loungnuae-handbook-sep52-proof

Page 1



คูมผูสือูงอายุ ผูพิการ ผูปวยเอดส


คูมือ ผูสูงอายุ ผูพิการ ผูปวยเอดสì จัดทําโดย

เทศบาลตําบลลวงเหนือ 299 หมูที่ 2 ตําบลลวงเหนือ อําเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม 50220 โทรศัพท 053-866077

พิมพที่

หจก. กลุมธุรกิจแม็กซ (MaxxPRINTINGTM - แม็กซปริน้ ติง้ ) 14 ซ.สายน้ําผึ้ง ถ.ศิริมังคลาจารย ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม 50200 Hotline : 086 6547376, 053 221097 Website : http://maxx.me


ผูสูงอายุ

ความหมายของผูสูงอายุ

วัยสูงอายุจดั เปนวัยทีอ่ ยูใ นระยะสุดทายของชีวติ ลักษณะและพัฒนาการในวัย นีจ้ ะตรงขามกับวัยเด็ก คือมีแตความเสือ่ มโทรมและสึกหรอ ซึง่ การเปลีย่ นแปลงนีจ้ ะ ดําเนินไปอยางคอยเปนคอยไป (ชูศรี วงเครือ, 2543, น. 47) จึงเปนการยากที่จะ กําหนดวาบุคคลใดอยูในวัยสูงอายุเกณฑที่สังคมจะกําหนดวาบุคคลใดเปนผูสูงอายุ นั้น จะแตกตางกันไปตามสภาพสังคมซึ่งไดมีผูใหคํานิยามเกี่ยวกับผูสูงอายุไว เชน ฮอลล (Hall D.A., 1976, pp. 3-4 อางใน แสงเดือน มุสิกรรมณี, 2545, น. 7) ได แบงการสูงอายุของบุคคลออกเปน 4 ประเภท คือ 1. การสูงอายุตามวัย (Choronological Aging) หมายถึง การสูงอายุตามปปฏิทิน โดยการนับจากปที่เกิดเปนตนไป และบอก ไดทันทีวา ใครมีอายุมากนอยเพียงใด 2. การสูงอายุตามสภาพรางกาย (Biological Aging) เปนการพิจารณาการสูงอายุจากสภาพรางกายและสรีระของบุคคลทีเ่ ปลีย่ นไป เมือ่ มีอายุเพิม่ ขึน้ เนือ่ งจากประสิทธิภาพการทํางานของอวัยวะตาง ๆ ในรางกายลด นอยลง เปนผลมาจากความเสือ่ มโทรมตามกระบวนการ สูงอายุซงึ่ เปนไปตามอายุขยั ของแตละบุคคล


3. การสูงอายุตามสภาพจิตใจ (Psychological Aging) เปนการเปลีย่ นแปลงในหนาที่ การรับรู แนวความคิด ความจํา การเรียนรู เชาว ปญญา และลักษณะบุคลิกภาพทีป่ รากฏในระยะตาง ๆ ของชีวติ แตละคนทีม่ อี ายุเพิม่ ขึ้น 4. การสูงอายุตามสภาพสังคม (Sociological Aging) เปนการเปลีย่ นแปลงในบทบาทหนาทีส่ ถานภาพของบุคคลในระบบสังคม รวม ทั้งความคาดหวังของสังคมตอบุคคลนั้น ซึ่งเกี่ยวกับอายุ การแสดงออกตามคุณคา และความตองการของสังคม สําหรับการกําหนดวา ผูสูงอายุเริ่มเมื่ออายุเทาใดนั้น ขึ้นอยูกับความแตกตาง กันในแตละสังคม สําหรับสังคมไทยนั้นกําหนดวา ผูสูงอายุ หมายถึง บุคคลที่มีสัญชาติไทยและมีอายุตั้งแต 60 ปบริบูรณขึ้นไป (พระ ราชบัญญัติผูสูงอายุ พ.ศ.2546) ทั้งนี้ผูสูงอายุมไิ ดมีลักษณะเหมือนกันหมด แตจะมี ความแตกตางกันไปตามชวงอายุ องคการอนามัยโลกจึงไดแบงเกณฑอายุตาม สภาพ ของการมีอายุเพิ่มขึ้น ดังนี้ 1. ผูผสู ูงอายุ อายุ (Elderly) (Elderly) มีอายุระหวาง 60 –74 ป 1. 2. คนชรา คนชรา (Old) (Old) มีมอี ายุ ายรุ ะหวาง 75 –90 –90 ปป 2. 3. คนชรามาก คนชรามาก (Very (Very Old) มีอายุ ายยุ 900 ปขึ้นไป 3.

4


การแบงผูส งู อายุเปน 3 ชวงดังกลาว สําหรับในสังคมไทยยังมิไดมขี อ สรุปวาจะมีการจัดประเภทของผูสูงอายุในลักษณะใด การจัดโดยใชเกณฑ อายุกย็ งั มีขอ ถกเถียงวายังไมเหมาะสม นักวิชาการบางทานจึงใชเกณฑความ สามารถของผูสูงอายุแบงเปน 3 กลุม ไดแก 1. กลุมที่ชวยเหลือตนเองไดดี 2. กลุมที่ชวยเหลือตนเองไดบาง 3. กลุมที่ชวยเหลือตนเองไมได เนื่องจากมีปญหาสุขภาพ มีความพิการ วัยสูงอายุ เปนวัยที่มีการเปลี่ยนแปลงอยางเห็นไดชัด ทั้งทางดาน รางกาย และจิตใจ สภาพรางกายจะเห็นไดวาเสื่อมลงตามอายุขัย สภาพ จิตใจมีการเปลี่ยนแปลงงาย ขี้หงุดหงิด มีความวิตกกังวล เนื่องจากการเจ็บ ปวย หรือจากการเสื่อมของระบบตาง ๆ ในรางกาย โดยปกติรางกายคนเรา จะเริ่มมีการเสื่อมของอวัยวะตั้งแตอายุ 30 ปขึ้นไป ดังนั้นการดูแลรักษา สุขภาพที่ดี และถูกสุขลักษณะตั้งแตตน จะชวยลดโอกาสการเกิดโรคหรือ ปญหาทางสุขภาพตาง ๆที่มักเกิดขึ้นเมื่อยางเขาสูวัยสูงอายุได

5


การเปลี่ยนแปลงทางดานรางกาย เมื่อเขาสูวัยผูสูงอายุจะมีการเปลี่ยนแปลงตางๆ เกิดขึ้นกับผูสูงอายุ ทั้งดาน รางกาย จิตใจและสังคมการเปลี่ยนแปลงตางๆ ของผูสูงอายุ • ผิวหนัง ผิวเหี่ยวยน เสนเลือดฝอยแตกงาย ทําใหเกิดแผล เมื่อเกิดแผลจะหายชา ไขมันใตผวิ หนังลดลง ทําใหหนาวไดงา ย เมือ่ อากาศเย็น ผิวแหง คัน การรับความรูส กึ เจ็บปวดลดลง • กระดูก กระดูกเสื่อม พรุน หักไดงาย ขออักเสบ เกิดอาการบวม ปวดตามขอ • กลามเนือ้ ความวองไว ความแข็งแรงของกลามเนือ้ ลดลง ทําใหรา งกายเคลือ่ นไหว ชาลง หกลมไดงาย มือสั่น จับของไมแนน ของหลุดมือไดงาย • หัวใจ เหนื่อยงายเนื่องจากหัวใจบีบตัวไดนอยลง หากทํางานหนัก หรือตื่นเตน มากเกินไป อาจทําใหเกิดหัวใจวายไดงาย • เสนเลือดตีบแข็ง ทําใหความดันเลือดสูงไดงาย เปนลมหนามืดงาย ขณะเปลี่ยน ทาทาง เชน จากทานอนเปนทานั่ง • ระบบหายใจ เหนื่อยงาย สําลักอาหารเขาหลอดลงไดงาย • ระบบทางเดินอาหาร เบื่ออาหาร (น้ําลายลดลง การรับรสและกลิ่นไมดี) อาหาร ลงกระเพาะไดชา ทองผูกงาย กลั้นอุจจาระไมคอยได • ระบบขับถายปสสาวะ ขนาดกระเพาะปสสาวะลดลง ทําใหน้ําปสสาวะเต็มเร็ว ถายปสสาวะบอย ในผูส งู อายุชาย ปสสาวะไมสะดวก ใชเวลานานในการถายปสสาวะ แตละครั้ง (อาจเนื่องจากตอมลูกหมากโต) • ชองคลอด อักเสบและติดเชื้อไดงา ย • สมอง ความจําเสื่อม (ขี้ลืม) พูดซ้ําเรื่องเดิม นอนหลับยาก • ตา พรามัวมองไมชัด น้ําตาไหล สายตายาว • หู ไดยินไมชัดเจน (หูตึง) • การดมกลิ่น การรับกลิ่นไมดี ทําใหเบื่ออาหาร ไมไดกลิ่นบูดเนา • การรับรส ไมดีทําใหเบื่ออาหาร เติมเครื่องปรุงรสมากขึ้น • นอกจานีร้ ะบบขับถายอุจจาระในผูส งู อายุมกั จะเปนไปตามปกติ เกิดทองผูกไดงา ย เนื่องจากมีการเคลื่อนไหวนอยลง และไมคอยไดออกกําลังกาย

6


การเปลีย่ นแปลงทางดานจิตใจ อารมณและจิตใจทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงของผูส งู อายุ อาจเกิดมาจากมีเวลาวาง มากเกินไป เพราะเกษียณอายุจากการทํางานแลว จึงรูสึกวาตัวเองถูกลดคุณคาลง ความสัมพันธระหวางคนในครอบครัวเริ่มมีนอยลง ซึ่งอาจทําใหรูสึกโดดเดี่ยว และ เศราซึม นอกจากนั้นยังอาจเปน ผลมาจากความเจ็บปวย และการเสื่อมของระบบ ตางๆ ภายในรางกาย ซึ่งสิ่งตางๆ เหลานี้ทําใหผูสูงอายุมีอารมณที่แปรปรวนงาย ขี้หงุดหงิด ใจนอย โกรธงาย เปนตน

ปญหาสุขภาพของผูส งู อายุ

จากความเสือ่ มทางดานรางกาย จิตใจ รวมถึงการดูแลสุขภาพทีอ่ าจไมเหมาะ สม ทําใหผูสูงอายุมักเกิดปญหาทางสุขภาพ หลาย ๆ โรคพรอมกัน โรคที่มักพบไดบอยในผูสูงอายุ มีทั้งโรคที่เกิดขึ้นทางรางกาย และจากปญหา ทางจิตใจ ไดแก 1. โรคอวน 2. โรคเบาหวาน 3. โรคหัวใจขาดเลือด 4. โรคความดันโลหิตสูง 5. โรคไขมันในเลือดสูง 6. โรคขอเสื่อม 7. โรคเกี่ยวกับทางเดินอาหาร เชน ทองอืด ทองผูก 8. โรคทางประสาทตา เชน โรคตอหิน ตอกระจก 9. โรคสมองเสื่อม โรคอัลไซเมอร 10. อาการวิตกกังวล นอนไมหลับ

7


การดูแลเพื่อรักษาสุขภาพ

ผูสูงอายุจะมีอายุยืนยาว และมีความสุขได ถาบุคคลในครอบครัวหรือตัวเอง ดูแลตนเอง ดังนี้ (9 อ.) 1. อาหาร ควรกินอาหารทีม่ ปี ระโยชน ยอยงาย เชน กินผักกินปลา หลีกเลีย่ งอาหารมัน 2. อากาศ พยายามอยูในที่อากาศถายเทไดสะดวก 3. ออกกําลังกาย อยางสม่ําเสมอ เชน การเดิน 4. อุจจาระ ควรขับถายใหเปนเวลา 5. อารมณ พยายามทําจิตใจใหสงบ 6. อบอุน ใหความเมตตาตอลูกหลาน 7. อดิเรก หางานที่ชอบทํา 8. อนามัย ระมัดระวังการกิน การอยู 9. อนาคต เตรียมจัดการกับทรัพยสิน เงินทองอยาใหเกิดปญหากับลุกหลาน เพื่อใหผูสูงอายุที่มีโอกาสไดใชชีวิตในบั้นปลายอยางมีความสุข ตามฐานะ ของแตละบุคคล ลูกหลาน ผูดูแล หรือตัวผูสูงอายุเองจึงควรใหความสําคัญ และ คํานึงถึงสิ่งตอไปนี้ ความสะอาดเปนเรื่องสําคัญที่ตองคํานึกถึง เพราะผู​ูชรามีความตานทานโรคต่ํา

8


ความเปนอยู และการจัดการสิ่งแวดลอม ผูส งู อายุควรจะไดอยูใ นทีท่ ปี่ ลอดภัย อาจจะเปนหองชัน้ ลางของบาน พืน้ หอง ไม ลื่ น ข า วของเครื่ อ งใช ใ นห อ งมี เ ฉพาะเท า ที่ จํ า เป น จริ ง ๆ เตี ย งนอนควรเตี้ ย ในหองอากาศถายเทสะดวก ไมมเี สียงดังรบกวน แสงสวางพอเหมาะ ไมมดื หรือสวาง จนเกินไป

9


สุขวิทยาสวนบุคคล กวาบุคคลในวัยหนุมสาว ความสะอาดที่จะตองดูแลไดแก • ผิวหนัง ควรรักษาความสะอาด โดยการอาบน้ําตามความเหมาะสม เชน ใน วันอากาศรอน อบอาว อาจจะอาบน้ําวันละ 1 ครั้ง และใชวิธีเช็ดตัว เช็ดหนา ลางมือ ลางเทากอนเขานอน แตถาอากาศแหง และหนาว ควรอาบน้ําสัปดาห ละ 1 – 2 ครั้งก็เพียงพอแลว • ปากและฟน ตองทําความสะอาดทุกวันตอนเชา เมื่อตื่นนอน และทุกครั้งหลัง รับประทานอาหาร โดยเฉพาะผูท ใี่ ชฟน ปลอม ตองดูแลเรือ่ งความสะอาดของฟน ปลอม ดวยการถอดออกลางทุกครั้ง หลังรับประทานอาหาร และถอดฟนปลอม ออกกอนนอนตอนกลางคืนทุกคืน • เล็บและผม ตองหมัน่ ตัดเล็บใหสนั้ และรักษาความสะอาดอยูเ สมอ สําหรับผม ก็ตองดูแลเรื่องความสะอาด ดวยการสระผมสัปดาหละ 1 ครั้ง หรือนานกวานั้น ก็ได เพราะผูสูงอายุไมจําเปนตองสระผมบอย เนื่องจากหนังศีรษะแหง • อวัยวะสืบพันธุและทวารหนัก เปนจุดที่ตองใหความสําคัญมากในเรื่องของ 10


การรักษาความสะอาด คือตองลางทุกครัง้ หลังขับถาย หรืออาจใชผา นุม ชุบน้าํ เช็ด จนสะอาดแทนการลางก็ได • อาหาร ผูสูงอายุสวนใหญ มักจะรับประทานอาหารนอยลง จนอาจเกิดปญหา การไดรับอาหาร ไมเพียงพอตอความตองการของรางกาย จึงควรเอาใจใสในเรื่อง นี้ ดวยการจัดอาหารที่เหมาะสมกับ ผูสูงอายุแตละคน อาจจะเปนอาหารออน ยอย งาย หรืออาหารประเภทที่ไมตองเคี้ยวลําบาก รสชาดไมจัด หรือบางคนอาจตองรับ ประทานอาหารผสม บดละเอียด เปนตน อาหารสําหรับผูสูงอายุควรเนน ที่คุณคาทางโภชนาการ งดเครื่องดื่มประเภทมึนเมา หรือของหมักดอง แตควรให อาหารเสริมประเภท นม ผลไมสด หรืออาหารที่มีคุณคาชนิดอื่นๆ • การออกกําลังกายและการพักผอน ขึ้นอยูกับสมรรถภาพทางรางกายของแตละ บุคคล ผูสูงอายุไมควรหักโหม ในเรื่องของการออกกําลังกาย แตควรออกกําลังกาย อยางสม่าํ เสมอทุกวัน อาจเปนทีส่ าธารณะ หรือตามสถานทีอ่ อกกําลังกายโดยทัว่ ไป หรืออาจใชวิธีออกกําลังดวยการแกวงแขน หรือสูดหายใจเขาออกลึกๆ ถือไดวา เปนการออกกําลังทีด่ สี าํ หรับผูช รา และเมือ่ มีการออกกําลังกายอยางสม่าํ เสมอ ก็จะ สงผลใหนอนหลับสบาย รางกายไดรบั การพักผอนอยางเพียงพอซึง่ จะชวยใหกระฉับ กระเฉง สุขภาพดี สดชื่นและอายุยืน

11


ขอแนะนําในการดูแลเรื่องอาหาร ในผูสูงอายุมีดังนี้

1. โปรตีนคุณภาพ ควรใหรับประทานไขวันละ 1 ฟอง และดื่มนมอยางนอยวันละ 1 แกว สําหรับโปรตีนจากเนื้อสัตวควรลดนอยลง เพราะสวนใหญจะติดมันมากับ เนื้อสัตวดวย 2. ไขมัน ควรใชนา้ํ มันถัว่ เหลืองหรือน้าํ มันขาวโพดในการปรุงอาหาร เพราะเปนน้าํ มัน พืชที่มีกรดไลโนเลอิก 3. คารโบไฮเดรต คนสูงอายุควรรับประทานขาวใหลดนอยลง และไมควรรับประทาน น้ําตาลในปริมาณที่มาก 4. ใยอาหาร คนสูงอายุควรรับประทานอาหารที่เปนพวกใยอาหารมากขึ้น เพื่อชวย ปองกันการทองผูก เชื่อกันวาชวยลดระดับโคเลสเตอรอลในเลือด และลดอุบัติการ ของการเกิดมะเร็งของลําไสใหญลงได 5. น้ําดื่ม คนสูงอายุควรรับประทานน้ําประมาณ 1 ลิตร ตลอดทั้งวัน แตทั้งนี้ควรจะ ปรับเองได ตามแตความตองการของรางกาย โดยใหดูวา ปสสาวะมีสีเหลืองออนๆ เกือบขาว แสดงวาน้าํ ในรางกายเพียงพอแลว สวนเครือ่ งดืม่ ทีม่ แี อลกอฮอล รวมทัง้ น้าํ ชา กาแฟควรจะงดเวนเสียถาระบบยอยอาหารในคนสูงอายุไมดี ทานควรแบงเปนมือ้ ยอยๆ แลวรับประทานทีละนอย แตหลายมือ้ จะดีกวาแตอาหารหลักควรเปนมือ้ เดียว

12


สิทธิผูสูงอายุ สิทธิ หมายถึง ทุกสิ่งที่ยุติธรรมและเปนสิ่งเฉพาะตัวของบุคคลที่มีหรือมี ความสามารถที่จะมีทุกสิ่งที่ยุติธรรม = ทุกสิ่งที่เปนความชอบธรรมตามกฎหมาย ศีลธรรม จารีตประเพณี วิถีประชาเปนสิ่งที่เฉพาะตัวของบุคคลที่มี = บุคคลแตละ คนมีอาํ นาจเปนเจาของสิทธิและสามารถใชสทิ ธินนั้ โดยตนเองไดหรือมีความสามารถ ที่จะมี = บุคคลใดที่มีอํานาจเปนเจาของสิทธิ หากยังไมสามารถใชสิทธินั้นได ตอง ไดรับความชวยเหลือ หรือมีผูชวยกระทํา หรือกระทําแทนเพื่อใหไดรับสิทธินั้น สิทธิ 4 ประการ 1. การมีอายุยนื หมายถึง สิทธิในการมีชวี ติ อยูร อด อายุยนื ยาว การมีโภชนาการที่ ดี การมีอาหารเพียงพอตอการบริโภคตลอดทัง้ ป การมีสขุ ภาพอนามัยดี การปองกัน และฟนฟูสุขภาพอนามัย การเขาถึงและไดรับบริการดานสุขภาพอนามัย สวัสดิการ ความมั่นคง ในการดํารงชีวิต การดูแลเอาใจใส และความรักจากครอบครัว ชุมชน และสังคม การอยูถึงวาระสุดทายของชีวิตอยางสงบและมีศักดิ์ศรี


2. การคุมครอง หมายถึง สิทธิในการไมถูกละเมิด ไมถูกทําราย ไมถูกทอดทิ้ง ไมถกู ทิง้ ใหอยูต ามลําพัง ไมถกู เอาเปรียบ ไมถกู ละเลยเพิกเฉย ไดรบั การดูแลทีถ่ กู ตอง การไมถกู เลือกปฏิบตั ิ การไมถกู แสวงหาผลประโยชนโดยมิชอบ การมีความ สามารถหรือรายไดเพียงพอตอความจําเปนในการดํารงชีวิต การไดอยูในสภาพ แวดลอมทีด่ ี ความปลอดภัยในการดํารงชีวติ การมีสวัสดิการในการดํารงชีวติ การ มีโอกาสและเขาถึงบริการทางสังคม การับรูขอมูลและสาระที่เปนประโยชน การ ไดอยูกับครอบครัว และชุมชน การเผาระวัง การเตือนภัย และปญหาการไดรับ การพิทักษ ปกปอง การคุมครองสวัสดิภาพ ทั้งทางรางาย จิตใจ ทรัพยสิน การ ไดรบั การดูแลชวยเหลือจากสังคม การมีสทิ ธิตามกฎหมาย ปฏิญญาและหลักการ เกี่ยวกับผูสูงอายุ การไดรับการปฏิบัติอยางเหมาะสมตามสถานภาพและภูมิหลัง 3. การสงเสริม หมายถึง สิทธิในการแสดงบทบาทในครอบครัว ชุมชน สังคม การไดรับโอกาสในการเรียนรู การมีความสามารถดูแลชวยเหลือตนเอง การได ทํางานทีเ่ หมาะสมกับวัย และสภาพรางกาย การถายทอดความรูแ ละประสบการณ ใหสังคม การไดรับคาตอบแทนที่เปนธรรม การพัฒนาตนเอง การมีความภาค ภูมิใจ การมีความพอใจที่จะอยูแบบพอเพียง การไดรับความเคารพนับถือ การ มีชีวิตที่มีคุณคา 4. การมีสวนรวม หมายถึง สิทธิในการมีสวนรวมในกิจกรรมของครอบครัว ชุมชน และสังคม การแลกเปลี่ยนเรียนรู และสรางความเขาใจอันดีระหวางผูสูง อายุและบุคคลทุกวัย การรวมเปนสมาชิกและมีบทบาทในกลุม ชมรม องคกร สถาบัน การมีความสามัคคีในชุมชน การมีอาํ นาจตรวจสอบในเรือ่ งสิทธิผสู งู อายุ การมีอํานาจตัดสินใจในเรื่องของตนเอง การมีสวนรวมในนโยบายที่สงผลดีตอ ผูสูงอายุ การสรางหลักประกัน เพื่อการดูแลชวยเหลือ การคุมครองและพิทักษ สิทธิของผูสูงอายุ 14


สิทธิผูสูงอายุตามพระราชบัญญัติ ผูสูงอายุ พ.ศ.2546

สิทธิผสู งู อายุไดรบั การรับรองจากพระราชบัญญัตผิ สู งู อายุ พ.ศ.2546 ประกาศ ในราชกิจจานุเบกษา ฉบับกฤษฎีกา เลม 120 ตอนที่ 130 ก ลงวันที่ 31 ธันวาคม 2546 มีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 1 มกราคม พ.ศ.2547 เปนตนมา ผูสูงอายุไดรับ สิทธิตามมาตรา 11 แหงพระราชบัญญัตผิ สู งู อายุ พ.ศ.2546 ตามหลักเกณฑ วิธกี าร และเงื่อนไขที่รัฐมนตรีผูรับผิดชอบประกาศ กําหนด ดังนี้ 1. การบริการทางการแพทยและการสาธารณสุขที่จัดไวโดยใหความสะดวกและ รวดเร็วแกผูสูงอายุเปนกรณีพิเศษ 2. การศึกษา การศาสนา และขอมูลขาวสารที่เปนประโยชนตอการดําเนินชีวิต 3. การประกอบอาชีพหรือฝกอาชีพที่เหมาะสม 4. การพัฒนาตนเองและการมีสว นรวมในกิจกรรมทางสังคม การรวมกลุม ในลักษณะ เครือขายหรือชุมชน 5. การอํานวยความสะดวกและความปลอดภัยโดยตรงแกผูสูงอายุในอาคาร สถาน ที่ ยานพาหนะ หรือการบริการสาธารณะอื่น 6. การชวยเหลือดานคาโดยสารยานพาหนะตามความเหมาะสม 7. การยกเวนคาเขาชมสถานที่ของรัฐ 8. การชวยเหลือผูสูงอายุซึ่งไดรับอันตรายจากการถูกทารุณกรรมหรือถูกแสวงหา ประโยชนโดยมิชอบดวยกฎหมายหรือถูกทอดทิ้ง 9. การใหคาํ แนะนํา ปรึกษา ดําเนินการอืน่ ทีเ่ กีย่ วของในทางคดี หรือในทางการแกไข ปญหาครอบครัว 10. การจัดที่พักอาศัย อาหารและเครื่องนุงหมใหตามความจําเปนอยางทั่วถึง 11. การสงเคราะหเบี้ยยังชีพตามความจําเปนอยางทั่วถึงและเปนธรรม 12. การสงเคราะหในการจัดการศพตามประเพณี 13. การอื่นตามที่คณะกรรมการประกาศกําหนด

15


คนพิ ก าร ความหมายของความพิการ

ความพิการ หมายถึง ความบกพรอง หรือการสูญเสียสมรรถภาพของรางกาย และ (หรือ) จิตใจ จะทําใหมีขอจํากัดในการเรียนรู การสื่อความหมาย (การพูด ฟง อาน เขียน) การทํากิจวัตรประจําวัน การประกอบอาชีพการสรางสัมพันธภาพกับ คนในสังคม ซึ่งคนหนึ่งอาจจะมีความบกพรองและมีขีดจํากัด อยางใดอยางหนึ่ง หรือหลายอยางก็ได กระทรวงสาธารณสุข ไดออกกฎกระทรวง พ.ศ. 2537 ตาม พระราชบัญญัติฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. 2534 ไดแบงความพิการออกเปน 5 ประเภท ดังนี้ 1. ความพิการทางการมองเห็น 2. ความพิการทางการไดยิน หรือการสื่อความหมาย 3. ความพิการทางกาย หรือการเคลื่อนไหว 4. ความพิการทางจิต หรือพฤติกรรม 5. ความพิการทางสติปญญา หรือการเรียนรู


1. ความพิการทางการมองเห็น “ความบกพรอง หรือการสูญเสียการมองเห็น” ไดแก ตาบอด คือ คนที่สูญเสียการมองเห็น ประกอบดวย คนตาบอดที่มองไมเห็น และ คนทีม่ องเห็นบางแตไมมากนัก ซึง่ ไมสามารถใชสายตาได แมวา จะไดรบั การปรับ สภาพหรือรักษาแกไขแลวเห็นเลือนราง จะสามารถมองเห็นในระยะใกล ๆ เด็กที่มี การมองเห็นบกพรองไปสามารถรับรู สิง่ ตาง ๆ รอบตัวเขาไดดว ยอวัยวะรับสัมผัสอืน่ ๆ เชน ไดยินเสียง ใชกายสัมผัส รูอิริยาบถ การทรงตัว และการเคลื่อนไหว รูกลิ่น รูรส จึงสามารถเรียนรูได หากไดรับโอกาส เด็กสูญเสียการมองเห็น สามารถเรียน หนังสือไดโดยใชอักษรเบรลล ซึ่งเปนตัวอักษรที่คิดขึ้นสําหรับคนตาบอด เปนตัวนูน เวลาอานจะใชมือสัมผัสตามตัวอักษรที่เจาะลงบนกระดาษนั้น 2. ความพิการทางการไดยิน หรือการสื่อความหมาย คนที่มีความผิดปกติหรือความบกพรองทางการพูด การไดยิน การสื่อความหมาย กับผูอื่น ไดแก 2.1 คนที่มีความบกพรองทางการพูดและภาษา 2.1.1 คนที่มีความบกพรองทางการพูด หมายถึง คนที่มีความบกพรองในการ ออกเสียงพูด เนือ่ งจากอวัยวะทีใ่ ชในการออกเสียงพูดบกพรองหรือผิดปกติ เชน ปาก แหวง เพดานโหว รวมทั้งเด็กพูดไมชัด และติดอาง 2.1.2 คนที่มีความบกพรองทางภาษา หมายถึง คนที่มีปญหาในการเขาใจภาษา และแสดงออกทางภาษา เชน ภาษาพูด ภาษาเขียน และสัญลักษณ อื่น ๆ 2.2 คนที่มีความบกพรองทางการไดยิน หมายถึง 2.2.1 คนหูหนวก หมายถึงคนทีส่ ญ ู เสียการไดยนิ มากจนไมสามารถไดยนิ เสียง ไมวาจะใสหรือไมใสเครื่องชวยฟงก็ตาม 2.2.2 คนหูตึง หมายถึง คนที่พอจะไดยินเสียงบางสามารถใชเครื่องชวยฟงได เด็กหูหนวก เรียนรูภาษาโดยการใชการมองดูทาทางสีหนาของคนอื่น และการ แสดงออกของตัวเอง เขาจึงเรียนหนังสือและสื่อความหมายดวย “ภาษามือ” คือ การใชมือบอกความหมายแทนภาษาและใช “การสะกดคํา ดวยนิ้วมือ ประกอบอาน ปากดวย

17


3. ความพิการทางกาย หรือการเคลื่อนไหว หมายถึงคนที่มีความผิดปกติ บกพรอง หรือสูญเสียอวัยวะสวนใดสวนหนึง่ ของรางกายทําใหไมสามารถเคลือ่ นไหวไดดเี ทาคน ปกติ เชน เด็กที่มีแขนขาเปนอัมพาต เปนโรคเกี่ยวกับกลามเนื้อ-กระดูก เชน เทาปุก เขาติด เอวคด เด็กสมองพิการ หรือ ซี.พี. โปลิโอ ซึ่งทําใหกลามเนื้อลีบ อวัยวะผิด รูป อวัยวะสวนใดสวนหนึ่งขาดหายไป เด็กสมองพิการ (ซี.พี.) ไมใชเด็กปญญาออน เขาคือเด็กที่มีปญหาดานการเคลื่อนไหวรางกายและการทรงตัว ที่เกิดจากความผิด ปกติของสมอง เฉพาะสวนที่ควบคุมการเคลื่อนไหว ซึ่งอาจเปนทั้งตัว ทําใหเด็กไม สามารถควบคุมการเคลื่อนไหวของแขนขาและรางกายได อาจมีอาการเกร็งหรือ ตัวออนไมมีแรง บางคนเปนเพียงเล็กนอย หรือเพียงบางสวน เชน เปนเฉพาะแขน ขาขางเดียว หรือสองขาง เด็ก ซี.พี. บางคนอาจมีความพิการอื่นรวมดวย ซึ่งจัดเปน “ความพิการซ้ําซอน เชน ปญญาออน พิการทางตา หรือหู ก็ได 4. ความพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม หมายถึง พฤติกรรมที่แตกตางไปจากปกติ อยางมากและเปนไปอยางตอเนื่อง เปนแลวไมหายอยางรวดเร็ว พฤติกรรมนั้นไม เปนทีย่ อมรับของสังคม สงผลกระทบตอการเรียนรูข องเด็ก เชน กาวราวอยางรุนแรง ทํารายตนเองและผูอื่น มีความวิตกกังวลมากเกินเหตุ ขาดความเชื่อมั่นในตนเอง ไมสนใจสิ่งตาง ๆ รอบขาง ไมโตตอบดวย คลาย ๆ เหมอลอยและชอบเลนคนเดียว หรือบางคนอาจขาดสมาธิ อยูไมสุข วุนวายอยูตลอดเวลา 5. ความพิการทางสติปญญา ไดแกเด็กเรียนชา หมายถึง เด็กที่มีปญหาในการ เรียน เรียนชา หรือรับรูไดชากวาเด็กในวัยเดียวกัน มีระดับสติปญญาประมาณ 70-90(ระดับเชาวปญญาปกติคือ 90-110) ตัวอยางเชน เด็กอายุ 10 ป แตมีความ สามารถเทาเด็กอายุ 7-9 ป เด็กปญญาออน หมายถึง เด็กที่มีความบกพรองทาง ดานสติปญญาอยางชัดเจน หรือมีระดับเชาวปญญาต่ํากวา 70 (ระดับสติปญญา ไดแก ปญญาออนขนาดนอย ขนาดปานกลาง และขนาดรุนแรง) การแสดงออกอาจ จะไมเหมือนเด็กทั่วไปในวัยเดียวกัน บางคนอาจจะพูดไมรูเรื่อง สมาธิสั้น แตบาง คนก็เรียบรอย เชื่อฟงคลายเด็กเล็กกวาอายุจริงแมวาเด็กกลุมนี้จะเรียนไดชากวา ปกติหรือเรียนรูไดนอย แตก็สามารถเรียนรู หรือเรียนหนังสือไดตามความสามารถ ของเด็กแตละคน สามารถฝกใหเด็กชวยเหลือตนเองได เชน การถอด-ใสเสื้อผาดวย ตนเอง การทําความสะอาดบาน ซักผา ลางถวยชาม เปนตน

18


บริการที่คนพิการจะไดรับ ตามพระราชบัญญัติสงเสริม และพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ.2550 บริการทางการแพทย คือ การรักษาพยาบาล เพื่อแกไขความพิการ หรือเพื่อ

ปรับสภาพความพิการ กายอุปกรณและเครื่องชวยคนพิการตางๆ คําแนะนําปรึกษา ทางการแพทย โดยไมเสียคาใชจาย ติดตอขอรับบริการไดที่สถานพยาบาลของรัฐทั่ว ประเทศ บริการทางการศึกษา คือ การเขาเรียนในสถานศึกษาตางๆ อุปกรณและ คาใชจายในการเรียน คําแนะนําปรึกษาเกี่ยวกับการศึกษา ติดตอขอรับบริการไดที่ สํานักงานบริการงานการศึกษาพิเศษ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน หรือศูนยการศึกษาพิเศษประจําจังหวัด - เด็กพิการทางกายหรือการเคลือ่ นไหว สามารถเขาเรียนไดในทุกโรงเรียนทัว่ ประเทศ โดยเรียนรวมกับเด็กปกติ 19


- โรงเรียนประชาบดี ของสถานสงเคราะหเด็กพิการและทุพพลภาพปากเกร็ด ให บริการสอนเด็กพิการทางการมองเห็น ทางการไดยนิ ทางการเคลือ่ นไหว และทางสติ ปญญา ในลักษณะเปนศูนยเตรียมความพรอมกอนสงเด็กพิการประเภทตางๆ เขารับ การศึกษาในโรงเรียนสายสามัญของกระทรวงศึกษาธิการตอไป - โรงเรียนราชานุกูลเปนโรงเรียนเด็กปญหาออนระดับพอฝกไดของโรงพยาบาล ราชานุกูล สังกัดกรมการแพทย กระทรวงสาธารณสุข - ผูพิการที่ประสงคจะเรียนตามหลักสูตรการศึกษานอกโรงเรียน ปจจุบัน กศน. ได จัดใหมีหลักสูตรการศึกษานอกโรงเรียนสําหรับคนพิการแลว ซึ่งเปนหลักสูตรที่จะ สามารถปรับเปลี่ยนและประยุกตใชวิธีเรียน และวิธีสอนใหเหมาะสมสอดคลองกับ สภาพขอจํากัดดานการเรียนรูของกลุม ผูเรียนที่พิการแตละประเภทไดตามที่ครูผู สอนเห็นสมควร บริการทางอาชีพ คือ แนะนําการประกอบอาชีพ การจัดฝกอบรม ใหกยู มื เงิน ทุนประกอบอาชีพ ตลอดจนบริการจัดหางานในสถานประกอบการ บริการทางสังคม คือ ใหคําปรึกษาแนะนําบริการชวยเหลือเด็กพิการ และ ครอบครัวคนพิการที่มีฐานะยากจน และประสบปญหาทางเศรษฐกิจ รวมถึงเบี้ย ยังชีพคนพิการ ใหกบั คนพิการทีส่ ภาพความพิการมากจนไมสามารถประกอบอาชีพ ไดและมีฐานะยากจน ซึ่งบริการทางอาชีพและสังคม ติดตอของรับบริการไดที่หนวย งานทีใ่ หบริการแกคนพิการในสังกัดกระทรวงพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย สานกงานเขตทุ และองคกรปกครองสวนทองถนในจงหวด กรปกครองสวนทองถิน่ ในจังหวัด สํานักงานเขตทุกุ เขตในกรุงุ เทพมหานคร และองค ทีท่คี นพิ นพกิ ารมี ารมภี ูมิลําเเนาอยู นาอยยู

20


นอกจากนี้ ศูนยบริการเบ็ดเสร็จ ณ จุดเดียวสําหรับคนพิการ , สํานักงาน สงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ , สํานักงานพัฒนาสังคมและความ มั่นคงของมนุษยจังหวัดทุกจังหวัด ยังมีการใหบริการทางสังคม ดังนี้ 1. เงินสงเคราะหคนพิการในครอบครัว เปนเงินหรือสิ่งของในกรณีที่มีคนพิการ อยูใ นความอุปการะ หรือเปนคนพิการทีป่ ระสบปญหาดานเศรษฐกิจ รายไดนอ ย ไมเพียงพอแกการครองชีพ การรักษาพยาบาล การซอมแซมที่อยูอาศัย และทุน ประกอบอาชีพ 2. เบี้ยยังชีพคนพิการ เปนเงินสําหรับคนพิการที่มีความพิการมาก มีรายไดไม เพียงพอแกการยังชีพ มีฐานะยากจน อาศัยอยูตามลําพังหรืออยูในครอบครัวที่มี ฐานะยากจน ถูกทอดทิง้ หรือขาดผูอ ปุ การะเลีย้ งดู หรือไมสามารถประกอบอาชีพ เลี้ยงตนเองได ติดตอขอรับบริการได ณ สํานักงานองคกรปกครองสวนทองถิ่น ที่มีภูมิลําเนาอยู 3. บริการรถสามลอมือโยกและรถกีฬาคนพิการ เพื่อชวยคนพิการที่ประสบ ปญหาดานการเคลื่อนไหวรางกายทอนลาง และมีรายไดนอย ไมสามารถจัดซื้อ อุปกรณเองได 4. บริการดูแลคนพิการในสถานสงเคราะห สําหรับคนพิการที่ถูกทอดทิ้ง ไมมีที่ อยูอาศัย ไมมีผูอุปการะเลี้ยงดู ไดรับการดูแลไมเหมาะสม รวมทั้งคนพิการที่เขา พักอาศัยเปนการชั่วคราว โดยเขาอุปการะในสถานสงเคราะหคนพิการที่อยูใน สังกัดกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย 5. การฝกอาชีพคนพิการ ใหบริการฝกอาชีพคนพิการที่ประสงคจะเขารับการ ฝกอาชีพอายุระหวาง 14-40 ป ไมเสียคาใชจาย และเขารับการฝกอาชีพในศูนย ฟนฟูอาชีพคนพิการทั่วประเทศ 6. บริการจัดหางาน คนพิการที่ประสงคจะมีงานทําจะไดรับคําแนะนําและการ ประสานงานสงเขาทํางานในสถานประกอบการ 7. บริการกูยืมเงินกองทุนฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ สนับสนุนการประกอบ อาชีพอิสระของคนพิการ โดยใหกูยืมเงินภายในวงเงินไมเกิน 40,000 บาท โดย ไมมีดอกเบี้ย ผอนชําระไมเกิน 5 ป 21


การจดทะเบียนผูพิการ หลักฐานที่ใชในการจดทะเบียน

1. เอกสารรับรองความพิการ โดยแพทยจากสถานพยาบาลของทางราชการ 2. บัตรประจําตัวประชาชน หรือบัตรประจําตัวขาราชการ หรือบัตรประจําตัวคน ตางดาว ในกรณีผูเยาวใชสูติบัตร พรอมทั้งถายสําเนาเอกสาร 1 ชุด 3. ทะเบียนบานฉบับจริง พรอมทั้งสําเนาเอกสาร 1 ชุด 4. รูปถายขนาด 1 นิ้ว จํานวน 2 รูป

สถานที่จดทะเบียนคนพิการ

สํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยจังหวัดที่ตนอาศัยอยู * สํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยจังหวัดเชียงใหม ตั้งอยู ชั้นที่ 1 อาคารศาลากลางจังหวัดเชียงใหม

22


โรคเอดส (AIDS หรือ Acquired Immune Deficiency Syndromes)

คือ โรคทีท่ าํ ใหภมู คิ มุ กันของรางกายบกพรองจนไมสามารถตอสูเ ชือ้ โรค หรือ สิ่งแปลกปลอมตาง ๆ ที่เขาสูรางกาย ทําใหเกิดโรคตาง ๆ ที่เปนอันตรายถึงแกชีวิต ไดงายกวาคนปกติ A = Acquired หมายถึง สภาวะที่เกิดขึ้นมาภายหลัง ไมไดมีมาแตกําเนิด I = Immune หมายถึง สวนที่เกี่ยวของกับระบบภูมิคุมกัน หรือภูมิตานทาน ของรางกาย D = Deficiency หมายถึง ความเสื่อมลง S = Syndrome หมายถึง กลุมอาการ หรืออาการหลาย ๆ อยางไมเฉพาะ ระบบใดระบบหนึ่ง


การพิจารณาจายเงินเบี้ยยังชีพ • เงินสงเคราะหเพื่อการยังชีพ หมายความวา เงินงบประมาณขององคกรปกครอง สวนทองถิ่นในการสงเคราะหผูสูงอายุ คนพิการ และผูปวยเอดส ที่มีสิทธิไดรับเงิน โดยจายเปนเบี้ยยังชีพ • ผูส งู อายุ หมายความวา บุคคลซึง่ มีอายุเกินหกสิบปบริบรู ณขนึ้ ไปและมีสญ ั ชาติไทย • ผูพิการ หมายความวา คนพิการทีจ่ ดทะเบียนคนพิการตามพระราชบัญญัตฟิ น ฟู สมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. 2534 • ผูปวยเอดส หมายความวา ผูปวยเอดสที่แพทยไดรับรองและทําการวินิจฉัยแลว

คุณสมบัตขิ องผูท ไี่ ดรบั เบีย้ ยังชีพ • มีภูมิลําเนาอยูในพื้นที่ตําบลลวงเหนือ • มีรายไดไมเพียงพอแกการยังชีพ หรือถูกทอดทิ้ง หรือขาดผูอุปการะเลี้ยงดู หรือ ไมสามารถประกอบอาชีพเลี้ยงตนเองได • ผูพ กิ ารตองขึน้ ทะเบียนคนพิการตาม พ.ร.บ. การฟน ฟูสมรรถภาพคนพิการ 2534 • ผูปวยเอดสตองมีในรับรองแพทย และแพทยไดทําการวินิจฉัยแลว • ในกรณีที่ผูสูงอายุ คนพิการ และผูปวยเอดส มีคุณสมบัติเบื้องตนเหมือนกัน ใหผู ทีไ่ ดรบั ความเดือดรอนกวา หรือผูท มี่ ปี ญ  หาซ้าํ ซอน หรือผูท อี่ าศัยอยูใ นพืน้ ทีห่ า งไกล ทุรุ กันดารยากตอการเขาถึงบริการของรัฐเปนผูไู ดรับการพิจารณากอน หรรอื ได ไดร บั การช การชวยเหลือจากส จากสสว นราชการอื นราชกาารอน่ื แล แลว • ไมเปนขาราชการบําเหน็จบํานาญ หรื

24


หลักฐานประกอบการขอรับเงินสงเคราะหเพื่อการยังชีพ 1. สําเนาบัตรประจําตัวประชาชน 2. สําเนาทะเบียนบาน 3. สําเนาสมุดประจําตัวคนพิการ (กรณีผูพิการ) 4. สําเนาใบรับรองแพทย (กรณีผูปวยเอดส) หมายเหตุ ใหรับรองสําเนาถูกตองทุกฉบับ และใหนําเอกสารตัวจริงมาแสดงตอเจา หนาที่ดวย

ขั้นตอนการพิจารณาเบี้ยยังชีพ • จัดประชุมประชาคมหมูบานเพื่อทําการคัดเลือกโดยจัดลําดับผูมีสิทธิไดรับ เบี้ยยังชีพ • ตรวจสอบรายชื่อ และคุณสมบัติผูขอรับเบี้ยยังชีพ • จัดทําทะเบียนประวัติ และบัญชีรายชื่อผูขอรับเบี้ยยังชีพ • คณะกรรมการพิจารณาเบี้ยยังชีพ พิจารณาบัญชีรายชื่อผูขอรับเบี้ยยังชีพ • นําบัญชีรายชื่อที่ผานการพิจารณา เสนอผูบริหารทองถิ่นอนุมัติใหเปน ผูมี สิทธิไดรับเบี้ยยังชีพ • ปดประกาศไวโดยเปดเผยไมนอยกวาสิบหาวัน ณ ที่ทําการเทศบาล และ ที่ทําการผูใหญบาน • หากมีผคู ดั คานผูบ ริหารทองถิน่ แตงตัง้ คณะกรรมการไมนอ ยกวาหาคน ตรวจ สอบการคัดคานและรายงานผลการคัดคานใหทราบภายในสิบหาวัน • ภายในเดือนตุลาคมของทุกปใหผมู สี ทิ ธิไดรบั เบีย้ ยังชีพมาแสดงตนตอเทศบาล ตําบลลวงเหนือ เพื่อแจงความประสงครับเงินเบี้ยยังชีพตอ และแจงวายังมีชีวิต อยู

25


การจายเบี้ยยังชีพ • โอนเขาบัญชีธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร • จายทุก ๆ เดือนละ 500 บาท ตอคน

การเปลี่ยนแปลงรายชื่อผูไดรับเบี้ยยังชีพ การเปลี่ยนแปลงรายชื่อผูไดรับเบี้ยยังชีพ คือ การนํารายชื่อของผูขึ้นทะเบียน สํารองมาใช ในกรณี ดังตอไปนี้ 1. ผูไดรับเบี้ยยังชีพรายเดิมถึงแกกรรม 2. ขาดคุณสมบัติตามคุณสมบัติของผูสูงอายุที่สามารถขอรับการพิจารณาเบี้ยยังชีพ 3. คณะกรรมการตรวจสอบการคัดคานบัญชีผูสูงอายุพิจารณาแลวไมสมควรไดรับ เบี้ยยังชีพ

26


ขั้นตอนการพิจารณาเบี้ยยังชีพ จัดทําประชาคมหมูบาน ประชาคมคัดเลือกรายชื่อ ตามคุณสมบัติ/หลักเกณฑ ผาน

คณะกรรมการสวัสดิการ พิจารณาบัญชีรายชื่อ

จัดทําทะเบียนประวัติ

ไมผาน

ขึ้นบัญชีสํารอง ไมได

ติดประกาศ 15 วัน

ได ไมผาน

มีผูคัดคาน ไมมี

ผูบริหารอนุมัติ

ผาน

คณะกรรมการตรวจ การคัดคาน

รับเบี้ยยังชีพ มาแสดงตนตอเทศบาล. ภายในเดือนตุลาคมของทุก เสียชีวิต ระงับการจายเบี้ยยังชีพ 27

พิจารณาในปตอไป หรือกรณีแทนผูเสียชีวิต


การปฎิบัติตัวของญาติและผูใกลชิดผูปวย 1. ศึกษาใหเขาใจเกี่ยวกับโรคเอดสอยางถองแท 2. ใหกําลังใจ ดูแลผูปวยดวยความรักและความอบอุน เชน การพูดคุย สัมผัส โอบกอด 3. หากผูปวยมีบาดแผลหรือเปรอะเปอนเลือดหรือน้ําเหลืองที่รางกาย หรือ เสื้อผาของผูปวย ควร หลีกเลี่ยงการสัมผัสถูกโดยตรง ถาจะสัมผัสควรสวม ถุงมือยาง ถาไมมี อาจใชถุงพลาติกที่ไม มีรูรั่ว 2-3 ชั้น แทนก็ได 4. เสื้อผา ผาเช็ดตัว ผาปูที่นอน ของผูปวย ที่ไมเปอนเลือดหรือน้ําเหลือง ไม ตองแยกซักตางหาก แตถาเปอนเลือดหรือน้ําเหลือง ควรใชถุงมือยางจับตอง และนําไปแชในน้ําผสมผงฟอกขาวนาน ประมาณ 30 นาทีเสียกอน แลวจึง นําไปซักดวยผงซักฟอกตามปกติ 5. ทุกคนในบานสามารถใชหองน้ํา หองสวมรวมกับผูปวยได แตควรทํา ความสะอาดโดยสวมถุ​ุง มือ และใชน้ํายาลางหองน้ําที่มีสวนผสมของคลอรอกซ (Chorox) หรือน้ํายาฆาเชื้อ 6. เครื่องครัว ถวย จาน ชาม ชอน สอม ไมจําเปนตองแยกใชตางหาก และใน การกินอาหารรวม สํารับกันควรใชชอนกลางทุกครั้ง เพื่อสุขอนามัยที่ดี

28




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.