วารสารสื่อสัมพันธ์ 201

Page 1

ส ง เสริ ม วิ ช าการประชาสั ม พั น ธ สร า งสรรค ภ าพลั ก ษณ อ งค ก ร

ISSN : 1685-6090

วารสารสื่ อ สั ม พั น ธ

ปที่ 15 ฉบับที่ 201 เดือนพฤศจิกายน 2551 | http://region3.prd.go.th

ฉบับนี้มีอะไร

2

ภาพกิจกรรม พิธีวางดอกไมจันทร

4 “สรรหามาเลา” สปข.3 รวมสานฝน เด็กชาวเขา

5 ประสบการณสื่อ กราบพระศพ-ชมพระเมรุ ครั้งหนึ่งในชีวิต

3 6

รปส. มอบนโยบาย “แลกเปลี่ยนเรียนรู” เทคนิคการเปนพิธีกรมืออาชีพ 7 “มองผานเลนส” ภาพกิจกรรม สปข.3 8 “เที่ยวกิน ถิ่นเหนือ” เยือน โรงเรียนศรีสงั วาลยเชียงใหม


2

8

มองผานเลนส ถวายดอกไม จั น ทน | 1 - 5 น.ส.สมใจ สะสมทรั พ ย ผอ.สปข.3 นำผู บ ริ ห าร และ ข า ราชการถวายความอาลั​ั ย และถวาย ดอกไมจนั ทน ทีว่ ดั สวนดอก พระอารามหลวง อ.เมือง จ.เชียงใหม

1

9

ทีมงาน NBT เชียงใหม | 6 - 7 ทีมงาน NBT เชียงใหม ทัง้ รายการและขาวสัมภาษณชาวบาน รายงานสดไปทัว่ ประเทศ พรอมกับสือ่ มวลชน ทุกแขนงในจังหวัดเชียงใหมก็ใหความสนใจ เชนกัน นิทรรศการเฉลิมพระเกียรติ | 8 - 9 หนวย งานในจังหวัดเชียงใหมจัดนิทรรศการเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเจาพี่นางเธอเจาฟา กัลยาณิวฒ ั นากรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร

ภาพพระเมรุจำลอง : ที่ใชในการประกอบพิธีถวาย ดอกไวจนั ทน ทีว่ ดั สวนดอก พระอารามหลวง จ.เชียงใหม

2

3

4

5

6

7


3

รองอธิบดี กปส. ย้ำผูบริหาร สปข.3 ประชาสัมพันธ 5 โครงการในป 2552 “รรองอธิบดดี​ีกรรมประชาสั “รองอธิ มประชาสัมพพั​ันธธปรระชุ ะชุมผผู​ูบรริ​ิหาารร สปข.3 สปข.33 สวท. สวท. สทท. และประชาสั ม พั น ธ จั ง หวั ด 8 จั ง หวั ด ภาคเหนื อ ตอนบน ย้​้ ำ แนวทางการดำเนิ น งานป 2552 เน น โครงการประชาสัมพันธสำคัญ 5 โครงการเปนหลัก”

วั

นที่ 30 ตุลาคม 2551 นายไพฑูรย ศรีรอด รองอธิบดีกรมประชาสัมพันธ เปนประธานการประชุมผูบริหาร ผูอำนวยการ สทท.(NBT) จังหวัดเชียงใหม ผู อ ำนวยการสถานี วิ ท ยุ ก ระจายเสี ย งแห ง ประเทศไทย จำนวน 10 สถานี ประชาสัมพันธจังหวัด 8 จังหวัด และเจาหนาที่ผูเกี่ยวของของ สปข.3 โดยมี น.ส.สมใจ สะสมทรัพย ผอ.สปข.3 เชียงใหม พรอมคณะผูบริหารและเจาหนาที่ ใหการตอนรับ ณ หองประชุมสำนักประชาสัมพันธเขต 3 เชียงใหม รองอธิบดีกรมประชาสัมพันธ ชีแ้ จงแนวทางนโยบายการประชาสัมพันธใน ป 2552 ของกรมประชาสัมพันธ โดยจะเนนโครงการสำคัญ 5 โครงการ ไดแก 1. โครงการประชาสัมพันธเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย เพื่อเผยแพร พระราชกรณียกิจและเทิดพระเกียรติพระบาท สมเด็ จ พระเจ า อยู หั ว สมเด็ จ พระนางเจ า พระบรมราชินีนาถ และพระบรมวงศานุวงศ ทุกพระองค รวมทั้งการแสดงความจงรักภักดี ในโอกาสสำคัญ 2. โครงการประชาสัมพันธสงเสริมการ ปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหา กษั ต ริ ย ท รงเป น ประมุ ข เพื่ อ เผยแพร ส าระ

สสำคั ำ คั ญ ขของรั อ ง รั ฐ ธธรรมนู ร ร ม นู ญ แแหห ง รราชอาณาจั า ช อ า ณ า จั ก ร ไทย พ.ศ.2550 ให ค วามรู เ กี่ ย วกั บ การ ปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหา กษั ต ริ ย ท รงเป น ประมุ ข เพื่ อ ให ป ระชาชน เขาใจถึงสิทธิ หนาที่ แนวทาง หรือวิธีการ ของประชาธิ ป ไตย อั น จะนำไปสู ก ารมี สวนรวมอยางมีเหตุผล ตลอดจนการรณรงค ใหประชาชนไปใชสิทธิเลือกตั้ง ทั้งในระดับ ทองถิ่นและระดับชาติ 3. โครงการประชาสั ม พั น ธ ส ร า งความสามั ค คี ข องคนในชาติ เพื่ อ ประชาสั ม พั น ธ เชิ ญ ชวนให ป ระชาชนเห็ น ความสำคั ญ ในเรื่ อ งคุ ณ ธรรมและ จริยธรรม และการคำนึงถึงประโยชนสวนรวมมากกวาประโยชนสวนตน 4. โครงการประชาสัมพันธเพื่อบรรเทาภาวะโลกรอน เพื่อเผยแพรความรู เกี่ยวกับสภาวะโลกรอน และแนวทางการแกไขที่สามารถนำไปปฏิบัติไดในชีวิต ประจำวัน ตลอดจนประชาสัมพันธ สงเสริมการมีสวนรวมของประชาชนในการ บบรรเทาภาวะโลกรอนของทุกภาคสวน 5. โครงการประชาสัมพันธการแกไขปญหา คความยากจน เพื่อเผยแพรขอมูล ขาวสารเกี่ยวกับ นนโยบายของรัฐบาล ในการแกไขปญหาความยากจน กการสรางงาน สรางโอกาสในการทำงาน และการ สส ง เสริ ม อาชี พ ต า ง ๆ อาทิ ภาคประชาชน โดย ท ทำงานร ว มกั บ เครื อ ข า ยต า ง ๆ วิ ท ยุ ชุ ม ชน และ เ ้ลทีวี เปนตน. เคเบิ

สปข.3 รวมพิธีถวายดอกไมจันทน “สปข.3 เชียงใหมโหมประชาสัมพันธพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จพระเจาพี่นางเธอ เจาฟากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร รวบรวมขอมูลทั้งภาพและเสียงสงสำนักหอจดหมายเหตุไวเปนบันทึกประวัติศาสตร” ผูบริหาร ขาราชการและเจาหนาที่สปข.3 รวมพิธีถวายดอกไมจันทน ดอกไมจันทน พรอมกับได

ในการบำเพ็ ญ กุ ศ ลพระศพ สมเด็ จ พระเจ า พี่ น างเธอ เจ า ฟ า กั ล ยาณิ วั ฒ นา กรมหลวงนราธิวาสราชครินทร รวมกับหนวยงาน องคกรและประชาชนชาว เชียงใหม ที่วัดสวนดอก พระอารามหลวง อ.เมือง จ.เชียงใหม ซึ่งจังหวัดได จำลองพระเมรุ ใหชาวเชียงใหมรวมถวายอาลัยพรอมกับชาวไทยทั้งประเทศ โดยพิธีเริ่มตั้งแตเวลา 14.00 น.ของวันที่ 15 พฤศจิกายน 2551 มีนายวิบูลย สงวนพงษ ผูวาราชการจังหวัดเชียงใหม เปนประธานในพิธี ขณะที่ทุกอำเภอใน 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบนไดจัดพิธีนี้อยางพรอมเพรียงกัน กระทั่ง เวลา 22.00 น.ไดมีพิธีเผาดอกไมจันทนพรอมกันทั่วประเทศ หลังจากที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว และสมเด็จพระนางเจา พระบรม ราชินีนาถ เสด็จพระราชดำเนินขึ้นสูพระเมรุ ถวายพระเพลิงพระศพสมเด็จ พระเจาพี่นางเธอ เจาฟากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชครินทร ที่มณฑล พิธีทองสนามหลวง ซึ่งสถานีวิทยุโทรทัศนแหงประเทศไทย NBT ไดถายทอดสด ใหชมพรอมกันทั่วประเทศ สปข.3 กรมประชาสัมพันธ ในฐานะศูนยกลางการประชาสัมพันธของรัฐ ในพื้นที่ 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบนไดระดมสื่อในสังกัดทั้งวิทยุกระจายเสียง วิ ท ยุ โ ทรทั ศ น สื่ อ สิ่ ง พิ ม พ อิ น เตอร เ น็ ต ที่ อ ยู ใ นสั ง กั ด ประชาสั ม พั น ธ ถึ ง พระเกียรติคุณ และเชิญชวนประชาชนคนไทยรวมถวายอาลัย ทั้งในที่เปน สารคดีภาษาถิ่น ละครวิทยุภาษาพื้นเมือง สปอตวิทยุและโทรทัศน บทความ ประชาสั ม พั น ธ การติ ด ตั้ ง ภาพคั ต เอาท ป ระชาสั ม พั น ธ การจั ด พิ ธี ถ วาย

เก็บรวบรวมภาพกิจกรรม ทั้ ง หมดส ง ให กั บ สำนั ก หอจดหมายเหตุ เพื่ อ รวบรวมไว เ ป น หลั ก ฐาน ประวัติศาสตร โดยขอมูล ภาพกิจกรรมสวนหนึ่งได รั บ ค ว า ม ร ว ม มื อ จ า ก เ ท ศ บ า ล ต ำ บ ล แ ม ริ ม เทศบาลตำบลหางดง เทศบาลตำบลยางเนิ้ ง เทศบาลตำบลเชิ ง ดอย และ อบต.สันนาเม็ง อ.สันทรายจัดสงมาใหในฐานะเครือขายดานการประชาสัมพันธ

สัปดาหสงเสริมศาสนาและจริยธรรม สำนักงานสงเสริมเอกลักษณของชาติ จะจัดสัปดาหสงเสริมศาสนา และจิรยธรรม เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จ พระเจาอยูหัว เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เผยแพร พระราชกรณียกิจและพระบรมราโชวาทเกี่ยวกับทางศาสนา ตลอดจน รณรงคการพัฒนาจิตใจ ปลูกฝงและสงเสริมคุณธรรม ในระหวางวันที่ 1 – 7 ธันวาคม 2551 ณ สโมสรทหารบก ถนนวิภาวดีรังสิต กรุงเทพฯ


4

ปรับ เปลี่ยน เลื่อน ยาย +++ เปนเรือ่ งธรรมดาของวิถที างการทำงานในระบบราชการ ทีจ่ ะตองหมุนเวียน สับเปลีย่ น เลือ่ น ระดับอยูเ สมอๆ ตามความเหมาะสม เพือ่ ประโยชนของทางราชการ สิน้ ปงบประมาณ 2551 ระดับ ผูบ ริหารของ สปข.3 เชียงใหม จึงมีการปรับเปลีย่ น เลือ่ น ยายในหลายตำแหนง +++ 1.นางจินตนา สิงหสรุ เมธ ผูอ ำนวยการสถานีวทิ ยุกระจายเสียงแหงประเทศไทย จังหวัดเชียงใหม ยายกลับบานหลัง เดิมเปน ผูอ ำนวยการสถานีวทิ ยุโทรทัศนแหงประเทศไทย NBT เชียงใหม แทน นายอำพล บุญจันทร ทีเ่ ลือ่ น ตำแหนงสูงขึน้ ลงใตไปเปน ผูอ ำนวยการสำนักประชาสัมพันธเขต 6 สงขลา +++ 2.นายยรรยงค สมจิตต ผูอำนวยการสถานีวิทยุกระจายเสียงแหงประเทศไทย จังหวัดแพร ยายมารับตำแหนง ผูอำนวยการสถานีวิทยุกระจายเสียงแหง ประเทศไทย จังหวัดเชียงใหมแทน +++ 3.นางทิพยสคุ นธ แสนจิตร ผูจ ดั รายการ 7 หัวหนาฝายรายการ สถานีวทิ ยุโทรทัศนแหง ประเทศไทย NBT เชียงใหม มีผลงานโดดเดนในระดับแถวหนา จึงไดเลือ่ นขึน้ มาเปนเจาหนาทีบ่ ริหารงานประชาสัมพันธ 8 ยายไปเปน ผูอ ำนวยการสถานีวทิ ยุกระจายเสียงแหงประเทศไทยจังหวัดแพร +++ 4.นางทศพร บุญจันทร ผูอ ำนวยการสวนขาวและรายการ ภูมภิ าค ยายไปเปน ผูอ ำนวยการสถานีวทิ ยุกระจายเสียงแหงประเทศไทย จังหวัดลำปาง แทนนายสมบูรณ วงศโสม ทีเ่ ขาโครงการ เกษียณอายุราชการกอนกำหนด +++ 5.นางอุบลรัตน คงกระพันธ ผูส อื่ ขาว 8 ว.สวนขาว และรายการภูมิภาค สปข.3 ขยับขึ้นรับตำแหนง ผูอำนวยการสวนขาวและรายการภูมิภาค แทน +++ 6.นางจิรพร ทองบอ ผูจ ดั รายการ 8 ว. สวนขาวและรายการภูมภิ าค สปข. 3 ขยับมารับตำแหนงผูอ ำนวยการสวนแผนงานและพัฒนางานประชาสัมพันธ แทน นางสายพิณ เชิงเชาว ทีล่ าออกจากราชการ +++ 7.นายเกรียงศักดิ์ เจดียแ ปง ผูอ ำนวยการสถานีวทิ ยุกระจายเสียงแหงประเทศไทยฝาง จังหวัด เชียงใหม ยายเปน ผูอ ำนวยการสถานีวทิ ยุกระจายเสียงแหงประเทศไทยจังหวัดนาน +++ 8.นายอนุสรณ กรานจรูญ นายชางไฟฟา สือ่ สาร 7 สวนเทคนิค สปข.3 เลือ่ นขึน้ เปนเจาหนาทีบ่ ริหารงานประชาสัมพันธ 8 ยายไปรับตำแหนงผูอ ำนวยการสถานีวทิ ยุกระจาย เสียงแหงประเทศไทยฝาง จ.เชียงใหม +++ 9.นายเริงณรงค ณียวัฒน ประชาสัมพันธจงั หวัดสกลนคร ยายกลับถิน่ เกา กลับมาเปน ประชาสัมพันธจงั หวัดพะเยา แทน นายเจริญ นิยม ทีเ่ กษียณอายุราชการ +++ 10.นายอุทศิ วงศมาก ผูอ ำนวยการสวนขาวและ รายการภูมภิ าค จาก สปข. 1 ขอนแกน ขึน้ เหนือมารับตำแหนง ประชาสัมพันธจงั หวัดแมฮอ งสอนแทน นายไชยรัตน พรหมศิลป ทีเ่ กษียณราชการเมือ่ สิน้ ปงบประมาณ 2551 ในการปรับเปลีย่ นครัง้ นี้ เปนการเลือ่ นยายกอนปรับเขาแหงใหมตาม พรบ.ระเบียบ ราชการพลเรือน พ.ศ. 2551

อธิชัย ตนกันยา

ทุ น ก า ร ศึ ก ษ า แ ก นั ก เรี ย น ช า ว เข า ด อ ย โ อ ก า ส อ ย า ง ต อ เนื่ อ งทั้ ง ในระดั บ มั ธ ยม และมหาวิทยาลัย โดยเฉพาะการจั ด แ ส ด ง ม า ย า ก ล ช า ว เข า .ส.สมใจ สะสมทรัพย ผอ.สปข.3 เชียงใหม พรอมทีมงานจาก สปข.3 ได สปข.3 ไดเขาไปมีสวนรวมจัดงาน และวางแผนประชาสัมพันธ ถายทอดสด เดินทางไปรวมจัดแถลงขาวเปดตัว มูลนิธเิ จาพระยาอภัยราชาสยามานุกลู กิจ เผยแพรทางสื่อทั้งวิทยุกระจายเสียง และโทรทัศน ของกรมประชาสัมพันธ และเปดตัวหนังสือ “เจาพระยาอภัยราชา” ฉบับภาษาไทย ที่ทำเนียบเอกอัคร มีผูสนใจเขาชมกวา 4 พันคน จนลนหอประชุมมหาวิทยาลัยเชียงใหม ราชทูตเบลเยี่ยมประจำประเทศไทย ถนนสีลม กรุงเทพฯ โอกาสนี้ มูลนิธไิ ดรวบรวมและจัดพิมพ เมือ่ วันที่ 29 ต.ค. 51 ทีผ่ า นมา ตามคำเชิญของเคานทเจรัลต หนังสือเรือ่ งราว ผลงานในประวัตศิ าสตร และ แวน เดอ สตราเทน พอนโธส หรือ คุณเจอรี่ แหงบาน ภาพที่ ห าดู ย ากของเจ า พระยาอภั ย ราชา อินทรีย อ.แมจัน จ.เชียงราย ผูกอตั้งมูลนิธิเจาพระยาอภัย สยามานุกูลกิจและพระบรมสาทิสลักษณของ ราชาสยามานุกูลกิจ รัชกาลที่ 5 ขณะเสด็จประพาสเบลเยีย่ มอยาง เจาพระยาอภัยราชาสยามานุกูลกิจ (คุสตาฟ โรลิน เปนทางการเมือ่ พ.ศ. 2440 ฝมอื ของ ฟรานซ ยัคมินส) ที่ปรึกษาทั่วไปในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา ไกยยาร ด บรรพบุ รุ ษ อี ก ท า นหนึ่ ง ทางฝ า ย เจ า อยู หั ว รั ช กาลที่ 5 เป น บรรพบุ รุ ษ ฝ า ยท า นย า ของ มารดาของเคานทเจรัลด ตลอดจนศิลปะภาพ เคานทเจรัลดเขามาอาศัยใน วาดสี น้ ำ ซึ่ ง ล ว นแต เ ป น เรื่ อ งราวที่ มี คุ ณ ค า สยามประเทศเมื่อ 100 กวา นาจดจำ ซึ่งหนังสือรุนพิเศษนี้จัดพิมพขึ้นใน ป และไดสรางคุณูปการให จำนวนจำกั ด เพื่ อ มอบให ผู บ ริ จ าคเงิ น 3,000 บาทขึ้ น ไปให กั บ ทางมู ล นิ ธิ กั บ แผ น ดิ น สยามมากมาย เจาพระยาอภัยราชาสยามานุกูลกิจ เคานท เ จรั ล ด จึ ง เกิ ด แรง สำหรับผูมีจิตเมตตาประสงคจะบริจาคเงินชวยเหลือเด็กชาวเขาและ บันดาลใจที่จะเจริญรอยตาม อยากไดหนังสือที่มีคุณคาทางประวัติศาสตรและศิลปะ แจงความประสงคไดที่ โดยเริ่ ม จากการช ว ยเหลื อ มูลนิธเิ จาพระยาอภัยราชาสยามานุกลู กิจ บานอินทรีย เลขที่ 88 บานหนองแวน เด็กนักเรียนชาวเขาที่จังหวัด ต.แมจัน อ.แมจัน จ.เชียงราย หรือติดตอโดยตรงที่ คุณเสก ลาเชกุ โทรศัพท เชียงรายรวมกับสโมสรโรตารี่ 080 – 7691770 โ ินชาวเขา, โโครงการเซรามิ​ิคบาน แมจันหลายโครงการ เชน โครงการนั​ักไไวโอลิ สินดอย, การแสดงคอนเสิรตเฉลิมฉลองความสัมพันธไทยเบลเยี่ยม, โครงการ SSpecial pecial Effects Effect นั ก มายากลชาวเขา, โครงการบ า นเรา, โครงการผ า บาติ ค ชาวเขา โดยมี เเสีสียงที งท่ไี มมไ ดดเ กกิดิ ขึข้นึ เองตามธรรมชาติ “บานอินทรีย” ซึ่งเปนบานพักใน อ.แมจัน จ.เชียงราย เปนศูนยกลาง รวมทั้งให

สรรหามาเลา

สปข.3 รวมสานฝนเด็กชาวเขา

เกล็ดสื่อ


5

นั

บเป น ครั้ง แรกในชี วิ ตที่ ผมได มีโอกาสเขาวัง ก็ตอนที่ สปข.3 ได น ำสื่ อ เข า ไปกราบพระศพสมเด็ จ พระเจ า พี่ น างเธอเจ า ฟ า กั ล ยาณิ วั ฒ นา กรมหลวงนราธิ ว าสราชนคริ น ทร ที่ พ ระที่ นั่ ง ดุ สิ ต มหาปราสาท เมื่อวันที่ 10 ตุลาคม 2551 นั่นเอง.. ยอมรั บ ว า ประหม า พอสมควรกั บ การที่ จ ะวางตั ว อย า งไรให เหมาะสม ขณะเดียวกันก็ปลาบปลื้มใจกับโอกาสที่เกิดขึ้นกับตัวเอง เพราะโอกาสอยางนี้ไมไดเกิดขึ้นบอยนักสำหรับสามัญชนธรรมดา อยางเราๆ ทาน ๆ ทั้งหลาย วากันวาคติความเชื่อตามประเพณีโบราณ ตามระบอบเทวนิยม กษัตริยและพระบรมวงศานุวงศ เปรียบเสมือนสมมติเทวราชที่ลงมา จุติบนโลกเพื่อโปรดมนุษยและสัตวโลก เมื่อสวรรคตหรือสิ้นพระชนม กอนและในวันพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ จึงหมายความวาไดเสด็จกลับสูส รวงสวรรค ในพระราชพิธพี ระราชทาน “พระมหาพิชัยราชรถ” มีความหมายวา ราชรถแหงชัยชนะอัน เพลิ ง พระศพของสมเด็ จ พระเจ า พี่ น างเธอ เจ า ฟ า กั ล ยาณิ วั ฒ นา ยิง่ ใหญ สรางในสมัยรัชกาลที่ 1 ประมาณ พ.ศ. 2338 นำออกใชครัง้ แรก เมื่อคราวอัญเชิญพระโกศพระบรมอัฐิสมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก ((ทองดี ทองดี​ี) ออกถว ออกถวายพระเพลิง ณ พระเมรุมาศทองสนามหลวง ในป พ.ศ. 2339 และ และไดถือเปนราชประเพณีสืบตอมา

ประสบการณสื่อ

กราบพระศพ - ชมพระเมรุ ครั้งหนึ่งในชีวิต กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร ณ มณฑลพิธที อ งสนามหลวง คนไทย ทั้งประเทศจึงไดเห็นความยิ่งใหญ อลังการและสมพระเกียรติ หลังจากกราบพระศพแลวผม ไดมีโอกาสเดินทางไปชมพระเมรุ (พระ-เมน) ฝมือของนาวาอากาศ เอกอาวุธ เงินชูกลิ่น อดีตอธิบดี กรมศิลปากร ผูออกแบบตามคติ ความเชื่ อ ทางพระพุ ท ธศาสนา เสมือนหนึ่งวากำลังเดินอยูภายใน อาณาบริ เวณเขาพระสุ เ มรุ บนสวรรค ช้ั น ฟ า ซึ่ ง งดงามและมี ร าย ละเอียดเยอะมาก จนไมสามารถนำมากลาวไดหมดในทีน่ ี้ แต สิ่ ง ที่ ป ระจั ก ษ ชั ด สู ส ายตาประชาชนทั้ ง ประเทศทางสื่ อ โทรทัศนในการถายทอดสดทางสถานีโทรทัศนทุกชองในวันที่ 15 พฤศจิกายน 2551 คือ ขบวนพระอิสริยยศที่ยิ่งใหญอลังการ ในการ อัญเชิญพระโกศโดยพระยานมาศสามลำคาน จากพระที่นั่งดุสิตมหา ปราสาทไปยังพระมหาพิชัยราชรถหนาวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม และขบวนพระมหาพิ ชั ย ราชรถ อั ญ เชิ ญ พระโกศประดิ ษ ฐานบน พระเมรุ เปน ชื่อที่มักจะ ได ยิ น บ อ ยมากทั้ ง ในช ว ง

พระยานมาศสามลำคาน คือ คานหามขนาดใหญ ใช ล ำคาน ในการหาม 3 ลำคานจึงเรียกวา พระยานมาศสามลำคานใช พนักงานหาม 60 คน พระยานมาศ สามลำคานสรางองคแรกในสมัย รั ช กาลที่ 1 ใช ใ นการอั ญ เชิ ญ พระโกศพระบรมศพสมเด็ จ พระบรมราชินแี ละพระบรมราชชนนี มาแลว 3 ครัง้ หลังจากเสร็จสิน้ พระราชพิธี พระราชทานเพลิงพระศพ แลวพระโกศไมจนั ทน พระราชยาน ราชรถ และเครื่องประกอบขบวนพระอิสริยยศที่สำคัญก็จะนำไปเก็บรักษาไว ที่พิพิธภัณฑสถานพระนคร เพื่อเปดโอกาสใหประชาชนไดเขาชม ความงดงามไดอีกครั้ง ซึ่งผูสนใจโดยเฉพาะคนไทยไมควรพลาด...

อธิชัย ตนกันยา


6

เทคนิคการเปนพิธีกรมืออาชีพ

นวพรรณ ไชยวรรณ อุทัยยศ

ตอนที่ 4 ไมโครโฟน...เครื่องมือคูชีพพิธีกร

ารจะเปนพิธีกรมือออาชี ื อาชี​ีพพได ไได เราจะตองละจากความกลั​ัว ทั​ั้งปปวง ไไมวา จจะกลั ะกลัวเเวที วที กกลัลัวผผููคน กกลั​ัวขายหนา กลั​ัวคนจอง ฯลฯ และสิ​ิ่งสำคั ำ ัญที​ี่ พิ ธี ก รห า มกลั ว อย า งเด็ ด ขาดก็ คื อ กลั ว ไมโครโฟน เพราะไมโครโฟน คือ เครื่องมือคูชีพพิธีกร นั่นเอง ไมโครโฟน (Microphone) ในปจจุบันนี้มี หลายรูปแบบใหเลือกใชตามความถนัด ไมวาจะ เปน ไมคลอย (Wireless) ไมคคลองหัว (head set) ไมคสาย ไมคหนีบ ไมคตั้งบนโพเดียม ฯลฯ แตไมวาพิธีกรจะไดใชไมคชนิดใดในการ ทำหน า ที่ พิ ธี ก รจะต อ งรู จั ก วิ ธี ก าร ใช ง าน สามารถใช ไ มโครโฟนอย า ง ถูกตองและเหมาะสม ในครั้งนี้ดิฉันมีขอควรปฏิบัติ สำหรับการใชไมโครโฟน มาฝาก ดังนี้ 1. อ ย า ถื อ ห รื อ เ ลื่ อ น ไมโครโฟนเข า ไปจนชิ ด ติ ด ปาก เพราะจะทำใหเสียบุคลิกภาพ และที่ ส ำคั ญ จะทำให ไ ม มี ใ คร อยากจะใชไมโครโฟนรวมกับเรา

22.. ควรถื ควรถอื ไไมโครโฟนห มโครโฟนหา งงจากปากระหว จากปากระหวา ง 1 - 2 นินว้ิ ถถา เป เปน ไไมโครโฟนที มโครโฟนท่ี มีคี วามไวอาจพู ดหา งได ไ ไ  โโดยฟฟงระดับั เสียี งของเราจากลำโพงภายในบริ ำโ ใ เิ วณงาน 3. กรณีที่มีขาตั้งไมโครโฟนปรับระดับของไมโครโฟนใหตรงกับระดับ ปากของผูพูด โดยการเลื่อนขาไมโครโฟนขึ้นหรือปรับโดยกระดกขึ้นหรือลง 4. อยากมตัวลงไปพูดกับไมโครโฟนต่ำหรือพยายามเชิดหนาชูคอขึ้นไป พูดกับไมโครโฟนที่ตั้งไวสงู 5. พยายามทำความคุนเคยกับไมโครโฟน โดยการใชบอย ๆ อยาตกใจ กลัวไมโครโฟน 6. อยาทดสอบโดยการเคาะ เพราะไมโครโฟนเปนอุปกรณอเิ ล็กทรอนิกส ที่มีความบอบบาง ควรจะใชวิธีทดสอบดวยเสียงพูด แตพิธีกรควรจะทดสอบ กอนที่จะเริ่มงานหรือกอนที่ผูรวมงานจะเดินทางมาถึง 7. กรณีที่ไมโครโฟนเปนแบบสาย อยามวน อยาเลนสายไมโครโฟน โดยเด็ดขาด 8. ควรจับไมโครโฟนดวยมือที่ถนัดขางเดียว ไมควรจับสองมือ 9. ขณะพูดไมโครโฟนควรจะอยูก บั ปากเสมอ ไมวา จะหันซายหรือหันขวา ขอควรปฏิบัติสำหรับการใชไมโครโฟน ทั้ง 9 ขอ จะชวยเสริมสราง บุคลิกภาพที่ดีของพิธีกรได แตหากไมมั่นใจวาจะทำไดดีหรือไม ขอแนะนำวา ควรจะฝกจับไมโครโฟนหนากระจกเงากอนดีที่สุด... * ความกลัว ในที่นี้หมายถึง อาการหวาดผวาที่เกิดขึ้นไมวาจะเพียงแค คิดหรือเมื่อกำลังลงมือกระทำ ศุภชย ชัย กลปสนต กัลปสันติ

it.03 เมี่อตองรับมือกับไวรัส (อีกครั้ง)

ลาวสวัสดีทานผ นผูอานทุกทาน หลังจากที่หางหายไปนาน... ไปนาน... มาก ก็ไดมีโโอกาส อกาส กลับมาอีกครั้ง ดวยความทุลักทุเล แตกระนั้นก็ยังมิวายที่จะมีเรื่องมาบอก กลาวเลาขาน แมวาฟงชื่อเรื่องดูแลวจะเห็นวาเปนเรื่องเดิม ๆ แตสถานการณที่ นำมาเลาสูกันฟงนั้น ไมไดเปนเรื่องเกานำมาเลาใหมแตอยางใด บางทานอาจจะรู แต ลื ม หรื อ บางท า นอาจยั ง ไม รู ก็ ค วรจะศึ ก ษาและนำไปใช ใ นการต อ กรกั บ ซอฟตแวรที่ไมประสงคดีทั้งหลายได ปจจุบันการโจมตีของซอฟแวรที่ไมประสงคดี (Malicious Software: Malware) ทั้งหลายตางก็ประยุกตวิธีการที่หลากหลายกันไป รุนแรงมากนอย ตางกัน ตัง้ แตการกอกวนเฉย ๆ , ฉกฉวย ลักลอบ สงออกขอมูลสำคัญ, แฝงตัวเปน โปรแกรมจารกรรม หรือกระทั่งสงผลกระทบสูงสุดถึงขั้นเปดระบบคอมพิวเตอร ไมไดเลยก็มี กอนหนาทีจ่ ะเขียนตนฉบับนี้ ก็ไดพบปญหาไวรัสทีค่ อมฯ เครือ่ งหนึง่ อาการทีพ่ บทำเอาปวดหัวไปตาม ๆ กัน เมือ่ เปดเครือ่ งคอมพิวเตอรขนึ้ มาแลว พบ แตภาพพืน้ หลังของหนาจอเฉย ๆ ไมพบไอคอนงาน หรือแถบเครือ่ งมือใด ๆ ทัง้ สิน้ ไมวา จะกดคียบ อรดหรือคลิกเมาสปมุ ใด ๆ ก็ไมตอบสนอง สอบถามผูใ ชแลวพบวา ปญหามาจาก Handy drive ของตัวเอง และอีกทานหนึง่ นำกลองถายภาพนิง่ มาให โหลดภาพออกให พอนำ SD Card มาอานเทานัน้ ไวรัส ก็ โจมตี เข า สู ร ะบบทั น ที จนโปรแกรมป อ งกั น ไวรั ส ทำงานแทบไมทัน ในทั้งสองกรณีนี้หากเปนทานจะ ปองกันตัวอยางไร? วิ ธี ห นึ่ ง ที่ จ ะแนะนำให ท า นได ป อ งกั น ไว ก็ คื อ การติดตั้งโปรแกรมปองกันไวรัส ที่สามารถอัพเดท ขอมูลไวรัสไดตลอดเวลา แลวทำการปดระบบ Auto Run หรือ Auto Play ในเครื่องคอมพิวเตอรของทาน

กอนที่ขอมูลในเครื่องของทานจะพบกับความหายนะ ในการติดตั้งโปรแกรม ปองกันไวรัสคงจะไมแนะนำมากนัก เนื่องจากมีหลากหลายยี่หอที่ใหบริการ อยูแลว และปจจุบันราคาก็ไมแพงมากนัก สวนเรื่องของการปดระบบ Auto Run นั้นอยากแนะนำใหทานไดทำการปดระบบโดยการ 1. ที่หนาจอคอมพิวเตอรคลิก start เลือกเมนู run 2. พิมพ gpedit.msc ลงในชอง Open กดปุม Enter หรือคลิก OK 3. จะปรากฏหนาตาง group policy ขึ้นมา 4. ใหคลิกเครื่องหมาย + ที่ Administrative Templates ในสวน user configuration ที่ชอง Console Tree 5. คลิกที่ system หลังจากนั้นมองไปหนาตางดานขวามือ ใหดับเบิ้ลคลิก ขอความ Turn Off Autoplay 6. จะปรากฏ Dialog ขึ้นมา ใหเลือก Enabled , และเลือก All drives ที่ชอง Turn Off Autoplay on : 7. กดปุม Apply และ OK เปนอันเสร็จขั้นตอนการปรับแตงระบบให ปดระบบ Auto Play ขั้ น ตอนการปรั บ แต ง ระบบนี้ ต อ งมี สิ ท ธิ์ เ ป น Administrator เทานั้น สวนใครที่ยังไมกลาหรือไมสามารถ A ดดำเนิ ำ นการไดดวยตัวเอง ก็เรียกใชผูดูแลระบบในหนวยงาน ขของท า น หรื อ ใช เ ทคนิ ค เล็ ก น อ ยก อ นการเป ด ใช อุ ป กรณ จจำพวก ำ Handy Drive หรือหนวยความจำแบบพกพาอื่น ๆ กดปุม Shift บนคียบอรด ในขณะทำการเชื่อมตอ โโดยการ ด อุ​ุ ป กรณ เ หล า นั้ น ลงไปก็ จ ะช ว ยให ร ะบบ Auto Run ไมทำงานไดชั่วคราวครับ ไม


7

มองผานเลนส 3

บวงสรวงศาลพระภูมิเจาที่ | 1 – 3 ผอ.สปข.3 เชียงใหม นำขาราชการทำพิธีบวงสรวงศาลพระภูมิ เจาที่ ในโอกาสครบรอบ 48 ป สปข.3 เชียงใหม พิธี สืบชะตา เพื่อความเปนสิริมงคล โดยมี นายไพฑูรย ศรีรอด รองอธิบดีกรมประชาสัมพันธเปนประธาน และรวมพิธี แสดงความยินดี | 4 เคานตเจรัลต แวน เดอ สตรา เทน พอนโธส ประธานมูลนิธิเจาพระยาอภัยราชา สยามานุกูลกิจ บานอินทรีย จ.เชียงราย แสดงความ ยินดี ทอดกฐินสามัคคี | 5 – 7 นายเผชิญ ขำโพธิ์ นำ ผูบริหารและขาราชการกปส. ทอดกฐินสามัคคี ณ วัดมะกรูด ต.มะกรูด อ.โคกโพธิ์ จ.ปตตานี (25 ต.ค. 51) ตามรอยสมเด็จยา | 8 – 10 NBT เชียงใหมจบั มือ ม.แมฟา หลวง จัดรายการพิเศษ “10 ป มหาวิทยาลัย แมฟาหลวง ตามรอยสมเด็จยา ปลูกปา สรางคน” เนือ่ งในวันคลายวันพระราชสมภพครบ 108 ป รวมแถลงขาว | 11 – 12 น.ส.สมใจ สะสมทรัพย ผอ.สปข.3 รวมแถลงขาวเปดตัว มูลนิธเิ จาพระยาอภัย ราชาสยามานุ กู ล กิ จ ณ ทำเนี ย บเอกอั ค รราชทู ต เบลเยีย่ มประจำประเทศไทย เพือ่ ชวยเด็กชาวเขา

2

1

9

11

7 10 ที่ปรึกษา

นางสาวสมใจ สะสมทรัพย ผูอำนวยการสำนักประชาสัมพันธเขต 3 บรรณาธิการ นางจิราพร ทองบอ ผูอำนวยการสวนแผนงาน และพัฒนางานประชาสัมพันธ กองบรรณาธิการ นางสาวปริยา เธียรประดิษฐ นางดุษฎี ถาวรจตุรวัฒน นายณัฐ กาญจนจันทน นางศศิธร สุดเจริญ นายอธิชัย ตนกันยา นางเหมือนใจ วงศใหญ นางลัดดารัตน สุขกิจประดิษฐ นางนวพรรณ ไชยวรรณ อุทัยยศ นางสาวปรัศนียากรณ ตันเกียรติชัย ออกแบบ/พิมพ ดาวคอมพิวกราฟก (MaxxPRINTING 086 6547376, 053221097 |

)

TM

maxx.me


ณัฐ กาญจนจันทน

เที่ยวกิน ถิ่นเหนือ เยือน ร.ร.ศรีสังวาลยเชียงใหม

งานชวยเหลือผูพิการมีความสำคัญอยางยิ่ง ฉะนั้นนโยบายที่จะทำก็คือ ชวยเขาใหชวยเหลือตัวเองได เพื่อที่จะใหเขาสามารถเปนประโยชนตอสังคม พระราชดำรัสในพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว

สายๆ ของวันหนึ่งในเดือนตุลาคม 2551 ผูเขียนพรอมทีมงานเที่ยวกินถิ่นเหนือ เดินทางไปตามถนนสายเชียงใหม – พราว ไมไกลจากมหาวิทยาลัยแมโจมากนัก นำคุณๆ เลี้ยวขวาเขาสูโรงเรียนศรีสังวาลย จังหวัดเชียงใหม ซึ่ง เปนโรงเรียนการศึกษาพิเศษ สำหรับ นักเรียนที่มีความบกพรองทางรางกายและสุขภาพ จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 26 สิงหาคม 2544 เพื่อเฉลิมพระเกียรติเนื่องในวโรกาส ครบรอบ 100 ปแหงวันพระราชสมภพสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี รับนักเรียนจาก 17 จังหวัด ภาคเหนื อ ตอนบน ป จ จุ บั น มี นักเรียน 219 คน จัดการศึกษาตั้งแตระดับอนุบาลถึงมัธยมศึกษาปที่ 6 ใหการศึกษาทางวิชาการ าร ควบคูกับการฟนฟูสมรรถภาพทางรางกาย อารมณ สังคม พฤติกรรม และวิชาชีพ เปนตน จากก การสอบถามนางพวงทอง ศรีวิลัย ผูอำนวยการโรงเรียนศรีสังวาลย กลาววา โรงเรียนจัดบริการร ทุกอยางใหกับนักเรียน ดังนั้น จึงประสบปญหาบาง เชน ปญหาบุคลากร,งบประมาณ และกายย อุปกรณที่จำเปนแกนักเรียน เปนตน ทีมงานฯไดพูดคุยกับนักเรียน 3 – 4 คนที่มาพูดคุยดวย ก็ไดเห็นความปติที่ฉายจากแววตาทั้ง 4 คู ตลอดจนสายตาของบรรดาคุณครูและพี่เลี้ยงที่ทอด ไปยังนักเรียนทั้ง 4 คน แฝงไปดวยความรัก ความเมตตา ทีมงานอำลาจากโรงเรียนศรีสังวาลยดวยความตื้นตันใจ ดวยสัมผัสถึงความงดงามของจิตใจเพื่อนมนุษยที่มีให แกกัน ถึงเวลาอาหารกลางวัน ทีมงานวกกลับไปทาง สำนักงานเทศบาลตำบลแมโจ ดวยหมายตาไววาจะลอง ชิมกวยเตี๋ยวเรือครูใหญ ที่การันตีไววา “ความอรอยที่ไมมี ในเมื อ ง” ก็ ไ ม ผิ ด หวั ง ครั บ ทางร า นบริ ก ารลู ก ค า ด ว ย เมนูหมูตุนหลากหลาย ตั้งแต 08.00 – 15.30 น.ทุกวัน.

วิสัยทัศน

สำนักประชาสัมพันธเขต 3 เปนองคกรหลักดานการวางแผนการประชาสัมพันธของรัฐ เพื่อสนับสนุนยุทธศาสตรกลุมจังหวัดมุงเสริมสรางความเขาใจ และสงเสริมการมีสวนรวมระหวางภาครัฐ ภาคเอกชนและภาคประชาชนในพื้นที่ภาคเหนือตอนบนอยางเสมอภาคและทั่วถึง

สำนักประชาสัมพันธเขต 3 49 ถ.ประชาสัมพันธ ต.ชางคลาน อ.เมือง จ.เชียงใหม 50100 โทรศัพท/โทรสาร 0-5328-3748

ชำระคาฝากสงเปนรายเดือน ใบอนุญาตเลขที่ 9/2543 ไปรษณียชางคลาน

สื่อสัมพันธ สปข.3 สงเสริมวิชาการประชาสัมพันธ สรางสรรคภาพลักษณองคกร


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.