดียวเทานั้นที่ ประกาศศักดาตอหนาเพื่อนๆ และพระเณรวา เขา พรอมทีจ่ ะเผชิญหนากับผีเผตไดทกุ ๆ ที่ ทุกแหงหน ทุก เวลา เวลาสัปเหรอเอาน้าํ มะพราวลางหนาศพในปาชา กอนจะนําศพขึน้ บนเชิงตะกอน และเปดโอกาสใหญาติ ผูตายเขาไปดูหนาศพครั้งสุดทาย อินทรเหลาเด็กคน เดียวที่จะปะปนไปกับผูใหญ เพื่อดูหนาศพกับญาติคน ตาย และมักจะทําอยางนี้ทุกครั้งไป


วันหนึ่งในวงสนทนาพูดคุยกันระหวางคนเฒา คนแกที่มาถือศีลนอนวัดในวันพระ พูดคุยกันถึงผีเผต ที่มักจะมาปรากฏตัวใหเห็นบอยๆ มีรูปรางตางๆ กัน อินทรเหลานั่งฟงการสนทนา ณ ที่นั่นดวย เกิดความ สงสัยวาไอผีเผตที่พูดกันนั้นมีจริงหรือไม คิดจะพิสูจน ใหเห็นดวยตัวเขาจริงๆ เขาเปนคนอยากรูอ ยากเห็นอยูแ ลว จึงนําเรือ่ งผี เผตไปปรึกษากับเพือ่ นดวยกันวา หากจะทําการพิสจู น วาผีเผตมีจริงหรือไม จะทําอยางไร คํามูลเพื่อนขะยม ดวยกันออกความเห็นวา “หลวงพอเคยเลาใหพวกเราฟงวา หากอยาก เห็นผีเผตจริง ๆ ตองเปนคืนเดือนเพ็ญ หรือเดือนดับ ๑๔ หรือ ๑๕ ค่ํา หลังเที่ยงคืนแลว” “ทําอยางไร” อินทรเหลาถามดวยความสนใจทันที “ตองมีของคาวไปใหมันกิน” “หมายความวา เราตองเอาอาหารคาวไปให ผีเผตกิน” “ใชแลว เพราะพวกผีเผตมันจะกินแตอาหาร ประเภทของคาว เชน เลือดสด หรืออาหารของกินที่มี กลิ่นคาว” “งัน้ แหนม ก็มกี ลิน่ คาวเหมือนกัน มันคงกินนะ” “เออ ! คงกิน” คํามูลตอบพรอมพะยักหนา อิ น ทร เ หลาถึ ง แม จ ะมี ค วามรู พื้ น ฐานแค ชั้ น ประถมศึกษาปท่ี ๔ แตเขาเปนคนใฝรใู ฝเห็นกระตือรือรน ที่จะไดรูไดเห็นไดศึกษาเรื่องตางๆ ดวยตัวเองเสมอ เรือ่ งใดก็ตามเพียงแคคนเขาเลา อินทรเหลาไมยอมเชือ่ งายๆ ยิ่งเรื่องใด เปนเรื่องลี้ลับเขาก็อยากจะพิสูจนให เห็นจริงเห็นจังกันไปเลย เมือ่ เขาทราบขอมูลจากคํามูล วาผีเผตชอบกินของคาว เขาจึงวาแผนทีจ่ ะพิสจู นวา เจา ผีเผตทีแ่ ตละคนกลัวกันนักกลัวกันหนานัน้ มีจริงหรือไม อีก ๗ วันตอมาเปนวันเพ็ญเดือน ๑๒ (เดือน ๑๒ เปง) เปนเดือนที่ชาวบานลานนาเชื่อกันวาเปนวันที่ ยมบาลไดปลอยบรรดาผีเผตทั้งหลายใหออกมารอรับ สวนบุญของกินของทาน จากญาติพนี่ อ งทีท่ าํ บุญอุทศิ ให ตั้งแต ๖ โมงเชาของวันนั้น ศรัทธาสาธุชนชาว พุทธลนหลามบนกุฎขิ องหลวงพอ เปลีย่ นกันเขาเปลีย่ น

กันออก แตละคนมีสาํ รับกับขาวบรรจุอาหารคาวหวาน ไปถวายเพื่ออุทิศใหญาติของตนที่ลวงลับไปแลว หลวง พอดูจะเหน็ดเหนือ่ ยเอาการตองใหพรกลาวอนุโมทนา แกเจาภาพผูถวายไทยทานคนแลวคนเลา บางคนทํา สํารับกับขาวมาถวายถึง ๕ สํารับ และขอหลวงพอให พรแยกกันถึง ๕ ครั้ง และการใหพรแตละครั้งก็ขอให หลวงพอเอยถึงชื่อผูตายที่อุทิศสวนกุศลใหดวย ถาไม ทําอยางนัน้ เกรงวาญาติของตนจะไมไดรบั ไทยทานนัน้ วันนัน้ บรรดาศิษยวดั คือ ขะยมตองทํางานหนัก ชวยกันเก็บอาหารกับขาวตลอดถึงขาวของตางๆ ที่คน นํามาถวายแยกไวเปนสัดเปนสวนเพื่อถวายหลวงพอ และพระสงฆสามเณรไดใชขบฉันตอไป คืนวันเพ็ญเดือน ๑๒ ตามปกติจะเปนคืนปลอด โปร ง สดใส ท อ งฟ า เป ด กว า งปราศจากเมฆหมอก มีแสงจันทรแทนแสงไฟฟาสวางแจมใส แตคืนวันนั้น กลับมืดครึ้มผิดปกติ มีลมโบกพัดโชยมาเบาๆ พาเอา ความเย็นมากระทบตัวเรารูสึกเย็นเปนระยะๆ อินทรเหลาเตรียมแหนม ๒ หอ แกะใหเหลือแต เนือ้ หมูดา นใน มีกลิน่ โชยออกมาเตะจมูกนารับประทาน เขาผูกแหนมไวกบั ปลายไมกวาดกานมะพราวทีใ่ ชกวาด ลานวัด คํามูลเพื่อนสนิทของเขาไปพบเขาโดยบังเอิญ จึงถามวา “เหลา แกทําอะไร” “กู เตรียมอาหารไปใหผีเผตกิน” “แกจะบาหรือเปลา” คํามูลพูดพรอมกับหัวเราะ “ไมบา หลังเทีย่ งคืนรูแ น” อินทรเหลาตอบดวย ความมั่นใจ ๒๒ นาิกาทุกคนเขานอนตามปกติ ไมมีใครรู วาอินทรเหลาจะทําอะไร นอกจากคํามูลเทานั้น พอ เที่ยงคืนอินทรเหลาก็ตื่นขึ้นมาถือไมกวาดที่ผูกดวย แหนมลากไปตามกําแพงวัด คิดวาหากผีเผตมีจริงเมื่อ ไดกลิ่นคาวของแหนมแลว คงจะออกมากิน จะไดเห็น ผี เ ผตตั ว จริ ง กั น ตอนนี้ แ หละ เขาเดิ น ไปเดิ น มาใน บรรยากาศที่เงียบสงบ ตั้งแตเที่ยงคืนถึงตี ๒ ก็ไมมี ผีเผตแมแตตัวเดียวโผลใหเห็นหนา จึงตัดสินใจเก็บ ไมกวาดไวแลวเขานอน ฉบับที่ ๑๓ มกราคม - เมษายน ๒๕๕๓

๑๑


นิสัยของอินทรเหลาเปนคนขี้โอ ชอบพูดคุยอยู แลว พอตื่นขึ้นตอนเชา เจอใครตอใครก็เลาใหฟง วา เขาไดทําอะไรไปเมื่อคืนที่ผานมา พูดดวยความมั่นใจ วา ไอผีเผตที่เลาลือกันนั้น ไมใชเรื่องจริง เปนเพียง นิยายที่พูดตอๆ กันมาเทานั้น คํามูลเพือ่ นสนิทคนเดิมคานขึน้ ทันที “แกไปผิด ที่ ผีเผตไมไดอยูรอบกําแพงวัดหรอก มันอาศัยอยูดาน หลังวิหาร หรือขางอุโบสถตางหาก แกแนจริง แกตอง ไปพิสูจนใหม” อินทรเหลาก็คืออินทรเหลา เขาบาบิ่นไมทิ้ง ความตั้ ง ใจ อยากจะพิ สู จ น ใ ห เ ห็ น แดงเห็ น ดํ า ให ประจั ก ษ แจ ง ด ว ยตาของเขาว า ผี เ ผตที่ เ ล า ลื อ กั น นั้ น มีจริงหรือไม เขาใชแผนเดิม อุปกรณลอ ผีเผต คือ ไมกวาดกาน มะพราวอันเดิม แตเปลี่ยนแหนมใหม และไปขอเลือด หมูสดๆ จากยายคําปนทีต่ ลาดในหมูบ า นมาลาดลงบน แหนม เพื่อใหมีกลิ่นคาวมากขึ้น เวลาเที่ยงคืนของวัน ตอมา เสียงหมาปาหอนรองเสียงยาวโหยหวนดังมาจาก ปาชา นาสะพรึงกลัวมาก อินทรเหลายืนนิ่งฟงเสียง หมาปาอยูพักหนึ่ง เมื่อรวบรวมสติได เขาไดลากไม กวาดเบาๆ เดินรอบวิหาร ซึง่ เปนเวลาทีป่ ลอดคน และ เงียบสงัด แสงจันทรสาดสองลงพื้นดินสลัวๆ เห็นเงา ตนไมเปนหยอมๆ เสียงหมาปาเหาหอนดังขึ้นมาอีก ระรอกหนึ่ง เขายืนเหลียวหลังแลหนาอยูพักหนึ่ง และ ๑๒

ฉบับที่ ๑๓ มกราคม - เมษายน ๒๕๕๓

แลวเริม่ ลากไมกวาดทีผ่ กู ดวยแหนมเดินรอบวิหาร เดิน รอบที่ ๑ ผานไป พอถึงรอบที่ ๒ เขารูสึกตกใจ เมื่อเจา ตูบวิง่ คาบอาหารผานหนาไปหาลูกมันยังใตถนุ กุฏิ เขา ตองหยุดยืนนิง่ ตัง้ สติใหม เมือ่ ไดสติจงึ รีบเดินตอไปเปน รอบที่ ๓ ขณะที่ลากไมกวาดมาถึงดานหลังวิหาร ซึ่งมี ตนดอกเข็มขนาดใหญสูงทวมหัวคนอยู ๒-๓ ตน ขณะ นั้นไมกวาดที่เขากําลังลากอยูก็ถูกดึงใหหยุดนิ่งอยูกับ ที่ เขาหันไปมองภาพทีป่ รากฏคลายกับหมาสีดาํ มีหนา ขาวโพลง ใบหูยาว ดวงตากลม มือ ๒ ขางกําปลาย ไมกวาดของอินทรเหลาไวแนน เขาสะดุงตกใจสุดขีด ขนลุกขนพลองทั่วทั้งตัว รองสุดเสียง “ชวยดวย ชวย ดวย ชวยดวย” แลวเขาก็ลม ลงทัง้ ยืน นอนนิง่ สิน้ สติอยู ตรงนั้น เจาตูบสะดุง ตกใจเชนเดียวกัน ทิง้ ลูกนอยของมัน วิง่ ออกมาจากใตกฏุ ิ ทัง้ เหาและหอนดังไปทัว่ บริเวณวัด ในบรรยากาศทีเ่ งียบสงัด บรรดาขะยมและพระเณรตืน่ ตระหนกตกใจไปตาม ๆ กัน หลวงพอตะโกนจากหอง นอนของทาน “เสียงใคร เสียงใครรอง ไปชวยดูกัน หนอย” ขะยม และพระเณรมีไฟฉายบาง เทียนไขบาง พา กันวิ่งกรูกันไปตามเสียง เห็นอินทรเหลานอนแนนิ่ง เหมือนคนไรสติ จึงพากันอุมมายังกุฏิ เดือดรอนถึง หลวงพอจําวัดอยูด ๆี ตองลุกมาเสกคาถารดน้าํ มนตกนั กลางคืน ดูจาระหวั่นไปหมด รุงขึ้นขาวก็กระจายไปทั่วหมูบาน “ผีเผตหลอก อินทรเหลา ผีเผตแยงอาหารกินจากอินทรเหลา ผีเผต ปรากฏตัวใหอินทรเหลาเห็น” คําพูดปากตอปาก จากคนหนึง่ ไปยังอีกคนหนึง่ จากบานหนึ่งไปยังอีกบานหนึ่ง พบกันเสวนากัน ทีไร ก็พูดถึงผีเผตอยูร่ําไป หากเปนปจจุบันคงเปนขาวใน สื่อมวลชนเลาขานตอ ๆ กันไดหลายวันทีเดียว จากเหตุการณคนื วันนัน้ ทําใหชาวบานมาทําบุญ อุทิศใหญาติผูตายไปแลวมากยิ่งขึ้นอยางผิดปกติ ใน อดี ต ที่ ผ า นมาจะทํ า บุ ญ อุ ทิ ศ กุ ศ ลให ค นตายที่ เรี ย ก วา“ตานขันขาว”เฉพาะวันศีล วันพระเทานั้นแตหลัง จากขาวเรื่องผีเผตมีคนมาตานขันขาวกันทุกวัน เพราะ


ชาวบานมีความเชื่อวา ผีเผตที่มาแยงอาหารจากอินทร เหลาคืนวันนั้น อาจจะเปนญาติของตนที่ตายไปแลว ทําใหคนที่ไมเคยทําบุญ ไมเคยเขาวัด หันมาเขาวัด ทําบุญกันมากขึ้น จนเกิดเปนวัฒนธรรมเรื่องการตาน ขันขาวของชาวบานไป เวลาผานไปหลายเดือน คํามูลไดมาเปดเผย ความจริงกับผูเขียนวา เจาผีเผตที่มาดึงไมกวาดจาก อินทรเหลาคืนวันนั้นไมใชผีเผตหรอก เขาชวนผูเขียน และเพื่อนๆ ไปยังโรงครัว ซึ่งตั้งอยูนอกกําแพงวัด เพื่อ ตองการเปดเผยความลับที่เขารวมกับเณรคําปนไดทํา ไว แลวเขาก็ดึงเอาหนากากที่ซุกซอนไวในโรงครัว เปน หนากากที่ทําดวยกระดาษแข็งตกแตงใหเปนเสมือน หนึ่งหนาผี ใบหนาทาดวยปูนขาว มีตาเปนรูโบทั้ง ๒ ขาง หูยาวคลายหูกระตาย เขาเลาใหฟง วารวมกันกับ เณรคําปน หมั่นไสอินทรเหลาจึงอยากจะทดสอบดูวา เขาเกงจริงหรือไม เขาและเณรคําปนจึงพรอมกันหา ผาดํามาคลุมตัว สวมหนากากไปแอบอยูที่ตนดอกเข็ม หลังวิหาร พออินทรเหลาลากไมกวาดเดินมาจึงหมอบ คลานยื่นมือไปดึงปลายไมกวาด เมื่ออินทรเหลาเห็น แกก็ตกใจกลัวรองลั่นสุดเสียง คํามูลและเณรคําปนก็ ตกใจเชนเดียวกัน จึงไดพากันวิ่งหนีเอาตัวรอด คํามูล บอกวาไมกลาบอกใคร เพิ่งมาเปดเผยความจริงวันนี้ แตเพื่อนๆ หลายคนไมเชื่อคํามูล กลับเขาใจวาคํามูล เปนคนโกหก ยังเชื่ออยูวาอินทรเหลาไดเผชิญกับผีเผต จริงๆ นาเสียดายที่อินทรเหลาผูกลาหาญ ผูชอบทา พิสจู น เสียชีวติ ไปแลว ไมไดเสียชีวติ เพราะหัวใจวายอัน เนื่องมาจากผีเผตแตเสียชีวิตเพราะโรคมะเร็งตางหาก ขณะนีว้ ญ ิ ญาณของเขาอาจจะไดพบกับผีเผตตัวจริงแลว ก็ไดหรือเขาไปสมัครเปนสมาชิกชมรมผีเผตเรียบรอย แลวก็ได เรือ่ งผีเผด หรือเปรต จะมีจริงหรือไมอยางไร ใน ทัศนะของผูเ ขียนคงสรุปฟนธงลงไปเลยไมได ยกใหเปน เรือ่ งศรัทธาความเชือ่ หรือไมเชือ่ ของแตละบุคคลไป แต ศรัทธาความเชื่อควรจะมีพื้นฐานมาจากเหตุผลที่เปน ขอเท็จจริง สามารถพิสจู นไดดว ยหลักฐานอางอิงทีเ่ ปน

ที่ยอมรับของคนทั่วไป แตอยางไรก็ตามเรื่องเกี่ยวกับ ผีเผด ถือเปนกุสโลบายใหคนละเวนความชั่ว ประพฤติ ความดีตามหลักของพระพุทธศาสนาไดอีกทางหนึ่ง เหมือนกัน

ฉบับที่ ๑๓ มกราคม - เมษายน ๒๕๕๓

๑๓


การประดับธงฉัพพรรณรังสีในงานบุญประเพณีทางพุทธศาสนาเมืองเชียงตุง

ธงฉัพพรรณรังสี

พระนคร ปรังฤทธิ์

เจาหนาที่โครง ครงการศูนยศึกษาพระพุทธศาสนาประเทศเพื่อนบาน สํานักวิชาการ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม

ธงฉัพพรรณรังสี ชาวเชียงตุง ประเทศพมา เรียกวา ธงสาสนา หรือ ธงอราม ถือเปนธงสัญลักษณ ทางพุทธศาสนาที่ชาวพุทธในเมืองเชียงตุงนิยมนํามา ประดั บ ตามอาคารสถานที่ โดยเฉพาะในงานบุ ญ ประเพณีและวันสําคัญทางพุทธศาสนา เชน งานขึน้ ธาตุเจดีย (ประเพณีอบรมสมโภชพระธาตุ) งานตัง้ ธรรมเวสสันตระ งานเขากํา (ปริวาสกรรม) งานเปกขตบุ วชพระ (บรรพชา อุปสมบท) งานทานกฐิน วันวิสาขบูชา วันอาสาฬหบูชา วันมาฆบูชา เปนตน สถานที่ท่ีนิยมประดับธงฉัพพรรณรังสี ไดแก บริเวณวัดหรือศาสนสถานทางพุทธศาสนา เชน กําแพง หลังคาวิหาร หนาแทนแกว (แทนพระประธาน) เปนตน บางแหงก็นําธงฉัพพรรณรังสีขนาดพอเหมาะมาติดกับ เสนดายใหเรียงรายเปนสายยาวใชประดับรอบพระเจดีย ศาลา และวิหาร บางแหงก็มดั ติดกับไมประดับอาคาร บานเรือนและสถานที่ตางๆ แมการเดินทางไปทําบุญ ตามสถานทีต่ า งๆ ของกลุม คณะศรัทธาแตละวัด ก็มกั จะประดับธงฉัพพรรณรังสีดานหนารถยนตดวย เพื่อ ๑๔

ฉบับที่ ๑๓ มกราคม - เมษายน ๒๕๕๓

บอกใหรวู า คณะศรัทธากลุม นีก้ าํ ลังเดินทางไปแสวงบุญ และแสดงออกถึงความศรัทธาและประกาศเกียรติคุณ ของพระพุทธศาสนาผานสือ่ สัญลักษณน้ี แมชาวเชียงตุง จะสามารถประดับธงฉัพพรรณรังสีไดทุกโอกาส แตก็ คํานึงถึงความเหมาะสมดวยเชนกัน กลาวคือไมประดับ ในสถานทีท่ ต่ี าํ่ ทีผ่ คู นอาจเดินขามเหยียบย่าํ ไปมาได เมืองเชียงตุง เริ่มใชธงฉัพพรรณรังสีหลัง พ.ศ. ๒๔๙๓ โดยไดรบั แนวคิดการออกแบบธงมาจากประเทศ ศรีลงั กา เนือ่ งจากประเทศพมาในฐานะประเทศสมาชิก ขององคการพุทธศาสนิกสัมพันธแหงโลก (พ.ส.ล.) ยอมรับมติการประชุมขององคการแลวนํามาจัดทําธง ฉัพพรรณรังสีประจําประเทศพมา ตามประวัติ องคการ พุทธศาสนิกสัมพันธแหงโลก (พ.ส.ล.) ซึง่ เปนองคการ ทางพุทธศาสนาระหวางประเทศ ไดประกาศใหธงฉัพพรรณ รังสีเปนธงสัญลักษณของพระพุทธศาสนานานาชาติ เมือ่ ป พ.ศ. ๒๔๙๓ (ค.ศ. ๑๙๕๐) ตามขอเสนอของประเทศ ศรีลงั กา ในสมัยการประชุมองคการพุทธศาสนิกสัมพันธ แหงโลกครั้งแรก ณ เมืองโคลัมโบ มติท่ีประชุมอัน


ประกอบดวยตัวแทนพุทธศาสนิกชนของแตละชาติ ประมาณ ๒๘ ชาติ ยอมรับขอเสนอนั้น แตใหเพิ่ม ธรรมจักรเปนสัญลักษณของพระพุทธศาสนาระหวาง ชาติดว ย ดังมติทป่ี ระชุมดังนี้ ๑ “ธรรมจักรมี ๘ กํา (๘ ซี่ลอ) อันหมายถึง อริยมรรคมีองค ๘ ไดรบั การรับรองใหเปนสัญลักษณ แหงพระพุทธศาสนาระหวางชาติ และธงทางพระพุทธ ศาสนา ๖ สีซง่ึ ใชอยูใ นประเทศลังกาขณะนี้ ไดรบั ใหใช เปนธงแหงพระพุทธศาสนาระหวางชาติ” ประเทศศรี ลั ง กาถื อ เป น ประเทศแรกที่ ใช ธ ง ฉัพพรรณรังสี เนื่องจากธงนี้ไดรับการออกแบบโดย พันเอก เฮนรี่ สตีล ออลคอตต (Henry Steele Olcott) พุทธศาสนิกชนชาวเมริกัน ผูท่มี ีบทบาทสําคัญตอการ ฟน ฟูพระพุทธศาสนาประเทศศรีลงั กา เชน การริเริม่ กอ ตัง้ โรงเรียนพระพุทธศาสนาวันอาทิตย การเรียกรองให อังกฤษซึง่ ปกครองศรีลงั กาขณะนัน้ ใหยกเลิกกฎหมายที่ ไมเปนธรรมตอชาวพุทธที่โปรตุเกสและฮอลันดาทําไว เปนตน การออกแบบธงฉัพพรรณรังสีนไ้ี ดรบั แนวคิดมา จากพุทธประวัติท่ีกลาวถึงพระพุทธเจาทรงเปลง พระ ฉัพพรรณรังสีออกจากพระวรกายหลังจากตรัสรูแลว ดังความตอนหนึง่ ในปฐมสมโพธิกถากลาววา ๒ “ในลําดับนัน้ พระฉัพพรรณรังสีกโ็ อภาสแผออก จากพระสรีรกายา อันวานิลประภาก็เขียวสดเสมอดวยสี แหงดอกอัญชัน มิฉะนัน้ ดุจพืน้ แหงเมฆดลแลดอกนิลบุ ล แลปกแหงแมลงภู ผุดออกจากอังคาพยพในที่อันเขียว แลนไปจับเอาราวปา และพระรัศมีทเ่ี หลืองนัน้ มีครุวนา ดุจสีหรดารทองแลดอกกรรณิการแลกาญจนปฏอันแผ ไว พระรัศมีออกจากพระสรีระประเทศในที่อันเหลือง แลวแลนไปสูท ศิ านุทศิ ตางๆ

พระรัศมีท่ีแดงก็แดงอยางพาลทิพากรแลแกว ประพาฬ แลกมุทปทุมกุสมุ ชาติ โอภาสออกจากพระสรีร อินทรียใ นทีอ่ นั แดงแลวแลนฉวัดเฉวียนไปในประเทศที่ ทัง้ ปวง พระรัศมีทข่ี าวก็ขาวดุจดวงรัชนิกร แลแกวมณี แล สีสงั ข แลแผนเงิน แลดวงพกาพรึกพุง ออกจากพระสรีระ ประเทศในทีอ่ นั ขาวแลว แลนไปในทิศโดยรอบ พระรัศมีหงสบาทก็พลิ าสเลหป ระดุจสีดอกเซง แล ดอกชบา แลดอกหงอนไกออกจากพระกรัชกายรุง เรือง จํารัส พระรัศมีประภัสสรประภาครุวนาดุจสีแกวผลึกแล แกวไพฑูรยเลื่อมประพราย ออกจากพระบวรกายแลว แลนไปในทศทิศวิจิตรรุจีโอฬารและพระฉัพพรรณรังสี ทัง้ ๖ ประการ แผไพศาลแวดลอมไปโดยรอบพระสกล กายยินทรียก าํ หนดที่ ๑๒ ศอก โดยประมาณ อันวาศศิ สุรยิ ประภาแลดาราก็วกิ ลวิการอันแสงเศราสีดจุ หิง่ หอย เหือดสิน้ สูญ มิไดจาํ รูญไพโรจนโชติชชั วาล” นอกจากนั้น หลังจากตรัสรูแลว อุปกาชีวกได พบพระพุทธเจาในระหวางทางเมืองราชคฤหยงั ไดสมั ผัส พระรั ศ มี ท่ี เ ปล ง ประกายออกจากพระวรกายของ พระพุทธเจาจนเกิดความปตยิ ง่ิ นัก ดังความตอนหนึง่ ใน ปฐมสมโพธิกถากลาววา กลาววา ๓ “ฝายอุปกาชีวกเดินมาโดยทุราคมวิถีทางไกล หวางคยาประเทศ เขตเมืองราชคฤหกบั มหาโพธิตอ กัน แลเห็นไพสณฑสถานอันโอฬารไพโรจนพรรณราย ดวย ขายพระฉัพพิธพรรณรังสีโสณวิลาส ปรากฏโดยทิวาศนา การ ทั้งพสุธาแลอากาศโอภาสดวยพระรัศมี มีพรรณ แหงละหกอยาง ทัว่ ทัง้ ทิศลางและทิศบน มาสัมผัสกาย ตน ประหลาดมหัศจรรย ไมเคยไดพบเห็นเปนเชนนีม้ า แตกอน ถาจะเปนเพลิง ไฉนกายอาตมาจึงไมรอน กระวนกระวาย ถาจะเปนน้าํ ไฉนกายอาตมาจะไมชมุ

๓ ปฐมสมโพธิกถา ฉบับสมเด็จพระมหาสมณเจา กรมสมเด็จ ๑ สุชพ ี ปุญญานุภาพ. ประวัตศิ าสตรศาสนา. หนา ๒๐๕ ๒ ปฐมสมโพธิกถา ฉบับสมเด็จพระมหาสมณเจา กรมสมเด็จ พระปรมานุชิตชิโนรส. ธัมมจักกปริวรรต ปริจเฉทที่ ๑๓ .

พระปรมานุชติ ชิโนรส. โพธิสพั พัญูปริวรรต ปริจเฉทที่ ๑๑ . หนา ๒๑๙ หนา ๑๙๐

ฉบับที่ ๑๓ มกราคม - เมษายน ๒๕๕๓

๑๕


ชืน้ เย็น นีจ่ ะเปนสิง่ อันใดยิง่ สงสัยสนเทหจ ติ จึงเพงพิศ ไปขางโนนขางนี้ ก็เห็นองคพระผูท รงสวัสดิโสภาคยเสด็จ บทจรมา รุงเรืองดวยพระสิริฉัพพิธมหาทวัตติงสบุรุษ ลั ก ษณะแลพระพยามประภาโอภาสเบื้อ งบน พระ อุตมังคศิโรตม ก็ชว งโชติดว ยพระเกตุมาลาครุวนาดุจทอง ทัง้ แทง ประดับดวยฉัพพรรณรังสีแสงไพโรจนจาํ รัส ทรง สบงจีวรลวนมีพรรณอันแดงดุจแสงพระอาทิตย อันอุทยั เหนือยอดยุคนธรบรรพต ดูดวงพระพักตรกผ็ อ งใสสุกสด เสมอดวงดอกโกมุทบริสทุ ธิส์ ริ วิ ลิ าศ จึงดําริวา ดังอาตมะ ปริวติ ก บุคคลผูน จ้ี ะเปนมนุษยหรือ จึงมีจวี รอันทรงงาม ยิง่ นัก หรือจะเปนเทพยดา ถาเปนเทพยดา ก็จะไมทรง ภูษามีพรรณอันแดงโอภาส จะไมทรงบาตรอยางนี้ นีก่ ็ มีจวี รประดับพระกายา นีจ่ ะมิใชเทพยดา ชะรอยจะเปน มนุษยโดยแท แตมีรูปสิริโสภาคยิ่งคิดก็ย่งิ มากไปดวย ปตปิ ราโมทยยนิ ดี มีโลมชาติสยดสยองทัว่ สกลกายา” ดังนัน้ ธงฉัพพรรณรังสีจงึ ประกอบดวยลักษณะสี ตามทีป่ รากฏในพุทธประวัตดิ งั กลาวจํานวน ๖ สี ๔ ไดแก สีเขียว เหมือนดอกอัญชัน (นีละ) สีเหลือง เหมือนหรดาล (ปตะ) สีแดง เหมือนตะวันออน (โรหิตะ) สีขาว เหมือนแผนเงิน (โอทาตะ) สีหงสบาท เหมือนดอกเซงหรือหงอนไก (มัญเชฏฐะ) สีเลือ่ มพราย เหมือนแกวผลึก (ประภัสสร ไดแกสที ง้ั ๕ ผสมกัน) เมือ่ แตละประเทศทีน่ บั ถือพุทธศาสนา โดยเฉพาะ กลุม ประเทศในภูมภิ าคลุม แมนาํ้ โขง ไดแก พมา จีน ลาว เวียดนาม และเขมร ยอมรับมติองคการพุทธศาสนิก สัมพันธแหงโลกแลว ตางก็กลับมาประดิษฐธงฉัพพรรณ รังสีท่ีไดรับแบบบอยางจากประเทศศรีลังกามาใชใน ประเทศของตน กลาวคือ ตัวธงทําดวยแผนผาลักษณะ สีเ่ หลีย่ มผืนผาประกอบดวยแถบสี ๖ แถบ จัดวางเรียง ลําดับจํานวน ๒ แนว คือ

๑. แนวตั้ง แถบสีแนวตั้งขนาดเทากันจํานวน ๕ สี เรียงตามลําดับ ไดแก สีนาํ้ เงิน สีเหลือง สีแดง สีขาว และสีชมพูออ นหรือสีสม ๒. แนวขวาง แถบสีทง้ั ๕ เรียงกันในแนวขวาง ตอนทายของแผนผา ถือเปนชองสีท่ี ๖ คือสีประภัสสร แตเนือ่ งจากปญหาการกําหนดลักษณะสีจากศัพทภาษา บาลีไมตรงกัน จึงทําใหบางประเทศกําหนดลักษณะสี บางสีแตกตางกันดวย เชน นีละ บางแหงใชสนี าํ้ เงิน บาง แหงใชสเี ขียว และบางแหงใชสฟี า สวนสีหงสบาท บาง แหงใชสสี ม (แสด) บางแหงใชสชี มพูออ น บางแหงใช สีมว ง เปนตน สวนแถบสีท่ี ๖ คือ ประภัสสร (สีเลือ่ ม พรายเหมือนแกวผลึก) ตางก็ไมอาจกําหนดลักษณะสี ออกมาใหชดั เจนไดเหมือนกัน แตละประเทศจึงใชแถบ สีทง้ั ๕ มาเรียงใหเปนแนวนอนแทน เพือ่ แสดงใหเห็น วา สีประภัสสร คือการนําสีทง้ั ๕ ชนิดมาผสมกัน สวน เมืองเชียงตุง ประเทศพมา กําหนดลักษณะสีธงฉัพพรรณ รังสีเรียงตามลําดับคือ สีนาํ้ เงิน เหลือง แดง ขาว และ ชมพูออ น สวนประเทศไทย นับเปนประเทศเดียวที่ใชธง ธรรมจักรเปนธงสัญลักษณทางพุทธศาสนาแทนธง ฉัพพรรณรังสีท่ีใชในนานาชาติ โดยเริ่มใชอยางเปน ทางการเมือ่ พ.ศ. ๒๕๐๑ ภายหลังการสมโภช ๒๕ พุทธ ศตวรรษ การนําพระฉัพพรรณรังสีมาเปนธงสัญลักษณทาง พุทธศาสนา ยอมแสดงใหเห็นถึงแนวคิดที่ตองการทํา สิ่งที่เปนนามธรรมใหเปนรูปธรรม เพื่อสื่อใหเขาใจถึง หลักธรรมหรือคุณลักษณะทีส่ าํ คัญทางพุทธศาสนา ทัง้ นี้ จะเห็นไดวา ธงฉัพพรรณรังสีทาํ หนาทีส่ อ่ื ใหเห็นถึงพระ รัศมีท่ีเปลงออกมาจากพระวรกายขององคสมเด็จพระ สัมมาสัมพุทธเจาและสื่อความหมายที่สําคัญในแตละ แถบสีดงั นี้ นีละ สื่อ ถึ ง พระมหากรุ ณ าธิ คุณ ขององค สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา ปตะ สือ่ ถึงทางสายกลาง ไมหยอนยานและ ๔ พระราชวรมุนี (ประยุทธ ปยุตโต) พจนานุกรมพุทธศาสน ไมเครงครัดเกินไป ฉบับประมวลศัพท. หนา ๕๓ โรหิตะ สือ่ ถึงความเปนสิรมิ งคลแกชวี ติ

๑๖

ฉบับที่ ๑๓ มกราคม - เมษายน ๒๕๕๓


โอทาตะ สือ่ ถึงพระบริสทุ ธิคณ ุ ขององคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจาและวิมตุ ติ (ความหลุดพน) มัญเชฏฐะ สือ่ ถึงพระปญญาธิคณ ุ ขององคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา ประภัสสร สือ่ ถึงสัจธรรมทรงทีส่ ง่ั สอน ความหมายดังกลาวนี้ แสดงถึงการถวายเกียรติคณ ุ ตอพระพุทธเจาทีท่ รงประทานปญญาจักษุ (ดวงตาแหง ปญญา) แกมวลมนุษยใหสอ งแสงแหงพระธรรมสวางไสวในทิศทัง้ ๖ เพือ่ กําจัดอํานาจแหงกิเลสทัง้ หลายมีอวิชชา ตัณหา เปนตน ทําใหมนุษยหลุดพนจากกองทุกข ประสบสุขเกษมศานตอยางแทจริง จากการทีช่ าวพุทธในเมืองเชียงตุงใชธงฉัพพรรณรังสีเปนธงสัญลักษณทางพุทธศาสนา ยอมแสดงถึงบทบาท หนาทีส่ าํ คัญในฐานะสัญลักษณทางศาสนจักร ถือเปนสิง่ แสดงถึงความเคารพศรัทธาและเทิดทูนพระพุทธศาสนา อีกทั้งยังเปนสิ่งเตือนใจเหลาชาวพุทธเมืองเชียงตุงใหยึดมั่นและดํารงตนอยูในพระธรรมคําสอนขององคสมเด็จ พระสัมมาสัมพุทธเจา ในขณะที่ฝายบานเมืองก็ใชธงประจําชาติของประเทศพมาเปนสัญลักษณหรือสิ่งแทน อาณาจักรเพื่อแสดงถึงความเปนเอกภาพของคนในชาติ กอใหเกิดความรักความสามัคคี ความเปนน้ําหนึ่งใจ เดียวกัน

บรรณานุกรม

ปฐมสมโพธิกถา ฉบับสมเด็จพระมหาสมณเจา กรมสมเด็จพระปรมานุชติ ชิโนรส พิมพครัง้ ที่ ๓ . กรุงเทพฯ : โรงพิมพการศาสนา. ๒๕๒๓. พระราชวรมุนี (ประยุทธ ปยุตโต) พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท พิมพครั้งที่ ๓. กรุงเทพฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. ๒๕๒๘. สุชพี ปุญญานุภาพ. ประวัตศิ าสตรศาสนา พิมพครัง้ ที่ ๘ .กรุงเทพฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย. ๒๕๔๐.

ฉบับที่ ๑๓ มกราคม - เมษายน ๒๕๕๓

๑๗


บุคคลวัฒนธรรม พระราชเขมากร (สอาด ขนฺติโก)

รองเจาคณะจั ้าคณะจังหวัดเชียงใหม่ เจ้าอาวาสวั าอาวาสวัดเจ็ดยอด พระอารามหลวง ภัทรา จันทราทิตย

ในปพุทธศักราช ๒๕๕๒ ที่ผานมาเปนปที่ครบ รอบ ๖๐๐ ปชาตกาลพระเจาติโลกราช การจัดกิจกรรม เพื่ อ เฉลิ ม ฉลองในวาระดั ง กล า ว พระราชเขมากร (สอาด ขนฺตโิ ก) รองเจาคณะจังหวัดเชียงใหม เจาอาวาส วัดเจ็ดยอด พระอารามหลวง เปนผูมีสวนสนับสนุน การจัดกิจกรรมฉลองชาตกาล ๖๐๐ ปพระเจาติโลกราช ทําใหพระราชกรณียกิจ พระเกียรติคณ ุ ของพระองคทา น กลั บ มาปรากฏให ช าวล า นนาได ร ว มกั น รํ า ลึ ก ใน พระมหากรุณาธิคุณของพระองคทานอีกครั้งหนึ่ง พระราชเขมากร (สอาด ขนฺตโิ ก) เกิดวันจันทรที่ ๒๘ กันยายน พ.ศ. ๒๔๘๕ ปมะเมีย ภูมิลําเนาเดิม บานทุงแดง ตําบลโหลงขอด อําเภอพราว จังหวัด เชียงใหม ชีวิตในวัยเยาวของทานเริ่มตนจากการเปน ขะโยม(เด็กวัด) จนบรรพาเปนสามเณร “เมือ่ ป ๒๔๙๘ เรียนจบประถม ๔ แลว ป ๒๔๙๙ ทานอธิการศรีวรรณ เจาอาวาสวัดทุง แดง ตําบลโหลงขอด มาขออาตมาจากโยมพอ (นายอาย ธนะสาร) ที่บาน อยากไดขะโยมไปอยูว ดั สักคน ทีว่ ดั ไมมี ขะโยม อาตมา ชื่อวาเด็กชายอาย ลองถามเจาตัวกอน พอบอกวา ตุห ลวงจะเอาไปอยูว ดั ก็แลวแตความสมัครใจ เมือ่ เปน ๑๘

ฉบับที่ ๑๓ มกราคม - เมษายน ๒๕๕๓


ขะโยมอยูวัด นอกจากเรียนนักธรรมแลว เรียนภาษา พื้นเมือง สวดมนต ทําวัตร ตุเจาเปนคนสอน พระใหญ เณรใหญสอนเณร พี่สอนนองชวยเจาอาวาส ที่วัดทุง แดง มีเณร ๗-๘ ตน ขะโยม มี ๔-๕ คน ทุกคนเรียน หนังสือ บางคนไมจบประถมก็มี ความจริงแลวอาตมา อยูประถม ๒ สวดมนตเปน ตั้งแตอะระหัง สัมมา สัมพุทโธ อิตปิ โ ส เปนตนไป เพราะคุณยายไมรภู าษาไทย เด็กชายอายเคยสอนคุณยายทําวัตร สวดมนต คุณยาย จําไดหมด คุณยายเขาวัด จําศีล กินเพลมาแลวตั้งแต หลายป เมื่ออาตมาเขาไปอยูในวัดก็ไดเรียนบาง ทอง บาง แตกม็ คี วามรูเ ดิมจากการสอนคุณยาย ตลอดระยะ เวลาเขาพรรษา พระอธิการศรีวรรณ ธมฺมสีโล เจา อาวาสวัดทุง แดงจะเดินเทาไปประมาณ ๒ กิโลเมตรไป สอนนักธรรมที่วัดสันนาเม็ง อายเปนขะโยมเดินไปกับ ทานทุกวัน ก็เลยใหเรียนนักธรรมไปดวย ปลายป ๒๔๙๙ ได บ วชเป น สามเณรจํ า พรรษาที่ วั ด ทุ ง แดง ๒ พรรษา แลวยายมาอยูวัดพันตอง ในขณะนัน้ พระโพธิรงั ษีเปนเจาอาวาสวัดพันตอง เจ า คุ ณ โพธิ์ ป ระกาศนโยบาย วั ด พั น ตองรั บ ภิ ก ษุ สามเณร เฉพาะอําเภอพราวที่เดียว เพราตองการจะ ฟนฟูการศึกษาของคณะสงฆอําเภอพราว ป พ.ศ. ๒๕๐๓ ทานจึงยายมาจําวัดทีว่ ดั พันตอง ซึง่ เปนโรงเรียน พระปริยัติธรรม พ.ศ.๒๕๐๕ สอบนักธรรมชั้นเอกได เจาคุณโพธิก์ ใ็ หสอนบาลี “ผมยังสอบไมได เด็กจะเชือ่ ถือ ไดอยางไร ไมเปนไร ขาจะชวยดูแล สอนเปนเหมือน สอนตั๋ว ขาจะชวย” ป ๒๕๐๗ เจาคุณโพธิ์ใหเปนเลขา เจาคณะอําเภอ ทําหนาที่อยูชวงหนึ่ง พ.ศ.๒๕๑๖ ไดรบั พระราชทานตัง้ สมณศักดิเ์ ปน พระครูสัญญาบัตร รองเจาคณะอําเภอชั้นโท ที่พระครู ประสิทธิ์พุทธศาสน, ป พ.ศ. ๒๕๓๔ ศรัทธา คณะสงฆ มาขอจากเจาคุณโพธิ์ ใหไปจําพรรษารักษาการเจา อาวาสวัดกลางเวียง อําเภอพราว และดํารงตําแหนง เจ า คณะอํ า เภอพร า ว และได รั บ พระราชทานตั้ ง สมณศักดิ์ เปนพระราชาคณะ ชั้นสามัญ ที่พระวิมล ญาณมุนี จําพรรษาอยูอําเภอพราวเกือบ ๑๐ ป ตั้งแต ป พ.ศ.๒๕๓๔ – ๒๕๔๔

ป พ.ศ. ๒๕๔๔ เจาอาวาสวัดเชตุพนวางลง เจาคณะจังหวัดสั่งใหรักษาการเจาอาวาสวัดเชตุพน หนึ่งพรรษา ป พ.ศ. ๒๕๔๕ หลวงพอเจาคุณโพธิรงั ษี (บุญศรี พุทธฺ  ิ าโณ) เจาอาวาสวัดพันตอง มรณภาพ จึงไดรบั การ แตงตัง้ เปนผูร กั ษาการเจาอาวาสวัดพันตอง และป พ.ศ. ๒๕๔๕ นี้เอง ไดรับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์เปน พระราชาคณะชั้นราชที่ “พระราชเขมากร” ในป พ.ศ. ๒๕๔๗ ไดรับแตงตั้งใหรักษาการเจา อาวาสวัดเจ็ดยอด พระราชเขมากร ไดเริม่ ฟน ฟูการเรียน การสอนพระปริยัติธรรม ทั้งแผนกธรรม - บาลี และ โรงเรียนพระพุทธศาสนาวันอาทิตย สําหรับนักเรียน โรงเรียนวัดเจ็ดยอด และในปพ.ศ. ๒๕๕๐ มีการจัดงานเฉลิมฉลอง วัดเจ็ดยอดมีอายุครบ ๕๕๐ ป นอกจากนัน้ ไดเปดสอนทีอ่ าํ เภอสันทราย อําเภอ แมแตงและอําเภอแมริมอีกดวย สรางอาคารเรียน พระปริยัติธรรมเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา มหาราช ๒ ชัน้ ขนาด ๙ หองเรียน ภายในวัดเจ็ดยอด ใชสาํ หรับ เปนสถานศึกษา พระปริยัติธรรม ทั้งแผนกนักธรรม ฉบับที่ ๑๓ มกราคม - เมษายน ๒๕๕๓

๑๙


และบาลี เปนสถานศึกษาระดับปริญญาตรีพทุ ธศาสตร บั ณ ฑิ ต วิ ช าเอกภาษาบาลี ของมหาวิ ท ยาลั ย มหา จุฬาลงกรณ ราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม และในป พุทธศักราช ๒๕๕๒ เปนวาระครบรอบ ๖๐๐ ปชาตกาล พระเจาติโลกราช วัดเจ็ดยอดพระอารามหลวงไดรวม กับสวนราชการ สถานศึกษา องคกรตางๆทั้งภาครัฐ และเอกชน จัดกิจกรรมเพือ่ เฉลิมฉลองครบรอบ ๖๐๐ ปี ชาตกาลพระเจาติโลกราช อาทิ - เมื่อวันที่ ๔ กรกฎาคม ๒๕๕๒ ไดจัดการ อุปสมบทอุทกุกเขปสีมา เฉลิมฉลอง๖๐๐ ป ชาตกาล พระเจ า ติ โ ลกราช ณ ท า หน า วั ด ศรี โขง อ.เมื อ ง จ.เชียงใหม - เมื่อวันจันทร ที่ ๒๘ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๒ จัดพิธีเททองหลอพระรูปพระเจาติโลกราช - รวมกับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย ดําเนินงานโครงการฟนฮอยพญาติโลกราช ประกอบดวยกิจกรรม การสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง “อุทกุกเขปสีมา: สารัตถะเพื่อสรางการเรียนรูรวม สมัย”เมือ่ วันที่ ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๕๒ การสัมมนาทาง วิชาการ เรื่องยุทธพิชย (สงครามฉบับลานนา) เมื่อวัน ที่ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๕๒ การสัมมนาทางวิชาการ เรือ่ ง “บันทึกพระพุทธศาสนา: การสังคายนาพระไตรปฏก” เมือ่ วันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๕๒ จัดการประกวดเรียงความ เรือ่ ง “พญาติโลกราช: มหาราชแหงลานา” และการจัด กิจกรรมคายยุวชนตามรอยพญาติโลกราช ณ วัดเจ็ด ยอดและวัดปาแดงมหาวิหาร พระราชเขมากร ได จั ด กิ จ กรรมต า งๆ เพื่ อ เปนการประกาศพระเกียรติคุณของพระเจาติโลกราช แลว ทานยังไดทําการกอสรางและบูรณปฏิสังขรณ ศาสนาวั ต ถุ ใ นพระอาราม เพื่ อ เป น การถวายเป น พระราชกุศลแดพระองคทานอีกดวย

๒๐

ฉบับที่ ๑๓ มกราคม - เมษายน ๒๕๕๓


ตุ·Øง§

เครือ ่ งสักการะทางพระพุทธศาสนาในนครเชียงตุง ผศ.จินตนา มัธยมบุรุษ

กรรมการบริหารสภาวัฒนธรรมจังหวัดเชียงใหม

ความนํา การเก็บขอมูลเกี่ยวกับเครื่องสักการะทางพุทธ ศาสนาของนครเชียงตุงนั้น ไดเดินทางไปหลายครั้ง พบความแตกตางในวิถีความคิด ความเชื่อ รูปแบบ ลักษณะเดนของตุงแตละประเภทที่นํามาจัดทําของแต ละเอิ่งบาน หรือเขตที่ตั้งบานของแตละชนเผาที่อยูใน นครเชียงตุง และเมื่อนํามาวิเคราะหเปรียบเทียบเรื่อง ตุงในลานนาก็พบความแตกตางเชนเดียวกัน แตก็มี ความเหมือนหรือคลายกันอยูมากมาย จนอาจกลาว ไดวาการเลื่อนไหลทางวัฒนธรรมเปนสิ่งที่มีมาอยาง ตอเนื่องจากอดีตจวบจนปจจุบัน ในระหวางวันที่ ๒๖ – ๒๘ ธันวาคม ๒๕๕๒ คณะผูดําเนินการโครงการการจัดเก็บขอมูลเกี่ยวกับ เครื่องสักการะทางพระพุทธศาสนา๑ ในนครเชียงตุง ไดเดินทางไปนครเชียงตุง นครแหง ๓ จอม ๙ หนอง

๑๒ ประตู๒ โดยวางเปาหมายหลักในการเก็บขอมูลเกีย่ ว กับ “ตุง” โดยเฉพาะ ทั้งนี้อาศัยความเชื่อพื้นฐานที่จะ ใช “ตุง” ถวายเปนพุทธบูชา เปนสัญลักษณของการ กําหนดเขตพิธีกรรม รวมทั้งเปนองครวมของสารัตถะ ของเรือ่ งราวทีจ่ ะบงบอกถึงความสําคัญและคุณคา และ ทีส่ ดุ ก็คอื เพือ่ อานิสงสสาํ หรับตนเองและญาติผลู ว งลับที่ อาจติดของอยูใ นอบายดวยก็เกาะชายตุงนําจิตวิญญาณ สูสรวงสวรรคตามกรอบคิดและเชื่อในวิถีทางนั้นๆ นครเชียงตุงเปนเมืองหนึ่งในรัฐฉาน (๑ ใน รัฐ) ประเทศสหภาพพมา เชียงตุงตั้งอยูที่ละติจูด ๒๐ องศา ๓๐ ลิปดาเหนือ และลองจิจูดที่ ๙๘ องศา ๓๐ ลิปดา ตะวันออก ตั้งอยูสูงกวาระดับน้ําทะเล ๒,๗๐๐ ฟุต ๒ นคร ๓ จอม ไดแก จอมมน จอมทอง (คํา) จอมรัก ๙ หนอง

ไดแก หนองตุง หนองแกว หนองงาย หนองยาง หนองทาชาง หนองไค หนองพวง หนองแคะ หนองผา ๑๒ ประตู ไดแก ประตู ๑ แนวคิดที่จะจัดทําสิ่งที่จะนําไปเปนเครื่องสักการะพระพุทธ เชียงลาน ประตูปา แดง ประตูบอ ออย ประตูหนองเหล็ก ประตู พระธรรม และพระสงฆ เครือ่ งสักการะดังกลาวจะจัดเปนศิลป มาน ประตูงามฟา ประตูหนองผา ประตูยางคํา ๗ เชียง ไดแก วัตถุ จัดเปนรูปแบบทีน่ าํ มาใชอยางตอเนือ่ งในพิธกี รรมทางพุทธ เชียงลาน เชียงงาม เชียงจันทร เชียงยืน เชียงเหล็ก เชียงอินทร เชียงขุม ศาสนา ฉบับที่ ๑๓ มกราคม - เมษายน ๒๕๕๓

๒๑


บนที่ราบลุมแมน้ํา อยูระหวางหุบเขาเปนแองเมือง มีเนือ้ ที่ ๑๒,๔๐๐ ไมล๓ เชียงตุงจะแบงเขตการปกครอง ออกเปน ๕ เขต ๑๘ เอิ่งเมิง๔ ชาวเชียงตุงมีหลากหลาย ชาติพนั ธุ โกปกะ ๕ ไดเลาใหฟง ถึงกลุม ชาติพนั ธุท เี่ ชียงตุง วามีมากถึง ๒๒ กลุม แตมีกลุมใหญที่มีจํานวนมาก และเปนที่ยอมรับของคนทั่วไปในทุกดาน โดยเฉพาะ สังคมวัฒนธรรม ซึ่งมักจะมีเอกลักษณของตน แม ในปจจุบันการผสมกลมกลืนทางวัฒนธรรมของกลุม ชาติพันธุอยูตลอดเวลา แมวา “โกปกะ”จะบงบอก วาแตละกลุมชาติพันธุในเชียงตุง จะมีสัญลักษณหลัก ของตนเองและบอกไดถึงวารูปแบบใดเปนของกลุม ชาติพันธุใด กลุมชาติพันธุใหญในเชียงตุงจะมี ๖ กลุม คือ ไทขืน (ไทยเขิน) ไทโหลง (ไทยใหญ) ไทเหนอ (ไทยเหนือ) ไทลื้อ (ไทยลื้อ) ไทหลอย (ลัวะ) และพมา ซึง่ จะมีวดั ของแตละกลุม ชาติพนั ธุเ ปนศูนยกลางในการ ทําพิธีกรรมตางๆ ในเขตเวียง จะมีวัดของชาวไทขืน จํานวน ๓๓ วัด ไทโหลง ๑๐ วัด พมา ๑ วัด นอกนั้นจะ อยูบริเวณของเอิ่งเมิงทั้ง ๒๐ เอิ่ง ชาวเชียงตุงทั้ง ๕ เขต ๒๐ เอิ่ง จะมีรูปแบบพิธีกรรมทองถิ่นที่แตกตางกันไป รวมทั้งเครื่องอุปโภค บริโภค ตลอดจนภาชนะที่นํามา ใชใสก็ยอมจะแตกตางกันตามสภาพวิถีเชียงตุง ซึ่งจะ แตกตางกันตามระดับความเปนอยู โดยมีเศรษฐกิจและ วัฒนธรรมเปนตัวขีดคั่น โดยเฉพาะการสืบคนขอมูล เกีย่ วกับเครือ่ งสักการะ ทําใหมองเห็นความเปนเชียงตุง อยางชัดเจน ซึ่งไดมีการผสานความคิดของแตละกลุม ชาติพันธุในเรื่องพิธีกรรม ความเชื่อ เครื่องสักการะ มีหลากหลายรูปแบบ ทั้งเครื่องสักการะพระพุทธเจา พระธรรมเจา และพระสังฆเจา ในบทความนีจ้ ะนําเสนอ เรือ่ งตุงทีจ่ ะมีจดุ เนนทีจ่ ะนําถวายเปนพุทธบูชา โดยเชือ่ เสมอวาวิถีของคนมักจะมีเรื่องกรรมมาเปนตัวเชื่อมที่ จะมีผลผลิตสําหรับเปนเครื่องบูชาตามความเชื่อของ ตน เพื่อใหพนจากทุกขโศกโรคภัยที่มาแผวพานเสมอ

ตุงเขม : วิหารวัดยางกวง เชียงตุง

ดังนั้น “ตุง” หรือ “ทุง” หมายถึง ธง หรือธง ตะขาบ ธงทีห่ อ ยยาวลงมาทีร่ อยตอมีไมคนั่ ปลายไมทงั้ ๒ ดาน จะติดเครื่องประดับเล็กๆ มองคลายตะขาบ มี หลายประเภทตามความตองการทีจ่ ะนําไปใชเปนเครือ่ ง บูชาทั้งในงานมงคลและอวมงคล๖ ซึ่งจะมีชื่อเรียกตาม วัสดุที่นํามาใช เชน ทุงกะดาต หมายถึง ธงที่ทําดวย กระดาษ ทุงผา หมายถึง ธงทีท่ าํ จากผา ทุงแปน หมาย ถึง ธงทีท่ าํ ดวยไมกระดานเปนแผนยาว ทุงบอก หมาย ถึง ธงทีม่ โี ครงไมไผขดอยูใ นภายใน ทําใหมองเห็นเปน รูปคลายกระบอก บางครั้งก็เรียกวา ทุงงวงชาง๗ ในนครเชียงตุง จะมีทุง (ตุง) ไมมากเทาลานนา จากการสอบถามจากโกปกะและชางทําตุงจําหนาย ไดเลาถึงทุง (ตุง) วาชาวไทขืนนิยมทําตุงดวยกระดาษ หรือผาสีพนื้ และตัดลวดลายประดับตามประเภทของตุง สวนชาวไทลื้อจะนิยมการทอทุง (ทอตุง) เปนลวดลาย ตามประเภทของทุง (ตุง) สวนชาวไทเหนอ บานปาแดง จะทําทุง (ตุง) ดวยการตีแผนเงินเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ขนาด ๔ X ๔ นิ้ว แลวตอกลายตามแนวคิดจากเรื่อง ราวทีจ่ ะปรากฏในพิธกี รรม และชาวไทโหลงนิยมทอทุง (ทอตุง) แตลวดลายไมมากนัก สวนไทหลอย (ลัวะ) จะ ๓ พระมหาสุภาพ จันตะกอง, ความสัมพันธทางพระพุทธศาสนา มีการทอทุง (ตุง) คลายของชาวไทลื้อ

ระหวางเชียงใหม – เชียงตุง พ.ศ. ๒๔๙๑ – ปจจุบนั , วิทยานิพนธ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิจยั และการพัฒนาทองถิน่ (ลาน นาคดี) สถาบันราชภัฏเชียงใหม, ๒๕๔๔. ๔ ดูรายละเอียดในหนังสือวิถไี ทยเขินและประเพณี ๑๒ เดือน ของไทยเขิน ๕ โกปกะ หมายถึง คณะกรรมการของสํานักพุทธศาสนานคร เชียงตุง รัฐฉาน ประเทศพมา ไดเขาพบในวันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๕๒

๒๒

ฉบับที่ ๑๓ มกราคม - เมษายน ๒๕๕๓

๖ อุดม รุง เรืองศรี, พจนานุกรมลานนา – ไทย ฉบับแมฟา หลวง,

เชียงใหม : โรงพิมพมง่ิ เมือง, ๒๕๓๔. ๗ อรุณรัตน วิเชียรเขียว และคณะ, พจนานุกรมศัพทลา นนา เฉพาะคําทีป่ รากฏในใบลาน, เชียงใหม : สุรวิ งศบคุ เซ็นเตอร, ๒๕๓๙.


แนวคิดเกี่ยวกับการทําทุง (ตุง)

จากการสัมภาษณ นางเกี๋ยงคํา๘ บานปาแดง นครเชียงตุง ซึ่งยังคงทําตุงจําหนายอยู การทําตุงของ นางเกี๋ยงคําจะนําผากวาง ๘ – ๑๐ นิ้ว ยาวไมกําหนด แนนอนแลวแตประเภทของตุง แลวนําผาแพรมาปก เปนลวดลายตามสัญลักษณของเรื่องราวที่ปรากฏ เชน ตุง ๑๖ จาด หมายถึง การปกตุงพระเจา ๑๖ ชาติ ซึ่ง เปนการเสวยชาติของพระพุทธเจาจะมีสัญลักษณไว แนนอน โดยเริ่มตั้งแตรูปมา นกยูง นกเขียว (นกแกว) สีหการะ นกการะเวก นกกาแก นกเอี้ยงหูทอง ควาย หงส ชาง วอก (ลิง) กินรี หมู วัว ไก นางธรณี หรือตุง พระเจา ๕ พระองค ก็จะมีสญ ั ลักษณเปนรูปไก นาค (งู) ควาย ผูห ญิง ผูช าย หรือตุงประจําวันเกิด จะมีสญ ั ลักษณ ดังนี้ วันอาทิตยเปนรูปรุง (ครุฑ) วันจันทรเปนรูปเสือ วันอังคารเปนรูปราชสีห วันพุธเปนรูปชาง วันพฤหัส เปนรูปหนู วันศุกรเปนรูปหนูขาว วันเสารเปนรูปนาค อยางไรก็ดจี ะมีตงุ ทีช่ าวเชียงตุงใหความสนใจ และดูเหมือน จะเปนสัญลักษณท่ีมักนิยมนําไปถวายเปนพุทธบูชา คือ ตุงเวสสันตระ เปนตุงประกอบพิธีเทศนเวสสันตระ เรียกอีกอยางหนึ่งวา จอยเวสสันตระ ชาวเชียงตุงนิยม เทศนธรรมเวสสันตระปละหลายครั้ง แลวแตชุมชน แตละแหง คือ ชวงเดือนมกราคม – กุมภาพันธ เดือน มิถุนายน – กรกฎาคม และเดือนสิงหาคม – กันยายน ดังนัน้ ตุงเวสสันตระจึงทําดวยเงิน แผนเงินแตละแผนจะ มีสญ ั ลักษณเปนรูปชาง มา ผาสาด (ปราสาท) ราชกกุฏ ภัณฑ เรือนเงิน (ยุง ขาว) เรือนคํา อัฏฐบริขาร บันไดเงิน บันไดทอง (สุวรรณญานารา) แพ ตุงคํา จอ (จะตัดเงิน เปนจอ และทําตุงรูปคนทําดวยทองคํา ซึง่ การทําตุงเวส สันตระดวยเงินดังกลาวนี้ บานเชียงขุม ซึง่ เปนชาวไทลือ้ ก็นยิ มทําดวยเชนกัน แตสญ ั ลักษณบางแผนจะแตกตาง กันออกไป แตความหมายจะเปนลักษณะเดียวกัน กลาว คือ พระสวาทิหนุม ๙ วัดเชียงขุม ไดมอบตุงเวสสันตระให ไวเปนที่ระลึกและอธิบายความหมายไวดังนี้

ตุงเวสสันตระ

มีรูปกวาง

จะมีความหมายถึงการปนเงิน ปนคํา คือ ความเอื้อเฟอ รูปขึ้นใด(บันได) หมายถึง แกว (พลอย) เงิน คํา เปนการขึ้นสูนิพพาน รูปเรือ หมายถึงมีนา้ํ มีเรือเปนพาหนะ พาดวงวิญญาณสูสวรรค รูปวัว ควาย ชาง มา หมายถึง บูชาพระเวสสันดร เปนการขอขมา รูปเยเงิน เยคํา หมายถึง ที่ใสของเพื่อเก็บ รักษาสิ่งของที่มีอยู รูปกลองขาว หมายถึง ความอุดมสมบูรณ รูปดอยเงิน ดอยคํา หมายถึง ขาวของเงินทอง รูปพระจันทร พระอาทิตย หมายถึง สติปญญา รับรู ในสรรพสิง่ ทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลง รูปฆอง / กลอง หมายถึง ความสนุกสนาน รูปเขาสิเนรุ หมายถึง ศูนยกลางของจักรวาล โดยมีปลาอานันตะ ปกปกรักษา ตุงเงิน หมายถึง ใหพน จากนรกสูส คุ ติ นัยยะแหงความหมายที่ปรากฏบนตุงแผนเงิน ทําใหเขาใจในสัจธรรมแหงชีวติ ทีจ่ ะวนเวียนเปลีย่ นไป ตามกาลเวลา นอกจากนี้ยังมีตุงตัวเปง (ตุงประจําปเกิด) ซึ่ง ๘ นางเกีย๋ งคํา อายุ ๕๓ ป บานปาแดง เชียงตุง เปนชาวไตเห นอ ไดรบั การถายทอดการทําตุงจากแม คือ นางมุง อายุ ๘๗ ป ชาวไทลื้อบานเชียงขุมนิยมถักทอ โดยเริ่มตั้งแต หนู (ปชวด) วัว (ฉลู) เสือ (ขาล) กระตาย (เถาะ) นาค เดิมมีอาชีพเปนชางคํา เริม่ ทําตุงตัง้ แตอายุ ๒๒ ป ๙ สัมภาษณพระสวาทิหนุม เจาอาวาสวัดเชียงขุม (๒๘ ธันวาคม (มะโรง) งู (มะเส็ง) มา (มะเมีย) แพะ (มะแม) ลิง (วอก)

๒๕๕๒)

ฉบับที่ ๑๓ มกราคม - เมษายน ๒๕๕๓

๒๓


ตุงจาดรอด : บานเขียวขุม เชียงตุง

๑. นกกางเขน ๑๖ พระชาติ หมายถึงเมืองจามปา ๒. หงส ๙ พระชาติ หมายถึงเมืองพาราณสี ๓. กาแก ๖ พระชาติ หมายถึงเมืองราชาคหะ ๔. แขกเตา ๓ พระชาติ หมายถึงเมืองเวสาลี ๕. การะปด ๕ พระชาติ หมายถึงเมืองพาราณสี ๖. กินรี ๔ พระชาติ หมายถึงเมืองปาฏลีบตุ ร ๗. จามรี ๑๕ พระชาติ หมายถึงเมืองมิถิลา ๘. ลิง ๑๐ พระชาติ หมายถึงเมืองลังกะสะ ๙. ชาง ๑๑ พระชาติ หมายถึงเมืองเจตรุก ๑๐. วัว ๑๔ พระชาติ หมายถึงเมืองตักกะสิลา ๑๑. มา ๑ พระชาติ หมายถึงเมืองสารี ๑๒. ควาย ๘ พระชาติ หมายถึงเมืองกาลิงกราช ๑๓. ราชสีห ๒ พระชาติ หมายถึงเมืองวิปุราช ๑๔. เสือ ๗ พระชาติ หมายถึงเมืองโกสัมพี ๑๕. ไก ๑๒ พระชาติ หมายถึงเมืองโกลันยา ๑๖. หมู ๑๓ พระชาติ ตุ ง ที่ ช าวเชี ย งตุ ง ได ทํ า ขึ้ น ถวายเป น พุ ท ธบู ช า อีกประเภทหนึ่ง คือ ตุงกระดาง ซึ่งไทโหลงนิยมทํา ถวายเปนพุทธบูชา มักจะทําดวยไม แผนสังกะสี และ แกะลวดลายรูปพรรณพฤกษา รูปดอกไม หรือรูปนก กระรอก ประดับดวยกระจกสี ทาสีทองหรือสีออนทับ ลวดลายที่แกะสลัก คุณคาและความหมายของตุงแตละประเภทนั้น ลวนแลวแตแนวคิดของแตละกลุม ชาติพนั ธุ ซึง่ ตองการ ถวายเปนพุทธบูชาเปนการขอขมาที่ไดลวงล้ําก้ําเกิน และที่สุดคือเพื่อตนเองในการใหพนจากโรคาพยาธิ และเพือ่ ตอบสนองความตองการในการทีส่ สู รวงสวรรค ในภายภาคหนา รวมทั้งบรรพบุรุษที่อาจจะของติด ในภพภูมิที่ไมพึงปรารถนาสูสุคติที่ตองการ อยางไร ก็ดี เปาหมายของการผลิตตุงแตละประเภทขึ้นอยูกับ จุดมุงหมายในการนําไปใชทั้งในพิธีกรรมทั่วไปและ พิธีกรรมเฉพาะ ซึ่งจะมีรูปแบบที่แตกตางกันในแตละ กลุมชาติพันธุกลุมใหญในเชียงตุงนั่นเอง

ไก (ระกา) หมา (จอ) ชาง (กุน) และที่สําคัญที่นิยม นํามาถวายเปนพุทธบูชา เพื่อระลึกถึงการเสวยพระ ชาติของพระพุทธเจากอนเปนพระโพธิสัตว และความ หมายอีกนัยหนึง่ เพือ่ อุทศิ ใหกบั ผูล ว งลับดับขันธไปแลว ซึ่งชาวเชียงตุงเรียกวา ตุงจาดรอด มี ๑๓๖ พระชาติ ตุงจาดรอดเปนตุงที่มีความหมายใหรอดพนจากโรคา พยาธิและสรางสมบารมี ความยาวมาก มีถึง ๑๖ คั่น ผูใหขอมูล ๑. นางเกี๋ยงคํา อายุ ๕๓ ป บานปาแดง เชียง และในแตละพระชาติจะมีความหมายถึงเมืองตางๆ ที่ปรากฏในพระชาตินั้น ๆ ทําดวยกระดาษสากวาง ตุง เปนชาวไตเหนอ ไดรับการถายทอดการทําตุงจาก ๑๐ – ๑๒ เซนติเมตร ยาวแตละคั่นประมาณ ๑๐ แมคือ นางมุง อายุ ๘๗ ป เดิมมีอาชีพเปนชางคํา เริ่ม เซนติเมตร เปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส แตละคั่นจะปรากฏ ทําตุงตั้งแตอายุ ๒๒ ป ๒. พระสวาทิหนุม เจาอาวาสวัดเชียงขุม เมื่อวัน เปนรูปตางๆ ดังนี้ ที่ ๒๘ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๒ ๒๔ ฉบับที่ ๑๓ มกราคม - เมษายน ๒๕๕๓


บรรณานุกรม พระมหาสุภาพ จันตะกอง. ความสัมพันธทางพระพุทธศาสนาระหวางเชียงใหม – เชียงตุง พ.ศ. ๒๔๙๑ – ปจจุบนั . วิทยานิพนธศลิ ปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิจยั และการพัฒนาทองถิน่ (ลานนาคดี) สถาบันราชภัฏ เชียงใหม, ๒๕๔๔. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม. ประเพณีไทยเขิน. เชียงใหม : มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม, ๒๕๔๙. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม. วิถีไทยเขิน. เชียงใหม : ดาวคอมพิวกราฟก, ๒๕๕๐. อรุณรัตน วิเชียรเขียว และคณะ. พจนานุกรมศัพทลานนาเฉพาะคําที่ปรากฏในใบลาน. เชียงใหม : สุริวงศบุคเซ็นเตอร, ๒๕๓๙. อุดม รุงเรืองศรี. พจนานุกรมลานนา – ไทย ฉบับแมฟาหลวง. เชียงใหม : โรงพิมพมิ่งเมือง, ๒๕๓๔.

ตุงจาดรอด : บานปาแดง

ตุง ๑๒ ราศี บานลื้อ เมืองมา

ตุงพําตาน : บานพาย นครเชียงตุง

ตุงจาดรอด : บานปาแดง

ตุงบานเชียงขุม วัดเชียงขุม เชียงตุง

ผูถายภาพ : นายปุระวิชญ วันตา ฉบับที่ ๑๓ มกราคม - เมษายน ๒๕๕๓

๒๕


ของกิ๋นบา้ นเฮาแกงผักขี้ขวง (ขี้ก๋วง) ผักขี้ขวง หรือบางแหงเรียก ผักขี้กวง หรือผักสะเดาหิน เปนไมลมลุกชื่อ Glinus Oppositifolius A. DC ในวงค Aizoaceae กินได ใชทํายาได จะออกในฤดูหนาวประมาณเดือนพฤศจิกายน – มกราคม จะขึ้นตาม ธรรมชาติบริเวณชายน้ําใกลทุงนา แกงผักขี้ขวง เปนอาหารพื้นบานที่ออกรสขมนิดๆ นิยมแกงกินรอนๆ โดยมีแคบหมู น้ําพริกน้ําผัก พริกออนยาง ถั่วเนาแข็บยาง เปนเครื่องเคียง

เครื่องปรุง

๑. ผักขี้ขวง ลางใหสะอาด ใสกระชอนใหสะเด็ดน้ํา ๒. พริกแหง ๓ – ๕ เม็ด ๓. เกลือ ½ ชอนชา ๔. หอมแดง ๓ – ๔ หัว ๕. ขา ๕ – ๖ แวนบาง ๆ ๖. ไขไก ๒ ฟอง ๗. ปลายาง หรือปลาชอนแหง ๘. ปลารา ปลากระดี่สับใหละเอียด ๒ ชอนชา ๙. มะเขือเทศลูกเล็ก ๕ - ๗ ลูก ๑๐. ผักชีลางน้ําใหสะอาด หั่นละเอียด

๒๖

ฉบับที่ ๑๓ มกราคม - เมษายน ๒๕๕๓

วิธีทํา ๑.

๒. ๓.

โขลกขา พริกแหง เกลือ ปลารา หอมแดง ให ละเอียด นําเอาปลายาง หรือปลาชอนแหงแกะ เอากางออกตมลงในน้ําเดือด นําขอ ๑ มาโขลกรวมกับเครื่องปรุง แลวนําไป ตมในน้ําตมปลาอีกครั้งหนึ่ง เอาผักขี้ขวงคลุกกับไขไกใหเขากัน แลวลงหมอ ทีใ่ สเครือ่ งปรุงตามขอ ๒ ผามะเขือเทศลงในหมอ คนให เข า กั น ชิ ม รสไม ใ ห เ ค็ ม มาก โรยผั ก ชี ตักรับประทานไดเลย


ผูใหขอมูลแกงผักขี้ขวง (ผักขี้กวง)

ผักขี้กวง

เครื่องปรุง : แกงผักขี้กวง

แกงผักขี้กวง

ผูใหขอมูลและสาธิตวิธีทํา นางไหล โนรินทร อายุ ๘๐ ป บานรองเข็ม ตําบลรองกวาง แพร ผูเรียบเรียง ผศ.จินตนา มัธยมบุรุษ นางปานรดา อุนจันทร

ฉบับที่ ๑๓ มกราคม - เมษายน ๒๕๕๓

๒๗


กระทรวงวัฒนธรรมโดย สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดเชียงใหม ไดจัดงานเทศกาลศิลปวัฒนธรรม เชิงสรางสรรคคระดับจังหวัด Creative Province “ซะปะของดี ตามวิถีเจียงใหม” จัดขึ้นระหวาง วันที่ ๒๘ พ.ย. ๕๒ ณ วัดศรีสุพรรณ และวันที่ ๒๙ พ.ย. ๕๒ ณ ขวงประตูทาแพ อ.เมือง จ.เชียงใหม กิจกรรมอาทิเชน ศิลปะการแสดงโขน การแสดงฟอนพื้นเมือง การเสวนา การจัดนิทรรศการผลงานของ ศิลปนแหงชาติและศิลปนรวมสมัย การจําหนายผลิตภัณฑทางวัฒนธรรม ไดรับความสนใจจากผูเขารวม งานกวา ๓๐,๐๐๐ คน

เมือ่ วันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๕๒ ไดมพี ธิ เี ปดศูนยวฒ ั นธรรมอําเภอดอยเตา โดย สส. สุรพล เกียรติไชยากร และทานปลัดพงษพรี ะ ชูชนื่ นายอําเภอดอยเตา ไดใหเกียรติเปนประธานในการเปดศูนยวฒ ั นธรรมอําเภอ ดอยเตา และพิธเี ปดงานมหกรรมของดีดอยเตา โดยทานนายกองคการบริหารสวนจังหวัดเชียงใหมไดกลาว เปดงาน ณ โรงเรียนดอยเตาวิทยาคม ซึง่ เปนการสงเสริมกิจกรรมในศูนยวฒ ั นธรรมไทยสายใยชุมชน อําเภอ ดอยเตา แหลงเรียนรูทางวัฒนธรรม คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม ไดจดั งานแสดง ละครแสง เสียง อิงประวัติศาสตรเรื่อง “พระเจาติโลกราช” โดย ไดรับการสนับสนุนงบประมาณ การจัดงานครั้งนี้ จากกระทรวง วั ฒ นธรรม และสภาวั ฒ นธรรมจั ง หวั ด เชี ย งใหม ในการนี้ เจาดวงเดือน ณ เชียงใหม ประธานสภาวัฒนธรรมไดใหเกียรติ เขาชมการแสดงในวันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๒

๒๘

ฉบับที่ ๑๓ มกราคม - เมษายน ๒๕๕๓


สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดเชียงใหม ดําเนิน การจัดโครงการสงทายปเกาวิถีไทย พ.ศ.๒๕๕๒ ตอ นรับปใ หมวถิ พี ทุ ธ พ.ศ. ๒๕๕๓ ในวั ใ นที่ี ๓๑ ธ.ค. ๕๒ ในชวงตัง้ แตเวลา ๒๒.๐๐ น. โดยสวดมนตพรอมกันที่ จังหวัดเชียงใหม และเจริญภาวนา ไหวพระสวดมนต เจริ ญ พระพุ ท ธมนต ลั่ น ฆ อ งชั ย ต อ นรั บ ป ใ หม ๑ ม.ค. ๕๓ ณ วัดพระสิงหวรมหาวิหาร และวัดทุก วัดในจังหวัดเชียงใหม มีประชาชน ศาสนิกชนชาว พุทธ พาครอบครัวเขาวัดรวมกิจกรรมทีจ่ ดั ขึน้ จํานวน มาก ไดรับเกียรติจาก วัฒนธรรมจังหวัดเชียงใหม นายไพฑูรย รัตนเลิศลบ เปนประธานในพิธี

วัดศรีสุพรรณในพระอุปถัมภ พระเจาหลานเธอ พระองคเจา ทีปง กรรัศมีโชติ รวมกับเทศบาลนครเชียงใหม สํานักงานวัฒนธรรม จังหวัดเชียงใหม และหนวยงาน องคกร ศรัทธาประชาชนในทองถิน่ ไดรว มกันจัดมงคลพิธเี ทศนมหาชาติเวสสันดรชาดกลานนาสืบชาตา ประจําปเกิด ในงานศรีสพุ รรณาราม รับขวัญปใหม เฉลิมพระเกียรติ ราชวงคจักรี ๒๕๕๓ ระหวางวันที่ ๓๐-๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๒ – ๓ มกราคม ๒๕๕๓ ณ วัดศรีสุพรรณ ถนนวัวลาย อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม

ฉบับที่ ๑๓ มกราคม - เมษายน ๒๕๕๓

๒๙


* จังหวัดเชียงใหม โดยความรวม กับเครือขายวัฒนธรรมในพื้นที่ รวมกัน จัดงาน โครงการพุทธธรรมนําสุข วันที่ ๑๔ มกราคม ๒๕๕๓ ณ พระบรมราชา นุสาวรียสามกษัตริย โดยจะมีการสวด อุปปาตะสันติ (มหาสันติงหลวง) เพื่อให เกิดความเปนสิริมงคลเนื่องในโอกาสขึ้น ปใหม รวมทั้งจัดใหมีการเจริญพระพุทธ มนตในพื้นที่อําเภอตางๆ พรอมกันทั่ว จังหวัดเชียงใหม

* สภาวัฒนธรรมจังหวัดเชียงใหม โดย ดร.เจาดวงเดือน ณ เชียงใหม และขาราชการสํานักงาน วัฒนธรรมจังหวัด รวมงานบําเพ็ญกุศลงานพระราชทานเพลิงศพพระพุทธพจนวราภรณ (จันทร กุสลมหาเถร) เมื่อวันที่ ๑๕ มกราคม ๒๔๔๓ เวลา ๑๐.๐๐ น. ณ วัดเจดียหลวงวรวิหาร อําเภอเมืองเชียงใหม เมื่อวันที่ ๑๓ – ๑๔ ม.ค. ๕๓ กระทรวงวัฒนธรรม ไดจัดประชุมเชิงปฏิบัติการการมีสวนรวมของที่ ปรึกษาผูตรวจราชการภาคประชาชน ในการตรวจราชการของกระทรวงวัฒนธรรม ประจําปงบประมาณ ๒๕๕๓ โดยมี นางวันเพ็ญ ณ เชียงใหม เปนผูแ ทนประธานสภาวัฒนธรรมจังหวัดเชียงใหม เขารวมประชุมดวย มีผูรวมประชุมทั้งสิ้น ๔๕๐ คน จากทุกจังหวัด ณ โรงแรมโบทานิค เชียงใหม รีสอรท อําเภอแมริม จังหวัด เชียงใหม ไดรับเกียรติจาก ดร.ปรีชา กันธิยะ หน.ผูตรวจราชการกระทรวงวัฒนธรรม ดร.เจาดวงเดือน ณ เชียงใหม ไดใหเกียรติเปนคณะกรรมการการตัดสินการประกวดมารยาทไทยและ การสมาคม ในการจัดงานการแขงขันทักษะวิชาชีพโรงเรียนอาชีวศึกษากลุมเอกชนภาคเหนือ ในวันศุกรที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๕๓ ณ โรงเรียนลําปางพาณิชยการและเทคโนโลยี จังหวัดลําปาง ทั้งนี้ไดมีนางวันเพ็ญ ณ เชียงใหม รองประธานฯ และนักวิชาการวัฒนธรรมสํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดเชียงใหม รวมเปน คณะกรรมการในการตั คณะกรรมการในการ ดสินในครั้งนี้ดวย

๓๐

ฉบับที่ ๑๓ มกราคม - เมษายน ๒๕๕๓


คาวรํ า่ วรําลึกครบรอบชาตกาล า๋ ล ๖๐๐ ปี๋

พระเจาติ า้ ติโลกราช

ยอหัตถา วันตากราบนบ สิ่งที่เคารพ ทั่วภพทั้งสาม นบนอมเทพไธ ทั่วในสยาม ทุกนิคมคาม อารามทั่วหอง จะขอเลาขาน ตํานานถูกตอง เลาเปนทํานอง คาวจอย วาระดิถี ครบปหกรอย พระองคยอดสรอย ราชา “หนึง่ เกาหาสอง” นัน้ สําคัญนักหนา มหาราชลานนา ประสูตมิ าเมือ่ อัน้ เปนราชบุตร เกงสุดเสี้ยงหั้น ขององคราชัน ทานไธ “พญาสามฝง แกน” หนักแนนแตไซร ชือ่ “ลก” ทีไ่ หว เลยนา อันดับที่หก คนถกอูจา ถึงพระปรีชา ปญญารอบดาน บขัดบเคือง การเมืองการบาน มีความเชี่ยวชาญ บนอย ขุนนางติดตาม “นายสามเด็กยอย” หนุนทาว“ลก”หนอย ราชา หื้อปกครองรัฐ เปนกษัตรา แทนราชบิดา ครองลานนาปกปอง “องคที่สิบ”นา ไพรฟาทั่วหอง อยูในปกครอง แตเลา พระนามนัน้ นา ลือชาอดเอา “พระญาติโลกราช”เจา ลือนาม ได“หมืน่ สามลาน” ขุนหาญติดตาม ออกทําสงคราม ปราบปรามทัว่ บาน ราชวงศมังราย ขยายทุกดาน เพราะความเชี่ยวชาญ ทานไธ ศึกที่หาวหาญ รบนานแตไซร รบกับเมืองใต พารา “พระบรมไตรโลกราช” นัน้ สําคัญนักหนา กรุงศรีอยุธยา รบราตอตาน ไดสิบแปดป บมีกลั๋วหยาน รบอยูเมินนาน สุดฤทธิ์ เลยอูจากั๋น ผูกพันเปนมิตร เลิกคิดตอสู โดยดี “พระบรมไตรโลกราช”นั้น ประกาศหยุดตี๋ ทรงผนวชทันที “วัดจุฬามณี” แมนหมั้น ก็เลยหันมา พัฒนาหลายขั้น จัดงานสําคัญ คึกคัก

“วัดมหาโพธาราม” งดงามยิง่ นัก ประจักษแนแจง แตนา พระทรงสรางไว ยิ่งใหญนักหนา ทําสังคายนา ในวัดวาหมดสิ้น สวนประธานสงฆ มั่นคงบปลิ้น ชื่อ“ธรรมทิน” ปาวรอง ในยุคนั้นนา พุทธศาสนาแซซอง ดังไปทั่วหอง ลานนา เมินนานไกลลบิ “เจ็ดสิบแปด” พรรษา ทานก็ไคลคลา จากลาไปจอย สวรรคาลัย นาย,ไพรเศราสรอย เหมือนแสงไฟมอย หมดเจื๊อ นับจากนั้นมา ราชาเอื้อเฟอ ชวยกั๋นกอเกื้อ ปกครอง มาถึงปนี้ เปนปหาสอง ทุกฝายปรองดอง ฉลองใหญกวาง คณะสงฆจังหวัด รวมจัดรวมสราง หลายฝายหลายทาง ชวยก๊ํา ครบหกรอยป พอดีแถมซ้ํา ชวยกั๋นทุกก้ํา ทุกปาย วัดเจ็ดยอดนัน้ รวมกัน๋ หลวงหลาย เจาขุนมูลนาย ทุกฝายรวมเขา จัดกั๋นสุดป พิธีแบบเบา พี่นองหมูเฮา ทั่วทิศ นอมรําลึกคุณ ทําบุญอุทิศ นอมจิตนอมเกลา บูชา กลอนวาตา ขอลาเทาอี้ เทานี้ลวดวางลง กอนแหลนายเฮย ศิริงพงศ วงศไชย รองประธานสภาวัฒนธรรม อําเภอสันกําแพง

ฉบับที่ ๑๓ มกราคม - เมษายน ๒๕๕๓

๓๑


๓๒

ฉบับที่ ๑๓ มกราคม - เมษายน ๒๕๕๓




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.