วารสารสื่อสัมพันธ์ เล่ม 211 เดือนกันยายน 2552

Page 1

วารสารสื่ อ สั ม พั น ธ

ISSN : 1685-6090

ส่ งเสริ ง เสริ ม วิ ช าการประชาสั ม พั น ธ์ สร้ างสรรค า งสรรค์ ภาพลั ภ าพลั ก ษณ์ องค อ งค์ กร กร

ปท่ี 16 ฉบับที่ 211 เดือนกันยายน 2552 | http://region3.prd.go.th

ฉบับนี้มีอะไร

2

ศูนยพัฒนาโครงการหลวง หวยน้ําริน

5 เรือ่ งราวชาวเหนือ ON TOUR ตอน ชุมพรคาบานา ....รีสอรตตามแนว เศรษฐกิจพอเพียง

8 ลําปางหลวง ...กลิ่นอายศิลปะลานนา คูเมืองรถมาลําปาง

3 4 6 7

ฝกอาชีพระยะสั้นวันเดียวทําได ในงานมหกรรม แกจนคนลานนา | สํานักประชาสัมพันธเขต 3 จัดอบรมพิธีกรมืออาชีพ รุนที่ 3 เกณฑประเมินผลงานใหม ขรก. | กยศ. แจงเปด ระบบลงทะเบียนกูยืมเทอม 2/2552” MIS กับการประชาสัมพันธ | กระบวนทัศน (เกา) ขรก.ไทย (1) มองผานเลนส


2

ศูนยพัฒนาโครงการหลวงหวยน้ําริน

ศู น ย พั ฒ นาโครงการหลวงห ว ยน้ํ า ริ น ตัง้ อยูใ นเขตหมูบ า นหวยน้าํ ริน ตําบลแม เจดียใ หม อําเภอเวียงปาเปา จังหวัดเชียงราย ดวยพื้นที่ จํานวน 50 ไรดวยเหตุ ที่ทรัพยากรปาไมในพื้นที่ แหงนีไ้ ดลดนอยลงทุกขณะ เพราะถูกราษฎรบุกรุก เขาไปแผวถางปา ทําไรเลือ่ นลอยเพือ่ ทีจ่ ะปลูกฝน ขาวไรและขาวโพด เพือ่ ยังชีพ เกษตรกรขาดความ รูความเขาใจ ที่ถูกตองเกี่ยวกับการบํารุงรักษาดิน และน้าํ ผลผลิตจึงลดต่าํ ลงทุกป ป 2525 หมอมเจา ภีศเดช รัชนี องคประธานมูลนิธิโครงการหลวง จึงทรงโปรดใหศูนยพัฒนาโครงการหลวงหวยน้ํา รินเริ่มดําเนินการในพื้นที่แหงนี้ดวยวัตถุประสงค 1.เพื่อยกฐานะความเปนอยูของราษฎรใหดี ขึ้นทัดเทียมกับคนไทยพื้นราบ 2.เพือ่ ใหชาวเขาลดและเลิกการปลูกและเสพ ฝน โดยสงเสริมใหปลูกพืชทดแทน 3.เพื่อใหราษฎรมีพื้นที่ทํากินเปนหลักแหลง ที่ถาวร มีการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ 4.เพือ่ มนุษยธรรมและใหชาวเขามีความสํานึ กเปนคนไทย ยึดมั่นในชาติ ศาสนา และองคพระ มหากษัตริย

ศู น ย พั ฒ นาโครงการหลวงห ว ยน้ํ า ริ น ได ดํ า เนิ น งานโดยแบ ง เป น กิ จ กรรมในลั ก ษณะ ตางๆ ดังนี้ การสงเสริมการเกษตร ประกอบดวย งานส ง เสริ ม การปลู ก พื ช ผั ก เมื อ งหนาว โดยการปลูกหมุนเวียนตลอดปตามความตองการ ของตลาด และพืช ที่ทํารายไดของศูนยพัฒนา โครงการหลวงหวยน้ํารินคือ สลัด เฟนเนล และ หอมญี่ปุน งานสงเสริมไมดอก ซึ่งไมดอกที่ทํา รายไดของศูนยพัฒนาโครงการหลวงหวยน้ําริน สแตติ ส จํ า หน า ยดอกและ Pussy Willow งานสงเสริมการปลูกเฟน ดอกกระดาษ งาขีม้ อ น และดอกดวง งานสงเสริมพืชไร ไดแก ถัว่ แดงหลวง ซึ่งเปนพืชไรที่ทํารายไดใหแกเกษตรกร สนับสนุน พันธุขาวเจาฮอ และงานสงเสริมการทําดอกไม แหง เปนตน การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง แวดลอม ด ว ยพื้ น ที่ ป า ไม ใ นบริ เ วณศู น ย พั ฒ นา โครงการหลวงหวยน้าํ ริน ไดลดลงไปเปนจํานวนมาก อันเปนสาเหตุทที่ าํ ใหปริมาณน้าํ จากตนน้าํ ลําธาร ในบริเวณดังกลาวลดลงไปพรอม ๆ กันดวย ดังนัน้ นอกจากศู น ย พั ฒ นาโครงการหลวงห ว ยน้ํ า ริ น

จะดํ า เนิ น การส ง เสริ ม และพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต และสังคม ของชาวเขาแลว ยังไดดําเนินงานดวย การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติควบคูกันไปดวย โดยรวมกับ กรมปาไม นําชาวบานชวยกันเพาะ เมล็ดไมสักและไมยืนตน เพื่อเตรียมไวสําหรับ การปลูกปา 4 ป ที่ผานมาศูนยพัฒนาโครงการ หลวงหวยน้าํ ริน ไดสง เสริมใหเกษตรกรปลูกตนสัก และประดูสลับกับบวย บนพื้นที่ประมาณ 600 ไร และในป 2537 ไดขยายพื้นที่ปลูกปาเพิ่มขึ้นอีก 250 ไร ด ว ยหลั ก และวิ ธี ก าร ผสมผสานคื อ การปลูกไมยืนตนแซมกับการปลูกไมผล ก็เพื่อที่ จะใหชาวบานดูแลเอาใจใสไปพรอม ๆ กันดวย ซึง่ จะดีกวาการปลูกในพืน้ ทีอ่ นื่ โดยปลอยใหเติบโต หรือตายไปตามยถากรรม นับเปนเวลา 1 ทศวรรษแลว ที่พสกนิกร ใตรมพระบารมี ณ พื้นที่ศูนยพัฒนาโครงการ หลวงห ว ยน้ํ า ริ น แห ง นี้ ไ ด รั บ พระมหา กรุณาธิคุณ ชีวิตทุกชีวิตในวันนี้จึงมีความกินดี อยูดี มีที่ทํากินเปนหลักแหลงถาวร มีรายได ทีแ่ นนอน และเพิม่ มากขึน้ อันสงผลใหคณ ุ ภาพ ชีวิตและสังคมดีขึ้นตามลําดับ


3

ประชาชนจํานวนมาก สนใจรวมฝกอาชีพระยะสั้นวันเดียวทําได

ในงานมหกรรมแกจนคนลานนา ซึ่งจัดโดย สปข.3. สํ า นั ก ประชาสั ม พั น ธ เขต 3 ร ว มกั บ กว า 30 องค ก รพั น ธมิ ต ร จัดงานมหกรรมแกจนคนลานนา เพือ่ นําพาประชาชนใหผา นพนภาวะวิกฤติ เศรษฐกิจดวยเศรษฐกิจพอเพียง งานดังกลาวจัดขึ้น เมื่อวันที่ 20 สิงหาคม ที่ผานมา ณ บริเวณ หนาลานเอนกประสงค สปข.3 ซึง่ สํานักประชาสัมพันธเขต 3 รวมกับองคกร พันธมิตร ไดจัดกิจกรรมเพื่อสรางความรู ความเขาใจที่ถูกตองในนโยบาย มาตรการและโครงการตาง ๆ ของรัฐบาลที่เกี่ยวของกับการแกไขปญหา ความยากจนใหประชาชนในพื้นที่ภาคเหนือตอนบนไดรับทราบ รวมทั้งได รับทราบโครงการ แนวทาง กิจกรรม ในการดําเนินการแกไขปญหาความ ยากจนของรัฐบาล นํามาประยุกตใชในการดําเนินชีวิต เพื่อบรรเทาปญหา ความยากจน รองรั บ สภาวะเศรษฐกิ จ ที่ ต กต่ํ า เป น ช อ งทางสร า งงาน สรางอาชีพ สรางรายไดให ประชาชน โดยไดมกี ารจัดนิทรรศการทางวิชาการ

แนะแนวและฝกอาชีพระยะสั้น การจําหนายสินคาและอาหารพื้นเมือง ซึ่งรองผูวาราชการจังหวัดเชียงใหมกลาววา กิจกรรมดังกลาวเปนประโยชน อยางยิ่งในภาวะเศรษฐกิจปจจุบัน ที่มีคนยากจนและคนตกงานจํานวนมาก รัฐบาลไดมงุ เนนยกระดับคุณภาพชีวติ และความเปนอยูข องประชาชนใหดขี นึ้ ประชาชนทีไ่ ดรบั ความรู สามารถนําไปปรับใชไดในชีวติ ประจําวัน อันจะเปน ชองทางแกปญหาความยากจนอยางยั่งยืน กิ จ กรรมในงานมหกรรมแก จ นคนล า นนา ยั ง มี ก ารจั ด เสวนา ขจัดปญหาความยากจนดวยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การใหบริการปรึกษา การลงทุน และสินเชื่อเพื่อที่อยูอาศัย การใหบริการตําแหนงงานวาง คลินิก อุตสาหกรรม สงเสริมผูประกอบการ มหกรรมสินคาราคาถูก แจกกลาไม โดยนายชูชาติ กีฬาแปง รองผูวาราชการจังหวัดเชียงใหมเปนประธาน ในพิธีเปด

สํานักประชาสัมพันธเขต 3 จัดอบรมพิธีกรมืออาชีพ รุนที่ 3 ผูผูสนใจในการทํ นใจในการทํ การทําหน หนนาที่พิธีกรจากหลาย หนนวยงานทั หหน ยงาน งานทั าน ง้ ภาครัฐและเอกชนในพื แ ใ น้ื ทีภ่ าคเหนือ ตอนบน ตออน อนบบน บน เข เ ารับการอบรมเทคนิ กการอ คการเปนพิธีกร มืออาชี ออาาาชีชีพ ซึ่ึงสํานักปร ประชาสั ระ มพันธเขต 3 จัดขึ้น เปปนรุ นรุนที นที่ี 3 นางจิ นาง น ิราพร ทองบอ ผูอํานวยการสวน แผนงาน แผนงานและพั ผนงานและ น ฒ นางานประชาสั ม พั น ธ รั ก ษา ราชการแทนผู ชชก อ าํ นวยการสํานักประชาสัมพันธเขต 3 เปนประธานเปดการอบรมเทคนิคการเปนพิธีกร มืออาชีพ รุนที่ 3 ที่หองประชุม สปข.3 ซึ่งจัดขึ้น

เพื่อเปดโอกาสใหกับผูที่ทําหนาที่พิธีกร ในหนวย งานภาครั ฐ ภาคเอกชน และองค ก รปกครอง สวนทองถิ่น ในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน ไดฝกฝน ทักษะ และเรียนรูเทคนิคที่สําคัญ เพื่อกาวไปสู การเปนพิธีกรมืออาชีพ นอกจากนั้น ยังเปนการ แลกเปลี่ ย นประสบการณ ด า นการเป น พิ ธี ก ร ระหว า งผู เ ข า อบรม และสร า งเครื อ ข า ย นักประชาสัมพันธในพืน้ ทีอ่ กี ทางหนึง่ โดยมีผสู นใจ เขารวมการอบรม จํานวน 27 คน


4

สรรหามาเลา่

เกณฑประเมินผลงานใหม ขรก.

จากกระแสคลื่นของการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เทคโนโลยี การสือ่ สารและสภาวะแวดลอมทัว่ โลกทําใหการทํางานในระบบราชการ ตองเปลี่ยนแปลงอยางตอเนื่อง ดังจะเห็นไดจาก การนําระบบพัฒนา คุณภาพการบริการจัดการภาครัฐ หรือทีเ่ รียกวา PMQA มาใชในหนวยงาน ซึง่ หลายคนไมสนใจ และไมอยากทําความเขาใจในเรือ่ งนี้ ทัง้ ทีเ่ ปนเรือ่ ง ที่เกี่ยวของโดยตรงเกี่ยวกับแนวทางการทํางานของตนเองในอนาคต ความพยายามในการจัดทําแผนปรับปรุงองคกร ตามหมวด 3 และ หมวด 6 ที่คุยกันมาอยางตอเนื่อง คือ แนวทางในการกําหนด มาตรฐานการทํ า งานของกรมประชาสั ม พั น ธ โดยการออกแบบ กระบวนการทํางานใหม(Redesign) เพื่อเปนการสรางคุณคาของงาน นําไปสูการบรรลุเปาหมายสุดทาย คือ ความพึงพอใจของลูกคา หรือ “ผูมีสวนไดสวนเสีย” ทั้งที่เปนบุคคลภายในและภายนอก ไมวาจะเปนการจัดอบรมบุคลากรเกี่ยวกับการจัดการความรู องคกรสูค วามเปนเลิศ การอบรมปรับเปลีย่ นกระบวนทัศนตามคานิยม ของกรมประชาสัมพันธ การจัดทํา KM ทีพ่ ดู ถึงกันบอยๆ หรือแมแตการ จัดทําคูมือการปฏิบัติงาน ลวนแตเกี่ยวของ เชื่อมโยงกับแนวทางการ ปรับเปลีย่ นวิธคี ดิ และกระบวนการทํางานใหมทกี่ าํ ลังเกิดขึน้ ในอนาคต ทั้งสิ้น ลาสุด คณะกรรมขาราชการพลเรือน (ก.พ.) ไดกาํ หนดหลักเกณฑ ประเมินผลงานของขาราชการแบบใหม ซึง่ จะเริม่ ใชตงั้ แตวนั ที่ 1 ตุลาคม 2552 นี้เปนตนไป โดยมีสาระสําคัญพอสรุปไดดังนี้ ประเด็นแรก ขาราชการทุกคนตองไดรับการประเมินเลื่อนขั้น เงินเดือนตามหลักเกณฑใหมทกี่ าํ หนด จากเดิมทีเ่ ปนระบบขัน้ เงินเดือน มาเปนแบบคิดเปอรเซ็นต หากผลงานดีเดนมีสิทธิ์ปรับเงินเดือนสูงสุด

ถึง 12 % ของเงินเดือนที่ไดรับ โดยแบงการพิจารณาเปนปละ 2 ครั้ง ครั้งละ 6% (คลายกับขั้นครึ่ง สองขั้นแบบเดิม) ประเด็นที่สอง เกณฑการประเมินแบงการวัดประสิทธิภาพ การปฏิบัติราชการออกเปน 5 ระดับ ไดแก ระดับดีเดน, ระดับดีมาก, ระดับดี, ระดับพอใช และระดับตองปรับปรุง ซึ่งในระดับ “ตอง ปรับปรุง” จะไมไดรับการขึ้นเงินเดือน ประเด็นทีส่ าม การประเมินผลการปฏิบตั งิ านจะพิจารณาจาก 2 องคประกอบ คือ ผลสัมฤทธิ์ของงาน และ พฤติกรรมการปฏิบัติ ราชการ หรือ สมรรถนะ โดยดูจากตัวชี้วัดการปฏิบัติงานไว 3 สวน ไดแก 1. เปนงานทีป่ รากฏในคํารับรองการปฏิบตั ริ าชการ หรือทีเ่ รียก “งานยุทธศาสตร” 2. งานตามหนาที่รับผิดชอบโดยตรง หรือ “งานตามภารกิจ” 3. งานทีไ่ ดรบั มอบหมายใหทาํ เปนพิเศษ เชน โครงการตางๆ ประเด็นทีส่ ี่ รูปแบบการประเมินผลการปฏิบตั ริ าชการแตละคน มี 2 แบบ คือ 1. การประเมินสมรรถนะดวยวิธี 360 องศา โดยให ผูบังคับ บัญชา, เพื่อนรวมงาน 3 คน, ผูใตบังคับบัญชา และ ตัวขาราชการเอง เปนผูประเมินตัวเอง 2. การประเมินโดยผูบังคับบัญชา โดยสังเกตจากพฤติกรรม การแสดงออกทีเ่ ห็นชัดเจน แลวนําไปเปรียบเทียบกับมาตรวัด สมรรถนะกลาง

กยศ. แจงเปดระบบลงทะเบียนกูยืมเทอม 2/2552” กองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษา พรอม เปดระบบ e-Studentloan ใหนักเรียน นักศึกษา และสถานศึกษาเขายืนยันการลงทะเบียนกูยืม ภาคเรียนที่ 2/2552 ตั้งแตวันที่ 16 กันยายนนี้ เปนตนไป รศ. นพ. ธาดา มารติน ผูจัดการกองทุน เงินใหกูยืมเพื่อการศึกษา เปดเผยวา ในภาคเรียน ที่ 1 ปการศึกษา 2552 มีนักเรียน นักศึกษาผูที่ได รับสิทธิกูยืมกวา 850,000 ซึ่งมากกวาผูกูยืมปที่ ผานมากวา 130,000 ราย และกองทุนฯ ไดทาํ การ โอนเงิ น ค า ครองชี พ และค า เล า เรี ย นไปเกื อ บ ทั้ ง สิ้ น แล ว และเนื่ อ งจากขณะนี้ ใ กล ถึ ง เวลา เปดภาคเรียนที่ 2 แลว กองทุนฯ ไดกําหนดเปด ระบบ e-Studentloan เพื่อใหนักเรียน นักศึกษา เข า ทํ า การยื่ น แบบคํ า ยื น ยั น การลงทะเบี ย น

กู ยื ม สํ า หรั บ ภาคเรี ย นที่ 2/2552 ตั้ ง แต วั น ที่ 16 กันยายน - 31 ตุลาคม 2552 จึงขอใหนักเรียน นั ก ศึ ก ษาที่ ไ ด รั บ อนุ มั ติ ใ ห กู ยื ม เงิ น กยศ. ใน ภาคเรียนที่ 1/2552 เขามายืนยันความประสงค ที่จะกูยืมในภาคเรียนที่ 2 หากนักเรียน นักศึกษา ดั ง กล า วไม ยื น ยั น การขอกู จะมี ผ ลให ไ ม ไ ด รั บ ค า ครองชี พ และค า เล า เรี ย นในภาคเรี ย นที่ 2 จึ ง ขอให นั ก เรี ย น นั ก ศึ ก ษา และสถานศึ ก ษา เรงดําเนินการใหแลวเสร็จภายในวันที่ 31 ตุลาคม 2552 ซึง่ ทางกองทุน กยศ. ไดเตรียมเงินพรอมทีจ่ ะ โอนแลวจํานวน 16,000 ลานบาท ทั้ ง นี้ ในส ว นของสถานศึ ก ษาที่ ดํ า เนิ น การตามขั้ น ตอนของการกู ยื ม เทอม 1/2552 เสร็จเรียบรอยแลวสามารถดําเนินการในสวนของ เทอม 2 ตอไดทนั ที เพือ่ เปนการชวยเหลือนักเรียน

นักศึกษาที่มีความจําเปนในการใชเงินคาครองชีพ อยางรวดเร็วและตอเนือ่ ง หากมีขอ สงสัยสามารถ สอบถามรายละเอี ย ดได ที่ ศู น ย ส ายใจ กยศ. โทร. 02-610 4888

ติดตอ กยศ.

กองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษา ชั้น 16 อาคาร 2 เลขที่ 63 ซอยทวีมิตร ถนนพระราม 9 เขตหวยขวาง กทม. 10310 โทรศัพท 0-2610-4888 โทรสาร 0-2643-1470 หรือ http://www.studentloan.or.th/contact.php

www.studentloan.or.th


5

ประสบการณสืส์ ่อื เรื่องราวชาวเหนือ ON TOUR ตอน ชุมพรคาบานา ....รีสอรตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ณ บริเวณหาดทุงวัวแลน มีน้ําทะเลใส สะอาด หาดทรายขาวละเอียด ถือเปนชายหาด ที่สวยงามที่สุดของจังหวัดชุมพร ดวยบรรยากาศ ที่โอบลอมดวยธรรมชาติ และเงียบสงบเหมาะแก การพักผอนเปนอยางยิ่ง ใกล ๆ กันนั้น เปนที่ตั้ง ของชุมพรคาบานารีสอรต บนเนือ้ ที่ 30 ไร กอตัง้ ขึน้ เมื่อป 2525 สรางตามแนวคิดการทองเที่ยวอยาง ยั่ ง ยื น ไม ทํ า ลายธรรมชาติ รั ก ษาสิ่ ง แวดล อ ม ทีมงานเรื่องราวชาวเหนือ (แกจน) สทท.เชียงใหม ไดมโี อกาสมาถายทํารายการในครัง้ นี้ เปนสวนหนึง่ ของกิจกรรมสื่อมวลชนลานนาสัญจร ศึกษาดูงาน การแก ไ ขป ญ หาความยากจน จั ด โดยส ว น แผนงานและพัฒนางานประชาสัมพันธ สํานัก ประชาสัมพันธ เขต 3 โดยมีคุณวริสร รักษพันธุ กรรมการผูจัดการชุมพรคาบานา รีสอรต ศูนย กสิกรรมธรรมชาติเพลิน ใหการตอนรับและเลาถึง วิกฤติเศรษฐกิจ (ตมยํากุง) ในป 2540 มีหนี้สิน มากมาย 300 ลานบาท และในปเดียวกันเกิดน้าํ ทวม ใหญในชุมพรดวย ชวงเวลานั้นมีหนี้ทวมตัว ทําใจ แลววาอาจจะโดนเจาหนี้ยึด คงจะอยูที่นี่ไมได แต พ อดี ช ว งนั้ น พระบาทสมเด็ จ พระเจ า อยู หั ว ทรงสงคณะทํางานกองงานสวนพระองค ลงมา ทํ า โครงการแก ม ลิ ง แก ป ญ หาน้ํ า ท ว มในชุ ม พร มาพักที่รีสอรต จึงเกิดจุดเปลี่ยนในการแกปญหา การประกอบธุรกิจดวยแนวคิด “ขาดทุนคือกําไร ยิ่งทํายิ่งได ยิ่งใหมี แปลงหนี้สินใหเปนบุญ” และหั น มาสนใจเรื่ อ งเศรษฐกิ จ พอเพี ย งอย า ง จริงจัง ภายในรีสอรตมีสวนเพลิน (มาจากคําวา Play+Learn = Plearn) ผูเ ขาชมจะได 4 ด. ดู ความ สวยงามเพลินตา ดม ดอกไมลอแมลง ดื่ม ชื่นใจ และ แ....ก อรอยจัง มีแปลงพืชที่ใชบําบัดน้ําเสีย ทีเ่ รียกวา ไตธรรมชาติ ฟอกน้าํ เสียใหสะอาดเสียกอน ที่จะปลอยลงสูคูคลอง มีพืชสวนครัว ผัก ผลไม ตนไมนอ ยใหญ มีบา นคนมีนา้ํ ยา (การสาธิตการทํา แชมพู สบู น้าํ ยา ซักผา) โรงปุย อินเตอร โรงไกไขสโุ ข เตาคนเอาถาน โรงผลิตน้ํามันไบโอดีเซล สาธิต การตําขาวแบบโบราณ มีอาหารวางและเครือ่ งดืม่ ที่ทําจากน้ําสมุนไพรใหเราไดชิมอยางอรอยและ ไดสุขภาพดีอีกดวยคะ (เพลินจริง ๆ) ปจจุบัน มีหนวยงานทัง้ ภาครัฐและเอกชน ตลอดจนเครือขาย เกษตรกรจากทั่วประเทศ ไดเขามาศึกษาดูงาน แลกเปลี่ยนความรูที่เปนหลักวิชาการตามแนว พระราชดํ า ริ และได ศึ ก ษากั บ ศู น ย ก สิ ก รรม

ธรรมชาติเพลิน พิพิธภัณฑที่มีชีวิตดวย อีกทั้ง พนักงานยังมีความมั่นคงในอาชีพ ชุมชนรอบ ๆ มี ค วามสุ ข ในการอยู ร ว มกั น พึ่ ง พาอาศั ย กั น มีความเขมแข็ง โดยมีแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอ เพียงเปนแสงนําทาง และที่นาสนใจอีกอยางหนึ่ง ก็คอื การกอสรางอาคารทีพ่ กั ภายใน รีสอรตแหงนี้ ปลู ก สร า งด ว ยวิ ธี ส มั ย ใหม ด ว ยระบบอิ ฐ บล็ อ ก ประสานที่ไมใชเสาคาน เปนระบบที่ใหกําแพง เปนตัวรับน้ําหนัก ทนแผนดินไหวได 7.3 ริกเตอร และยังกันลมพายุได 200 กวากิโลเมตรตอชั่วโมง จากการบริหารจัดการของชุมพรคาบานารีสอรต ทีส่ ามารถรูจ กั พึง่ พาตนเอง ใชทรัพยากรธรรมชาติ อยาง รูค ณ ุ คา ไมทาํ ลายสภาพแวดลอม ทําใหเกิด

ความยั่งยืนตอตนเองและชุมชนทองถิ่น ทําให รีสอรตแหงนี้ไดรับรางวัลมากมาย ไมวาจะเปน รางวัลลูกโลกสีเขียว, รางวัลสิง่ ประดิษฐคดิ คนดีเยีย่ ม ดานพัฒนาสังคมและวัฒนธรรมประจําป 2551 จาก สภาวิจัยแหงชาติ และลาสุดเปนหนวยงานดีเดน ของชาติ สาขาพั ฒ นาเศรษฐกิ จ ด า นเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง จากสํ า นั ก เสริ ม สร า งเอกลั ก ษณ ของชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี สนใจเขาไปติดตาม รายละเอียดไดที่ www.cabana.co.th ในตอนหนา เรื่องราวชาวเหนือ ON TOUR จะพาทานไปชม การทองเที่ยวเชิงเกษตรและ สุดยอดสวมแหงป ระดับประเทศที่สวนนายดํา พลาดไมไดคะ!!!!


6

MIS กับการประชาสัมพันธ

it.03 " ศุภชัย กัลปสันติ / ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร suphachai@prdnorth.in.th

เมือ่ องคการตางๆ ไดนาํ เทคโนโลยีสารสนเทศมาใชบริหารจัดการ องคการ ทัง้ การบริหาร, วางแผนฯ, ปฏิบตั งิ าน, การติดตอสือ่ สาร, บริการขอมูล และสรางความสัมพันธกบั ลูกคาผูร บั บริการแลว องคการนัน้ ๆ จําเปนตองมี เครือ่ งมือใหเหมาะสมกับการจัดการระบบสารสนเทศ กลาวคือการเรียนรู และใชระบบ MIS (Management Information Systems) มาจัดการองคกร สารสนเทศ เพือ่ ใหไดมาซึง่ ขอมูลทีต่ อ งการอยางรวดเร็ว สามารถกําหนด กลยุทธและวางแผนปฏิบตั กิ ารไดทนั ทวงทีไมวา จะอยูใ นสถานการณใดๆ สามารถศึกษาวิเคราะหหาสาเหตุของปญหาในการปฏิบตั งิ านไดในเชิงสถิติ พรอมทัง้ หาวิธแี กไขปญหาไดรวดเร็ว ถูกตอง ประหยัด ทําใหลดคาใชจา ย ในการดําเนินงานขององคการโดยรวม MIS หรือระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการ เปนการนําเทคโนโลยี สารสนเทศเขามาบริหารจัดการองคการเพือ่ เหตุผลดังทีไ่ ดกลาวมาขางตน ไมวา จะหนวยงานองคการใดๆ ก็ตาม ทีน่ าํ ระบบ MIS เขามาใชในการบริหาร จัดการจําเปนตองคํานึงถึงประสิทธิภาพ (Efficiency) เชนมีความรวดเร็ว ในกระบวนการตางๆ, มีความสามารถในการเขาถึงและจัดการขอมูล ไดสะดวกรวดเร็ว, ประหยัดตนทุน ทรัพยากร และเวลาในการทํางาน สามารถประสานการทํางานไดอยางคลองตัวทัง้ ภายในและภายนอกองคกร รวมทัง้ สามารถสือ่ สารขอมูลรวมกับผูร บั บริการไดอยางรวดเร็วเปนตน ทัง้ นี้ ยังสามารถเพิม่ ประสิทธิผล (Effectiveness) กับองคกรไดครอบคลุม เชน มีระบบสนับสนุนการตัดสินใจ หรือระบบสารสนเทศสําหรับผูบริหาร,

แลกเปลี่ยนเรียนรู้ " อธิชัย ตนกันยา นักประชาสัมพันธ ชํานาญการ คํ า ถามและความรู สึ ก เหล า นี้ ค งเคยเกิ ด ขึ้ น ในใจของหลายคน โดยเฉพาะผูท่ีถูก ระบุ ช่ือ ให ไ ป เขารับการอบรมการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศนตามคา นิยมของกรมประชาสัมพันธ ของสํานักประชาสัมพันธ เขต 3 ระหวางวันที่ 4 – 6 กันยายน 2552 ทีส่ วนทวีชล อ.ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม หากพิจารณาคําวา “กระบวนทัศน” หรือที่ฝรั่ง เรียกวา Paradigm นัน้ ไดมผี ใู หความหมายไวหลายคน ทัง้ โทมัส คูน (Thomas S. Khun), อดัม สมิท (Adam Smith) และโจเอล อารเธอร บารเคอร(Joel Arthur Barker) ซึ่งผูเขียนจะไมขอกลาวในรายละเอียดมาก แตพอสรุปโดยยอไดวา “กระบวนทัศน คือ สิง่ ทีร่ วมเอาระบบคิด ความเชือ่ คานิยม วิธกี าร และอืน่ ๆ เชือ่ มโยง สัมพันธเขาดวยกัน แลวแสดงออกใหเห็นทางพฤติกรรมของบุคคลหรือ สมาชิกในชุมชนนั้นๆ โดยพฤติกรรมดังกลาวเปนที่ ยอมรับรวมกันของสมาชิกในชุมชน” ฉะนัน้ บุคคลหนึง่ หรือชุมชนหนึง่ ชุมชนใดแสดง พฤติกรรมออกมาอยางใด ยอมสะทอนถึงระบบคิด ความเชือ่ คานิยม และวิธกี ารมองโลกของบุคคลและชุม ชนนัน้ ๆ เรียกวา “กระบวนทัศน” การจะปรับเปลีย่ นกระบวนทัศน จึงเปนการปรับ เปลีย่ น วิธคี ดิ และโลกทัศนจากเดิมทีเ่ ห็นวากระบวนทัศน เก า ได ส ร า งผลกระทบ เกิ ด ป ญ หาความขั ด แย ง ถึ ง ขั้น ที่เรี ย กว า เข า สูภ าวะวิ ก ฤต โดยที่วิธีคิด หรื อ กระบวนทัศนเดิมๆ ไมสามารถแกปญหาไดอีกตอไป

http://region3.prd.go.th/

มีระบบจัดการสินคาและบริการฯ, มีระบบติดตามตรวจสอบ วัดผล และจัดการคุณภาพสินคาและบริการ ทีส่ ามารถสรางความไดเปรียบในการ แขงขัน และชวยใหคณ ุ ภาพชีวติ ในการทํางานโดยรวมขององคการดีขน้ึ ดวย การนํา MIS เขามาบริหารจัดการสามารถใชไดกับทุกองคการ โดยเฉพาะอยางยิง่ องคการประชาสัมพันธ ซึง่ มีสภาพแวดลอมองคการ และ ภารกิจทีเ่ หมาะสมตอการพัฒนานําระบบ MIS เขามาบริหารจัดการอยางยิง่ ซึ่งจะสามารถบงชี้ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการนําเทคโนโลยี สารสนเทศมาใชในองคการประชาสัมพันธไดอยางเดนชัด กลาวคือองคการ ประชาสัมพันธ ตองการรับรูข อ มูลและสารสนเทศทีร่ วดเร็ว หลากหลาย กวางไกล, ตองสามารถวางแผนการทํางานที่ปรับเปลี่ยนผันแปรไดกับ ทุกสถานการณ, ใชตดิ ตอสือ่ สารตลอดเวลา, ตองการความถูกตองของขอมูล ทีม่ อี ยู หรือสามารถใหขอ มูลเพือ่ การอางอิงไดทง้ั อดีต ปจจุบนั และแนวโนม ในอนาคต ที่สามารถเขาถึงไดงาย มีความสามารถในการประมวลผล ที่รวดเร็ว มีความถูกตองแมนยําสูง ประหยัดทั้งตนทุนงบประมาณ และทรัพยากรบุคคล และยังสามารถดําเนินการประชาสัมพันธขอมูล ขาวสารทีต่ อ งการเผยแพร ไดอยางรวดเร็ว ถูกตอง ครอบคลุม วัดผล การประชาสัมพันธไดชัดเจน สามารถเจาะกลุมเปาหมายไดงายกวา การประชาสั ม พั น ธ แ บบเดิ ม ๆ หากองค ก ารของท า นคิ ด จะทํ า การ ประชาสัมพันธละก็ ลองหันมาศึกษาถึงศักยภาพของการใชเทคโนโลยี สารสนเทศ ในฐานะของการเปนสื่อใหม (New Media) เพื่อใชในการ ประชาสัมพันธองคการของทานดูสกั นิด แลวทานจะรูว า ยังมีสอ่ื ดีๆ ทีม่ ี ศักยภาพสูงทีจ่ ะชวยในการทํา PR ใหกบั องคการของทานได

กระบวนทัศน (เกา) ขรก.ไทย (1) “กระบวนทัศน” คือ อะไร ? ทําไมตองปรับเปลีย่ นกระบวนทัศน ? ในเมือ่ มันเปนของมันมาอยางนัน้ ตัง้ นานแลวจะเปลีย่ นไดจริงๆ หรือ ? ถานายคนนีย้ งั อยูย งั ไงก็เปลีย่ นไมไดโดยเด็ดขาด.. ซึง่ การเปลีย่ นแปลงตองมีลกั ษณะของการปฏิวตั จิ ากหนามือ เปนหลังมือ โดยมีปจ จัยในการขับเคลือ่ น ผูเขียนเองเชื่อมาตลอดวา ภายใตวัฒนธรรม ของข า ราชการไทยที่ป ลู ก ฝ ง กั น มาหลายชั่ว อายุ ขัย การจะไปเปลีย่ นแปลงอะไรคงไมใชเรือ่ งงายๆ ปญหาที่เกิดขึ้นในสังคมไทยนับแตอดีตจนถึง ปจจุบัน ไมวาจะเปนปญหาการเมือง ปญหาทุจริต ประพฤติมิชอบ การไมยึดหลักคุณธรรมและความ ถู ก ต อ งชอบธรรม ได ส ง ผลกระทบต อ การทํ า งาน ของขาราชการอยางไมอาจหลีกได ดังจะเห็นไดจาก พฤติกรรมในวงราชการไทย ทีก่ ลายเปนปญหาทีย่ ดื เยือ้ เรือ้ รังมาจนถึงทุกวันนี้ ไดแก 1) พฤติ ก รรมการเอาตั ว รอด เข า ทํ า นอง “ความดีขอรับไว ความจัญไร ยกใหคนอืน่ ” 2) ชอบวิ่งเขาหาผูมีอํานาจ วิ่งเตนหาเสนสาย จ า ยค า น้ํา ร อ นน้ํา ชา จนทํ า ให ห ลั ก คุ ณ ธรรมจึ ง ถู ก บิดเบือนไป ผูม อี าํ นาจขาดคุณธรรม 3) ชอบวิพากษวิจารณคนอื่น แตมองไมเห็น ความบกพรองของตัวเอง เขาขาย “รูด ไี ปหมดทุกเรือ่ ง ยกเวน งานในหนาทีข่ องตัวเอง” 4) ทํางานแบบฉาบฉวย ไมจริงใจ หนาไหว หลั ง หลอก ถู ก กระแสกดดั น ให ทํ า งานแบบแก ไข ปญหาไปวันๆ หลายเรื่อง แตไมตอเนื่อง ประเภท “ผักชีโรยหนา” 5) ยึดถือระเบียบเปนใหญ โดยไมคาํ นึงถึงเปาหมาย และความสําเร็จของงาน ทําใหขาดความคลองตัว

คิดดูครับวา ถาระบบราชการไทยซึ่งเปนกลไก สําคัญในการบริหารประเทศเต็มไปดวยขาราชการ และพนักงานทีม่ พี ฤติกรรมดังกลาวขางตน อนาคตขาง หนาประเทศชาติจะเปนอยางไร ดวยเหตุเพราะนี้ ก.พ.ร.จึงเสนอยุทธศาสตรการ ปรับเปลีย่ นกระบวนทัศน วัฒนธรรม และคานิยมของ ระบบราชการ ตอคณะรัฐมนตรีและไดมีมติเห็นชอบ เมือ่ วันที่ 2 กันยายน 2546 เพือ่ ใหทกุ สวนราชการสราง บรรยากาศใหเอื้อตอการปรับวัฒนธรรมการทํางาน รู ป แบบใหม ที่ มุ ง ให ข า ราชการปรั บ ตั ว ให ทั น การ เปลีย่ นแปลง ในปจจุบันหนวยงานราชการ หรือแมแตบริษัท เอกชนหลายแหงกําลังเผชิญกับความทาทายในการปรับ “กระบวนงาน” ใหทนั “เทคโนโลยี” และบริหาร “คน” ใหมปี ระสิทธิภาพ โดยเฉพาะระบบราชการซึง่ ตนทุนสูง แตผลผลิตนอย นี่คือเหตุผลสําคัญของการปรับเปลี่ยนกระบวน ทัศนใหม สปข.3 และของกรมประชาสัมพันธ ซึง่ อนาคต 1 – 2 ป ขางหนาจะเปนชวงแหงการเปลี่ยนแปลง บทบาทและโครงสรางองคกรเพื่อใหการบริหารงาน เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุดตามเปาหมาย เมือ่ เปนเชนนัน้ คนทีไ่ มยอมปรับเปลีย่ นกระบวน ทัศนใหม ก็จะถูกระบบการบริหารองคกรยุคใหมรไี ทน ออกไปในทีส่ ดุ


7

1

2

3

4

5

6

7

8

9

มองผานเลนส า่ นเลนส์

1-2 สปข.3 และ สพต. จั ด สั ม มนาส ง เสริ ม ความรู เ กี่ ย วกั บ อาเซี ย น แกสื่อมวลชนในพื้นที่ภาคเหนือตอน ที่โรงแรมอิมพีเรียลแมปง วันที่ 11 ส.ค. 2552 3-4 สปข.3 จั ด แข ง ขั น ตอบป ญ หาประชาธิ ป ไตยรอบชิ ง ชนะเลิ ศ ระดั บ ภาคเหนือ โดย รปส. (นายรัตนบุรี อติศพั ท) เปนประธาน วันที่ 14 ส.ค. 2552 5-9 งานมหกรรมแกจนคนลานนา ซึ่งจัดโดย สปข.3 มีนายชูชาติ กีฬาแปง รองผูวาราชการจังหวัดเชียงใหม เปนประธานในพิธีเปด วันที่ 20 ส.ค. 2552 10-11 สปข.3 จัดอบรม “องคกรสูค วามเปนเลิศ” เพือ่ แลกเปลีย่ นองคความรู รวมกัน โดยนายยรรยงค สมจิตต ผ.สวท.เชียงใหม รักษาราชการแทน ผอ.สปข.3 เปนประธาน ณ หองแสดง สทท.เชียงใหม วันที่ 24-25 ส.ค. 2552

10

ที่ปรึกษา บรรณาธิการ

11

นางสาวสมใจ สะสมทรัพย ผูอํานวยการสํานักประชาสัมพันธเขต 3 นางจิรพร ทองบอ ผูอํานวยการสวนแผนงาน และพัฒนางานประชาสัมพันธ

กองบรรณาธิการ นางดุษฎี ถาวรจตุรวัฒน นางลัดดารัตน สุขกิจประเสริฐ นายอธิชัย ตนกันยา นางนวพรรณ ไชยวรรณ อุทัยยศ ออกแบบ/พิมพ ดาวคอมพิวกราฟก (MaxxPRINTING

นางสาวปริยา เธียรประดิษฐ นางศศิธร สุดเจริญ นางเหมือนใจ วงศใหญ นางสาวปรัศนียาภรณ ตันเกียรติชัย ) 086 6547376, 053221097 | maxx.me

TM


เที่ยวกิน ถิ่นเหนือ " นางสาว เจนจิริ า พินิ ทิสิ ืบ

นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง

ลําปางหลวง ...กลิ่นอายศิลปะลานนา ้ คูเมื ้ าปาง ่ องรถมาลํ หากเดินทางมาเยีย่ มเยือนเมืองรถมาจังหวัดลําปาง สถานทีท่ อ งเทีย่ วมากมาย ตางตระหงาน รอใหนกั ทองเทีย่ วไดเขามาศึกษาและเยีย่ มชม โดยเฉพาะ โบราณสถาน โบราณวัตถุทเี่ กาแกนบั รอยๆ ป ที่แสดงถึงศิลปวัฒนธรรมลานนาในสมัยกอน “วัดพระธาตุลําปางหลวง” จึงเปนอีกวัดหนึ่งที่มี ความงดงามและแสดงถึงความเปนลานนา ทั้งทางสถาปตยกรรม ประติมากรรม และจิตรกรรม อีกทั้งยังมีความมหัศจรรยของพระธาตุหัวกลับใหไดเยี่ยมชม วัดพระธาตุลําปางหลวง เปนวัดคูบานคูเมืองของจังหวัดลําปางมาแตโบราณ เปนวัดไม ที่สมบูรณที่สุดแหงหนึ่งของไทย งดงามดวยสถาปตยกรรมเกาแกมากมาย พระธาตุลําปางหลวง เปนพระธาตุประจําปเกิดของคนปฉลู สวนองคบดุ ว ยทองจังโก ยอดฉัตรทําดวยทองคํา มีลายสลักดุน เปนลวดลายแบบตางๆ ที่รั้วทองเหลืองรอบองคพระธาตุ และมีรูกระสุนปนที่หนานทิพยชาง ยิงทาวมหายศปรากฏอยู ภายในวัดพระธาตุลําปางหลวงยังมี เป น วิ ห ารขนาดใหญ ภายในมี ซุ ม ปราสาททอง เปนที่ประดิษฐานพระเจาลานทอง ดานหลังเปนที่ประดิษฐานพระเจาทันใจ วิหารพระพุทธ อายุ ไมต่ํากวา 700 ป ภายในประดิษฐานพระประธานเปนพระพุทธรูปปางมารวิชัยขนาดใหญ กออิฐ ถือปูน ศิลปะเชียงแสนนาชมยิ่งนัก วิหารน้ําแตม หรือวิหารภาพเขียนสี สรางเมื่อ พ.ศ.2044 เปนวิหารเปดโลงทีเ่ กาแกทสี่ ดุ อีกหลังหนึง่ ทางภาคเหนือ ภายในเปนรูปแบบของสถาปตยกรรมไทย ทีง่ ดงาม มีภาพจิตรกรรมศิลปะลานนาบนแผงไมคอสองทีก่ ลาวกันวาเกาแกทสี่ ดุ และหลงเหลือเพียง แหงเดียวในเมืองไทย ซุมพระบาท สรางครอบพระพุทธบาทไวว ฐานก อ ขึ้ น เป น ชั้ น คล า ยฐานเจดี ย ภายในมองเห็ น แสงหั ก เห ปรากฏเปนเงาพระธาตุกลับหัวนามหัศจรรยยงิ่ นัก แตมขี อ หามคือ ไมใหผูหญิงขึ้นชม กุฏิพระแกว เปนที่ประดิษฐานพระแกวมรกต อายุไมตา่ํ กวา 400 ปมาแลว อีกทัง้ ยังมีวหิ ารพระเจาศิลา เปนที่ ประดิษฐานพระเจาศิลาซึง่ เปนพระพุทธรูปทีเ่ กาแกทส่ี ดุ ในกรุงละโว และ พิพธิ ภัณฑ รวบรวมศิลปวัตถุ จากที่ตางๆ ที่หาชมไดยาก เชน สั ง เค็ ด ธรรมาสน คานหาบ ตูพระไตรปฎก เปนตน นอกจากนี้วัดพระธาตุ ลําปางหลวงยังเปนทีป่ ระดิษฐาน “พระแกวดอนเตา” พระพุทธรูป คูบานคูเมืองของจังหวัดลําปาง เปนวัดที่มีนักทองเที่ยวสนใจเปนอันดับตนๆ เมื่อมาเยือนจังหวัดลําปาง หากทานมีโอกาสไดแวะเวียนมาที่จังหวัดลําปาง “วัดพระธาตุลําปางหลวง” นาจะเปนอีก หนึง่ สถานทีท่ จี่ ะไมทาํ ใหทา นผิดหวัง แถมยังไดความรูท างประวัตศิ าสตร และพกพาความประทับใจ อิ่มอกอิ่มใจกลับไปแนนอน

วิสัยทัศน์

สํานักประชาสัมพันธเขต 3 เปนองคกรหลักดานการวางแผนการประชาสัมพันธของรัฐ เพื่อสนับสนุนยุทธศาสตรกลุมจังหวัด มุงเสริมสรางความเขาใจ และสงเสริมการมีสวนรวมระหวางภาครัฐ ภาคเอกชนและภาคประชาชนในพื้นที่ภาคเหนือตอนบนอยางเสมอภาคและทั่วถึง

สํานักประชาสัมพันธ์เขต 3 49 ถ.ประชาสัมพันธ ต.ชางคลาน อ.เมือง จ.เชียงใหม 50100 โทรศัพท/โทรสาร 0-5328-3748

สื่อสัมพันธ์ สปข.3 สง่ เสริมวิชาการประชาสัมพันธ์ สรา้ งสรรคภ์ าพลักษณอ์ งคก์ ร

ชําระคาฝากสงเปนรายเดือน ใบอนุญาตเลขที่ 9/2543 ไปรษณียชางคลาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.