วารสารวัฒนธรรม จังหวัดเชียงใหม่ เล่ม 12

Page 1


ฉบับที่ ๑๒ พฤษภาคม - สิงหาคม ๒๕๕๒

ที่ปรึกษา

ISSN : 1905-40-607 วัตถุประสงค

๑. เพือ่ เผยแพรงานดานวัฒนธรรมในจังหวัดเชียงใหม ๒. เพื่อเปนสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนเรียนรู กิจกรรมและดําเนินงานดานวัฒนธรรม ระหวางองคกรและเอกชน ๓. เพื่อสงเสริมและสนับสนุนองคกรทองถิ่นที่ ดําเนินงานดานวัฒนธรรมใหกวางขวางยิ่งขึ้น ๔. เพื่ออนุรักษมรดกทางวัฒนธรรม จังหวัดเชียงใหม

สํานักงาน

สภาวัฒนธรรมจังหวัดเชียงใหม ศูนยราชการจังหวัดเชียงใหม อ.เมือง จ.เชียงใหม ๕๐๓๐๐ โทรศัพท/โทรสาร. ๐๕๓-๑๑๒๕๙๕, ๐๕๓-๑๑๒๕๙๖

เรื่องในฉบับ

อูจากั๋นกอน ................................................................. ๑ คณะบรรณาธิการ หมาก ..................................................................... ๒ ศรีเลา เกษพรหม ขัน ๕ โกฐาก ............................................................... ๖ รศ.พิเศษ ถาวร เสารศรีจันทร การสืบชะตา ............................................................... ๘ ผศ.จินตนา มัธยมบุรุษ เจดียวัดดงคํา ........................................................... ๑๒ มนัส จันทรกุญชร การบรรพชาอุปสมบทอุทกุกฺเขปสีมา ...................... ๑๖ เฉลิมฉลอง ๖๐๐ ป ชาตกาลพระเจาติโลกราช จรีย สุนทรสิงห บุคคลวัฒนธรรม (พระเทพโกศล) ..............................๒๓ ศิริวรรณ สุขศิริ ของกิ๋นบานเฮา (คั่วผํา และ ยําเตา) ...........................๒๖ วัชรินทร พรหมศรี ขาววัฒนธรรมจังหวัดเชียงใหม .............................. ๒๙ ปานรดา อุนจันทร

ดร.เจาดวงเดือน ณ เชียงใหมมม นายพยูน มีทองคํา นายอินสม ปญญาโสภา ดร.บุญคิด วัชรศาสตร นางวันเพ็ญ ณ เชียงใหม

บรรณาธิการ

ผศ.จินตนา มัธยมบุรุษ รศ.พิเศษถาวร เสารศรีจันทร

บรรณาธิการบริหาร

นายไฟฑูรย รัตนเลิศลบ นางเจียมจิตต บุญสม

กองบรรณาธิการ

นายศรีเลา เกษพรหม นายจรีย สุนทรสิงห นางภัทรา จันทราทิตย นางปานรดา อุนจันทร นางสาววัชรินทร พรหมศรี

การเงิน

นางศิริวรรณ สุขศิริ นายประจัญ สมนาวรรณ

จากปก : การสืบชะตา เปนพิธีกรรมหนึ่งของลานนา

นิ ย มทํ า ในโอกาสต า งๆ เพื่ อ ความเป น สิ ริ ม งคลแก ผูส บื ชะตา เปนการตอดวงชะตาใหยนื ยาวสืบไป รวมทัง้ ใหพนจากเคราะหภัยที่จะกล้ํากรายเขามาในชีวิต ถายภาพโดย : นายจรีย สุนทรสิงห

พิมพที่ : หจก. กลุมธุรกิจแม็กซ (MaxxPRINTING ) ๑๔ ถ.ศิริมังคลาจารย ซ.สายน้ําผึ้ง ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม ๕๐๒๐๐ TM

โทร. ๐๘๖-๖๕๔๗๓๗๖, ๐๕๓-๒๒๑๐๙๗ moradoklanna@gmail.com http://moradoklanna.com


ฉบับที่ ๑๒ พฤษภาคม - สิงหาคม ๒๕๕๒

อูจ้ า๋ กั๋นกอ ่ น วารสารวัฒนธรรมจังหวัดเชียงใหม ฉบับตอนรับ เดือนพฤษภาคมของปนี้ ซึ่งถือเปนปครบรอบ ๖๐๐ ป ของพระญาติโลกราช ซึ่งเปนกษัตริยลําดับที่ ๑๐ แหง ราชวงศมังราย หวังวาคงยังพอจําประวัติศาสตรกันได สําหรับฉบับตอนรับครบรอบ ๖๐๐ ปของพระ ญาติโลกราช นัน้ พวกเรามีความตัง้ ใจทีจ่ ะนําเสนอเรือ่ ง ราวที่นาสนใจที่เกี่ยวของกันในสมัยของพระเจาติโลก ราช ซึ่งอาณาจักรลานนาขณะนั้นมีความเจริญในทุก ดานไมวาจะดานการทหาร โดยเฉพาะอยางยิ่งดาน ศิลปกรรมการสรางเจดียวัดดงคํา ซึ่งมีนายชางใหญที่ สําคัญ ชือ่ หมืน่ ดามพราคต ผูท เี่ ราจะไดกลาวถึงในเลม วามีความสําคัญเชนไร.......... อาหารพื้นเมือง ที่เกิด จากภูมปิ ญ  ญาชาวบาน ทีน่ า ลิม้ ลองในชวงฤดูฝน... และ ก็ยังมีเรื่องหมาก เรื่องขัน ๕ โกฐาก เปนเรื่องนารูนา สนใจทั้งสิ้น นอกจากนี้พวกเรายังไมลืมที่จะนําเสนอเกร็ด ความรู ใ นเรื่ อ งพิ ธี ก ารสื บ ชะตา ซึ่ ง เป น พิ ธี ก รรมที่ เกีย่ วของกับชีวติ คนเรา รวมทัง้ สาระตางๆ ทีน่ า ติดตาม ภายในเล ม ที่ ลื ม เสี ย มิ ไ ด เ ห็ น จะเป น บุ ค คลทาง วัฒนธรรม แนะนําใหรูจักอีกทานหนึ่ง ที่ไดอุทิศเวลา แรงกาย แรงใจใหกับงานวัฒนธรรม มาโดยตลอด

วารสารวัฒนธรรม ยินดีรบั ฟงขอเสนอแนะจากทุกทาน หากทานมีขอคิดเห็นอยากได ไดรับทราบขอมูลขาวสาร ทางวัฒนธรรมในเรือ่ งใด ความคิ วามคิดเห็นของทานจะเปน ประโยชนยิ่งในการนําเสนอสาระ อสาระ เพื่อหมูเฮา ตอไป สวัสดีเจา สวัสดีครับ ปะกั๋นนฉบั ฉบับหนา กองบรรณาธิการ ฉบับที่ ๑๒ พฤษภาคม - สิงหาคม ๒๕๕๒


หมาก ศรีเลา เกษพรหม สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม

แตครั้งโบราณ หมาก คือไมเศรษฐกิจ หมาก เปนไมทมี่ คี า ใชประโยชนทงั้ ตนและผล ผูท มี่ สี วนหมาก จึงทํารายไดใหแกเจาของสวนเปนกอบเปนกํา ดังนั้น ทางรัฐจึงมีการเก็บภาษีสวนหมากนําเงินเขารัฐ และมี ประจําที่ถวายภาษีสวนหมากใหแดวัด เพื่อเปนปจจัย บํารุงวัด บํารุงพระสงฆ ตลอดถึงการเปนคาเลี้ยงดูคน ที่เปนขาวัด นอกจากไดรายไดจากนาบานและปาแลว ก็ ยั ง ได จ ากหมากอี ก ส ว นหนึ่ ง ด ว ย วั ด ที่ สํ า คั ญ จึงพยายามติดตอขาราชการในคุม หรือในโรงคําเพือ่ นํา วั ด นั้ น ๆ ไปบอกบุ ญ ถวายแก ก ษั ต ริ ย แ ละมหาเทวี เมือ่ กษัตริยห รือมหาเทวีรบั สวนบุญของวัดนัน้ แลวจะรับ อุปถัมภวัดนั้น โดยสั่งใหขาราชการทองถิ่นจัดหานา หมูบ า น ปา สวนหมากไวกบั วัด เพือ่ นํารายไดอนั เกิดจาก สิ่ ง เหล า นั้ น ไปบํ า รุ ง รั ก ษาวั ด และยั ง ให จั ด คนไว อุปฏฐากวัด อุปฏฐากพระสงฆ ซึ่งเรียกคนเหลานั้นวา ขาวัด ขาพระ ๒

ฉบับที่ ๑๒ พฤษภาคม - สิงหาคม ๒๕๕๒

ตัวอยางเชน เมือ่ พ.ศ. ๑๙๕๔ กษัตริยเ ชียงใหม และมหาเทวี ท รงหยาดน้ํ า ตกแผ น ดิ น ถวายไร น า และสวนหมาก ใหแดพระสุวรรณมหาวิหารซึง่ เปนวัดๆ หนึง่ ในจังหวัดพะเยา ในจารึกตอนหนึง่ มีวา “แมจะนับ หมากไซร ได ๑๐,๐๐๐ ลําคํา”


หมากในสมัยนัน้ จึงเปนสิง่ ทีม่ คี า ทีจ่ ะนําไปขาย เปนเงินรายไดแกผคู รอบครอง อีกตัวอยางหนึง่ ทีป่ รากฎ ในศิลาจารึก ที่เกี่ยวของกับหมากโดยตรง จนถึงกับมี การรองเรียนเขาไปถึง “โรงคํา” หรือคุมหลวงของ กษัตริย คือเมือ่ ประมาณ๕๐๐ปผา นมาแลวไดมปี ากทาว คนหนึง่ ถอนหมากทีเ่ ปนสมบัตขิ องพระเจา (พระพุทธรูป) ออกไป กษัตริยจึงรับสั่งวา “หมากพระเจาอันปากทาว เอาออก ใหไวกับพระเจาดังเกา”

หมากพระเจา

หมากพระเจ า หมายถึ ง หมากที่ จั ด ถวายแก พระพุทธรูป คนโบราณถือวาพระพุทธรูปเปนตัวแทน ของพระพุทธเจา มีความรูส กึ วาเหมือนกับวาพระพุทธรูป มีชีวิตจิตใจ จึงตองมีการถวายขาวพระเจา ตักน้ําใสตน ถวายพระเจา ทุกวัน นอกจากขาวและน้ําแลว ยังถวาย หมากใหพระพุทธรูปเคี้ยวอีกดวย ดังนั้นจึงจัดภาชนะ สําหรับใสหมากถวายพระพุทธรูป เรียกวา “ขันหมาก พระเจา” ในศิลาจารึก ๑.๕.๑.๑ วัดควาง พ.ศ. ๒๐๓๓ / ค.ศ. ๑๔๙๐ จารึกกลาวถึงของที่จัดถวายบูชา แด พ ระพุ ท ธรู ป ในของบู ช าเหล า นั้ น มี ชื่ อ ขันหมากพระเจาปรากฎอยูดวยวา “เครื่องบูชา พระเจา (มี) ขันหมากเบงทองเครื่องพรอม”

มี ค วามยาวประมาณ ๕๐ เซนติ เ มตร ถ า รวมกั น ๑๐ เสน เรียกวา “หนึ่งหัว” ถารวมกัน ๑๓ เสน นับเปน ๑,๓๐๐ (ไมแนใจวาเปนน้ําหนักหรือจํานวน) ในพิธีสืบชะตา ไมวาจะเปนการสืบชะตาเมือง สืบชะตาบาน ชะตาของคน เพือ่ เปนการตออายุ ตนกลา ของหมากก็จัดเขาในเครื่องครัวเหลานั้น เมื่อเสร็จ พิธแี ลว ก็จะนําตนกลาของหมากไปปลูกในวัดหรือในที่ สาธารณะ ในการแห ค รั ว ทาน ในงานปอยหลวงก็ ดี งานปอยนอยก็ดี รวมถึงการแหครัวทานเกือบทุกอยาง สิ่งหนึ่งควรจะมีคทอตนหมาก ซึ่งคูกับตนเทียน โดยใช ผลของหมากมาแตงเปนพุมใหดูสวยงามคลายกับที่ เมืองสุโขทัยเมื่อ ๗๐๐ กวาป สมัยพระญารวง คือ พอขุนรามคําแหงมหาราช ก็มีการใช หมากมาตกแตง ใหเปนพุม ทางสุโขทัยเรียกวา “พนมหมาก” ใชแห เครือ่ งกฐินหลวง ออกไปทอดวัดอรัญญิก ตามทีป่ รากฎ ในศิลาจารึกหลักที่ ๑ วา มีพนมหมาก และ พนมเทียน

หมากเครื่องประกอบพิธี

หมาก เปนสวนหนึง่ ของเครือ่ งประกอบพิธี หลายอยางเชน ในการจัด “ขันนตง ตั้ง” (ขันครู) ที่แตงดาใหพระสงฆ ผูเ ปนหัวหนาประกอบพิธี หรือ ใหแกอาจารยวัด (มัคนายก) ทีเ่ ปนผูป ระกอบพิธตี า งๆ ขันตัง้ ประกอบดวยเครื่องหลายอยาง มีหมากรวมอยูดวย คือ “หมาก พันสาม” ทีค่ กู บั “เบีย้ พันสาม” หมากที่ ผ า ซี ก แล ว ร อ ยด ว ย เชือกปอ นําไปตากแดดใหแหง นั้นเรียกเสนหนึ่งวา “หนึ่งไหม”

หมากเปนสื่อความรัก

ประเพณี ก ารแอ ว สาวสาว ของผู ช ายล า นนาในสมั ย ก อ น จะแอ ว สาวในเวลากลางคื น หลังจากกิน ”ขาวแลง” (ขาว มื้อเย็น) เรียบรอยแลว คงจะ ประมาณ ๒ ทุมขึ้นไป ฝายสาว

ฉบับที่ ๑๒ พฤษภาคม - สิงหาคม ๒๕๕๒


ก็จะเตรียมงานไวทําตอนกลางคืน เชน การทอผา งงานเย็บปกถักรอย ถามีหมากก็จะเตรียมผลหมาก ใใสกระดงไว เพือ่ ทําการผาและเสียบทําเปน “รอย” ดวย เชือกปอ สิ่งที่ตองเตรียมอีกอยางหนึ่งก็คือ แอ็บหมาก (ห (หรือขันหมากคือเชีย่ นหมาก) ๒ สํารับ ชุดหนึง่ สําหรับ ตอนรับแขกทั่วไป อีกชุดหนึ่งเปนของสวนตัวเรียกวา “แอ็ “ บหมากสาว” ที่จะเก็บไวใหแก “ตัวพอ” คือคูรัก ของนางไดเคี้ยวเทานั้น การพูดเกี้ยวพาราสีระหวาง บาวสาว จะพูดผานแอ็บหมาก ถาพูดกันโดยตรงอาจจะ ทําใหเกิดอายกันได เหมือนกับวาจะใหแอ็บหมาก เปนพยานรัก เชนฝายชายถามเปนคาวขอเคี้ยวหมาก ฝายหญิงจะตอบรับเปนคาวเหมือนกันวา “กินเทอะๆ พลูนึ่งเมืองเถิน บกลัวคอเอิม กินเทอะพี่อาย”

ฝาดของหมาก ยาฉุ น ปู น ใบพลู และเปลื อ กก อ ประมาณ ๓ วัน อาการคันของคนนั้นก็ทุเลาเบาบางลง และหายไปในที่สุด “ขี้หมาก” (ชานหมาก) ของผาขาว จึงกลายเปนของศักดิ์สิทธิ์ มีการใหบูชากันถึงคําละ ๕ บาท

หมากมีสวนเกี่ยวของกับเครื่องยศ

จ ะ เ ห็ น ว า เ ค รื่ อ ง ย ศ ที่ พ ร ะ เจ า แ ผ น ดิ น พระราชทานใหแกขา ราชการ มี “แอ็บหมาก” เปนหนึง่ ในนัน้ ดวย ถึงหมากจะไมเกีย่ วของโดยตรงกับเครือ่ งยศ แตแอ็บหมากที่ไดรับพระราชทานก็เปนภาชนะเพื่อใส หมาก เครือ่ งยศสมัยกอนนัน้ นอกจากดาบเงินดาบคํา หากเงินหอกคํา และอืน่ ๆ อีกหลายอยาง ยังมีอกี อยาง คือ แอ็บหมากเงิน หรือ แอ็บหมากคํา และบางชุดก็มี หมากเปนสมุนไพรรักษาโรค กระโถนเงินหรือคําดวย เพื่อเปนที่รองรับน้ําหมาก คนสมัยกอนเชือ่ กันวาการเคีย้ วหมาก ทําใหฟน ตัวอยางเชน กษัตริยอังวะเคยพระราชทานเครื่องยศ แข็งแรงทนทาน ปจจุบนั นีก้ ย็ งั พอจะสังเกตเห็นผูเ ฒาผูแ ก อายุ ๗๐-๘๐ ทีเ่ ปนคนเคีย้ วหมากมากอน ฟนของทาน  หา เหลานัน้ สวนใหญยงั มีอยูเ ต็มปากและไมคอ ยมีปญ เรือ่ งฟนซึง่ ก็จะมีการทําความสะอากฟนวันละหลายครัง้ ขณะที่หมากยังอยูในปากเขาจะเอาเปลือกหมากแหง ขัดฟนดานหนาใหสะอาดและเปนเงางามหมากยังใช แกไอและระคายคอไดดว ย เมือ่ เกิดไอ เจ็บคอหรือคันคอ เนื่องจากหวัด ไมวาเกิดขึ้นกับเด็กหรือผูใหญ คนใน สมัยโบราณจะอม “ตับหมาก” อาการไอก็จะทุเลาลง (คงเพราะความฝาด) และในสวนของผดผืน่ คันนัน้ ก็อาจ ใช ห มากรั ก ษาดรคผดผื่ น คั น ได ที่ ข า พเจ า เคยเห็ น ใใหกับมังพลซะแพ็​็ก ผูครองเมืองเชียงรายเมื่อประมาณ มากับตา คือ เมือ่ ประมาณพ.ศ. ๒๕๒๔ นัน้ มี “ผาขาว” พ.ศ.๒๒๗๐ เครือ่ งยศเหลานัน้ มีแอ็บหมากคํารวมอยูด ว ย (ชีปะขาว) จากจังหวัดลําพูน เดินสัญจรไปพักตามวัด ขาราชการในเชียงใหมในชวงหลังนี้ก็มี “แอ็บหมาก” รับรักษาโรคตางๆ เชนปวดหลัง ปวดเอว ปวดขอ ประจําตําแหนง คนทีม่ ตี าํ แหนงสูงหนอย และมีความดี ปวดกระดูก เปนตน โดยใชไมเทาที่อางวาเปนไมเทา ความชอบ เจานายจะใหคนรับใช คอยถือแอ็บหมากให ของครูบาเจาศรีวิชัย เคาะไปตามที่ปวด มีคนเปนโรค อีกดวย เชนครั้งหนึ่งแมเจาทิพพเกสร สั่งพระยาพรหม ผื่นคันมาขอผาขาวชวยรักษาให ผาขาวคงจะไมเคย โวหารแตงคาวเรื่อง เจาสุวัตรนางบัวคํา ปรากฏวาแตง รักษาโรคคันดังกลาวมากอน แตเพื่อรักษาความเปน ไดถกู ใจแมเจา แมเจาจึงประทาน “แอ็บหมาก” ใหเปน อาจารยไว จึงแกปญหาดวยการคายชานหมากออก รางวัล สวนคนรับใชหิ้วแอ็บหมากมิไดประทานใหตอ ใหคนผูนั้นนําไปทาบริเวณที่คัน คงเปนเพราะความ มามีราชการพระยาพรหมไดเขาเฝาแมเจา แมเจาสังเกต

ฉบับที่ ๑๒ พฤษภาคม - สิงหาคม ๒๕๕๒


วาไมเห็นแอ็บหมากของพระยาพรหม จึงถามขึ้นวา หมากเสียบ ทําไมไมเอาแอ็บหมากมาดวย พระยาพรหมก็ทูลตอบ หมากเสียบ คือ หมากดิบทีน่ าํ มาผา ดวยปฏิภาณกวีวา “มีแอ็บไวเหมือนตุมีหวี เปนมีตั๋วมี เป น ชิ้ น แล ว ร อ ยเป น แถวยาวตากแห ง บมีคนอุม” แมเจาชอบพระทัยจึงประทานอายคอมขมุ เรียกหมากไหม คนโบราณมีธรรมเนียม เปนคนถือแอ็บหมากใหแกพระยาพรหม การเสียบหมากที่ไดมาตรฐานของตลาด คือหมากที่รอยเปนเสน ๑ ไหม หรือ มีคําสั่งใหทําลายสวนหมาก ๑ เสนตองมี ๓๖ คํา ๑๐ ไหมผูกรวมกัน สวนหมากถู ก ทํ า ลายก อ ให เ กิ ด ความวุ น วาย เปน ๑ หัว ทัว่ ลานนา ในครัง้ ทีจ่ อมพล ป.พิบลู สงคราม เห็นปญหา ของหมากโดยมี ผู ค นถ ม น้ํ า หมากเรี่ ย ราดตามถนน หนทางทั่วไป ทําใหดูสกปรกแกบานเมือง จึงสั่งใหตัด ตนหมากตนพลูทิ้งทั่วประเทศ ในลานนาจึงมีคนที่ เคี้ยวหมากเดือดรอนกันไปทั่ว จึงตองแอบปลูกตน หมาก ตนพลูไวในสวนที่ลับตา ปจจุบันคนที่เคี้ยวหมากจะมีแตคนแกๆ ที่เคย เคี้ยวมาแลวเทานั้น ไมมีใครเคี้ยวหมากเพื่อสืบตอ หรื อ อนุ รั ก ษ ก ารเคี้ ย วหมากไว ใ ห ลู ก ให ห ลานเห็ น ในอนาคตถึงจะไมมีคนเคี้ยวหมากใหเห็นแลวก็ตาม แตการใชหมากเพือ่ อยางอืน่ จึงควรจะชวยกันอนุรกั ษไว เชนการใชหมากเปนเครื่องประกอบพิธี ใชหมากเปน เครื่องสักการะ ใชหมากเขารวมกับขบวนแหตางๆ โดยทําเปน “ตนหมากเบง” หรือพุมหมากไปดวย

หมากเบง

คือ พุมหมากที่จัดเพื่อถวายเปนเครื่องสักการะ บูชาพระพุทธรูป หรือใชในพิธีตางๆ คูกับตนดอก และตนเทียน หมากเบงใชลูกหมากสดจํานวน ๒๔ ลูก เสียบไมปกไวรอบโครงของพุม

หมากสุบ

หมากสุบ คือ หมากที่ทําไวเปนคําๆ สําหรับพก ติดตัวไปทําไรทาํ นาทําสวนหรือพกไปในการเดินทางไกล เพือ่ ความสดวก แตถา หลายวันตองหิว้ แอ็บหมากติดตัว ไปดวย

ฉบับที่ ๑๒ พฤษภาคม - สิงหาคม ๒๕๕๒


ขัน ๕ โกฐาก เมือ่ เราเขาไปรวมศาสนพิธที างพระพุทธศาสนา ในวันพระ วันศีล หรือวันสําคัญทางศาสนาของคนลานนา ภายในวิหารซึ่งเปนสถานที่ทําบุญประกอบพิธีกรรม ทางศาสนา จะเห็ น พานบรรจุ ด อกไม ห ลายชนิ ด มีลักษณะแตกตางกัน เชน พานสามเหลี่ยม พาน ทําดวยไม พานทําดวยเงิน พานทําดวยทองเหลือง พาน ทําดวยหวาย เปนตน พานดอกไมตางๆ ดังกลาว คนลานนา เรียกวา “ขันดอก” คือพานสําหรับใสดอกไม เพื่อสักการบูชา สิ่ ง ที่ ต นเคารพนั บ ถื อ คํ า ว า “ขั น ” ที่ เ ป น คํ า นาม ในภาษาลานนา หมายถึง พาน ซึง่ มีหลายประเภท เชน ขันตั้ง ขันโตก ขันขอศีล ขันนําตาน ขันแกวตังสาม ขัน ๕ โกฐาก เปนตน ขันแตละชนิดมีวัตถุประสงค การใชแตกตางกันไปขึ้นอยูกับกิจกรรมหรือพิธีกรรม นั้นๆ ขั น ที่ อ ยากจะนํ า มาเล า สู กั น ในครั้ ง นี้ คื อ “ขัน ๕ โกฐาก” เพียงเอยชื่อวาขัน ๕ โกฐาก คงมีคน จํานวนไมนอย โดยเฉพาะคนรุนใหม อาจจะไมเคย ไดรไู ดเห็นมากอน เพราะขันหรือพานชนิดนีจ้ ะจัดใหมี ในพิธีทางศาสนาที่สําคัญๆ เทานั้น ปจจุบันดูเหมือน จะลดนอยลงไปทุกที ๖

ฉบับที่ ๑๒ พฤษภาคม - สิงหาคม ๒๕๕๒

รองศาสตราจารยพิเศษถาวร เสารศรีจันทร นายกสมาคมสหธรรมเชียงใหม กรรมการสภา มจร. วิทยาเขตเชียงใหม กรรมการบริหารสภาวัฒนธรรมจังหวัดเชียงใหม กรรมการพุทธสมาคมจังหวัดเชียงใหม

ขัน ๕ โกฐาก บางแหงเรียกวา ขันแกว ๕ โกฐาก หมายถึง พานดอกไมที่จัดดอกไมไวในพานเดียวกัน เปน ๕ สวน หรือ ๕ กอง ที่จัดดอกไมไว ๕ สวน หรือ ๕ กอง มีวัตถุประสงคเพื่อบูชาสิ่งสําคัญในพระพุทธ ศาสนา ๕ ประการ ไดแก ๑. บูชาพระพุทธเจา ๒. บูชาพระธรรม ๓. บูชาพระสงฆ ๔. บูชาบิดามารดา ครูอาจารย ๕. บูชาพระกัมมัฏฐาน วัตถุประสงคสําคัญการใชขัน ๕ โกฐากของคน โบราณ ก็เพือ่ ตองการรําลึกถึงพระคุณของพระรัตนตรัย บิดามารดา ครูอาจารย แลพระกัมมัฏฐาน ดวยความ สํานึกถึงคุณงามความดี และ ดวยความกตัญูกตเวที จึงจัดขัน ๕ โกฐากเพือ่ สักการบูชา สิง่ สําคัญ ๕ ประการนัน้ พรอมกัน

ขัน ๕ โกฐาก นําไปใชในโอกาสตางๆ ดังนี้

๑. ใชในงานมหกรรมฉลองสมโภช เชนงาน ปอยหลวงวิ ห าร ปอยหลวงกุ ฏิ ปอยหลวงเจดี ย


ปอยหลวงอุโบสถเปนตน ในงานปอยหลวงดังกลาว พระสงฆผูเปนประธานในพิธีจะโยงพาน คือถือขัน ๕ โกฐาก ชูขน้ึ กลาวคํานมัสการกอนจะเจริญพระพุทธมนต ๒. ใชในการประกอบพิธอี บรมสมโภช หรือพิธี พุทธาภิเษกพระพุทธรูปทีส่ รางใหม หรือในพิธปี ลุกเสก วัตถุมงคล เปนตน ๓. ใช ป ร ะ ก อ บ ก า ร นํ า ก ล า ว น มั ส ก า ร พระรัตนตรัย เวลาจะเริ่มบําเพ็ญภาวนาของอุบาสก อุบาสิกาในวันสมาทาน ถืออุโบสถศีล ๔. ใช ห ลั ง จากพระสงฆ ทํ า วั ต รสวดมนต ประจําวันแลว กอนจะบําเพ็ญสมาธิภาวนา พระสงฆ ผูเ ปนประธานจะโยงพาน ถือ ขัน ๕ โกฐาก ชูขน้ึ กลาวคํา นมัสการ

ลักษณะของขัน ๕ โกฐาก

ขัน ๕ โกฐาก ทําดวยวัสดุแตกตางกันตามความ นิยมของทองถิ่น เชนทําดวยเงิน ทําดวยทองเหลือง ทําดวยไมแกะสลัก ทําดวยหวาย เปนตน มีความสูง ประมาณ ๑๕ นิ้ว กวางประมาณ ๑๕-๒๐ นิ้ว เวลา จะนําดอกไมธูปเทียนใสลงบนพาน จะแบงออกเปน ๕ สวนเทาๆ กัน

ความหมายของ ๕ โกฐาก

คําวา “๕ โกฐาก” คือ ๕ สวน หรือ ๕ ชอง การนําดอกไมใสลงในพานโดยแบงออกเปน ๕ สวน มีความหมายของแตละสวน หรือแตละโกฐาก ดังนี้ ๑. โกฐากที่ ๑ คือสวน ที่ ๑ ไดแก ดอกไม กองที่ ๑ เพือ่ สักการบูชาพระพุทธเจา เรียกวาพุทธรัตน โกฐาก ๒. โกฐากที่ ๒ คือสวน ที่ ๒ ไดแก ดอกไม กองที่ ๒ เพื่อสักการบูชาพระธรรมอันเปนคําสอนของ พระพุทธเจา เรียกวา ธรรมรัตนโกฐาก ๓. โกฐากที่ ๓ คือสวน ที่ ๓ ไดแก ดอกไม กองที่ ๓ เพื่อสักการบูชาพระสงฆผูปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ เรียกวา สังฆรัตนโกฐาก ๔. โกฐากที่ ๔ คือสวน ที่ ๔ ไดแก ดอกไม

กองที่ ๔ เพื่อสักการบูชาบิดามารดา ครูอุปชฌาย เรียกวา ครุฎฐานิรัตนโกฐาก ๕. โกฐากที่ ๕ คือสวน ที่ ๕ ไดแก ดอกไม กองที่ ๕ เพือ่ สักการบูชาพระกัมมัฏฐาน เรียกวา กัมมัฏฐาน โกฐาก ในศาสนพิธี หรือพิธีกรรมทางศาสนาของชาว พุทธลานนา เมื่อมีการใชขัน ๕ โกฐาก จะมีคํากลาว บูชา ดังนี้ ปถมโกฐากเบื้องตนหัวที ขอบูชาพระสากยมุนีตนสักสวาด ทุติยโกฐากวิภาคถวนสอง ผูขาปูนปองใสเกลา ไหวพระโลกุตตรธรรมเจา ๙ ประการ ปริยัติธรรมโอฬารเลิศแลวใสบริสุทธิ์ ตติยโกฐากวิภาคอันถวนสาม ผูขาประณามสังฆชินบุตรตนประเสริฐ อันเกิดเปนอริยมรรค อริยผล อริยบุคคลตนวิเศษ จตุตถโกฐากถวนสี่ นอมเนตรวันทาบิดามารดา อาจาริยะผูส ง่ั สอน ปญจมโกฐากวิภาคถวนหา ผูขาขอนอมรับพระกัมมัฏฐาน สมาธิญาณ ดวงวิเศษ ดวยใจนอมหลิ่งวันทา

สรุปความวา ขัน คือพานที่ใชในศาสนพิธี หรือ พิธีกรรมทุกชนิด จัดเปนสื่อ หรือเครื่องมือการเรียนรู อยางหนึ่ง ซึ่งมีวัตถุประสงคเปนไปตามพิธีกรรมนั้นๆ ประโยชนทไี่ ดกค็ อื เปนสือ่ ทีจ่ งู ใจใหคนเขามารวมในพิธี เกิดฉันทะ และศรัทธาในใจ เมื่อรูความหมาย และ ความสําคัญของขัน คือพานดอกไมแตละชนิดแลวทําใหรู และเขาใจถึงวัฒนธรรมของทองถิ่นนั้นๆ ขัน ๕ โกฐาก จัดเปนสวนหนึ่งของวัฒนธรรม ของคนลานนาที่มีฐานเกิดมาจากคําสอนในพระพุทธ ศาสนา คือการเคารพสักการบูชาพระรัตนตรัย ซึ่ง ชาวพุทธถือวาพระรัตนตรัยเปนรัตนะคือแกววิเศษที่มี คุณคายิง่ ควรแกการเคารพนับถือ และทําการสักการะ บูชาตลอดกาล ฉบับที่ ๑๒ พฤษภาคม - สิงหาคม ๒๕๕๒


การสืบชะตา ผศ.จินตนา มัธยมบุรุษ กรรมการบริหารสภาวัฒนธรรมจังหวัดเชียงใหม

การสืบชะตา ถือเปนพิธีกรรมหนึ่งของลานนา ที่นิยมทําในโอกาสตางๆ เพื่อความเปนสิริมงคลแกผู สืบชะตา เปนการตอดวงชะตาใหยนื ยาวสืบไป รวมทัง้ ใหพน จากเคราะหภยั ทีจ่ ะกล้าํ กรายเขามาในชีวติ ใหมี พลานามัยสมบูรณแข็งแรง การสืบชะตามีหลายประเภท เชน สืบชะตาคน ทั้งคนเดียวหรือหมูคณะ ซึ่งตอมา จะเรี ย กว า เป น การสื บ ชะตาหลวง สื บ ชะตาบ า น (สงเคราะหบา น) สืบชะตาเมือง และสืบชะตาสัตวเลีย้ ง เชน ควาย มา ชาง เปนตน แตความหมายของการ สื บ ชะตาสั ต ว เ ลี้ ย งมี วั ต ถุ ป ระสงค อั น สํ า คั ญ คื อ ถือเปนการขอขมาสัตวเลี้ยง อันเนื่องจากการใชงาน ตลอดทัง้ ป อาจจะลวงล้าํ กล้าํ เกินดวยการทุบตี การสื บ ชะตา เป น การผสมผสานทั้ ง พุ ท ธ พราหมณ และฮินดู เครื่องประกอบพิธีจะเต็มไปดวย สัญลักษณท่ชี วยใหเราเขาถึงวิธีคิด วิธีเปรียบเทียบกับ คนในสังคมเปนอยางดี ในครั้งนี้จะขออนุญาตจําลอง ภาพการสืบชะตาเจาดวงเดือน ณ เชียงใหม ในวันที่ ๒๒ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๕๒ ซึง่ มีอายุครบ ๘๐ ป ในวันนัน้ ณ วัดสวนดอก พระอารามหลวง ดวย ๘

ฉบับที่ ๑๒ พฤษภาคม - สิงหาคม ๒๕๕๒


เครื่องสืบชะตา

เครือ่ งสืบชะตา เครือ่ งบูชาครู สะตวง ๙ หอง บูชา นพเคราะห บายศรีผูกขอมือ เปนฝมือของพระสงฆ วัดเชียงมั่น ซึ่งถือวาจัดไดครบถวน งดงาม เครือ่ งสืบชะตา สามารถแบงไดเปน ๔ ประเภท คือ ๑. ประเภททีใ่ ชแทนคนผูส บื ชะตา คือ ไมคา้ํ ใหญ ๓ เลม ไมค้ําเล็กจํานวนเทาอายุ +๑ ๒. ประเภทใชแทนรางกายคน ไดแก กระบอก ขาวสาร กระบอกน้ํา เทียน ตุงคาคิง สีสายคาคิง (ฝายสายสิญจน) ชอนอย ตุงไชย ๓. ประเภทใชสอย ไดแก บันได ๗ ขั้น ไมขัว (สะพาน) หมอน้าํ กระบวย เสือ่ หมอน หมาก พลู บุหรี่ เมี่ยง ๔. ประเภทใชเปนอาหาร ไดแก ตนกลาไมตางๆ เชน หนอกลวย หนอออย งอกมะพราว ตนหมาก ตนกุก สวนบายศรีนนั้ สําหรับใชในการฮองขวัญ บายศรี จึงเปนสิ่งทํารับขวัญใหมาชื่นชมดอกไม เปนการบํารุง จิตใจ

พระสงฆมหาเถรานุเถระ จํานวน ๑๙ รูป ทีน่ มิ นต มาเจริญพระพทธมนต ดร เจาดวงเดือน พระพุทธมนต ในงานสืบชะตา ดร.เจ ณ เชียงใหม ณ พระวิหารหลวง วัดสวนดอก พระอารามหลวง วั น ที่ ๒๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๒ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๑.๐๐ น. ๑. พระเทพวิสุทธิคุณ วัดบุพพาราม ๒. พระเทพสิทธาจารย วัดพระธาตุศรีจอมทองวรวิหาร ๓. พระเทพโกศล วัดศรีโสดา พระอารามหลวง ๔. พระเทพวรสิทธาจารย วัดพระธาตุดอยสุเทพ ราชวรวิหาร ๕. พระราชเจติยาจารย วัดเจดียหลวง วรวิหาร ๖. พระราชเขมากร วัดเจ็ดยอด พระอารามหลวง ๗. พระโพธิรังษี วัดดอยสะเก็ด ๘. พระสิงหวิชัย วัดพระสิงห วรมหาวิหาร ๙. พระครูอุปถัมภศาสนคุณ วัดปาแพง ๑๐. พระครูวิสุทธิสังฆการ วัดศรีดอนไชย ๑๑. พระครูปริยัติยานุศาสน วัดฝายหิน ๑๒. พระมหาเกษม เขมาภินนฺโท วัดทาสะตอย ๑๓. พระครูสุวัตถิ์ปญญาโสภิต วัดหัวขวง ๑๔. พระครูโฆสิตปริยัตยาภรณ วัดปาแดง ๑๕. พระครูพิพิธสุตาทร วัดสวนดอก พระอารามหลวง ๑๖. พระใบฎีกาสิทธิพันธ เตชธมฺโม วัดสวนดอก พระอารามหลวง ๑๗. พระชัยวรวงศ อิทฺธิมนฺโต วัดประทานพร ๑๘. พระมหาสมชาย ปภากโร วัดเชียงมั่น ๑๙. พระมหาสงา ธีรสํวโร วัดผาลาด เจ า พิ ธี ที่ ทํ า พิ ธี สื บ ชะตาให กั บ เจ า ดวงเดื อ น ณ เชียงใหม ในครั้งนี้ คือ ศาสตราจารยเกียรติคุณ ดร.มณี พยอมยงค ศิลปนแหงชาติ

ฉบับที่ ๑๒ พฤษภาคม - สิงหาคม ๒๕๕๒


พิธีสืบชะตา

ศาสตราจารย ดร.มณี พยอมยงค ศิลปนแหงชาติ ไดกลาวคําปดเคราะห อัชชะชัยโส อัชชะชัยโย อัชชะในวันนีก้ ม็ าเปนวันดี ศรีใสบเศรา กอนจะเรียกเอาขวัญ แหงพระลูกแกวเจา ว า มาๆ บั ด นี้ ก็ เ ถิ ง กาละเวลาอั น เหมาะผู ข า ขอป ด เคราะหราย ตังหลาย หื้อ ออกจากกายแหงเจา บวา เคราะหปเดือนวันยามนั้นเลา จุงตกออกจากกายาเจา ไปเสียเมื่อยามวัน บวาเคราะหปเดือนวันยามรายกาจ เคราะห ป าทะราชะดิ น จร เคราะห เ มื่ อ นั่ ง เมื่ อ นอน เหนื่อย เคราะหอันเมื่อยไขปวยกายา เคราะหนานา อุบาทว เคราะหนพฆาดตัวจน เคราะหลมฝนปวเปา เคราะห ใ หม เ ก า เมิ น นาน เคราะห เ มื่ อ คื น บ หั น เคราะห เ มื่ อ วั น บ ฮู อย า ได ม าซุ ก มู บ มู อ ยู ใ นต น ตังเคราะหกงั วลรอนไหม ขาจักไดไลดไี ป สัพพะเคราะห สัพพะภัย เคราะหปายในหือ้ ถอนออก เคราะหปายนอก หื้อถอยหนี เคราะหราวีแกนกลา เคราะหตางหลัง อยามาถา เคราะหปายหนาอยามาติด เคราะหปาผิด หื้อเปนโทษ เคราะหรายโฉดฉกรรจ เคราะหหลายอัน หลายสิง่ จุง ดับมวยมิง่ หนี เคราะหตางเหนืออยามาปก เคราะหวันตกอยามาหยอก เคราะหวันออกอยาใกล เคราะหตางใตจุงหลีกหนีไกล หื้อตกไปตามเสนไหม หื้ อ ไหลไปตามเส น ฝ า ย จุ ง ยกย า งย า ยไปสู เ มื อ งผี ผูขาจักดาเคราะหหื้อหนี จักตี่เคราะหหื้อแลน ดวย ทิ พ พะมนต แ ก ว แก น อาคมของศรี โ คดมต น วิ เ ศษ อันพระพุทธเจาเทศนเปนกถาวา สัพพะทุกขา สัพพะภะยา สัพพะโรคา วินาสันตุ ฯ ๑๐

ฉบับที่ ๑๒ พฤษภาคม - สิงหาคม ๒๕๕๒

มั ง คละเสฏโฐ มั ง คละจั ย โย มั ง คละสั ม ภู โ ต อัชชะจัยโย อัชชะในวันนีก้ ห็ ากเปนวันดี เปนวันศรีลาํ้ เลิศ เปนวันมังคะละอันประเสริฐมีมา แมนวาโหราจารยเจา ตังหลาย ทานก็มาชวย กั๋นลง ฟาตี๋แสงเรียบเรียงไว ก็นับวาไดเศษ ๔-๕-๖-๒ ไลยามกองเขาใสก็ซ้ําวาได วันดี ๑๒ ราศรี ก็มาตั้งอยูฤกษ เปนวันอุตตะมะพฤกษ อันใหม อาทิตย จันทร ใสไลตวยมา ในวันนีน้ าก็ซาํ้ มาเปน วันมหาลาภาจัยเรืองโรจน เปนวันอุตตะมะโชติรงุ เรืองไร เปนวันปจัยยามปอด เปนจันทรรอดจากภัยยา ปนจาก โรคาพยาธิ์ เปยธิอุบาทวก็มาคลายหนีไกล วันเปงก็มา หมดใส วันไตก็มาหมดปอด วันนีเ้ ปนยอดแหงพญาวัน กอนตี่ผูขาจักขอเจิญขวัญ ดร.เจาดวงเดือน ณ เชียงใหม ผูขาก็จักขอกลาวจี้เถิงการเรียกขวัญแกทาน อันวาขวัญ นีน้ ามนุษยเกิดมาก็ยอ มมีทง้ั ความดี ความตุก ความโศก เปนไปตามโลกแหงวงเวียนกรรม แลวแตการกระทําของ ทานแตละผู บัดนี้ขอหื้อทาน จุงไดมีโจคมีไจย บัดนี้ ฝูง หมูทานตังหลายก็ไดตกแตงมายังบุปผาลาจา ดวงดอก พรอมกับดวยบายศรีอันใสบเศรา ไดมาเอาดอกนานา ตั ง ดอกเก็ จ เก า และเก็ ด ตะหวา พร อ มด ว ยดอก นานาหลายหลาก เอามาใส ขั น บายศรี ตกแต ง ดี ตังของกิ๋นนานา หลายหลาก มีจิ้นลาบ ของคาวหวาน มีตังหมาก เมี่ยง มูลี ของกิ๋นดีๆ มีมาก เอามาเจิญ เอาขวัญมารับลาภลาภา เพื่อจักเจิญเอาขวัญของเจา มาพร อ มเลี้ ย ง มาเสวยหมากเมี่ ย งและของนานา บัดนี้จักขอเรียกเอาขวัญเกศาแหงทานเจา ขวัญนั้นเลา สามสิบสองขวัญ เจาจุง รีบเร็วมา นับตัง้ แตวนั นีไ้ ปแลวนา ขอหื้อทานเจา จุงประกอบไปดวย โจคป โจคเดือน โจควัน โจคยาม แมจะอยูก็ขอหื้อมีไจย ครั้นทานไป ก็ขอหือ้ มีโจค หือ้ พนจากความทุกขโศกนานา นับตัง้ แต วันนี้ไปแลว ขอหื้อทานเจาจุงไดคลาดแคลวจากภัยยะ กังวลอนตราย และจุง ประกอบไปดวยโจคนานา ไหลมา หาทานเจา ตั้งแตบัดนี้ไปแลวเลา จุงหื้อไดอยูเจริญดี ชัยยะตุภะวัง ชัยยะมังคะลัง


เมื่อพระสงฆมาครบองคแลว ผูสืบชะตา และแขกเหรื่อที่มา ไหวพระรับศีล และรับพรกัน แลวจึงเริ่มพิธีสืบชะตา ในระหวางที่ จะทําพิธีสืบชะตา ผูจะสืบชะตานั่งอยูในทามกลางเครื่องบูชา ผูจะสืบชะตาประเคนขันครูแกพระสงฆผูเปนประธานแลว เอาดายสายสิญจนพันรอบศีรษะตน คนละ ๓ รอบ ปลายหนึ่ง อยูที่ฐานพระพุทธรูปพาดผานรอบโขงชะตาแลวจึงวกเขามาใชพัน ศีรษะ พระสงฆจะเอาอีกปลายหนึ่งของดายสายสิญจนพาดไปให พระสงฆทุกรูปถือไว แลวจึงเอามารวมกันอีกปลายหนึ่งที่ฐาน พระพุทธรูป ตอจากนั้น ศาสตราจารย ดร.มณี พยอมยงค ผูเปนเจาพิธี กลาวคําอาราธนาพระปริตรแลวพระสงฆรูปที่ ๓ จะกลาวชุมนุม เทวดา (สัคเค กาเม) การสวดชุมนุมเทวดานี้ไมมีในพระไตรปฎก มากอนเปนของเพิ่มเติมภายหลัง แสดงใหเห็นวาพิธีสืบชะตา เปนพิธีที่รวมเอาความเชื่อในลัทธิ และศาสนาหลายอยางเขามา ไวดวยกัน ขณะที่พระสงฆสวด อาจารยวัดจะนําเอา ดายชุบน้ํามัน และเทียนคาคิงออกไป จุดไฟ และจุดเทียนเล็กในถาดทีเ่ ตรียม ไวดวย บทสวดที่ ใ ช ใ นพิ ธี สื บ ชะตา จะใชบทสวดอินตะชาตา (สวดเทวชาตา) สวดอุณหิสสะวิชัยและสวด สักกัตฺวา การเจริ ญ พุ ท ธมนต แ ละจุ ด เที ย น ๓ เลม คือ เทียนสืบชะตา เทียนมหาโชค และเทียนมหาลาภ เมื่อเสร็จพิธี ก็ จ ะใช ด า ยสายสิ ญ จน ผู ก ข อ มื อ เจาดวงเดือน ณ เชียงใหม พระครู อุ ป ถั ม ภ ศ าสนคุ ณ เทศน ธ รรม สารากริวิชานสูตร หลังจากพิธสี บื ชะตาเจาดวงเดือน ณ เชียงใหม ประเคนเครื่องไทยทาน พระสงฆ อนุ โ มทนา เป น เสร็ จ พิ ธี สื บ ชะตา ในเวลา ๑๑.๐๐ น. ฉบับที่ ๑๒ พฤษภาคม - สิงหาคม ๒๕๕๒

๑๑


เจดียว์ ัดดงคํา หมูที่ ๑ ตําบลแมยวม อําเภอแมสะเรียง จังหวัดแมฮองสอน

มนัส จันทรกุญชร

ผูอํานวยการโรงเรียนบานน้ําดิบ อ.แมสะเรียง จ.แมฮองสอน

เจดียองคที่ตั้งตระหงานอยูในโรงเรียนชุมชนบานน้ําดิบแหงนี้ เปนปริศนาทีอ่ ยูใ นใจของบุคคลทัว่ ไป และถูกถามเสมอถึงความเปนมา ดวยความสงสัยในประวัติขององคเจดียที่ตั้งอยูมาอยางยาวนาน หลายชั่วคน จึงเปนคําถามที่นําไปสูการคนควาเพื่อใหไดคําตอบ เปาหมายในการไขความกระจางจึงมุงไปที่ผูสูงอายุในหมูบาน จุ ด หมายแรกของการสื บ ค น คํ า ตอบที่ ไ ด รั บ นั้ น เป น ข อ มู ล เดียวกันวา “ตั้งแตจําความไดก็เห็นเจดียองคนี้แลว แมกระทั่ง ปู ยา ตา ยาย ก็ใหคําตอบเชนเดียวกัน” ฉะนั้นการที่จะให ระบุแนชัดถึงประวัติของเจดียหรือพระธาตุที่ตั้งอยูนี้นั้น ไมสามารถกระทําไดดว ยการสัมภาษณและคําบอกเลา ดวยขอจํากัดของคนรุนปจจุบัน

๑๒

ฉบับที่ ๑๒ พฤษภาคม - สิงหาคม ๒๕๕๒


ขอสันนิษฐานที่มีความเปนไปไดสูงมาจากการ พิจารณารูปทรงขององคเจดียซ งึ่ เปนทรงระฆัง และเปน ศิลปกรรมในสมัยลานนา จึงเกี่ยวเนื่องถึงเมืองยวมใต และพระเจาติโลกราช ผลของการสืบคนจากเอกสาร ตามแหลงตางๆ มีขอมูลที่บันทึกไวเกี่ยวของนอยมาก โดยลําดับการณนับเนื่องจากสมัยอาณาจักรลานนา ครัง้ พระเจาติโลกราชยังไมไดทรงครองแผนดิน มีนามวา “ทาวลก” ดังนั้นจึงขอเสนอประวัติความเปนมาของ อําเภอแมสะเรียงและพระราชประวัติของพระเจาติโลก ราช เพื่อใชเปนวิจารณญาณในการวินิจฉัยถึงที่มาของ องคเจดีย แมสะเรียงมีชอื่ ในประวัตศิ าสตรวา “เมืองยวม ใตหรือเมืองยวม” เคยเปนทีต่ งั้ ของชุมชนมาประมาณ ๕๒๐ ปเศษ พระเจาติโลกราชหรือดิลกมหาราชกษัตริย อันดับที่ ๑๐ แหงราชวงศมงั ราย แตครัง้ ครองเมืองพราว ตอมาตองพระอาญาของพระเจาสามฝง แกนพระราชบิดา ใหเนรเทศมาครองเมืองยวมนี้ชั่วระยะหนึ่ง (สงวน โชติสุขรัตน. คนดีเมืองเหนือ) ตามพงศาวดารหรือ ตํานานพืน้ เมืองฉบับของอาจารยไกรศรี นิมมานเหมินทร กลาวไวตอนหนึง่ วา ครัง้ เมือ่ เยาวววยั พระเจาติโลกราช มีพระสหายชื่อหมื่นด้ําพราคต ซึ่งเปนคนเมืองยวม เคยตรัสแกหมื่นด้ําพราคตไววา “หากกูเปนใหญ กู จั ก ตั้ ง มึ ง ให เ ป น เสนา” และเมื่ อ พระองค เ สวย ราชสมบัติครองเมืองเชียงใหม ก็ทรงแตงตั้งใหหมื่น ด้ําพราคตเปนเสนาบดีสมดั่งที่ตรัสไว หมืน่ ด้าํ พราคตมีความเกีย่ วของอยางไรกับเจดีย องคนี้ จากหนังสือพงศาวดารโยนก พระยาประชา กิจกรจักร (แชม บุนนาค) หนา ๓๔๗ และหนังสือ ตํานานพื้นเมือง ๖ เชียงใหม ฉบับเชียงใหม ๗๐๐ ป ตลอดทั้งหนังสือตํานานพื้นเมืองเชียงใหม ประชุม ตํานานลานนาไทย ๑-๒ หนังสือคนดีเมืองหเนือ โดย สงวน โชติสุขรัตน กลาวกันวาจุลศักราช ๘๔๔ ปขาล จั ต วาศก (พ.ศ.๒๐๒๕) หมื่ น ด้ํ า พร า คตหรื อ สหะ เสนาบดีผูเปนนายชางใหญปวยถึงอนิจกรรม โปรดให ทําฌาปนกิจ ณ เมืองยวมใต แลวกอเจดียบรรจุอัฐิธาตุ ไวที่นี่

หมื่นด้ําพราคตผูนี้ปรากฏในตํานานตางๆ กัน ดังนี้ ตํานานโยนกเรียกวา หมื่นด้ําพราคต ชินกาล มาลินีปกรณวา สีหโคตรเสนบดี ตํานานพระธาตุ วัดเจดียหลวงวา หมื่นด้ําสีหโคตรตํานานพื้นเมือง เชียงใหมวา หมื่นด้ําพราคต ทานผูนี้เปนนายชางเอก ทีพ่ ระเจาติโลกราชโปรดใหเปนนายชางเอกอํานวยการ บูรณเจดียองคใหญกลางเวียงเชียงใหม คือเจดียหลวง หรือมีชื่อเรียกอีกอยางหนึ่งวา โชติการาม ซึ่งเปนงาน ชิ้นสําคัญที่ทานผูนี้ไดฝากไวในโลก จนปรากฏอยูจน ทุกวันนี้ หมื่นด้ําพราคต เปนบุคคลสําคัญคนหนึ่งที่มี สวนชวยเหลือพระเจาติโลกราช ในการสรางความเปน ปกแผนทางพุทธศาสนาใหแกลา นนาไทย เชนเดียวกับ หมื่นโลกสามลาน หรือดงนคร ซึ่งเปนบุคคลสําคัญ ในดานขุมกําลังทหารและการปกครอง หมืน่ ด้าํ พราคต เคยไปลั ง กา เพื่ อ จํ า ลองแบบอย า งโลหะปราสาท และรัตนเจดีย ณ เมืองลังกาทวีปโพนมา แลวใหหมื่น ด้ําพราคตเปนผูอํานวยการปฏิสังขรณกุฏิมหาธาตุ หรือเจดียลักษรบุราคม (เจดียหลวง เชียงใหม) ปที่ หมื่นด้ําพราคตเดินทางไปยังเมืองลังกาทวีปนี้ คือ ฉบับที่ ๑๒ พฤษภาคม - สิงหาคม ๒๕๕๒

๑๓


พ.ศ.๒๐๒๐ (ดูหนังสือตํานาน าน โยนก ของพระยาประชากิกิจ กรจั ก ร - แช ม บุ น นาค) ค) ฉบับพิมพ พ.ศ.๒๔๖๙ หนา ๒๔๓ – ๒๔๔) น อ ก จ า ก จ ะ เ ป น ผู อํ า นวยการปฏิ สั ง ขรณ พระมหาธาตุ เจดี ย ห ลวง ห มื่ น ด้ํ า พ ร า ค ต ยั ง ไ ด ทํ า การหล อ พระพุ ท ธรู ป ทองสั ม ฤทธิ์ อ งค ใ หญ หนักประมาณ ๓๓ แสน ใ ห มี ลั ก ษ ณ ะ เ ห มื อ น พระพุทธรูปแบบลวปุระ (คือพระเจาแคงคม วัดศรี​ีเกิด ปจจุบนั ) พระเจาติโลกราชทรงโปรดใหหมืนด้าํ พราคต หรือสีหโคตรเสนา กับอาณากิจจาธิบดีมหาอํามาตย (คือหมื่นด้ําพราอาย) เปนผูทําการหลอที่วัดปาตาล มหาวิ ห าร ทางทิ ศ ตะวั น ตกเฉี ย งใต เ มื อ งเชี ย งใหม (วาคือวัดตโปทารามหรือวัดร่ําเปงปจจุบัน) บางทาน ก็ ว า ป า ตาลนั้ น เป น วั ด ร า งอยู ท างด า นใต โรงเรี ย น วัฒโนทัยพายัพปจจุบัน จากผลงานชิ้นสําคัญ ๒ ชิ้นนี้ แสดงวาหมื่น ๑๔

ฉบับที่ ๑๒ พฤษภาคม - สิงหาคม ๒๕๕๒

ด้าํ พราคตหรือสีหโคตรเสนาบดีทา นนี้ เป น ทั้ ง นายช า งสถาปนิ ก และ นั ก ประติ ม ากรรมลื อ ชื่ อ ไม แ ต ในอดีตสมัยเทานัน้ แมในปจจุบนั นี้ ก็ ย ากที่ จ ะหานายช า งและนั ก ประติ ม ากรรมที่ ส ร า งผลงานไว เทียมทานได ดังนัน้ หมืน่ ด้าํ พราคต จึ ง เ ป น ผู ค ว ร แ ก ก า ร ย ก ย อ ง สรรเสริญผูหนึ่ง เฉพาะอยางยิ่ง หมื่นด้ําพราคตทานนี้ เปนชาว เมื เมองยว อ งยวม และเมื่ อ ท า นถึ ง แก อนิจกรรมไปแลว อัฐิของ ทท า นก็ ไ ด บ รรจุ ไว ใ นกู ที่ เ องยวมใต ซึง่ อาจจะเปน เมื เ ยรางแหงใดแหงหนึ่ง เจดี ใ เ วณเมื อ งยวมใต ในบริ นี้ เ อง ท า นถึ ง อนิ จ กรรม เมื่อป พ.ศ.๒๐๒๕ ปรากฏ ใ น ตํ า น า น โ ย น ก ว า “ลุ ศั ก ราช ๘๔๔ ป ข าล จัตวาศก ว หมืน่ ด้าํ พราคตหรือ สีหเสนาบดี เ ผูเ ปนนายชางใหญ ปวยถึ ย งอนิจกรรม โปรดใหทาํ ฌาปนกิ ฌาป จ ณ เมื อ งยวมใต ให ก อ เจดี ย บ รรจุ อั ฐิ ไ ว ณ ที่นั้น” ผู เรี​ี ย บเรี ย งเข า ใจว า เจดี ย องคนี้เปนที่บรรจุอัฐิ ธาตุ ข องหมื่ น ด้ํ า พร า คตด ว ย หลักฐานทางประวัติศาสตรในการครองเมืองยวมใต ของพระเจาติโลกราชและหมื่นดําพราคต รวมทั้งการ ตรวจสอบรูปทรงขององคเจดียแ ลว จึงยิง่ มีความเชือ่ มัน่ เปนอยางมาก และแมทานจะลวงลับไปแลวเปนเวลา ๕๒๗ ปมาแลวก็ตาม แตผลงานของทานยังคงปรากฏ แกสายตาของชนรุน หลังจนกระทัง่ ทุกวันนี้ และจะคงอยู ตอไป จนชั่วลูกชั่วหลานชั่วกาลนาน และดวงวิญญาณ ของท า นแม น จะสิ ง สถิ ต อยู แ ห ง ใดก็ ค งจะชื่ น ชมกั บ


ผลงานของทาน ศึง่ ยังคงอยูต ราบเทาทุกวันนีแ้ ละตลอดไป ชั่วกาลปาวสาน สําหรับประวัติของพระเจดียเกาแก ที่ประดิษฐานอยูในโรงเรียนชุมชนบานน้ําดิบ ผูเรียบ เรียงไดไปสอบถามจากพอหนานหลา จอมใจ ซึ่งเคย เปนมัคนายกวัดน้ําดิบ แลวมีความสอดคลองกันกับ ประวัติพระเจาติโลกราช พอหนานหลาเลาวาพระเจา ติโลกราชตองอาญาถูกเนรเทศมาอยูเ มืองยวมใต เขาใจ วาพระเจาติโลกราชคงจะใหกอเจดียบรรจุอัฐิของหมื่น ด้ําพราคตไว เพราะเทาที่สังเกตดูในอําเภอแมสะเรียง ทั่ ว ทุ ก สารทิ ศ ไม ป รากฏว า มี เจดี ย ร า งเก า แก อ ยู เ ลย มี แ ห ง เดี ย วที่ ป ระดิ ษ ฐานอยู ใ นโรงเรี ย นชุ ม ชนบ า น น้ําดิบเทานั้น โรงเรียนชุมชนบานน้ําดิบแตเดิมเปนวัด ทีม่ ชี อ่ื วาวัดคํา บางทานเรียกวัดคํารองไผแจ หลักฐานกุฏแิ ละพระวิหารไมปรากฏใหเห็น นอกจากกําแพงวัดเทานั้น สวนองคเจดีย กรมศิลปากรไดทาํ การบูรณะ เมือ่ วันที่ ๑๕ เดือนกันยายน ถึงเดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ แล ว เสร็ จ ในส ว นขององค เจดี ย เทานัน้ ในสวนของกําแพงแกวและบริเวณ รอบนอกยั ง คงรองบประมาณสํ า หรั บ ทําการบูรณะตอไป เจดียองคนี้เปนของ คู บ า นคู เ มื อ งเป น ที่ เ คารพสั ก การะ ของชุมชนบานน้ําดิบ และบริเวณใกล เคียงตลอดมา จากหลักฐานและเหตุการณตาง ที่ไดนําเสนอมาแลวนั้น เปนการคนควา เพื่อใหไดขอมูลอันเปนประโยชน ในอัน ที่ ใ ช สํ า หรั บ สั น นิ ษ ฐานถึ ง ที่ ม าของ องค เจดี ย ซึ่ ง มี อ ยู แ ห ง เดี ย วในจั ง หวั ด แมฮองสอน เรื่องตางๆ ที่ไดจากการ สื บ ค น อาจกล า วได ว า เป น ที่ บ รรจุ อั ฐิ ของหมื่นด้ําพราคต นายชางเอกแหง อาณาจักรลานนา ซึง่ อยูท วี่ จิ ารณาญาณ ข อ ง แ ต ล ะ บุ ค ค ล จ ะ มี ค ว า ม เ ห็ น เปนเชนไร

ที่มา : ตํานานโยนก ของพระยาประชากิจกรจักร (แช ม บุนนาค) ฉบับพิมพ พ.ศ.๒๔๖๙ หนา ๒๔๓-๒๔๔) หนังสือพงศาวดาร โยนก ไทยพระยาประชา กิจกรจั กรี (แชม บุนนาค) หนา ๓๔๗ หนังสือตํานานพื้นเมือง ๖ เชียงใหม ฉบับเชียงใหม ๗๐๐ ป หนังสือตํานานพื้นเมืองเชียงใหม ประชุมตํานานลานนาไทย ๑-๒ หนังสือคนดีเมืองเหน ือ โดยสงาน โชติสุขรัตน นาย หล า จอม ใจ หมู ที่ ๑ บ า นน้ํ า ดิ บ อ.แม ส ะเรี ยง จ.เชียงใหม ตํานานพื้นเมืองฉบับของอาจารยไกรศรี นิมมานเหมินทร ผูเรียบเรียง นายมนัส จันทรกุญชร ผูอํานวยการโรงเรียนบานน้ําดิบ อ.แมสะเรียง จ.แมฮองสอน

ฉบับที่ ๑๒ พฤษภาคม - สิงหาคม ๒๕๕๒

๑๕


การบรรพชาอุปสมบทอุทกุกเฺ ขปสีมา เฉลิมฉลอง ๖๐๐ ปี ชาตกาลพระเจาติโลกราช จรีย สุนทรสิงห

กรรมการบริหารสภาวัฒนธรรมจังหวัดเชียงใหม

อาณาจักรลานนา ทีเ่ คยยิง่ ใหญไพศาล ในอดีต มั่งคั่งร่ํารวยดวยทรัพยากร....ดอยใหญ....ไพรกวาง.... ทองทุง ตระการ...แมนาํ้ ลําธารสดใส....บานเมืองนอยใหญ มีความเจริญสูงสุด จะอยูใ นรัชสมัยของ พระเจาติโลกราช (พ.ศ.๑๙๘๕ - ๒๐๓๐) นับเปน ยุคทองของลานนา พระเจาติโลกราช กษัตริยอ งคท่ี ๑๐ แหงราชวงศ มังราย เปนโอรสองคที่ ๖ ในจํานวนโอรส ๑๐ พระองค ของพระญาสามฝ ง แกน ประสู ติ เ มื่ อ พ.ศ.๑๙๕๒ (จ.ศ.๗๗๑) เมื่อพระชนมายุได ๓๓ ชันษา พ.ศ.๑๙๘๕ (จ.ศ.๘๐๔)เสนาอํามาตยทั้งหลายก็อภิเษกใหเสวย ราชสมบั ติ ใ นเมื อ งเชี ย งใหม พระเจ า ติ โ ลกราช สิ้ น พระชนม เ มื่ อ พ.ศ. ๒๐๓๐ (จ.ศ.๘๔๙) เสวย ราชสมบัติได ๔๕ ป รวมสิริพระชนมายุได ๗๘ ชันษา แม เ กื อ บตลอดเวลา ๔๕ ป ในรั ช สมั ย ของ พระองค จ ะเจอกั บ ศึ ก สงคราม ทั้ ง ศึ ก ด า นตะวั น ตก ตะวันออก ศึกเหนือ ศึกใต รวมทัง้ ศึกภายใน ภายนอก ก็ตาม พระองคทรงมีพระปรีชาสามารถ ในการสงคราม สามารถสรางความมัน่ คงในเขตลานนา สรางความเขมแข็ง ในอาณาจั ก รแล ว ขยายอํ า นาจยึ ด เอาหั ว เมื อ ต า งๆ มากมาย ในสมั ย พระเจ า ติ โ ลกราช พระพุ ท ธศาสนา มี ค วามเจริ ญ รุ ง เรื อ งยิ่ ง พระองค ท รงเลื่ อ มใส ๑๖

ฉบับที่ ๑๒ พฤษภาคม - สิงหาคม ๒๕๕๒

ภาพจากพิพิธภัณฑติโลกราช ม วัดอินทขีล (สะดือเมือง) อ.เมืองเชียงให

และทํานุบํารุงพระพุทธศาสนา ทรงผนวชชั่วคราว ณ วัดปาแดงมหาวิหาร ทรงสรางวัดหลายวัด อาทิ วัดราชมณเฑียร วัดปาตาล วัดมหาโพธาราม (วั ด เจ็ ด ยอด พระอารามหลวง) วั ด ป า แดง มหาวิหาร ทรงสรางวิหารวัดเจดียหลวง ปฏิสังขรณ พระเจดียหลวง เมื่อ พ.ศ.๒๐๒๒ และเกิดแผนดินไหว ในสมั ย พระนางจิ ร ประภาเมื่ อ พ.ศ.๒๐๘๘ ทํ า ให ยอดเจดียหักพังลงมา ดังที่เห็นในปจจุบัน

พระเจดียหลวง วัดเจดียหลวงวรวิหาร

ทรงหล อ พระพุ ท ธรู ป สํ า คั ญ หลายองค อาทิ พระเจ า แข ง คม ที่ วั ด ป า ตาล ป จ จุ บั น อั ญ เชิ ญ มา ประดิ ษ ฐานเป น พระประธานในวิ ห ารวั ด ศรี เ กิ ด


อําเภอเมืองเชียงใหม พระเจาทองทิพย หลอดวย ทองคําผสมทองแดง มีสใี สสุกปลัง่ ขนาดหนาตัก ๑๔.๕ นิ้ว เปนที่ระลึกในการทําสังคายนาพระไตรปฎกเมื่อ พ.ศ.๒๐๒๐ ที่วัดมหาโพธาราม(เจ็ดยอด พระอาราม หลวง) ปจจุบนั นีพ้ ระเจาทองทิพยประดิษฐานทีว่ ดั พระ สิงห วรมหาวิหาร เชียงใหม

เปนวิธีบวชที่พระพุทธเจาทรงอนุญาตใหพพระสาวก ระสาวกก บวชกุลบุตรเมื่อครั้งตนพุทธกาล ซึ่งใชเปนวิธธี​ีบรรพชา รรพชชา สามเณรมาจนถึงปจจุบันและ ญัตติจตุตถกักัมมอุ มออุป สัมปทา เปนวิธีอุปสมบททามกลางหมูสงฆทที​ี่ครบองค รบอองค กําหนด ในเขตที่ ชุมนุมสงฆที่เรียกวา สีมา อยางใน งใน ปจจุบันนี้ สี ม า พระญาณกิ ต ติ เ ถระ ได ร จนาไว นาไว ใ น สังกรวินิจฉัย พระวินัยปฎกวา “สีมาเปนเขตแดน ขตแดน ที่ศักดิ์สิทธิ์และสําคัญที่สุดของพระสงฆฆ คูกับ พระอุโบสถ ใชเปนที่ทําสังฆกรรม”

ชนิดของสีมา

๑.พัทธสีมา คือเขตแดนที่สงฆกําหนดขึ้นเอง ตัง้ อยูบ นแผนดิน ใชสงิ่ ตางๆ เปนนิมติ หรือเครือ่ ง หมาย เชน ตนไม ภูเขา แมน้ํา จอมปลวก ศิลา(หิน) เปนตน สวนมากใชศลิ าทําเปนแทงกลมหรือแปดเหลีย่ ม เพราะ มัน่ คงกวาอยางอืน่ เชน สีมาของวัดเจ็ดยอด วัดพระสิงห พระเจาแขงคม พระเจาทองทิพย เปนตน แตในปจจุบันนิยมหลอดวยคอนกรีต เชน สีมาของวัดศรีโสดา สีมาวัดดับภัย อ.เมืองเชียงใหม ทีก่ ลาวมาเปนเพียงสวนหนึง่ ทีพ่ ระองคมพี ระราช สําหรับนิมติ ทีเ่ ปนลูกกลม และการตัดลูกนิมติ เพิง่ ไดรบั ศรัทธา อุปถัมภค้ําจุนพระพุทธศาสนา ตลอดพระสงฆ อิทธิพลจาก ภาคกลาง องคเจาใหไดรับการศึกษา เปนการ สืบอายุ จรรโลง พระศาสนาใหยืนยาวมาถึงปจจุบัน ในวาระทีป่ ระสูตกิ าลของพระเจาติโลกราช ครบ ๖๐๐ ป ในป พ.ศ.๒๕๕๒ นี้ คณะสงฆ จั ง หวั ด เชี ย งใหม ร ว มกั บ จั ง หวั ด เชี ย งใหม องคการบริหารสวนจังหวัดเชียงใหมเทศบาล นครเชียงใหม สภาวัฒนธรรมจังหวัด เชียงใหม สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดเชียงใหมและหนวย งานที่ เ กี่ ย วข อ ง พร อ มทั้ ง ศรั ท ธาประชาชน ทุ ก หมู เ หล า ได จั ด บรรพชาอุ ป สมบท บนสี ม า สีมาวัดเจ็ดยอด สีมาวัดพระสิงห กลางน้ํา ที่เรียกวา อุทกสีมา หรือ อุทกุกฺเขปสีมา เป น การฟ น ฟู ป ระวั ติ ศ าสตร แ ห ง กษั ต ริ ย ล า นนา เพื่อใหพระภิกษุสามเณร ศรัทธาประชาชน นักเรียน นิสติ นักศึกษา รําลึกถึงพระราชกรณียกิจและสํานึกใน พระมหากรุณา ธิคุณของบูรพกษัตริย ขอยอนกลาวถึงการอุปสมบทกุลบุตร เพือ่ ใหเปน พระภิ ก ษุ ใ นพระพุ ท ธศาสนานั้ น มี ๓ วิ ธี ด ว ยกั น คื อ เอหิ ภิ ก ขุ อุป สั ม ปทา พระพุ ท ธเจ า อุ ป สมบท ดวยพระองคเอง โดยตรัสวา “ทานจงเปนภิกษุมาเถิด” สีมาวัดศรีโสดา สีมาวัดดับภัย ติสรณคมนูปสัมปทา อุปสมบทดวยไตรสรณคมน ฉบับที่ ๑๒ พฤษภาคม - สิงหาคม ๒๕๕๒

๑๗


อยางไรก็ดีการกําหนดเขตสีมานั้น ตองใหอยู รอบอุ โ บสถที่ ส ร า งขึ้ น ภายในเขตวิ สุ ง คามสี ม า (วิสงุ คามสีมา คือ อาณาเขตภายในวัดทีพ่ ระเจาแผนดิน ประกาศพระราชทานใหแกสงฆ) เชน วัดฝายหิน อ.เมืองเชียงใหม ไดรับพระราชทานวิสุงคาม สี ม า เมื่ อ วั น ที่ ๑๑ พฤศจิ ก ายน พ.ศ.๒๕๒๐ กวาง ๒๐ เมตร ยาว ๔๐ เมตร ผูกพัทธสีมา วันที่ ๑๕ เมษายน พ.ศ.๒๕๓๐ ๒.อพัทธสีมา ไดแกเขตชุมนุมสงฆที่สงฆไมได กําหนดขึ้นเอง แตถือเอาตามเขตที่เขากําหนด ไวตาม ปรกติของบานเมือง อาจจะเปน เขตบาน แมน้ํา นิคม สําหรับ อุทกุกฺเขปสีมา ก็ถือวาเปนอพัทธสีมา

โบสถวัดปาแดงมหาวิหาร พระเจาติโลกราชโปรดเกลาใหสรางขึน้ ทับบริเวณทีก่ ระทําการฌาปนกิจศพของพระราชบิดาและพระราช มารดาแลวนําอัฐิไปบรรจุไว ณ มณฑปที่สรางหางออกไป เล็กนอย

อุทกุกฺเขปสีมา

อุทกุกเฺ ขปสีมา หรือ อุทกสีมา เปนอพัทธสีมา ที่กําหนดเขตขึ้นในน้ํา แบงตามชนิดของน้ํา ที่กําหนด เปนสีมา ได ๓ อยาง ๑.นทีสมี า คือเขตแดนทีส่ งฆกาํ หนดบน แมนา้ํ เชน แมนา้ํ ปง กลาวคือแมนา้ํ นัน้ จะตองมีนา้ํ ไหลผานได ตลอดเวลา ไมมีตัน ไมขาดแหงในฤดูฝน ๒.สมุทรสีมา คือเขตแดนในทะเลมหาสมุทร พระอุโบสถวัดเจ็ดยอด พระอารามหลวง อ.เมืองเชียงใหม การกําหนดเขตเริ่มตนของสีมา ใหกําหนดชายฝงที่ มี แ นว กํ า แพงที่ เ ป น เขตวิ สุ ง คามสี ม า ล อ มพระอุ โ บสถ น้ํางวดสุด หรือตามภาษาราชการวา “น้ําลงเต็มที่” แทงนิมติ ทําดวยศิลารอบพระอุโบสถ ฝงอยูภ ายในแนวกําหนด ๓.ชาตสระสีมา ตองเปนสระที่ผูหนึ่งผูใดมิได เขตวิสุงคามสีมาที่ไดรับพระราชทาน ขุดทําไว เปนสระที่เกิดขึ้นเอง เต็มไปดวยน้ําที่มาได รอบดาน มีน้ําพอใชในฤดูฝนอยูเสมอ

ขนาดของสีมา

มี พ ระพุ ท ธานุ ญ าตให กํ า หนดขนาดสี ม า ตามความจําเปน ไมใหเล็กหรือใหญเกินไป ขนาด เล็กสุดใหพระสงฆเขานั่งหัตถบาส (นั่งตรงยื่นแขน ออกไปจับตัวของอีกคนหนึ่งได) ไดไมต่ํากวา ๒๑ รูป เพราะสังฆกรรมบางอยาง เชน อัพภาน คือพระสงฆ สวดระงับอาบัติ รับภิกษุผูตองอาบัติสังฆาทิเสส ที่ได ทําโทษตนเองแลวกลับคืนเปนผูบริสุทธิ์ ตองใชสงฆ จํานวน ๒๐ รูป กับผูตองอาบัติอีก ๑ รูป รวมเปน ๒๑ รูป ขนาดใหญที่สุดไมเกิน ๓ โยชน (นาจะเปน อุ ท กุ กฺ เขปสี ม า (ศรชี้ ) ทั ศ นี ย ภาพมองจากฝ ง แม น้ํ า ป ง ๓ ตารางโยชน เทากับ ๖๐ ไร ...ผูเขียน) ดานตะวันตก บริเวณถนนหนาเทศบาลนครเชียงใหม ๑๘

ฉบับที่ ๑๒ พฤษภาคม - สิงหาคม ๒๕๕๒


ระยะหางจากฝงของสีมาน้ํา

อุ ท กุ กฺ เขปสี ม า จะต อ งมี ร ะยะห า งจากฝ ง ไมนอยกวาการวักน้ําสาดโดยรอบแหงบุรุษผูมีกําลัง ปานกลาง (ยํ มชฺฌิมสฺส ปุริสสฺส สมนฺตา อุทกุกฺเขปา) สําหรับสถานที่นั้น จะใชเรือก็ไดแพขนานก็ได ซึ่งจะตองผูกไวกับหลักหรือทอดสมอหรือผูกกับตนไม ที่เกิดขึ้นในแมน้ํา จะผูกเรือหรือแพกับกิ่งของตนไม ทีข่ นึ้ อยูบ นตลิง่ ทีย่ นื่ ลงไปในแมนา้ํ ไมได หรือจะทําเปน บันไดยืน่ ทอดไปหาเรือหรือแพก็ได แตตอนสวด สมมุติ สีมาจะตองดึงบันไดใหขาดออกจากเรือนั้น จะใชเรือ ที่เคลื่อนที่เปนสีมาทําสังฆกรรมไมได

ความแตกตางของอุทกสีมากับพัทธสี ทธสีมา

อุทกสีมาหรือสีมาน้าํ มักจะเปนสีมาทีสมมติ ส่ มมติขนึ้ ใชเฉพาะกิจในการทําสังฆกรรมแตละครั้ง เมื่อจะ จะทํ ะทํา สังฆกรรมครัง้ หนึง่ ก็ทาํ พิธสี มมติครัง้ หนึง่ โดยกํ ยกําหนด หนด เอาเวลาที่สงฆนั่งหัตถบาสอยูเทานั้น พอลุลุ​ุกจากที จากกท่ี หรือละหัตถบาส ก็เปนอันสิน้ อายุเขตสีมานัน้ จะใชใหหมม ก็ตองสมมติขึ้นใหม ในการสมมติอุทกสีมาแต แตละครง แต ละคร ะครัรั้ง ไมจาํ เปนตองสวดถอน เพราะถือวาเปนสถานทีทีบ่ ริสทุ ธิ์ อยูแ ลว แมจะเคยทําอุทกสีมา ณ สถานทีเ่ ดียวกันั มากอน ก็ถือวาอายุแหงอุทกสีมานั้นหมดไปแลว กลายเป ลายเปน แมน้ํา หนองน้ํา หรือ มหาสมุทรในสภาพปกติ กติไปแลว ในสมัยโบราณจึงนิยมทําสังฆกรรมในอุทกสีมา เพราะ เชื่อวาบริสุทธิ์มากกวาพัทธสีมา สํ า หรั บ การทํ า พั ท ธสี ม าต อ งสวดถอนพื้ น ที่ เสียกอน เกรงวาพื้นที่นั้นเปนบริเวณสีมาที่ถูกสมมติ มากอน จะทําใหสีมาที่สมมติขึ้นทีหลังใชไมได เพราะ เป น สี ม าสั ง กระ (สี ม าที่ ค าบเกี่ ย วกั น ) ถื อ ว า เป น สีมาวิบตั ิ การทํากรรมใดๆ ในสีมาวิบตั ิ ก็เปนกรรมวิบตั ิ ดวยทั้งหมด

แพจัดสรางขึ้นในแมน้ําปง บริเวณทาน้ําหนาวัดศรีโขง (ทาเรือ หางแมงปอง) ฝงตรงขามกับเทศบาลนครเชียงใหม จัดเปน อุทกุกฺเขปสีมา ชนิดนทีสีมา มีขนาดกวาง ๙.๖ เมตร ยาว ๑๙.๒ เมตร ปูพื้นดวยไมอัดขนาด ๑.๒ คูณ ๒.๔ เมตร หนา ๑๐ มิลลิเมตร จํานวน ๖๔ แผน ยึดติดกับโครงที่วางบน ถังน้าํ มันขนาด ๒๐๐ ลิตร จํานวน ๑๒๘ ลูก มีสะพานทอดจากฝง ชวงปลายของสะพานสามารถเลื่อนเขา - ออกเพื่อใหแยกสวน จากแพซึ่งยึดติดกับเสาหลักปองกันการเลื่อนไหล มุงหลังคา ด ว ยใบคา มี ร ะยะห า งจากฝ ง ไม น อ ยกว า ผู ช ายที่ มี กํ า ลั ง ปานกลางอยูบนฝงวักน้ําสาดไปไมถึงตัวแพตามพุทธบัญญัติ พระสงฆ กํ า ลั ง ทํ า การอุ ป สมบทกุ ล บุ ต รบนอุ ท กุ กฺ เขปสี ม า หรืออุทกสีมา กลางแมน้ําปง ในวันที่ ๔ กรกฎาคม ๒๕๕๒

ตอนเย็นวันที่ ๓ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๕๒ พระสงฆ ๒๕ รูป มี พระเทพโกศล เจาคณะจังหวัดเชียงใหม เปนประธาน นั่ง หัตถบาสสวด สมมุติเขตสีมาบนแพ เพื่อใชเปนอุทกสีมา พระสงฆออกจากหัตถบาสบนอุทกุกเฺ ขปสีมา เดินขึน้ ฝง หลังจาก เสร็จการอุปสมบทกุลบุตรในแตละชุด เมือ่ วันที่ ๔ กรกฎาคม ๒๕๕๒ สําหรับอุปสมบทกุลบุตร ฉบับที่ ๑๒ พฤษภาคม - สิงหาคม ๒๕๕๒

๑๙


พระเทพสิทธาจารย ทีป่ รึกษาเจาคณะจังหวัดเชียงใหม ลงอุทกุกเฺ ขปสีมา เพือ่ เปนพระอุปช ฌาย

การอุปสมบทบนสีมากลางน้าํ ในครัง้ นี้ นอกจาก เปนสวนหนึ่งของงานที่จัดขึ้นเปนการเฉลิมฉลองวาระ ๖๐๐ ปชาตกาลของพระเจาติโลกราชแลว ยังเปนการ เฉลิมพระเกียรติถวายแดพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั มีผูเขาอุปสมบท ๘๖ คน จุดศูนยกลางของงานอยูที่ วัดเจ็ดยอด พระอารามหลวง ในฐานะสถานที่กระทํา สังคายนาพระไตรปฎกครั้งที่ ๘ ของโลก (เปนครั้งแรก ของเมืองไทย) และเปนที่ประดิษฐานสถูปบรรจุอัฐิ พระเจาติโลกราชที่พระยอดเชียงราย กษัตริยราชวงศ มังรายองคที่ ๑๑ พระราช นัดดาทรงสรางเมื่อ พ.ศ. ๒๐๓๐ พระราชเขมากร (สอาด ขนฺติโก) รองเจาคณะ จังหวัดเชียงใหม เจาอาวาสวัดเจ็ดยอดฯ ในฐานะกรรมการ และเจาของสถานที่ ไดรับความรวมมือจากพระมหา เถรานุเถระ และศรัทธาประชาชนทุกหมูเหลา อาทิ พอเมืองเชียงใหม นายอมรพันธุ นิมานันท จึงทําให งานบวชบนสีมากลางน้ํา สําเร็จลุลวงไปดวยดี

พระเทพวรสิทธาจารย รองเจาคณะภาค ๗ ลงอุทกุกเฺ ขปสีมา เพือ่ เปนพระอุปช ฌาย พระราชเขมากร

พระราชเขมากร รองเจาคณะจังหวัดเชียงใหม ลงอุทกุกเฺ ขปสีมา เพือ่ เปนพระอุปช ฌาย ๒๐

ฉบับที่ ๑๒ พฤษภาคม - สิงหาคม ๒๕๕๒

สถูปบรรจุอัฐิพระเจาติโลกราช

ดร.เจาดวงเดือน ณ เชียงใหม ประธานสภาวัฒนธรรม จังหวัดเชียงใหม รวมงานอุปสมบทอุทกุกเฺ ขปสีมา


ประวัติศาสตรไดบันทึกเรื่องราวพิธีกรรมการ กรรมการร บวชบนสีมากลางน้ํา หรืออุทกุกฺเขปสีมามาเป เปนเวล เวลา ลา ชานานแลว ตามความปรากฏในพงศาวดารโยนก ารโยนนก เรียบเรียงโดยพระยาประชากิจกรจักร (แชม บุนนนาค) นาค)) ววา พระญากือนา กษัตริยเ ชียงใหมราชวงศมงั รายองค ยองคท ี่ ๗ (พ.ศ.๑๙๑๐-๑๙๓๑) ทรงแตงราชทูตไปขอพระสุสุมนเถร นเถระ ระ จากพระญาลิไทกรุงสุโขทัย พระญากือนาเสด็ด็จมารับ พระสุ ม นะเถระและสามเณรกั ส สปะผู เ ป นหลาน น หลาน ที่วัดพระยืน เมืองหริภุญไชย ตอมาไดทรงอาราธนา อาราธนา ใหทาํ สังฆกรรมอุปสมบทกุลบุตรดวยวิธอี ทุ กุกกฺเฺ ขปสีมา ทสามเณร นายอมรพันธุ นิมานันท ผูว า ราชการจังหวัดเชียงใหมและภริยา นาย โดยสมมติสมี าในแมนาํ้ ระมิงค (น้าํ ปง) อุปสมบทสามเณร ไพฑูรย รัตนเลิศลบ วัฒนธรรมจังหวัดเชียงใหมและศรัทธาสาธุชน กั ส สปะเป น องค แรก หลั ง จากนั้ น จึ ง บวชลู ก หลาน เตรียมมอบผาไตรแกนาคเพือ่ ทําการอุปสมบทอุทกุกเฺ ขปสีมาทีท่ า น้าํ ชาวลําพูนและชาวเชียงใหมเปนจํานวนมาก หนาวัดศรีโขง

นาคเขาแถวรอรับผาไตรจากเจาภาพเพือ่ ทําการอุปสมบท อุทกุกเฺ ขปสีมาทีท่ า น้าํ หนาวัดศรีโขง

วันที่ ๓ ก.ค. ๕๒ เวลา ๑๘.๐๐ น. แหลกู แกวจํานวน ๕ คน เพือ่ เผยแพรประเพณีดง้ั เดิมของชาวลานนา กอนทีจ่ ะนุง ขาวหมขาว เตรียมเขาพิธอี ปุ สมบท จากสถานีรถไฟเชียงใหมไปยังขวงประตูทา แพ

นายอมรพันธุ นิมานันท ผูว า ราชการจังหวัดเชียงใหม เปนเจาภาพมอบผาไตรแกนาคเปนคนแรก

วันที่ ๓ ก.ค. ๕๒ โกนหัวทีว่ ดั เจ็ดยอด เตรียมบรรพชาอุปสมบทบนอุทกสีมาในวันรุง ขึน้ ฉบับที่ ๑๒ พฤษภาคม - สิงหาคม ๒๕๕๒

๒๑


วันที่ ๔ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๒ นาคลงเรือที่ทาวัดชัยมงคล แหทวนขึ้นตามลําน้ําแมปง ไปยังอุทกุกฺเขปสีมา ทาน้ําหนาวัด ศรีโขง ตลอดทางทีเ่ รือกําลังแลนทวนสายน้าํ มีการเรียกขวัญนาค (ฮองขวัญลูกแกว) ตามประเณีโบราณของชาวลานนา โดย นายสนั่น ธรรมธิ

๒๒

ฉบับที่ ๑๒ พฤษภาคม - สิงหาคม ๒๕๕๒

พ.ศ.๑๙๖๗ รัชสมัยพระญาสามฝง แกน พระราช บิดาขอพระเจาติโลกราช มีพระมหาเถระชาวเชียงใหม หลายรูป ชักชวนภิกษุชาวเขมรเดินทางไปเมืองลังกา ได ไ ปอุ ป สมบทใหม บ นอุ ท กสี ม าเรื อ ขนาน ที่ ท า ยาปาปฏฏะนะ ศึกษาพระธรรม วินัยตามแบบลังกา เป น เวลา ๖ ป เมื่ อ กลั บ เมื อ งเชี ย งใหม พํ า นั ก อยู วัดปาแดงมหาวิหาร เมื่ อ ป พ.ศ.๒๔๔๙ พระสงฆ เชี ย งใหม ถู ก รวบรวมการปกครองเข า กั บ ส ว นกลาง ไดรบั ขนบธรรมเนียมพิธกี รรมตางๆ แบบสวนกลาง ทําใหการอุปสมบทแบบอุทกสีมาเริม่ หมดความนิยม เพราะได มี ก ารขอพระราชทานวิ สุ ง คามสี ม า เพื่อทําการผูกเปนพัทธสีมา และการใชลูกนิมิต แบบกลมก็ ถู ก นํ า มาใช ใ นเขตล า นนาจวบจน กระทั่งปจจุบัน.


บุคคลวัฒนธรรม สถานะปจจุบัน ชื่อ พระเทพโกศล ฉายา พฺรหฺมวณฺโณ อายุ ๗๔ ป พรรษา ๕๔ ดํารงตําแหนง ๑. เจาคณะจังหวัดเชียงใหม ๒. เจาอาวาสวัดศรีโสดา พระอารามหลวง ๓. ประธานสภาวิทยาเขต มหาวิทยาลัยมหาจุฬา ลงกรณราชวิทยาลัย (มจร.) วิทยาเขตเชียงใหม ๔. ผูอ าํ นวยการสํานักงานบริหารโครงการพระธรรม จาริกสวนภูมิภาค วัดศรีโสดา อ.เมืองเชียงใหม จ.เชียงใหม ๕. เจาสํานักศาสนศึกษาวัดศรีโสดา แผนกธรรม - บาลี ๖. ผูจัดการโรงเรียนสมเด็จพระพุทธชินวงศ แผนก สามัญศึกษา ๗. ประธานกรรมการบริ ห ารมู ล นิ ธิ วั ด ศรี โ สดา (มศ.ส.) ๘. ประธานกรรมการบริ ห ารมู ล นิ ธิ ก ารศึ ก ษา และเผยแผพระพุทธศาสนาภูมิภาคลุมแมน้ําโขง (มพ.ข.) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม

พระเทพโกศล

(สังวาลย พฺรหฺมวณฺโณ น.ธ.เอก, ป.ธ.๖, M.A, ศศ.ด., พธ.ด.)

สถานะเดิม ชื่อ สังวาลย นามสกุล ของฉัน เกิดวันพฤหัสบดีที่ ๑๑ เมษายน พ.ศ.๒๔๗๘ ขึ้น ๘ ค่ํา เดือน ๕ (เดือน ๗ เหนือ) ปกนุ เปนบุตรของ นายพรหม - นางบุญ ของฉัน ณ บานขี้เหล็กนอย เลขที่ ๑๗ หมู ๑ ตําบลขี้เหล็ก อําเภอแมริม จังหวัดเชียงใหม บรรพชา วันพฤหัสบดีที่ ๒๙ เดือนมิถุนายน พ.ศ.๒๔๙๓ ขึ้น ๑๕ เดือน ๘ (เดือน ๑๐ เหนือ) ปขาล ณ วัดอุดม ชัยราษฎร ตําบลขี้เหล็ก อําเภอแมริม จังหวัดเชียงใหม พระอุปชฌาย เจาอธิการคุณา คุณวโร วัดสันคะยอม ตําบลขี้เหล็ก อําเภอแมริม จังหวัดเชียงใหม อุปสมบท วันเสารที่ ๑๘ เดือนมิถุนายน พ.ศ.๒๔๙๘ แรม ๑๓ ค่ํา เดือน ๗ (เดือน ๙ เหนือ) ปมะแม ณ วัดสําเภา ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม พระอุปช ฌาย พระเทพสิทธาจารย วัดพระธาตุดอยสุเทพ ราชวรวิหาร ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม

ฉบับที่ ๑๒ พฤษภาคม - สิงหาคม ๒๕๕๒

๒๓


วิทยฐานะ พ.ศ.๒๔๙๓ ประถมศึกษาปท่ี ๔ โรงเรียนบานขีเ้ หล็ก อ.แมริม จ.เชียงใหม พ.ศ.๒๔๙๗ น.ธ.เอก สํานักเรียนศึกษาวัดรัตนาราม อ.แมริม จ.เชียงใหม พ.ศ.๒๕๐๙ ป.ธ.๖ สํ า นั ก เรี ย นวั ด เบญจมบพิ ต ร กรุงเทพฯ พ.ศ.๒๕๒๑ ปริญญาโท (M.A.) สาขาประวัติศาสตร และโบราณคดี มหาวิ ท ยาลั ย มคธ ประเทศอินเดีย พ.ศ.๒๕๔๖ ป ริ ญ ญ า ศิ ล ป ศ า ส ต ร ดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต กิตติมศักดิ์ สาขาวิชาการพัฒนาชุมชน จากมหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ เชี ย งใหม จ.เชียงใหม พ.ศ.๒๕๔๙ ป ริ ญ ญ า พุ ท ธ ศ า ส ต ร ดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต กิตติมศักดิ์ สาขาวิชาสังคมสงเคราะห จาก มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย ความชํานาญการพิเศษ วิชาภาษาลานนา วิชาภาษาบาลี วิชาภาษาอังกฤษ นวกรรม ปาฐกถา เทศนาธรรมแบบบรรยาย เทศนาธรรม แบบพื้ น เมื อ งเหนื อ จั ด ทํ า นโยบาย แผนงาน โครงการบริหารการศึกษา วิทยากรบรรยายทั่วไป สมณศักดิ์ พ.ศ.๒๕๒๙ ไดรับแตงตั้งเปน พระครูปลัดสุวัฒน พุทธิคุณ ฐานานุกรมของพระพุทธิวงศ วัดเบญจมบพิตรฯ พ.ศ.๒๕๓๐ ไดรบั พระราชทานตัง้ สมณศักดิ์ เปนพระ ราชาคณะชัน้ สามัญ ที่ พระสุนทรพุทธิ ธาดา พ.ศ.๒๕๔๑ ไดรับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์เปน พระราชาคณะชัน้ ราช ที่ พระราชวิมลเมธี พ.ศ.๒๕๕๐ ไดรับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์เปน พระราชาคณะชัน้ เทพ ที่ พระเทพโกศล งานการปกครอง พ.ศ.๒๕๓๐ เจาอาวาสวัดศรีโสดา ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม พ.ศ.๒๕๓๒ รั ก ษาการแทนเจ า อาวาสวั ด สํ า เภา อ.เมือง จ.เชียงใหม พ.ศ.๒๕๓๒ รองเจ า คณะอํ า เภอเมื อ งเชี ย งใหม จ.เชียงใหม ๒๔

ฉบับที่ ๑๒ พฤษภาคม - สิงหาคม ๒๕๕๒

พ.ศ.๒๕๓๓ พระอุปชฌาย อ.เมือง จ.เชียงใหม พ.ศ.๒๕๓๔ รั ก ษาการแทนเจ า อาวาสวั ด สวนดอก พระอารามหลวง พ.ศ.๒๕๓๗ เจ า คณะอํ า เภอสั น ป า ตอง – แม ว าง จ.เชียงใหม พ.ศ.๒๕๓๙ หั ว หน า พระวิ น ยาธิ ก ารและสั ง ฆการ จ.เชียงใหม พ.ศ.๒๕๔๑ รองเจาคณะจังหวัดเชียงใหม พ.ศ.๒๕๔๖ รองเจาคณะภาค ๗ พ.ศ.๒๕๕๑ รั ก ษาการแทนเจ า อาวาสวั ด ศรี โ สดา พระอารามหลวง พ.ศ.๒๕๕๒ เจาอาวาสวัดศรีโสดา พระอารามหลวง ปจจุบัน มีพระภิกษุจําพรรษา ๖๔ รูป สามเณร ๔๐๕ รูป ศิษยวัด ๑๐ คน อารามิกชน ๑๙ คน พ.ศ.๒๕๕๒ เจาคณะจังหวัดเชียงใหม งานการศึกษา พ.ศ.๒๔๙๘ ครูสอนแผนกธรรม สํานักเรียนวัดพันอน อ.เมือง จ.เชียงใหม พ.ศ.๒๕๑๑ ครู ส อนวิ ช าศี ล ธรรมพระพุ ท ธศาสนา โรงเรียนวัดเบญจมบพิตร กรุงเทพฯ พ.ศ.๒๔๑๒ ครู ส อนแผนกบาลี วั ด เบญจมบพิ ต ร เขตดุสิต กรุงเทพฯ พ.ศ.๒๕๓๐ เจาสํานักศาสนศึกษาวัดศรีโสดา อ.เมือง จ.เชียงใหม พ.ศ.๒๕๓๐ ผูรับใบอนุญาตโรงเรียนผูใหญ(ชาวเขา) วัดศรีโสดา เชียงใหม พ.ศ.๒๕๓๐ กรรมการตรวจขอสอบธรรมสนามหลวง พ.ศ.๒๕๓๑ พระปริยัตินิเทศก อ.เมือง จ.เชียงใหม พ.ศ.๒๕๓๓ ผูจัดการโรงเรียนสมเด็จพระพุทธชินวงศ พระปริ ยั ติ ธ รรมแผนกสามั ญ ศึ ก ษา วัดศรีโสดา อ.เมือง จ.เชียงใหม พ.ศ.๒๕๓๓ รองคณบดี คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขต เชียงใหม พ.ศ.๒๕๓๙ ผูช ว ยรองอธิการบดีฝา ยวิชาการ มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขต เชียงใหม พ.ศ.๒๕๔๑ รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหาจุฬา ลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม


พ.ศ.๒๕๔๑ ผูแทนแมกองธรรมสนามหลวง จังหวัด เชียงใหม พ.ศ.๒๕๔๖ ผูแ ทนแมกองธรรมสนามหลวง คณะสงฆ ภาค ๗ พ.ศ.๒๕๔๖ - ๒๕๕๑ เป น กรรมการอํ า นวยการ คณะกรรมการอบรมบาลี ก อ นสอบ คณะสงฆภาค ๗ จังหวัดเชียงใหม ลําพูน แมฮองสอน พ.ศ.๒๕๔๘ - ๒๕๕๑ กรรมการที่ปรึกษาอบรมบาลี กอนสอบคณะสงฆ ภาค ๔ พ.ศ.๒๕๕๒ ประธานสภาวิ ท ยาเขต มหาวิ ท ยาลั ย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขต เชียงใหม งานเผยแผพระพุทธศาสนา พระเทพโกศล มีผลงานดานการเผยแผมากมาย ทั้ ง ในประเทศ และต า งประเทศ ผลงานโดดเด น เป น รู ป ธรรม ได แ ก ก ารเผยแผ พ ระพุ ท ธศาสนา แกชาวเขาในถิน่ ทุรกันดารของภาคเหนือและภาคกลาง บางจังหวัด ทานเปนพระธรรมจาริกรุนแรกเริ่มตั้งแต พ.ศ.๒๕๐๘ ทานจัดตั้ง “ศูนยอบรมศีลธรรมและ สงเสริมพระพุทธศาสนาบนพืน้ ทีส่ งู ” ตามหมูบ า น ชาวเขาหลักและหมูบานบริวาร รวม ๒๓ แหง จัดตั้ง “อาศรมพระธรรมจาริ ก ” เพื่ อ เผยแผ พ ระพุ ท ธ ศาสนาแกชาวเขา ในโครงการพระธรรมจาริก ๑๙๕ แหง ในจังหวัดเชียงใหม ลําพูน แมฮองสอนลําปาง นาน พะเยา เชียงราย ตาก แพร กําแพงเพชร สุโขทัย กาญจนบุรี เพชรบูรณ มีพระธรรมจาริกปฏิบตั งิ านปละ ๓๐๐ รูป เปนหัวหนา “ศูนยอบรมพระพุทธศาสนา พระภิ ก ษุ ส ามเณรชาวเขา” มี ห น า ที่ รั บ ผิ ด ชอบ ควบคุม ดูแล ฝกอบรมพระภิกษุสามเณรชาวเขาที่อยู ประจําวัดศรีโสดา รวมกับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ ราชวิทยาลัย จัดโครงการ “พระบัณฑิตอาสาพัฒนา ชาวเขาธรรมจาริก” เผยแผพระพุทธศาสนาบนพืน้ ทีส่ งู ๕๐ แหง ทีก่ ลาวมาเปนเพียงสวนหนึง่ ของงานดานการ เผยแผซึ่งมีมากมายไมสามารถนํามากลาวในที่นี้ งานสาธารณูปการ พระเทพโกศล ไดทําการกอสรางถาวรวัตถุ ภายในวัดศรีโสดา เฉพาะในระหวาง พ.ศ. ๒๕๔๒ – พ.ศ.๒๕๕๑ ไวถึง ๒๖ รายการ อาทิ กุฏิพักสงฆ กุฏิ รับรอง กุฏิพระธรรมจาริก กําแพง อาคาร ๑๐๐ ป

ส ม เ ด็ จ พ ร ะ ศ รี น ค ริ น ท ร ห อ ง น้ํ า ห อ ง ส มุ ด “ดุสติ านนท” โรงครัว ฯลฯ รวม ๒๖ รายการ เปนเงิน ๒๘,๔๓๕,๐๒๘ บาท นอกจากนี้ พระเทพโกศล ยังเปนประธานจัดหา เงินทุนกอสราง บูรณปฏิสังขรณถาวรวัตถุ โดยเฉพาะ อย า งยิ่ ง ที่ วั ด หนองกู คํ า และวั ด อุ ด มชั ย ราษฎร ต.ขี้เหล็ก อ.แมริม จ.เชียงใหม เปนกรรมการจัดหา เงิ น ทุ น บู ร ณปฏิ สั ง ขรณ แ ละสร า งอนุ ส าวรี ย พ ระสิ ริ มังคลาจารยพุทธสถานเชียงใหม ครบ ๕๐ ป อ.เมือง จ.เชียงใหม เปนประธานจัดหาทุนกอสราง อาคารศึกษา พระพุทธศาสนา ที่พักผูปฏิบัติธรรม ลานปฏิบัติธรรม ศู น ย วิ ป ส สนากรรมฐานนานาชาติ บ า นศรี วั ง ธาร ต.ปาไผ อ.สันทราย จ.เชียงใหมฯลฯ รวมเปนเงิน ๓๐,๙๒๗,๘๐๐ บาท พระเทพโกศล นอกจากจะมีหนาที่ปกครองดูแล วัดวาอารามและพระสงฆสามเณรทัว่ ทัง้ จังหวัดเชียงใหม ในฐานะ “เจาคณะจังหวัด” แลว โดยเฉพาะอยางยิ่ง “วัดศรีโสดา พระอารามหลวง” มีภิกษุสามเณร จํ า พรรษาเกื อ บ ๕๐๐ รู ป ส ว นมากเป น ลู ก หลาน ชาวไทยภู เขาเผ า ต า งๆ ให ไ ด รั บ การศึ ก ษาทั้ ง ทาง คดี โ ลกคดี ธ รรม ตลอดจนรั ก ษาขบบธรรมเนี ย ม วัฒนธรรมประเพณีอันดีงามดั้งเดิมของแตละชนเผา ผนวกกับความรูที่ไดศึกษาเลาเรียน ผสมผสานกับ วัฒนธรรมของชาวลานนา กลับไปเผยแพรใหบุคคล ในมาตุภูมิไดรับทราบและปฏิบัติ อันเปนทางหนึ่ง ในการเผยแผหลักธรรมคําสอนของพระพุทธศาสนา

ฉบับที่ ๑๒ พฤษภาคม - สิงหาคม ๒๕๕๒

๒๕


ของกิ๋นบา้ นเฮา

คั่วผํา และ ยําเตา

วัชรินทร พรหมศรี

อาหารทีจะขอแนะนําในฉบับนี้ เปนการนําภูมปิ ญ  ญาชาวบาน ในชนบทมาใชเพือ่ การเลีย้ งชีพ ทีส่ ามารถ นําเอาสาหราย หรือสิ่งมีชีวิตใกลตัวมาทําเปนอาหารไดอยางนาทึ่ง เตาเปนสาหรายสีเขียวมีลักษณะเปนเสนชื่อ Spirogyra spp. หรือ เตา หรือ เทาน้ํา มาเปนอาหารหรือที่ ชาวบานเรียกกัน “ยําเตา” เตา หรือ เทาน้าํ เปนพืช ตระกูลสาหราย เปนสิง่ มีชวี ติ ตัง้ แตขนาดเล็กๆ เพียงเซลลเดียว ไปจนถึงขนาดใหญโตลอยเปนแพอยูใ นน้าํ สามารถสังเคราะหแสงเองได จึงดํารงชีวติ คลายพืช มีอยูท วั่ ไปแหลง ทีข่ น้ึ ซึง่ สวนใหญจะเปนทองนาหรือน้าํ ไหลเอือ่ ยๆ เตาจะขึน้ อยูเ ปนกระจุกหรือเปนแพสีเขียวสด จับดูจะลืน่ มือมาก เนื่องจากมีสารเมือกหุมอยูนอกผนังเซลล นิยมรับประทานกันในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

ยําเตา

เครื่องปรุง สวนผสม ๑. เตา ๒ ถวย ๒. ปูนา ๒๐ ตัว ๓. มะแวง ๒๐ ลูก ๔. ตะไครซอย ½ ถวย ๕. พริกขี้หนู ๒๕ เม็ด ๖. มะเขือพวง ๒๐ ลูก ๗. มะเขือขื่นซอย ๑ ถวย ๘. ใบขิงซอย ๑ ชอนโตะ ๙. ขาหั่น ๑ ชอนชา ๑๐. ปลาราตมสุก ๔ ชอนโตะ ๑๑. กะป ๑ ชอนชา ๒๖

๑๒. ผักไผ ๑๓. เกลือปน ๑๔. ผักชี ๑๕. ตนหอม เครื่องเคียง ๑. ผักบุง ๒. ยอดมะระขี้นก ๓. ผักจุมปา ๔. ผักแวน ๕. ผักกระถิน

ฉบับที่ ๑๒ พฤษภาคม - สิงหาคม ๒๕๕๒

๒ ชอนโตะ ๑ ชอนชา ๑ ชอนโตะ ๑ ชอนโตะ


วิธีทํา ๑. นําเตามาลางน้าํ คอยๆ ลางทีละนิดๆ จนสะอาด ชาวบานเขาก็กลัวไขพยาธิอยูเ หมือนกัน จึงเห็นเขา ประดิ ด ประดอยในการล า งอยู น านทุ ก บ า น ที เ ดี ย ว แต โ อกาสที่ จ ะมี ไข พ ยาธิ น อ ยมาก เนือ่ งจากผนังเซลลลน่ื มากจนอะไรๆ ก็เกาะไมได หลังจากนั้นก็นํามาผึ่งน้ําในตะแกรง ๒. ซอยหอมแดง ตะไคร ใบขิงออน มะเขือเปราะ ใหเปนชิ้นเล็กๆ เด็ดตนหอม ผักชี รอไว ๓. ตมปลา ปูนา กับน้ําปลาราใหสุก เมื่อสุกแลว แกะเนื้ อ ใส ค รกโขลกรวมกั บ กะป มะแว ง พริกขี้หนูพอใหเขากัน ๔. ตักคลุกกับ “เตา” ที่สะเด็ดน้ําแลว ปรุงรสดวย น้ําปลา มะนาวใหมีรสชาติตามชอบ ๕. ใสหอมแดง ตะไคร ใบขิงออน มะเขือเปราะ คลุกใหเขากัน โรยหนาดวยผักชี ตนหอม อื้อฮือ!! นากินไมใชเลน แตมีขอจํากัดนิดหนึ่ง คือเมือ่ ปรุงเสร็จแลวตองรับประทานกันในเวลานัน้ เลย อยาทิ้งไวนาน ไมอยางนั้นน้ําในเตาจะออกมามาก จนยําเตาขึ้นอืดแลวก็จะไมอรอย ประโยชน ใหโปรตีน วิตามินเอ และสารอาหารอื่น

คั่วผํา

ไมเพียงแต “เตา”หรือเทาน้ําเทานั้น ยังมีสาหรายขนาดใหญอีกหลายชนิดที่มีการนํามาเปนอาหาร เปนอาหารพื้นบาน อีกชนิดหนึ่งที่มักจะอยูในประเภทใกลเคียงกันกับ “ยําเตา” “ผํา” เปนไมน้ํา มีขึ้นอยูตามแหลงน้ําที่เปนน้ํานิ่ง เชน บึง และหนองน้ําธรรมชาติทั่วไป ลักษณะเปน สีเขียวขนาดเล็ก ใบเปนกอนกลมสีเขียวลอยอยูเหนือผิวน้ํา มีขนาดของตนรวมเสนผานศูนยกลางประมาณ ๐.๑-๐.๒. มม. ซึง่ มีขนาดเล็กมาก ดูเผินๆ คลายไขปลา แตเปนสีเขียวจํานวนแสนหรือลานตน ลอยกระจายคลุม ผิวน้ําเปนแพ มีชื่อเรียกอยางอื่นอีก คือ ไขน้ํา (กลาง), ไขผํา (อีสาน) และไขแหน (ทั่วไป) ชาวชนบทถาพบขึ้น บริเวณไหน จะใชสวิงชอนขึ้นมาลางน้ําใหสะอาด แลวใชเปนสวนผสมของแกงออมใสปลาเนื้อออน แกงไก แกงเนือ้ รวมกับผักชนิดอืน่ ๆ รสชาติมนั อรอยมาก บางคนใชตาํ กินสดๆ คลายสมตํามะละกอ หรือใสตม ยําทุกชนิด มีผูนําไปใสไขเจียวหมูสับ เพิ่มรสชาติไดเด็ดขาดมาก โดยเฉพาะรับประทานกับขาวสวยรอนๆ สุดยอดจริงๆ ฉบับที่ ๑๒ พฤษภาคม - สิงหาคม ๒๕๕๒

๒๗


เครื่องปรุง ผําหรือไขน้ํามากพอสมควร เนื้อหมู ๒ ขีด พริกแหง ๓-๔ เม็ดหรือพริกขี้หนูแหง หัวหอม ๓ หัว กระเทียม ๒ หัว ตะไคร ๑ ตน ขา ๓ แวน กะปดี ๑ ชอนโตะ น้ํามันพืช ๒-๓ ชอนโตะ ใบมะกรูด วิธที ํา

เอาผําหรือไขนา้ํ ลางน้าํ ใหสะอาด ใสถถว ยเตรียม ไว พริกแหง ๓-๔ เม็ดหรือพริกขี้หนูแหงก็ได (แชน้ํา จนนิ่ม บีบใหแหง) หัวหอม ๓ หัว กระเทียม ๒ หัว ตะไคร ๑ ตนหั่นฝอย ขา ๓ แวน กะปดี ๑ ชอนโตะ เกลือปนนิดหนอย ใสครกตําใหละเอียดเขากันดี กระทะใสน้ํามันพืช ๒-๓ ชอนโตะ ยกตั้งไฟ พอ รอนตักน้ําพริกในครกลงไปผัดพรอมกับเนื้อหมูหั่น ๒ ขีด พอน้ําพริกที่ผัดมีกลิ่นหอมจึงใสผําหรือไขน้ําที่ลาง สะอาดแลวลงไปผัดดวย ปรุงรสดวยผงปรุงรส น้ําปลา พอสุกตักใสถวย โรยหน า ด ว ยใบมะกรู ด หั่ น ฝอย รั บ ประทานร อ นๆ จะอรอยไดรสชาติ และไดธาตุเหล็กเปนของแถม ประโยชน เปนอาหารทีม่ โี ปรตีนและธาตุเหล็กสูงมาก

๒๘

ฉบับที่ ๑๒ พฤษภาคม - สิงหาคม ๒๕๕๒


ขา่ ววัฒนธรรมจังหวัดเชียงใหม่ ปานรดา อุนจันทร

สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดเชียงใหม และสภา วัฒนธรรมจังหวัดเชียงใหม มอบรางวัลศิลปนพื้นบาน ผูม ผี ลงานดีเดนทางวัฒนธรรมประจําป ๒๕๕๒ ในงาน วันอนุรักษมรดกไทย ๒ เมษายน ณ ลาน THINKING PARK ซึ่งมี องคการบริหารสวนจังหวัดเชียงใหม เปน เจาภาพในการจัดงานดังกลาว

นายอมรพันธุ นิมานันท ผวจ.เชียงใหม เปนประธาน ในพิธีถวายสักการะดําหัวกูเจาหลวงเชียงใหม และกูเจานาย ฝายเหนือ ที่บริเวณกูเจาหลวงเชียงใหม ภายในวัดสวนดอก (พระอารามหลวง) โดยมีเจานายฝายเหนือ และแขกผูม เี กียรติ เขารวมพิธี ซึ่งมีขบวนแหทางวัฒนธรรมลานนา เมื่อวันที่ ๑๗ เมษายน ๒๕๕๒ ฉบับที่ ๑๒ พฤษภาคม - สิงหาคม ๒๕๕๒

๒๙


สภาวัฒนธรรมจังหวัดเชียงใหม ฐานะเจาภาพ การจั ด ประชุ ม สภาวั ฒ นธรรมภาคเหนื อ ได ใ ห ก าร เลี้ ย งต อ นรั บ อาหารค่ํ า แก ค ณะกรรมการบริ ห าร สภาวัฒนธรรมภาคเหนือ ณ ศูนยวัฒนธรรมเชียงใหม ซึ่ ง ได รั บ การดู แ ลอย า งอบอุ น จากคุ ณ จุ ม พล ชุ ติ ม า หลังจากนั้นพาคณะฯเขารวมชมวิถีชีวิต สัตวกลางคืน ณ สวนสัตวไนทซาฟารี ทางสภาวั ฒ นธรรมจั ง หวั ด เชี ย งใหม จึงขอขอบคุณเจาของสถานทีเ่ ปนอยางสูง ที่ไดใหการตอนรับเปนอยางดียิ่ง

นางฉวีรี ตั น เกษตรสุนทร เลขาธิกิ ารคณะ กรรมการวัฒนธรรมแหงชาติ เขารวมพบปะ กล า วขอบคุ ณ และให กํ า ลั ง ใจในการทํ า งาน สําหรับ คณะกรรมการบริหารสภาวัฒนธรรม ภาคเหนื อ ในการประชุ ม ครั้ ง ที่ ๒/๒๕๕๒ ระหวางวันที่ ๒๑ – ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๕๒ ณ หองพันตน โรงแรมโลตัสปางสวนแกว อําเภอ เมืองเชียงใหม จังหวัดเชียงใหม และไดรวม แสดงมุทิตาจิต ประธานสภาวัฒนธรรมจังหวัด เชียงใหม ในโอการครบรอบ ๘๐ ป วันพฤหัสบดี ที่ ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๕๒ นายภาคินัย ณ เชียงใหม รับมอบเงินสดในนาม สภาวัฒนธรรมจังหวัดเชียงใหม จํานวน ๑๐,๐๐๐ บาท พรอมกระเปา Beverly Hills Polo Club จํานวน ๓ กลองใหญ จากนายพงษศักดิ์ โชติธาดา กรรมการผูจัดการ บริษัท Thesis International Co., Ltd. ที่บริเวณลานกิจกรรม หนาหาง โรบินสัน ศูนยการคา เซ็นทรัล พลาซา มีดารา หนุมหลอ โฬม พัชตะ และ วัชระ ตันตรานนท มารวม งานดวย ๓๐

ฉบับที่ ๑๒ พฤษภาคม - สิงหาคม ๒๕๕๒

ส ั ฒ นธรรม คณะกรรมการบริ​ิ ห ารสภาวั จ.เชียงใหม ไดจัดพิธีรดน้ําดําหัว ประธานสภา วัฒนธรรมจังหวัดเชียงใหม ดร.เจาดวงเดือน ณ เชียงใหม ประจําป ๒๕๕๒ ณ ศูนยวฒ ั นธรรม เชี ย งใหม โดยภายในงานนอกจากพิ ธี ร ด น้าํ ดําหัวแลว ยังมีการแสดงฟอนรํา และการแสดง ทางวัฒนธรรมอื่นๆอีกมากมาย จากเครือขาย วัฒนธรรมอําเภอ สรางความประทับใจใหแก ผูเขารวมงานอยางมาก เมื่อวันที่ ๒๕ เมษายน ๒๕๕๒


จั​ังหวั​ัดเชี​ียงใหม ใ  จั​ัดงานมุทิตาจิต ในโอกาสครบรอบ ๘๐ ป ดร.เจาดวงเดือน ณ เชียงใหม ประธานสภาวัฒนธรรมคนแรก ของประเทศไทย โดยจัดพีธที าํ บุญสืบชะตา ณ วิหารหลวง วัดสวนดอก พระอารามหลวง ในวันที่ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๕๒ มีบรรดาญาติวงศา แขกผูมีเกียรติ หนวยงานภาครัฐ เอกชน เขารวมแสดงมุทิตาจิต อยางเนือ่ งแนน และการจัดกิจกรรม สืบสาน อนุรกั ษวฒ ั นธรรมลานนา ระหวางวันที่ ๒๒ – ๒๔ พฤษภาคม ๒๕๕๒ ณ สํานักสงเสริม ศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม

สํ า นั ก งานวั ฒ นธรรมจั ง หวั ด เชี ย งใหม จัดโครงการสาธยายพระไตรปฎกเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช กุมารี เนื่องในโอกาสวันคลายวันพระราชสมภพ ๒ เมษายน เพื่อสงเสริมใหประชาชนไดเขารวม กิจกรรมทางศาสนา และมีโอกาสอานพระไตรปฎก ซึง่ เปนคัมภีรส งู สุดทีร่ วบรวมหลักธรรมคําสอนใน พระพุทธศาสนา ณ วัดเจ็ดยอด (พระอารามหลวง) ในระหวางวันที่ ๒๑- ๒๕ เมษายน ๒๕๕๒ ฉบับที่ ๑๒ พฤษภาคม - สิงหาคม ๒๕๕๒

๓๑


๓๒

ฉบับที่ ๑๒ พฤษภาคม - สิงหาคม ๒๕๕๒




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.