วารสารสื่อสัมพันธ์ 200

Page 1

ส ง เสริ ม วิ ช าการประชาสั ม พั น ธ สร า งสรรค ภ าพลั ก ษณ อ งค ก ร ISSN : 1685-6090

วารสารสื่ อ สั ม พั น ธ

ปที่ 15 ฉบับที่ 200 เดือนตุลาคม 2551 | http://region3.prd.go.th

ฉบับนี้มีอะไร

2

กาวยาง 48 ป กวาจะเปน สปข.3

58

งานพระราชพิธี พระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็ จ พระเจ า พี่ น างเธอ เจาฟากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาส ราชนครินทร

แอวเมืองนาน ชมการแขงขันกีฬาชาวเขา

3 กาวตอไปของ สปข.3 4 คุณสมบัติที่ดีของพิธีกร,

เบือ้ งหลังความสำเร็จ คือ ทีมงาน ที่เปนหนึ่งเดียว สปข.3 กั บ การพั ฒ นา เครือขายขอมูลขาวสารในพื้นที่, การบริหารงานและหลักธรรม ทางพระพุทธศาสนา

6


2

กาวยาง 48 ป กวาจะเปน สปข.3

ย

อนกลับไปในสมัยรัฐบาลของ จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชติ์ เมือ่ ป พ.ศ. 2502 ได เ ล็ ง เห็ น ความสำคั ญ ของการนำนโยบายภาครั ฐ ไปสู ก ารพั ฒ นา เศรษฐกิจและสังคมอยางเห็นผล จึงมีแนวคิดในการขยายงานวิทยุกระจายเสียง และวิทยุโทรทัศนของกรมประชาสัมพันธไปทั่วทุกภูมิภาคของประเทศไทย โดยในภาคเหนือไดเลือกจังหวัดลำปางเปนที่ตั้ง และเรียกชื่อสมัยนั้นวา “สำนักงานประชาสัมพันธเขตลำปาง” เปดดำเนินการมาตั้งแตวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2503 เปนตนมา ต อ มาเปลี่ ย นชื่ อ เป น “กองประชาสั ม พั น ธ เขตลำปาง” ตาม ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรือ่ ง การแบงสวนราชการกรมประชาสัมพันธ เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2505 และในป พ.ศ. 2518 ไดเปลี่ยนชื่อเปน “ศูนยประชาสัมพันธเขต 2 ลำปาง” ตามพระราชกฤษฎีกาแบงสวน ราชการ (ฉบับที่ 2) รับผิดชอบการบริหารงานประชาสัมพันธ ดานวิทยุ กระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน ในเขตพื้นที่ภาคเหนือ จำนวน 17 จังหวัด ต อ มาได เ ปลี่ ย นชื่ อ เป น “ศู น ย ป ระชาสั ม พั น ธ เขต 3 ลำปาง” ตาม พระราชกฤษฎี ก าแบ ง ส ว นราชการ กรมประชาสั ม พั น ธ พ.ศ. 2529 ใหมีหนาที่รับผิดชอบการบริหารงานประชาสัมพันธ ในเขตพื้นที่ภาคเหนือ ตอนบน จำนวน 8 จังหวัด ไดแก ลำปาง ลำพูน เชียงใหม เชียงราย พะเยา แพร นาน และแมฮองสอน ในป พ.ศ. 2540 มีการแบงสวนราชการตามพระราชกฤษฎีกาการ แบงสวนราชการ กรมประชาสัมพันธ สำนักนายกรัฐมนตรี พ.ศ. 2540 สปข.3 ไดเปลี่ยนชื่ออีกครั้งเปน “สำนักประชาสัมพันธเขต 3 ลำปาง” และยายมาตั้งที่ทำการใหม เลขที่ 49 ถนนประชาสัมพันธ ตำบลชางคลาน อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม และใชชื่อ “สำนักประชาสัมพันธเขต 3 เชียงใหม” ในปจจุบัน

สำนั ำ ักปประชาสั​ัมพั​ันธเขต 3 มี​ีสื่อวิ​ิทยุกระจายเสียงแหงประเทศไทย (สวท.) ในความรับผิดชอบกระจายอยูในพื้นที่ 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน จำนวน 10 สถานี คือ สวท.เชียงใหม, เชียงราย, ลำพูน, ลำปาง, แพร, นาน, พะเยา, แมฮองสอน, อำเภอแมสะเรียง และอำเภอฝาง รวมทั้ง สถานีวิทยุกระจายเสียงแหงประเทศไทยเพื่อการศึกษา (สวศ.) 2 แหง คือ สวศ.ลำปาง และ สวศ.แมฮองสอน สือ่ โทรทัศนในความดูแล คือ “สถานีวทิ ยุโทรทัศนแหงประเทศไทย” หรือ “ชอง 8 ลำปาง” ที่คุนเคยกันดีในยุคแรก ตอมาเปลี่ยนชื่อเปน “ชอง 11 ลำปาง” ยายมาตั้งที่ทำการใหมที่จังหวัดเชียงใหม และได เปลี่ยนชื่อเปน สถานีโทรทัศน “NBT เชียงใหม” ในปจจุบัน ทั้ ง สื่ อ วิ ท ยุ ก ระจายเสี ย งและวิ ท ยุ โ ทรทั ศ น ใ นสั ง กั ด สำนั ก ประชาสั ม พั น ธ เขต 3 เชี ย งใหม ไ ด ผ ลิ ต รายการและข า วที่ ต อบสนอง ยุ ท ธศาสตร ข องแต ล ะจั ง หวั ด โดยเป ด โอกาสให ป ระชาชนในท อ งถิ่ น มีสวนรวมในการผลิตรายการเพื่อชุมชน โดยเฉพาะที่จังหวัดเชียงใหม นอกจากคลื่นวิทยุปกติแลว ยังมีสถานีวิทยุเพื่อชาวไทยภูเขา ซึ่งจัดตั้งโดย ความชวยเหลือของรัฐบาลสหรัฐอเมริกาเพื่อรวมพัฒนาประเทศและวิถี ชีวติ ของชนเผา ใหบริการครอบคลุมผูฟ ง และกระจายเสียงดวยภาษาชาวเขา 7 เผา ไดแก มง, เยา, กะเหรี่ยง, ลีซู, อาขา, ลาหู และไทยใหญ ถึงวันนี้ สำนักประชาสัมพันธเขต 3 เชียงใหมมีอายุครบ 48 ป หากแต ภ ารกิ จ สำคั ญ ยั ง คงยึ ด มั่ น ในการทำหน า ที่ เ ป น ศู น ย ก ลาง การประชาสั ม พั น ธ เ ผยแพร ข อ มู ล ข า วสาร ส ง เสริ ม สนั บ สนุ น ประสานงานดานการประชาสัมพันธแกหนวยงานภาครัฐ เอกชน องค ก รท อ งถิ่ น และประชาชนในเขตพื้ น ที่ ภ าคเหนื อ ตอนบน ภายใตวิสัยทัศนที่วา “สำนั ก ประชาสั ม พั น ธ เขต 3 เป น องค ก รหลั ก ด า นการ ประชาสั ม พั น ธ ข องรั ฐ มุ ง เสริ ม สร า งความเข า ใจ และ สงเสริมการมีสวนรวมระหวางภาครัฐ และประชาชน เพื่ อ พั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ของประชาชน ในพื้ น ที่ ภาคเหนือตอนบนอยางเสมอภาคและทั่วถึง”


3

สารจาก อปส. นายเผชิญ ขำโพธิ์ อธิบดีกรมประชาสัมพันธ

นโอกาสที่ ส ำนั ก ประชาสั ม พั น ธ เขต 3 เชี ย งใหม ซึ่ ง เป น หน ว ยงาน ประชาสัมพันธของรัฐในพื้นที่ภาคเหนือตอนบนมีอายุครบ 48 ปของการ กอตั้ง ผมขอสงความปรารถนาดีมายังเพื่อนขาราชการ ผูบริหาร ของสำนัก ประชาสัมพันธเขต 3 ทุกทาน ขอใหประสบแตความสุข ความเจริญ มีกำลังกาย กำลังใจที่ดีในการปฏิบัติหนาที่ราชการใหการประชาสัมพันธของรัฐประสบ ความสำเร็จในพื้นที่ภาคเหนือตอนบนอยางเต็มกำลัง สิ่ ง ที่ อ ยากจะฝากให เ พื่ อ นข า ราชการและเจ า หน า ที่ ส ำนั ก ประชาสั ม พั น ธ เขต 3 ได ยึ ด เป น แนวทางในการทำงานต อ ไป ก็ คื อ กรมประชาสัมพันธยังคงยึดแนวนโยบายการกระจายขอมูลขาวสาร เผยแพร ความรู สร า งความเข า ใจให กั บ ประชาชน เพื่ อ นำความรู ข อ มู ล ข า วสาร ที่ไดรับจากสื่อของกรมประชาสัมพันธไปใชใหเกิดประโยชนในดานการพัฒนา คุ ณ ภาพชี วิ ต ร ว มกั น สร า งสรรค แ ละพั ฒ นาประเทศชาติ บ า นเมื อ งให มี ความเจริญกาวหนา ทิ ศ ทางการบริ ห ารงานประชาสั ม พั น ธ ใ นส ว นภู มิ ภ าค หลั ก ในการ ดำเนินการตองสนับสนุนยุทธศาสตรของชาติและนโยบายรัฐ บนหลักการ สำคัญ คือ การเชื่อมโยง สอดคลองระหวางยุทธศาสตร นโยบายของรัฐ การพัฒนากลุมจังหวัด แผนยุทธศาสตรการประชาสัมพันธระหวางหนวยงาน และโครงการ ประชาสัมพันธระหวางสวนกลางและสวนภูมิภาค โดยการ บู ร ณาการตั้ ง แต ก ระบวนการวางแผน กระบวนการกำหนดยุ ท ธศาสตร การบริหารตามแผนยุทธศาสตร รวมถึงการบรูณาการระหวางแผนงานและ แผนงบประมาณ ใหทุกภาคสวนเขามามีสวนรวมและใหความสำคัญ ประการต อ ไปคื อ การมี ส ว นร ว มและให ค วามสำคั ญ ในการกำหนด ยุ ท ธศาสตร การจั ด ทำแผนพั ฒ นาจั ง หวั ด และกลุ ม จั ง หวั ด ซึ่ ง สำนั ก ประชาสัมพันธเขต 1 – 8 ถือเปนกลไกหลักที่สำคัญในการดำเนินการรวมกับ สำนักงานประชาสัมพันธจังหวัด โดยบูรณาการการทำงานรวมกันระหวาง กรมประชาสัมพันธทั้งสวนกลางและสวนภูมิภาค อยากใหมีการเชื่อมแผน ประชาสัมพันธแบบครบวงจร จากกรมประชาสัมพันธสวนกลางและสำนัก ประชาสัมพันธเขต 1 - 8 ดูแลครอบคลุมพื้นที่ทุกจังหวัดในประเทศไทย บทบาทสำคั ญ ในแผนงาน โครงการที่ ส อดคล อ งกั บ แผนงาน ยุทธศาสตรที่ตองเรงดำเนินการ คือ โครงการประชาสัมพันธเทิดทูนสถาบัน พระมหากษัตริย, การประชาสัมพันธการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริยทรงเปนประมุข และการสรางเครือขายประชาสัมพันธใน ประเทศ อยางไรก็ตาม การประชาสัมพันธทั้งสวนกลางและภูมิภาคมีการ ดำเนิ น การประชาสั ม พั น ธ ผ า นสื่ อ ทุ ก ส ว น รวมทั้ ง เครื อ ข า ยครอบคลุ ม ทุกประเภทยุทธศาสตร ผมหวังวาสำนักประชาสัมพันธเขต 3 ซึ่งทำหนาที่ในฐานะหนวยงาน ประชาสั ม พั น ธ ข องรั ฐ ในภู มิ ภ าคภาคเหนื อ ตอนบน จะได ด ำเนิ น ภารกิ จ ที่กลาวมาแลวประสบผลสำเร็จไดดี และขออำนวยอวยพรใหทุกทานที่ได ร ว มมื อ กั น ปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ นั้ น ประสบแต ค วามสำเร็ จ ความสุ ข และความ กาวหนาในชีวิตตลอดไป

กาวตอไปของ สปข.3

ทำงาานแบบ ทำงานแบบบู น บ นแ บบ บบู บ บร รณาการและมี รณาการแล ณ ณาการและมี ร มส มสวนรว วนร น นร รวม

ลอดระยะเวลา ลอดร ะยะเวลา 48 ปปทผานมา ที่ผานมา สำนั สำนกประชาสมพนธเขต กประชาสัมพันธเขต 3 ไดทำหนาทเปน ไดทำหนาที่เปน องคกรรประชาสัมพันธของรัฐในพืน้ ทีภ่ าคเหนือตอนบนอยางตอเนือ่ ง ทิศทาง ตอไปในบทบาทของ สปข.3 ภายใตการกำกับดูแลของ นางสาวสมใจ สะสมทรัพย ผูอำนวยการสำนักประชาสัมพันธเขต 3 คนปจจุบัน ไดกำหนดทิศทางและ เปาหมายการประชาสัมพันธรองรับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 โดยเนนความสุขของประชาชน ตามแนวพระราชดำริ “ปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง” สงเสริมใหประชาชนมีโอกาสรับรูขอมูลขาวสารจากทาง ราชการ และสื่อสาธารณะอื่นไดอยางกวางขวาง ถูกตอง เปนธรรมและรวดเร็ว ภารกิ จ ใหม ข องสำนั ก ประชาสั ม พั น ธ เขต 3 ยั ง เน น บทบาทด า น การประชาสัมพันธสนับสนุนยุทธศาสตรกลุม จังหวัดสอดคลองกับยุทธศาสตรชาติ 5 ประเด็น คือ ยุทธศาสตรสรางฐานเศรษฐกิจใหมที่มีศักยภาพและโอกาส การแขงขันในระดับนานาชาติ, ยุทธศาสตรการพัฒนาใหเปนศูนยกลางการคา การลงทุ น และศู น ย ก ลางการคมนาคมขนส ง เชื่ อ มโยงกลุ ม ประเทศ GMS BIMSTEC และประเทศอื่น ๆ, ยุทธศาสตรสรางความเขมแข็งใหกับภาคการผลิต การคา และการบริการ เพื่อเพิ่มมูลคาใหกับฐานเศรษฐกิจเดิมไดอยางยั่งยืน ยุทธศาสตรพัฒนาทรัพยากรมนุษย คุณภาพชีวิต ดำรงฐานวัฒนธรรมและ ทุนทางสังคมของลานนา และยุทธศาสตรการดำรงความเปนฐานทรัพยากร ธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ และจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอมที่ดี โดยมี ส ำนั ก งานประชาสั ม พั น ธ จั ง หวั ด ที่ ป ระจำในทุ ก จั ง หวั ด จั ด ทำ แผนประชาสัมพันธสนับสนุนยุทธศาสตรแตละจังหวัด โดยสามารถเผยแพร ขอมูลขาวสารที่สนับสนุนยุทธศาสตรดังกลาวผานชองทางการประชาสัมพันธ ที่หลากหลาย ทั้งผานสื่อของกรมประชาสัมพันธ ไดแก สถานีวิทยุโทรทัศน แหงประเทศไทย NBT เชียงใหม และสถานีเครื่องสง 10 สถานีครอบคลุมพื้นที่ 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน สถานีวิทยุกระจายเสียงแหงประเทศไทยในพื้นที่ 10 สถานี สำนักประชาสัมพันธเขต 3 ยังมีชองทางสื่อที่สำคัญอีกชองทางหนึ่งคือสื่อ อินเทอรเน็ตเว็บไซด region3.prd.go.th และสื่อสิ่งพิมพที่ผลิตเปนประจำ ทุกเดือน คือ วารสารสื่อสัมพันธ สปข.3 และพันธมิตรสื่อสนับสนุนภายนอก ประกอบดวย สื่อสิ่งพิมพทองถิ่นทั้งภาษาไทยและภาษาตางประเทศ ในพื้นที่ 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน รวมทั้งสิ้นภาษาไทย จำนวน 52 ฉบับ ภาษา ตางประเทศ 4 ฉบับ ซึ่งหนังสือพิมพรายวันที่มียอดพิมพสูงสุดคือหนังสือพิมพ ไทยนิวส โดยมียอดพิมพ 50,000 ฉบับตอวัน สำนักประชาสัมพันธเขต 3 จะยังคงเดินหนาพัฒนางานอยางตอเนื่อง และเต็มศักยภาพเพื่อภาพลักษณใหมของกรมประชาสัมพันธที่วา “กรมประชาสัมพันธ ยุคใหม กาวไกลดวยศรัทธา สงาดวยศักดิ์ศรี ทวีสาระและขาวสาร”


4

แลกเปลี่ยนเรียนรู นางนวพรรณ ไชยวรรณ อุทัยยศ นักประชาสัมพันธ 4 สผป.สปข.3

เทคนิคการเปนพิธีกรมืออาชีพ ตอนที่ 3 คุณสมบัติที่ดีของพิธีกร

ผลิตรายการอยางไร ถึงไดรางวัล

ารทำหนาทีพ่ ธิ กี รไมวา จะงานพิธกี าร งานรืน่ เริง งานสัมมนา งานทางศาสนา หรืองานใด ๆ ก็แลวแต พิธีกรจำเปนตองระลึกไวอยูเสมอวา “พิธกี รคือ บุคคลสำคัญทีต่ อ งทำหนาทีก่ ำกับลำดับงานตาง ๆ ใหเปนไปดวยความเรียบรอย และบรรลุวัตถุประสงคของงาน” คุณสมบัติที่ดีของพิธีกร พอจะสรุปไดวาควรจะมีคุณสมบัติ ดังนี้ 1. มี บุ ค ลิ ก ภาพดี ในที่ นี้ ห มายถึ ง บุ ค ลิ ก ภาพภายใน คื อ ความเชื่ อ มั่ น ในตนเอง มี ป ฏิ ภ าณไหวพริ บ ดี ความจำเยี่ ย ม และมี ค วามกระตื อ รื อ ร น สวนบุคลิกภาพภายนอก คือ การแตงกาย กิรยิ าทาทาง การเคลือ่ นไหว และการใช 2. รูจักกาลเทศะ พิธีกรที่ดีจำเปนตองรูจักกาลเทศะและมีความเขาใจใน สถานการณที่เกิดขึ้น 3. ศึกษาลำดับพิธีการ ความเปนมาและเนื้อหาที่จะพูดอยางถองแท 4. รับผิดชอบตอหนาที่ของตนเองอยางเต็มความสามารถ 5. มีความยืดหยุนและสามารถควบคุมสถานการณตาง ๆ ไดเปนอยางดี เหลานี้คือคุณสมบัติที่พิธีกรทุกคนพึงมี แตไมไดหมายความวาเพียงแค คุณสมบัติ 5 ขอที่กลาวมานี้จะทำใหเราไดรับการยอมรับวาพิธีกรมืออาชีพ เรายั ง ต อ งหาประสบการณ จ ากการเป น พิ ธี ก รในงานที่ มี ค วามแตกต า ง และทาทาย จึงจะทำใหสามารถพัฒนาทักษะการเปนพิธกี รจนไดรบั การยอมรับวา เปนพิธีกรมืออาชีพได

“ ร ายการรั ฐ สภาของเรา” สภาของเรา ”

สวท.นาน, สวท.พะเยา ายการรัฐสภาของเรา นับไดวาเปนการผลิตรายการที่แตกตางไปจาก การผลิ ต รายการโดยทั โ ั่ ว ไไปที​ี่ ส ว นใหญ ใ  ผู ผ ลิ ต รายการต อ งกำหนด ำ วัตถุประสงค กลุมเปาหมาย เนื้อหา สาระเอง ทั้งนี้ นอกจากจะผลิตรายการ ใหถูกใจผูฟงกลุมเปาหมายแลว ยังตองผลิตรายการใหถูกใจคณะกรรมการ และถูกตองตามหลักและกฎเกณฑทรี่ ฐั สภาวางกรอบไวอกี ดวย การผลิตรายการ มีการประชุมรวมกันเพื่อพิจารณากำหนดรูปแบบ รายการ เปนลักษณะนิตยสารทางอากาศ กำหนดเนื้อหาสาระ โดยนำโจทย หรือหลักเกณฑของรัฐสภาที่ไดกำหนดไวมาแจกแจงเปนชวง ๆ มีเนื้อหา ที่ ส ามารถเข า ถึ ง วั ย รุ น ซึ่ ง เป น กลุ ม เป า หมายหลั ก กำหนดตั ว บุ ค คล เพื่ อ มอบหมายงานให รั บ ผิ ด ชอบตามขั้ น ตอนที่ ว างไว รวมทั้ ง เทคนิ ค การนำเสนอของผูดำเนินรายการ ผูรวมรายการ น้ำเสียง ลีลา วรรคตอน อักขระวิธี ความเปนธรรมชาติ

ประสบการณสื่อ ชนิสา ชมศิลป

เบื้องหลังความสำเร็จ คือ ทีมงานที่เปนหนึ่งเดียว

ถื

อเป น ความภาคภู มิ ใจอี ก วาระหนึ่ ง ของที ม งาน สวท.แพร ที่ ส ามารถ ควาชัยในการรับรางวัลชนะเลิศ สถานีวิทยุกระจายเสียงแหงประเทศไทย ดีเดนระดับประเทศของกรมประชาสัมพันธ ในป พ.ศ. 2550 หลั ง รั บ รางวั ล สวท.แพร มี พี่ น อ งชาวกรมประชาสั ม พั น ธ จ ากหลายที่ หลายแหงทั่วประเทศ แวะเยือน มาเยี่ยม มาดู สอบถามวิธีการทำงาน มาพูดคุย ทักทาย ทำใหทีมงานคึกคัก สดชื่นกันอยูเปนระยะ ๆ เคยตั้ ง คำถามในกลุ ม ที ม งานว า อะไรคื อ สิ่ ง ที่ เ ด น จนทำให สวท.แพร ไดรับรางวัล บางคนก็วาเพราะเราตอบโจทยของคณะกรรมการไดตรงประเด็น ไมวาจะเปนการบริหารจัดการองคกร การมีเครือขายการทำงานทั้งภาครัฐ เอกชน ภาคประชาสังคมที่รวมทำงานกันมาอยางตอเนื่อง จนเรามีแฟนพันธุแท เปนผูฟงจากหลากหลายพื้นที่ หรืออาจจะเปนเพราะเราสามารถหางบประมาณ สนับสนุนจากการรวมมือของเครือขาย หนวยงานภาครัฐดวยกัน ผานการทำ โครงการประชาสัมพันธในพื้นที่ และระดับภาค แมจะเปนเพียงแคสถานีวิทยุ ในจังหวัดเล็ก ๆ จนมีงบประมาณเพียงพอจะดูแลและพัฒนางานของสถานีได อยางตอเนื่อง โดยไมตองใชงบประมาณปกติของสถานีที่มีเพียงนอยนิดตอป หรืออาจจะเปนเพราะขวัญกำลังใจของเจาหนาทีท่ ไี่ ดรบั การดูแลตามสิทธิอนั พึงได จากเบี้ยเลี้ยงการทำงาน ในอัตราที่หลวงกำหนด แลวสงผลใหแววตาเปยมสุข ของทีมงานเปลงประกาย แตเหลานี้ สวท. อืน่ ๆ ก็คงมีหรืออาจจะมีมากกวาดวยซ้ำ จุดแข็งทีค่ ดิ วา สวท.แพร มี คือ ทีมงานทีเ่ ปนหนึง่ เดียว เราทำงานกันแบบ รวมหมู ทุ ก คนสามารถทำงานในหน า ที่ ที่ ต า งจากบทบาททางตำแหน ง ได

ผูอำนวยการสถานีเปนไดทั้งผูบริหารและยอดนักปฏิบัติการ ทีมชางเทคนิค จัดรายการวิทยุไดทุกคน ทีมขาวและรายการสามารถชวยงานดานเทคนิคได ฝายธุรการ นอกจากชวยอำนวยความสะดวก เปนแมบานของสถานี ก็สามารถ จัดรายการวิทยุเพิ่มสีสันใหกับผังรายการได เวลาตองออกทำงานนอกสถานที่ ไมวาจะเปนการถายทอดเสียง หรือการจัดกิจกรรมเวทีสัญจร ทุกคนชัดเจน ในบทบาทและช ว ยกั น แบบร ว มหั ว จมท า ยจนงานสำเร็ จ ด ว ยดี พวกเรามั ก นั่งลอมวงคุยกัน แลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการทำงานระหวางกัน โดยไมคิดวา เปนหนาที่เฉพาะของใคร การไดอยูรวมกันแบบพี่แบบนอง เจอกันทุกวันไมเวนวันหยุดราชการ ทะเลาะกันบาง ก็เรียกวาปกติ เพราะถึงที่สุดเราก็กลับมานั่งคุยกัน ชวยกัน ทำงาน หัวเราะกันไดอีก เพราะมีจุดรวมที่เหมือนกัน คือ ความรักตอสถานีฯ และรักในความเปนคนกรมประชาสัมพันธ แมการไดรับรางวัล สวท. ดีเดนระดับประเทศ จะทำใหเกิดความรูสึกที่ดี ตอการดำเนินงานที่ผานมา แตการรักษาระดับมาตรฐานใหคงอยูหรือกาวหนา พัฒนาตอไป ก็ถือเปนสิ่งทาทายที่พวกเราชาว สวท.แพร ตองทำใหได รูปแบบ การทำงานอาจมี ก ารเปลี่ ย นแปลงไปตามเงื่ อ นไขของเวลา สถานการณ และนโยบายการบริ ห าร แต สิ่ ง ที่ พ วกเราคิ ด ว า เปลี่ ย นไม ไ ด และต อ งรั ก ษา ใหดำรงอยูตอไป คือ ความรัก ความเอื้ออาทร และความสามัคคี ของทีมงาน เพราะเราเชื่อวา

ทีมงานดี สงผลใหงานสำเร็จไปแลวเกินกวาครึ่ง


ภารกิจประชาสัมพันธ

งานพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จพระเจาพี่นางเธอ เจาฟากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร

มื่อคณะกรรมการอำนวยการจัดงานพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็ จ พระเจ า พี่ น างเธอ เจ า ฟ า กั ล ยาณิ วั ฒ นา กรมหลวงนราธิ ว าส ราชนครินทร ซึ่งมีนายกรัฐมนตรีเปนประธานไดรับพระราชบรมราชานุญาต ให จั ด พระราชพิ ธี พ ระราชทานเพลิ ง พระศพฯ ขึ้ น ระหว า งวั น ที่ 14 – 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 ณ ทองสนามหลวง กรุงเทพมหานคร สำนั ก ประชาสั ม พั น ธ เขต 3 ในฐานะหน ว ยงานประชาสั ม พั น ธ ข องรั ฐ ในพื้ น ที่ ภ าคเหนื อ ตอนบนจึ ง ได จั ด ทำโครงการประชาสั ม พั น ธ ก ารจั ด งาน พระราชพิธพี ระราชทานเพลิงพระศพสมเด็จพระเจาพีน่ างเธอ เจาฟากัลยาณิวฒ ั นา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทรขึ้น โดยมีวัตถุประสงค เพื่อใหประชาชนไดรับ ข อ มู ล ข า วสารเกี่ ย วกั บ พระราชพิ ธี พ ระราชทานเพลิ ง พระศพฯ ตามโบราณ ราชประเพณีและเขารวมกิจกรรมถวายอาลัยในงานพระราชพิธีพระราชทาน เพลิงพระศพที่จัดขึ้นในพื้นที่ ในการจัดทำแผนปฏิบัติการไดกำหนดกิจกรรมการประชาสัมพันธทั้งในสื่อ วิ ท ยุ ก ระจายเสี ย ง วิ ท ยุ โ ทรทั ศ น สื่ อ สิ่ ง พิ ม พ แ ละสื่ อ อิ น เตอร เ น็ ต ของสำนั ก ประชาสัมพันธเขต 3 รวมถึงสื่อภายนอกที่เปนเครือขายดานการประชาสัมพันธ โดยมีกิจกรรมดังนี้ สื่อวิทยุกระจายเสียงและสื่อโทรทัศน ไดผลิตและเผยแพรสารคดีสั้นเฉลิม พระเกียรติภาษาถิน่ ความยาว 5 นาที มีเนือ้ หาเทิดพระเกียรติสมเด็จพระพีน่ างเธอ เจาฟากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร สปอตประชาสัมพันธ ภาษาถิ่ น ที่ เ ป น ภาษาคำเมื อ งและภาษาชนเผ า เชิ ญ ชวนให ป ระชาชน ร ว มกิ จ กรรมและร ว มงานพระราชพิ ธี พ ระราชทานเพลิ ง พระศพ ฯ การจั ด รายการพิเศษ เผยแพรพระประวัติ พระจริยาวัตร และพระกรณียกิจในสมเด็จ พระเจาพี่นางเธอ เจาฟากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร ที่ทรง ปฏิบัติมาตลอดระยะเวลา 84 พรรษา ขาวสารความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับการจัด พระราชทานเพลิงพระศพฯ ถายทอดเสียงงานพระราชพิธีพระราชทานเพลิง พระศพฯ จากทองสนามหลวง และพิธีถวายดอกไมจันทนในวันพระราชพิธี พระราชทานเพลิงพระศพฯ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 รวมถึงการจัดทำและ เผยแพรขอมูลขาวสารทาง Website สปข.3 ในลักษณะขาวประชาสัมพันธ (Press Release) และภาพกิจกรรมตาง ๆ การจัดสัมมนาสื่อมวลชนในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน เรื่อง “การจัดรายการ วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศนที่เกี่ยวเนื่องกับงานพระราชพิธีพระราชทาน เพลิงพระศพฯ” ซึง่ จัดขึน้ ทีโ่ รงแรมดิเอ็มเพรส จ.เชียงใหม เมือ่ วันที่ 6 ตุลาคม 51 โดยมี นางสาวสมใจ สะสมทรัพย ผูอำนวยการสำนักประชาสัมพันธเขต 3 เชียงใหม เปนประธานเปดสัมมนา เพื่อใหนักจัดรายการวิทยุกระจายเสียง วิทยุ โทรทัศน วิทยุชุมชนและสื่อมวลชนในภาคเหนือตอนบนไดรับความรู ความ เคลือ่ นไหวเกีย่ วกับการจัดงานพระราชพิธพี ระราชทานเพลิงพระศพฯ นำไปเผยแพร ไดอยางถูกตองตามโบราณราชประเพณีและสมพระเกียรติ โดยเชิญวิทยากร ผูทรงคุณวุฒิจากสำนักราชเลขาธิการ สำนักพระราชวัง กรมศิลปากร และ กรมประชาสัมพันธมาใหรายละเอียดเกี่ยวกับการจัดพระราชพิธีและใหความรู เกี่ยวกับการใชคำราชาศัพท มีนักจัดรายการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน วิทยุชุมชน สื่อสิ่งพิมพ และเจาหนาที่ประชาสัมพันธองคกรปกครองสวนทองถิ่น เขารวมสัมมนาครั้งนี้ประมาณ 100 คน

ในวันที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2551 ยังไดนำคณะสื่อมวลชนเขากราบพระศพ สมเด็จพระเจาพี่นางเธอ เจาฟากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร ณ พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท สำรวจเสนทางขบวนพระอิสริยยศและเขาชม การกอสรางพระเมรุ พระยานมาศ ราชรถ ราชยาน ที่พิพิธภัณฑสถานพระนคร ทองสนามหลวง หากแตสิ่งที่ สปข.3 ภาคภูมิใจอีกกิจกรรมหนึ่ง ก็คือ การไดรวมกับศิลปน ลานนากวา 30 คน สรางสรรคบทเพลงลานนาเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเจา พี่นางเธอ เจาฟากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร ชื่อเพลง “พระกรุณา สมเด็จเจาฟากรมหลวงฯ” ทั้งที่เปนภาษาพื้นเมืองและภาษาไทย กลาง นำออกเผยแพรออกอากาศทั้งสื่อวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศนในสังกัด กรมประชาสัมพันธทั่วประเทศ รวมทั้งวิทยุชุมชนในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน นอกจากนี้ ยังไดนำบทเพลงเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เนื่องในโอกาสทรงครองสิริราชสมบัติครบ 60 ป ชื่อเพลง “60 ป พระภูมิพล” บทเพลงเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวในงานมหกรรมดนตรี เฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา “รอยใจไทยเปนหนึ่งเดียว” จำนวน 2 บทเพลง คือ “รอยดวงใจ ถวายไท องคราชัน” และ “ปอหลวงของปวงประชา” บทเพลง เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจา พระบรมราชินีนาถ ที่สำนักประชาสัมพันธ เขต 3 จั ด ทำเมื่ อ ป พ.ศ. 2547 จำนวน 5 บทเพลง ได แ ก “พระแม แ ก ว ของแผนดิน” “ยอคุณแมเจา” “พระแมเจาหลวง” “ยิ่งฟากวาแดน” และ “พระแมของผองขา” มารวบรวมเปนแผนซีดีเพลงในแผนเดียวกัน เพื่อเผยแพร พระเกียรติคุณของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว สมเด็จพระนางเจา พระบรม ราชินีนาถ และพระกรุณาธิคุณของพระบรมวงศานุวงศทุกพระองค สำนักประชาสัมพันธเขต 3 ขอขอบคุณศิลปนลานนาและผูที่มีสวนรวม ทุกทานที่สละเวลารวมกันจัดทำบทเพลงเฉลิมพระเกียรติชุดนี้ใหสำเร็จลุลวง ไปดวยดี

5


6

บทความสารพัน

วีระศักดิ์ เชิงเชาว

การบริหารงานและหลักธรรมทางพุทธศาสนา

ารบริหารงานเปนหนาทที​ี่ของผูบังคับบัญชชาหรื าหรื​ือที่เรียกวาเเจจานนาย าย ซึ่งปฏิบัติ ลูกนอง นอง กการที ตตอผ อผผผูใู ตตบบงคบบญชาหรอท ังคับบัญชาหรือทที​ี่เเรยกวาลู รียกวาลกน ารที่จะเป ะเปนผู นผผูบ ริรหหาร าารที รทีทดี่ดี จะต จะตอง อง ยยึ​ึดหหลัลักธธรรม รรม เเววนออคติ คติ 4 คือ 11. ไมลำำเอี เออียงงเพราะชอบ เพพราะชอบ (เวนฉันทาคติ) 2. ไมลำเอียงเพราะชัง (เวนโทสาคติ) 3. ไมลำเอียงเพราะขลาด (เวนภยาคติ) 4. ไมลำเอียงเพราะเขลา (เวนโมหาคติ) สาเหตุทผี่ บู งั คับบัญชาหรือเจานายมีอคติ อาจจะเกิดจากตัวของเจานายเอง หรือเกิดจากสภาพแวดลอม คือ สาเหตุมาจากลูกนอง 2 ประเภท คือ คนดีแตพูด มีลักษณะ 4 อยาง 1. ดีแตยกของหมดแลวมาปราศรัย 2. ดีแตอางของที่ยังไมมีมาปราศรัย 3. สงเคราะหดวยสิ่งที่หาประโยชนมิได 4. เมื่อเพื่อนมีกิจ อางแตเหตุขัดของ คนหัวประจบ มีลักษณะ 4 อยาง 1. จะทำชั่วก็เออออ 2. จะทำดีก็เออออ 3. ตอหนาสรรเสริญ 4. ลับหลังนิทา ส ว นคนเก ง หรื อ คนที่ มี ค วามรู ค วามสามารถก็ มั ก จะมี คุ ณ สมบั ติ ที่ ไ ม ดี หลายอยาง คือ แสดงตนวามีความรูความสามารถเหนือคนอื่น ไมคอยรับฟง ความคิ ด เห็ น ของคนอื่ น ชอบทำงานคนเดี ย ว ไม ย อมทำงานร ว มกั บ คนอื่ น

it.03 นั

บางคร า กั บ ผู​ู ร ว มมงาน ง า น ดั ง นั้ั น กการที ารทที่ จ ะบริ ห าารงานให ร ง านน ใ ห ไ ดด ผ ลลดีดี ข องง บางครัรั้ ง สร า งป ญ หา หากั ผผูบังคับบัญชา ก็ขึ้นอย อยูกับความส คว ความสามารถในการบริ วามสสามารถถในกการบริหาารงานของเจ รงานของเจจานนาย าย แล และ ละ วาสนาที บุญวาส สนาที่มีลูกนนองท งทีที่ดีรวมง มงาน งาน ซึ่งการ การที รที่จะไ ะได ไดลูกนนองงทีที​ี่ดีก็จะเก ะเกิกิดจจากแนวทาง ากแนวทางง นายตามหลั ทธศาสนา โโดยกำหนดหน ปฏิบัติขอองเจ งเจานา ายตามมหลักธธรรมทางพุ รรมทางพทธศาสนา ดยกำหนดหหนาทที​ี่ของเจานายย ในฐานะที่เปนนายจาง พึงบำรุง คนรับใช และคนงานดังนี้ 1. จัดงานใหทำตามความเหมาะสมกับกำลัง เพศ วัย ความสามารถ 2. ใหคาจางรางวัลสมควรแกงานและความเปนอยู 3. จัดสวัสดิการดี มีชวยรักษาพยาบาลในยามเจ็บไข เปนตน 4. มีอะไรไดพิเศษมาก็แบงปนให 5. ใหมีวันหยุดพักผอนหยอนใจ ตามโอกาสอันควร คนรับใชหรือคนงาน (ผูใตบังคับบัญชาหรือลูกนอง) จะตองแสดงน้ำใจ ตอนายงาน (ผูบังคับบัญชาหรือเจานาย) ดังนี้ 1. เริ่มทำงานกอน 2. เลิกงานที่หลัง 3. เอาแตของที่นายให 4. ทำการงานใหเรียบรอยและดียิ่งขึ้น 5. นำความดีของนายงานและกิจการไปเผยแพร จากที่กลาวมาแลวขางตน ขอใหผูที่เปนเจานายและลูกนองโปรดพิจารณา ดูวา ไดปฏิบัติตามหลักธรรมทางพุทธศาสนาหรือไม หากทำเปนบางสวน ก็ลอง นำไปปฏิบัติทุกขอ ก็จะประสบความสำเร็จในการบริหารงาน ที่มา หนังสือ “วินัยชาวพุทธ” ของพระพรหมคุณาภรณ (ป.อ. ปยุต.โต) ขอคิด “การสงเสริมคนเลวใหไดดี เปนการทำลายคนดีที่ไดผลมากที่สุด”

ศุภชัย กัลปสันติ

สปข.3 ปข.3 กั กบ บการพัฒนาเครือขายขอมูลขาวสารในพื้นที่

บเปนเวลากวา 8 ป ที่สำนักประชา ประชาสั าสัมพันธเขต 3 ไดใหควา วามสำคั ามสำคัญกับการ พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาตลอด ศมาตลอด เริ่มตนจัดตั้งศศนย ศูนยสารสนเทศ ขขึ​ึ้นเเปปนหหนนวยยงานภายใน งานภายใน มมี​ีหนนาทที​ี่ในนการวิ การวิเคคราะห ราะห อออกแบบ อกแบบ พพั​ัฒนา และบริหาร ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศโดยเฉพาะ นับเปนหนวยงานแรกใ ยงานแรกในระดับสำนัก/ กองในภมิ กองในภูมิภาคของกรมประชาสัมพันธที่ไดจัดตั้งหนวยงานเพื่อพัฒนาเทคโนโลยี สารสนเทศเปนการเฉพาะ ดวยวิสัยทัศนอันยาวไกลของผูบริหารสำนักประชาสัมพันธเขต 3 ที่เห็น ความสำคั ญ และแนวโน ม ในการพั ฒ นานำเทคโนโลยี ส ารสนเทศมาใช เ พิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพในการปฏิ บั ติ ร าชการ ส ง ผลให ส ำนั ก ประชาสั ม พั น ธ เขต 3 ได มี โ อกาสในการพั ฒ นาด า นเทคโนโลยี ส ารสนเทศเต็ ม ระบบด ว ยความมี ประสิทธิภาพ และเจริญรุดหนายิ่ง ๆ ขึ้น โดยปจจุบันสำนักประชาสัมพันธเขต 3 ได ด ำเนิ น การเชื่ อ มโยงเครื อ ข า ยสื่ อ สารข อ มู ล ผ า นอิ น เตอร เ น็ ต ความเร็ ว สู ง รวมกับหนวยงานสังกัดกรมประชาสัมพันธในพื้นที่โดยสมบูรณประกอบดวย สถานีวิทยุกระจายเสียงแหงประเทศไทย 10 สถานี สถานีวิทยุโทรทัศนแหง ประเทศไทยจังหวัดเชียงใหม และสำนักงานประชาสัมพันธจั ง หวั ด ในพื้ น ที่ 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน นอกจากจะพั นอกจากจะพฒนาระบบเช ฒนาระบบเชื่อมโยงเครือขายสื่อสารขอมูล เข า ด ว ยกั น แล ว ยยั ง ได พั ฒ นาเครื อ ข า ยบริ ก าร ข อ มู​ู ล ข า วสา วสารระหว า งหน ว ยงานภายใน เริ่มจากการ จากการพัฒนาเว็บไซตหลัก ๆ เพื่อให บริการข ารขอมูลขาวสารจำนวนมากกวา 10 เว็ บ ไซต รวมทั้ ง ร ว มพั ฒ นา เเว็ บ ไซ ต ข อ ง ห น ว ย ง า น ใ น เครื อ ข า ยทั้ ง 8 จั ง หวั ด แ ล ะ ก า ร พั ฒ น า ร ะ บ บ

ฐานข อ มู ล กลางเพื่ อ การบริ ก ารข า วสารในพื้ น ที่ จนได รั บ ความสนใจจาก ผผูใ ชบริการเปนจำนวนมาก จากการจัดเก็บสถิติการเขาถึงฐานขอมูลขาวประจำวัน เฉพาะจำนวนขาว ที่ถูกเปดอานในแตละวันเฉลี่ยแลวมากกวา 25,000 ครั้ง และสามารถแจง นับจำนวนผูอานขาวโดยเฉลี่ย 9,000 กวารายในแตละวัน (นับจากจำนวนผูอาน ขาวที่ไมซ้ำกันในชวงเวลาไมเกิน 2 ชั่วโมง) แตจากผลการจัดเก็บขอมูลการใช บริการเหลานี้ ยังไมสามารถนับไดวาเปนผลสำเร็จของการพัฒนาระบบบริการ ขอมูลขาวสารตามเปาประสงค หากแตเราตองพัฒนาใหกาวหนายิ่ง ๆ ขึ้นไปอีก ในป พ.ศ. 2552 เราไดมงุ มัน่ พัฒนาการบริการขอมูลใหเปนระบบมากยิง่ ขึน้ มีการจัดหมวดหมูที่ชัดเจน เพิ่มบริการตางๆ ใหครบถวนสมบูรณยิ่งขึ้น เพื่อเติม เต็มความตองการบริการขอมูลขาวสาร นอกจากนั้นเรายังมุงหวังที่จะสราง เครือขายขอมูลขาวสารบูรณาการรวมกับหนวยงานภาครัฐและองคกรปกครอง สวนทองถิ่น เริ่มจากสงรหัสโปรแกรมขาวประจำวันใหหนวยงานภาครัฐในพื้นที่ พิจารณานำไปติดที่หนาเว็บไซตหนวยงาน เพื่อขยายผลการประชาสัมพันธ ออกไปยังเว็บไซตองคกรตางๆ อยางตรงกลุมเปาหมาย จากนั้นเราจะเพิ่มอัตรา การขยายการเชื่ อ มโยงเครื อ ข า ยข อ มู ล ไปยั ง องค ก รปกครองส ว นท อ งถิ่ น ใหครอบคลุมมากที่สุด ดวยความมุงมั่นพัฒนาภายใตสถานการณที่มีขอจำกัดและความกดดัน ความพรอมดวยจุดแข็งที่มีความแกรงของโครงสรางพื้นฐานและเครือขายขอมูล ที่มีอยูเดิม มีจุดดอยดานกำลังคนและงบประมาณที่พอจะแกไขปญหาไดบาง มีโอกาสในการเชื่อมโยงเครือขายขอมูลในพื้นที่จำนวนมากที่เปนปจจัยสนับสนุน ให เ กิ ด การพั ฒ นา และภาวะภั ย คุ ก คามที่ มี ม าจากรอบด า น ทั้ ง หลากหลาย และรุ น แรงจนยากจะรั บ มื อ ได หากแต เราก็ จ ะพั ฒ นาระบบเทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อการประชาสัมพันธในพื้นที่ภาคเหนือตอนบนใหดีที่สุดเทาที่ จะทำได... เราสัญญา


7

1

2

3

6

4 5

7

8

มองผานเลนส

ชมพระเมรุ​ุ | 1 – 2 น.ส.สมใจ สะสมทรัพย ผอ.สปข.3 เชียงใหม นำสื่อมวลชนเขากราบพระศพ สมเด็จพระเจาพี่นางเธอ เจาฟากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร ณ พระที่นั่งดุ​ุสิต มหาปราสาท และเยี่ ย มชมพระยานมาศ ราชยาน ราชรถ การก อ สร า งพระเมรุ​ุ และอาคาร กรงเทพมหานคร งถูกตอง สวนประกอบ ทีท่ อ งสนามหลวง กรุ งเทพมหานคร (10 ตุตลาคม ลาคม 2551) เพือ่ นำมาขยายผลอยางถกต และสมพระเกียรติ สัมมนาสื่อฯ | 3 - 5 น.ส.สมใจ สะสมทรัพย ผอ.สปข.3 เชียงใหม เปดสัมมนา “การจัดรายการวิทยุ กระจายเสียงและวิทยุโทรทัศนเกี่ยวเนื่องกับพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพสมเด็จพระเจา พี่นางเธอ เจาฟากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร” ที่โรงแรมดิเอ็มเพรส จ.เชียงใหม (6 ตุลาคม 2551) โดยเชิญผูทรงคุณวุฒจิ ากสำนักราชเลขาธิการ สำนักพระราชวัง และกรมศิลปากร มาใหความรูแกสื่อมวลชนในภาคเหนือตอนบนที่รวมสัมมนาเกือบ 100 คน รับประกาศเกียรติคณ ุ | 6 - 7 เนือ่ งในวันตำรวจแหงชาติ 13 ตุลาคม 2551 พ.ต.อ.ประจวบ วงศสขุ ผกก.สภ.เมืองเชียงใหมมอบใบประกาศเกียติคุณใหกับ น.ส.สมใจ สะสมทรัพย ผอ.สปข.3 ในฐานะ กรรมการ กต.ตร. ที่ใหการสนับสนุนกิจกรรมของสถานีตำรวจภูธรอำเภอเมืองเชียงใหมดวยดี มาโดยตลอด โอกาสนี้ไดมอบทุนการศึกษาแกบุตรขาราชการตำรวจดวย การผลิตรายการวิทยุดเี ดน “รายการรัฐสภาของเรา” | 8 - 9 • สถานีวทิ ยุกระจายเสียงแหงประเทศไทย จังหวัดนาน ไดรับ รางวัลชนะเลิศอันดับ 1 การผลิตรายการวิทยุดีเดน “รายการรัฐสภาของเรา” ปงบประมาณ 2550 - 2551 • สถานีวิทยุกระจายเสียงแหงประเทศไทยจังหวัดพะเยา ไดรับรางวัล ชนะเลิศอันดับ 2 การผลิตรายการวิทยุดีเดน “รายการรัฐสภาของเรา” ปงบประมาณ 2551 โดยนายเผชิญ ขำโพธิ์ อธิบดีกรมประชาสัมพันธ มอบเงินรางวัลพิเศษ

9

ที่ปรึกษา

นางสาวสมใจ สะสมทรัพย ผูอำนวยการสำนักประชาสัมพันธเขต 3 บรรณาธิการ ผูอำนวยการสวนแผนงาน และพัฒนางานประชาสัมพันธ กองบรรณาธิการ นางสาวปริยา เธียรประดิษฐ นางดุษฎี ถาวรจตุรวัฒน นายณัฐ กาญจนจันทน นางศศิธร สุดเจริญ นายอธิชัย ตนกันยา นางเหมือนใจ วงศใหญ นางลัดดารัตน สุขกิจประดิษฐ นางนวพรรณ ไชยวรรณ อุทัยยศ นางสาวปรัศนียากรณ ตันเกียรติชัย ออกแบบ/พิมพ ดาวคอมพิวกราฟก (MaxxPRINTING 086 6547376, 053221097 |

)

TM

maxx.me


เที่ยวกิน ถิ่นเหนือ คนเมื คน นเมืองนาน

แอวเมืองนาน

ชมการแขงขันกีฬาชาวเขา “เมืองนานเกมส”

นระหว า งวั น ที่ 26 – 30 พฤศจิ ก ายนที่ จ ะถึ ง นี้ จั ง หวั ด น า นจะได เ ป น เจ า ภาพจั ด การแข ง ขั น กี ฬ าชาวไทยภู เขา แหงประเทศไทย ครั้งที่ 21 ที่ใชชื่อ “เมืองนานเกมส” โดยใชคำขวัญ วา “มิตรภาพยิ่งใหญดังขุนเขา” มีเตาปูลู ถือคบเพลิงเปนสัตวนำโชคในการแขงขัน เตาปูลู เปนสัตวน้ำจืดมีถิ่นกำเนิดบริเวณรอยตอสามประเทศ คือ ภาคเหนือของไทย ติดกับสหภาพพมาและตอนใต ของสาธารณรัฐประชาชนจีน มีลักษณะหัวขนาดใหญและคอนขางแบน ตัวต่ำเตี้ย ปากงุมเปนตะขอคลายปากนกแกว มีคอยาวไมสามารถหดหัวและคอเขาลำตัว มีหางที่ยาวเปนขอปลองเหลี่ยมเรียวตอกันกระดองสวนทองมีสีเหลือง และสีน้ำตาลแตม สวนหลังมีสีน้ำตามแกมแดง พบวาเตาปูลูอาศัยอยูบริเวณหวยหลวงของตำบลสวก อำเภอเมือง จังหวัดนาน ซึ่งบริเวณดังกลาวเปนปาดิบชื้น ดานทิศตะวันตกของ ตำบลสวก ทางจังหวัดไดจัดใหเปนสถานที่ทองเที่ยวที่สำคัญอีกแหงหนึ่งของจังหวัด การแขงขันกีฬาชาวไทยภูเขา “เมืองนานเกมส” ครั้งนี้ นักกีฬาที่เขารวมแขงขันเดินทางมาจาก 20 จังหวัด ประกอบดวย จังหวัดเชียงใหม เชียงราย ลำพูน ลำปาง แมฮองสอน พะเยา แพร อุทัยธานี เพชรบูรณ เพชรบุรี ราชบุรี กาญจนบุรี กำแพงเพชร เลย ตาก สุโขทัย พิษณุโลก ประจวบคีรีขันธ และนาน กีฬาที่แขงขันมี 5 ชนิดกีฬา ไดแก ฟุตบอลชาย 7 คน, วอลเลยบอลหญิง, เซปคตะกรอชาย, เปตองชาย – หญิง, กรีฑาชายหญิง และกีฬาพื้นบาน ไดแก วิ่งแบกกวย, วิ่งขาหยั่ง, ยิงหนาไม, ขวางลูกขาง, ชักเยอ, ขวางสากมอง, กลิ้งครก, พุงหอกซัด, ตักน้ำใสกระบอก, ขวางมีดสั้นและเปาลูกดอก คาดวาเฉพาะนักกีฬา และผูควบคุมทีมที่เขารวมงานนี้ไมนอยกวา 2 พันคน นอกจากนี้ยังมีบรรดากองเชียร และนักทองเที่ยวที่ตามมาอีกไมตำ่ กวา 5 พันคน ในชวงของการแขงขันกีฬาชาวไทยภูเขาระหวางวันที่ 26 – 30 พฤศจิกายนนี้ ถือวาชาวเมืองนานจะไดทำหนาที่ของเจาภาพที่ดีในการตอนรับผูมาเยือน ดวยความประทับใจ และสรางจุดขายดานการทองเที่ยวออกสูสายตาของผูคนทั่วไป ใหอยากกลับมาเยือนเมืองนานอีก...

วิสัยทัศน

สำนักประชาสัมพันธเขต 3 เปนองคกรหลักดานการวางแผนการประชาสัมพันธของรัฐ เพื่อสนับสนุนยุทธศาสตรกลุมจังหวัดมุงเสริมสรางความเขาใจ และสงเสริมการมีสวนรวมระหวางภาครัฐ ภาคเอกชนและภาคประชาชนในพื้นที่ภาคเหนือตอนบนอยางเสมอภาคและทั่วถึง

สำนักประชาสัมพันธเขต 3 49 ถ.ประชาสัมพันธ ต.ชางคลาน อ.เมือง จ.เชียงใหม 50100 โทรศัพท/โทรสาร 0-5328-3748

ชำระคาฝากสงเปนรายเดือน ใบอนุญาตเลขที่ 9/2543 ไปรษณียชางคลาน

สื่อสัมพันธ สปข.3 สงเสริมวิชาการประชาสัมพันธ สรางสรรคภาพลักษณองคกร


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.