วารสารสื่อสัมพันธ์ 212 เดือนตุลาคม

Page 1

วารสารสื่ อ สั ม พั น ธ

ISSN : 1685-6090

ส่ งเสริ ง เสริ ม วิ ช าการประชาสั ม พั น ธ์ สร้ างสรรค า งสรรค์ ภาพลั ภ าพลั ก ษณ์ องค อ งค์ กร กร

ปท่ี 16 ฉบับที่ 212 เดือนตุลาคม 2552 | http://region3.prd.go.th

ฉบับนี้มีอะไร

2

ศูนยพัฒนาโครงการหลวง วัดจันทร

5 เรือ่ งราวชาวเหนือ ON TOUR ตอน 2 ....สวนนายดํา.... แหลงทองเทีย่ วเชิงเกษตรของ จังหวัดชุมพร

8 อุทยานแหงชาติแมวะ ...แหลงศึกษาสัตวปา และธรรมชาติที่นาแวะชม

3 4 6 7

สปข.3 จัดประชุมเชิงปฏิบตั กิ ารกลยุทธการทําขาว เศรษฐกิจและการประชาสัมพันธในสถานการณ วิกฤติ การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศนใหม กปส. | “กยศ. แจงเปดระบบลงทะเบียนกูยืมเทอม 2/2552” เมือ่ คอมพิวเตอรเล็กลงแตฉลาดยิง่ ขึน้ | การจัดตัง้ ศูนยขอมูลขาวสาร มองผานเลนส


2

ศูนยพัฒนาโครงการหลวงวัดจันทร

ป

2522 พระบาทสมเด็ จ พระเจ า อยู หั ว ไดเสด็จพระราชดําเนิน เยี่ยมเยียนราษฎรชาวเขา ในเขตหมูบานวัดจันทร ตําบลวัดจันทร อําเภอ แมแจม จังหวัดเชียงใหม ทรงทราบถึงความทุกข ยากของชาวเขาในพื้ น ที่ จึ ง มี พ ระราชดํ า ริ ใ ห มี การพัฒนาบานวัดจันทร และหมูบานใกลเคียง เพื่ อ ให ร าษฎรมี ค วามเป น อยู ที่ ดี ขึ้ น โดยจั ด ตั้ ง คณะกรรมการบริหาร “ศูนยพัฒนาโครงการหลวง วัดจันทร” โดยมีหมอมเจาภีศเดช รัชนี เปนองค ประธานกรรมการ ศูนยพัฒนาโครงการหลวงวัดจันทร ตั้งขึ้น ในเขตหมูบานเดน ตําบลวัดจันทร รับผิดชอบ หมูบ า นบริวาร 17 หมูบ า น จํานวน 675 ครอบครัว ครอบคลุมพื้นที่ 151,250 ไร วั ต ถุ ป ระสงค ก ารจั ด ตั้ ง ศู น ย พั ฒ นาโครงการ หลวงวัดจันทร 1. เพื่อแกปญหาการขาดแคลนอาหารและ สงเสริมการเพิ่มรายไดในครัวเรือน เพื่อพัฒนา ชาวเขาในพื้นที่ใหมีความเปนอยูที่ดีขึ้น โดยการ ประกอบอาชีพสุจริตทดแทนการปลูกฝน 2. มุงพัฒนาอาชีพหลักที่ใหผลตอบแทนใน ระยะยาว

การดําเนินงานแบงเปน 1. สงเสริมการปลูกพืช เพื่อการบริโภคใน ครัวเรือน ไดแก ขาวนาดํา ขาวไร และขาวโพดและ เพือ่ ผลิตเปนการคา ไดแก พืชผัก เชน ผักกาดหอม หอ กะหล่าํ ปลีแดง ฟกทองญีป่ นุ พริกยักษ แครอท ถัว่ ลันเตา ฯลฯ ไมผล เชน บวย ทอ พลับ สาลี่ และ กาแฟไมดอก สงเสริมเพื่อผลิตหัวพันธุ คือ แกลดิ โอลัส และเฟน พืชไร ไดแก ถัว่ แดงหลวง ถัว่ เหลือง และดอกไมแหง 2. ดานสัตวบาล สงเสริมการเลีย้ งโค กระบือ และสุกร โดยใหบริการขาวสาร ความรูในการดูแล รักษาสัตวเลี้ยง ทําวัคซีนรักษาโรคตางๆ ปรับปรุง พันธุสัตว ตลอดจนพัฒนาพื้นที่ใตปาสนและปา เสื่อมโทรมใหเปนทุงหญาเลี้ยงสัตว 3. การพัฒนาหมูบ า น โดยรวมกับหนวยงาน ที่เกี่ยวของจัดตั้งสหกรณ ธนาคารขาว ธนาคาร ปุย การคมนาคม เพื่อใหการดําเนินงานทุกดาน เกิดประโยชนสูงสุดกับเกษตรกร ด า นการอนุ รั ก ษ ท รั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดลอม ศู น ย พั ฒ นาโครงการหลวงวั ด จั น ทร ไดดาํ เนินงานดวยการแบงแยกพืน้ ทีป่ า ไมกบั พืน้ ที่ เกษตรกรรม โดยอาศัยแผนการใชประโยชนที่ดิน

เปนแนวทางอยางเครงครัด พรอมกับมีแนวทาง ในการสงเสริม คือ แนะนําใหชาวเขาชวยกันสงวน รักษาปาไมที่เปนปาอนุรักษและปาตนน้ําลําธาร ตางๆ สงเสริมใหเกษตรกรปลูกไมผลเมืองหนาว ในพื้นที่ปาเสื่อมโทรมที่มีความลาดชันไมมากกวา 35% และสงเสริมใหปลูกไมยืนตน เพื่อจัดทํา ป า ชุ ม ชนหรื อ ป า ชาวบ า นไว เ ป น ไม ใช ส อยใน หมูบานตอไป โดยคํานึงถึงระบบการอนุรักษดิน ควบคูกันไปดวย และเนนการสงเสริมการเกษตร แผนใหม โดยใช พื้ น ที่ เ ดิ ม ในการเพาะปลู ก อยางตอเนื่อง เพื่อหยุดการทําไรเลื่อนลอย การดํ า เนิ น งานของศู น ย พั ฒ นาโครงการหลวง วัดจันทร ไดกาวบรรลุเปาหมายตามวัตถุประสงค ไดในระดับหนึ่งแลวแหลงตนน้ําลําธารไดรับการ ดูแล และอนุรกั ษใหคง ความอุดมสมบูรณดงั เชนใน อดีต เกษตรกรสามารถใชประโยชนในที่ดินทํากิน ไดมากขึ้น มีรายไดจากการเพาะปลูกเพียงพอ แกการดํารงชีพ ซึ่งสงผลใหราษฎรชาวไทยภูเขา ในพื้นที่แหงนี้มีความกินดีอยูดีไดอยางปกติสุข


3

ส ป ข . 3 จั ด ป ร ะ ชุ ม เชิ ง ป ฏิ บั ติ ก า ร ก ล ยุ ท ธ ก า ร ทํ า ข า ว เศรษฐกิ จ และการประชาสั ม พั น ธ ใ นสถานการณ วิ ก ฤติ สํานักประชาสัมพันธเขต 3 จัดประชุมเชิงปฏิบตั กิ ารกลยุทธการทําขาว เศรษฐกิจและการประชาสัมพันธในสถานการณวิกฤติ เพื่อเพิ่มพูนความรู และประสบการณแกผูสื่อขาวในพื้นที่ ภาคเหนือตอนบน นายยรรยงค สมจิตต ผูอํานวยการสถานีวิทยุกระจายเสียงแหง ประเทศไทยจั ง หวั ด เชี ย งใหม รั ก ษาราชการแทน ผู อํ า นวยการสํ า นั ก ประชาสัมพันธเขต 3 เปนประธานเปดการประชุมเชิงปฏิบตั กิ าร กลยุทธการ ทําขาวเศรษฐกิจและการประชาสัมพันธในสถานการณวกิ ฤติ ณ หองประชุม สปข.3 ระหวางวันที่ 21-22 กันยายน 2552 เพือ่ แลกเปลีย่ นเรียนรูแ ละเสริม สรางทักษะในการผลิตขาวชั้นสูง ที่มีประเด็นเนื้อหาทางดานเศรษฐกิจและ ขาวในภาวะวิกฤติ รวมทั้งเพื่อเพิ่มพูนความรูและประสบการณแกผูสื่อขาว ซึ่งปฏิบัติหนาในพื้นที่ 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน

ในการประชุมวันแรกมีการบรรยายพิเศษ เรื่อง สถานการณและ แนวโน ม เศรษฐกิ จ ภาคเหนื อ ตอนบน โดยมี วิ ท ยากรคื อ นายสมศั ก ดิ์  ญาถาวร ผูบ ริหารสวน ธนาคารแหงประเทศไทย สํานักงานภาคเหนือ วงศปญ และนายณรงค คองประเสริฐ ประธานหอการคาจังหวัดเชียงใหม ตอดวย การบรรยายพรอมการฝกปฏิบัติ ทําขาวเศรษฐกิจอยางไรใหถูกใจประชาชน โดยนายจเลิศ เจษฎาวัลย อาจารยจากภาควิชาสือ่ สารมวลชน มหาวิทยาลัย รามคําแหง วันที่ 2 การบรรยายและฝกปฏิบัติเรื่อง การประชาสัมพันธ ในสถานการณวิกฤติ พรอมการประชุมหารือ การออกแบบกระบวนการ สร า งคุ ณ ค า การบริ ห ารและจั ด การข อ มู ล ข า วสารในสถานการณ วิ ก ฤติ โดยมีนางสาวอัมพวัน เจริญกุล ผูอ าํ นวยการสํานักขาวแหงชาติ เปนวิทยากร

สวท.พะเยา ควารางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 การผลิตรายการวิทยุทองถิ่น รัฐสภาของเรา สถานีวิทยุกระจายเสียงแหงประเทศไทย จังหวัดพะเยา ควารางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ในการผลิตรายการวิทยุคุณภาพ ตามโครงการ ผลิตรายการวิทยุทองถิ่น รัฐสภาของเรา ประจําป 2552 เปนสมัยที่ 2 ของระดับประเทศ ซึ่งไดรับ เงินรางวัลพรอมใบประกาศนียบัตรจาก รองอธิบดี กรมประชาสัมพันธ นายไพฑูรย ศรีรอด และนาย คัมภีร ดิษฐากรณ รองเลขาธิการสภาผูแ ทนราษฎร ในการผลิตรายการวิทยุรัฐสภาของทาง สวท.พะเยา จะยั ง คงดํ า เนิ น การพั ฒ นาต อ ไป อยางตอเนื่อง เพื่อใหเด็กและเยาวชนตลอดจน ประชาชนในพื้ น ที่ ไ ด มี ค วามรู ค วามเข า ใจเกี่ ย ว กับการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมี พระมหากษั ต ริ ย เ ป น ประมุ ข และเสริ ม สร า ง จิตสํานึกการมีสว นรวมในการพัฒนาประชาธิปไตย ของประเทศ ซึ่งจะนําไปสูความรวมมือพัฒนา ระบอบประชาธิปไตยในอนาคต


4

แลกเปลี่ยนเรียนรู้

" อธิชัย ตนกันยา

นักประชาสัมพันธ ชํานาญการ

การปรับเปลี่ยน กระบวนทัศนใหม กปส.

เมือ่ ฉบับทีแ่ ลวไดเขียนเกีย่ วกับ “กระบวนทัศนเกา ขรก.ไทย” ไปแลว ฉบับนีจ้ งึ เปนเรือ่ งทีต่ อ เนือ่ งกันวาดวยเรือ่ ง “การปรับเปลีย่ นกระบวนทัศน (Paradigm Shift) การเปลี่ยนแปลงอะไรก็ตาม มักปญหายุงยากซับซอนและใช เวลานาน นัน่ เพราะมนุษยมกั ตอตานการเปลีย่ นแปลงเสมอ แตเมือ่ ถึงคราว ตองเผชิญหนากับวิกฤตที่หาทางออกไมไดแลว กระบวนทัศนเกาหรือ ทัศนะการมองโลกแบบเดิมไมสามารถนําไปสูการแกปญหาอะไรไดอีก ตอไป ชุมชนหรือสังคมนัน้ จําเปนตองปรับเปลีย่ นกระบวนทัศนใหม กรมประชาสัมพันธกเ็ ชนกัน ถึงเวลาทีต่ อ งปรับเปลีย่ นกระบวน ทัศนใหมแลว... กระบวนทัศนเกา ทีม่ วี ธิ คี ดิ แบบขาราชการหัวเกา ยึดกฎระเบียบ เปนใหญ ทํางานเฉพาะในหนาทีข่ องตัวเอง เอาตัวรอดไปวันๆ ความคิด ฉันถูกเสมอ วิธคี ดิ เชนนีจ้ ะอยูไ มไดอกี ตอไป กระบวนทัศนใหม คือ การมองความตองการของ “ลูกคา” เปนสําคัญ บางคนอาจถามตอไปวา แลวลูกคาของเราคือใคร ซึง่ ก็คอื “ผูมีสวนไดสวนเสีย” ที่แตละหนวยงานกําหนดไวในการจัดทํา PMQA นัน่ เอง เพือ่ ใหเห็นแนวโนมการปรับเปลีย่ นนโยบายตามกระบวนทัศน ใหมของกรมประชาสัมพันธ ผมจึงขออนุญาตสรุปแนวนโยบายที่ทาน อธิบดีคนใหม นายกฤษณพร เสริมพานิช ใหไวในคลิป จากอินทราเน็ต นํามาขยายตอ เพือ่ ใหขา ราชการ และเจาหนาทีข่ องสํานักประชาสัมพันธ เขต 3 เขาใจทิศทางการทํางาน ทราบวัตถุประสงคและเปาหมายการ ทํางานในอนาคต เรื่องแรก การพัฒนาเรื่องคน โดยประมวลแนวคิดจากระบบ KM ระบบ Career Path ทีเ่ กีย่ วกับสายงานทีม่ กี ารปรับปรุงใหมในระบบ ราชการ การพัฒนาอบรมการฝกทักษะวิชาชีพใหกบั บุคลากร การสราง ความกาวหนาใหกับขาราชการตามความสามารถของตัวเอง รวมถึง ลูกจางทัง้ ลูกจางชัว่ คราวและลูกจางประจําตอเนือ่ งกันไป เรือ่ งทีส่ อง การพัฒนาเครือ่ งมือ โดยสรางแผนพัฒนาเครือ่ งมือ ใหสอดคลองความเปนจริงมากทีส่ ดุ เพือ่ รองรับการพัฒนา หรือการทํา เครือ่ งมือทีม่ อี ยูใ นปจจุบนั ใหมปี ระสิทธิภาพ

เรือ่ งทีส่ าม การพัฒนาสือ่ เดิม ทัง้ สือ่ วิทยุกระจายเสียงและสือ่ โทรทัศน ชอง 11 ใหเปนสถานีโทรทัศนและสถานีวทิ ยุผา นดาวเทียม การสรางโปรแกรมขาวผานโทรศัพทผา นมือถือ เริ่มแรกจะพัฒนาสถานีโทรทัศนในแตละเขต พรอมกับการพัฒนา “ถังขาว” โดยประมวลขาวหนวยงานของ กปส.ทัว่ ประเทศ เพือ่ นํามา ประมวล วิเคราะห และนําเสนอ ผานทาง“เครือขาย” ทัง้ เครือขายวิทยุ ชุมชน เคเบิล้ ทีวี และเครือขายโทรทัศนดาวเทียมทีก่ าํ ลังดําเนินการ แนวโนมนโยบายเรือ่ งนี้ ตอไป กปส. จะไมสรางสือ่ เอง แตจะสราง Content ใหกบั เครือขายทีม่ อี ยูแ ลว เรือ่ งทีส่ ่ี การพัฒนาสารสารสนเทศ โดยจะรวมเวปไซดของหนวย งานในสังกัด กปส.ทีก่ ระจัดกระจายอยูม ากกวา 200 เวปไซด รวบรวมให มีระบบเดียวกัน และตัง้ เปาหมายวา ขอมูลขาวสารหนาเวปไซดตอ งมีขา ว ความเคลือ่ นไหว นํารายการทัง้ หมดเขาไปสอดแทรกใหมคี วามทันสมัย ซึง่ จะนํามาประมวลในภาพรวม 2 สวน คือ 1. บริหารสารสารสนเทศเพือ่ ตอบสนองการทํางานหลักของกรม คือเปนระบบภายใน สามารถพัฒนาเปนระบบทีท่ ดแทนการทํางานทีแ่ ยก สวนใหเปนสวนเดียวกันมากขึน้ 2. การนําระบบสารสนเทศมาเปนสื่อ โดยเนน Content ที่มี ความเคลือ่ นไหวอยางเนือ่ ง เปนประโยชนตอ เครือขาย เพือ่ ทําให กปส. เปนหนวยงานกลางในการสราง Content ทีต่ อบสนองการพัฒนาสังคม เปนหลัก สามารถสือ่ ไปยังกลุม เปาหมายไดอยางทัว่ ถึงมากขึน้ เรือ่ งสุดทาย การบูรณาการการทํางานรวมกันของหนวยงานใน กปส. อยากใหทกุ คนเขาใจทิศทาง วัตถุประสงค และเปาหมายอยาง ชัดเจนเปนไปในแนวทางเดียวกัน เมือ่ ตางคนเขาใจวัตถุประสงค เปาหมายการทํางาน ตางคนตาง มีหนาที่ ตางคนตางใหอภัย ทํางานไปดวยกันได สิง่ ทีอ่ ธิบดีคนใหมเนนย้าํ ก็คือ เรื่อง “คน” “กระบวนการทํางาน” และ“เทคโนโลยีสารสนเทศ” โดยบริหาร Content รวมกับ “เครือขาย” และการบูรณาการการทํางาน รวมกันของหนวยงานภายใน เพือ่ พัฒนา กปส.ใหเปนหนวยงานกลาง ผลิตขอมูลขาวสารและงานประชาสัมพันธทค่ี นทัว่ ไปยอมรับ.

“กยศ. แจงเปดระบบลงทะเบียนกูยืมเทอม 2/2552” กองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.) พร อ มเป ด ระบบ e-Studentloan ให นั ก เรี ย น นั ก ศึ ก ษา และสถานศึ ก ษาเข า ยื น ยั น การลง ทะเบียนกูยืมภาคเรียนที่ 2/2552 ตั้งแตวันที่ 16 กันยายน-31 ตุลาคม 2552 รศ. นพ. ธาดา มารติน ผูจัดการกองทุน เงินใหกยู มื เพือ่ การศึกษา เปดเผยวา “ในภาคเรียน ที่ 1 ปการศึกษา 2552 มีนักเรียน นักศึกษาผูที่ได รับสิทธิกูยืมกวา 850,000 ซึ่งมากกวาผูกูยืมปที่ ผานมากวา 130,000 ราย และกองทุนฯ ไดทาํ การ

โอนเงินคาครองชีพและคาเลาเรียนไปเกือบทั้ง สิ้นแลว และเนื่องจากขณะนี้ใกลถึงเวลาเปดภาค เรียนที่ 2 แลว กองทุนฯ ไดกําหนดเปดระบบ e-Studentloan เพือ่ ใหนกั เรียน นักศึกษาเขาทําการ ยื่นแบบคํายืนยันการลงทะเบียนกูยืมสําหรับภาค เรียนที่ 2/2552 ตั้งแตวันที่ 16 กันยายน - 31 ตุลาคม 2552 จึงขอใหนักเรียน นักศึกษาที่ไดรับ อนุมัติใหกูยืมเงิน กยศ. ในภาคเรียนที่ 1/2552 เขามายืนยันความประสงคที่จะกูยืมในภาคเรียน ที่ 2 หากนักเรียน นักศึกษาดังกลาวไมยืนยันการ

ขอกู จะมีผลใหไมไดรบั คาครองชีพและคาเลาเรียน ในภาคเรียนที่ 2 จึงขอใหนักเรียน นักศึกษา และ สถานศึกษาเรงดําเนินการใหแลวเสร็จภายในวันที่ 31 ตุลาคม 2552 ซึ่งทางกองทุน กยศ. ไดเตรียม เงินพรอมที่จะโอนแลวจํานวน 16,000 ลานบาท

ติดตอ กยศ.

กองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษา ชั้น 16 อาคาร 2 เลขที่ 63 ซอยทวีมิตร ถนนพระราม 9 เขตหวยขวาง กทม. 10310 โทรศัพท 0-2610-4888 โทรสาร 0-2643-1470 หรือ http://www.studentloan.or.th/contact.php

www.studentloan.or.th


5

ประสบการณส์ ื่อ

เรื่องราวชาวเหนือ ON TOUR

ตอน 2 ....สวนนายดํา....แหลงทองเที่ยว เชิงเกษตรของจังหวัดชุมพร นางนันทนา อินหลี นักสื่อสารมวลชน ชํานาญการ ทีมงานเรื่องราวชาวเหนือ สทท. เชียงใหม ไดมีโอกาสมาถายทํารายการในครั้งนี้ เปนสวนหนึง่ ของกิจกรรมสือ่ มวลชนลานนาสัญจร เพื่ อ ศึ ก ษาดู ง านการแก ไขป ญ หาความยากจน ในพื้นที่จังหวัดชุมพร จัดโดยสวนแผนงานและ พัฒนางานประชาสัมพันธ สปข.3 ฉบับนี้จะพา ทานไปรูจ กั แหลงทองเทีย่ วเชิงเกษตรของสวนนาย ดํา ภายในสวนแหงนี้บรรยากาศรมรื่นดวยพันธุ ไมที่เจาของสวนบรรจงสรรคสราง ผูเขาชมไมตอง เสียคาใชจายในการเขาชมแตอยางใด แถมยังไดมี ความสุขใกลชิดกับธรรมชาติ อากาศบริสุทธิ์รูสึก สดชื่นเมื่อไดนั่งใตรมไมใหญ ไดกลิ่นหอมออนๆ ของมวลดอกไมไทย โชคดีมากคะทีร่ ะหวางการฟง บรรยายสรุป ทีมงานเรือ่ งราวชาวเหนือ (แกจน) ได แอบไปพูดคุยกับนายดํา หรือ ลุงดํา ฉิง่ สุวรรณโรจน จาของสวนตัวจริงเสียงจริง แมวาวันนี้วัยจะลวง เลย 77 ปแลว ลุงดํายังดูสดชื่น ใบหนายิ้มแยม ทาทางใจดี และไดเลาวา ในอดีตมีพื้นที่ 13 ไร ปลู ก เงาะโรงเรี ย นอย า งเดี ย ว และขยายพื้ น ที่ เป น 200 ไร เมื่ อ ประสบป ญ หาราคาตกต่ํ า จึ ง หั น มาปลู ก ทุ เรี ย น และส ม โชกุ น จนเป น ที่ ยอมรับในรสชาติที่หอมหวาน ชานนิ่ม ซึ่งกวา จะประสบความสํ า เร็ จ ในวั น นี้ ก็ อ าศั ย หลั ก การ ทํางานที่วา “ขยันหมั่นเพียร ทําไปเรื่อยๆ และ ไมประมาทในชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง” นอกจากจะมีชอื่ เสียงในเรือ่ งผลไมแลว ที่นี่ยังไดปรับปรุงหองน้ําจนไดรับรางวัลชนะเลิศ การประกวดสุดยอดสวมแหงประดับประเทศ จาก กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข อันเกิดจาก แนวคิดของคุณพงษศักดิ์ ฉิ่งสุวรรณโรจน ทายาท ลุงดํา (ปจจุบนั กลายเปน ทูตสวม หรือ Mr. Happy Toilet ไปแลว) ไดเลาความเปนมาของสวมไทยวา คนไทยในอดี ต มี วิ ถี ชี วิ ต ที่ เรี ย บง า ย ปล อ ยให ธรรมชาติเขามาแกปญหา แมกระทั่งเรื่องของการ ขับถายของคนไทยนัน้ พึง่ พาอาศัยสภาพแวดลอม โดยการไปทุง หรือ ไปปา ปลอยใหหมู หมา หรือ ปลา คอยจัดการ ในสมัยสุโขทัยไดรับอิทธิพลทาง พุทธศาสนาแบบลังกาวงศ ซึ่งไดกําหนดไวในพระ ธรรมวินัยใหพระภิกษุมีสถานที่ขับถาย ซึ่งเรียก วา เว็จ หรือ เว็จจกุฎิ เพื่อเปนแบบอยางที่ดี คําวา สวม หมายถึง สถานทีข่ บั ถายนัน้ ไมปรากฏ หลักฐานวามีการใชคํานี้ตั้งแตเมื่อใดสันนิษฐาน วา นาจะใชมากอนสมัยรัตนโกสินทรเนื่องจาก สมัยรัชกาลที่ 3 ในหมายรับสั่งมีการใชคํานี้แลว ตอมาสมัยรัชกาลที่ 5 สภาพบานเมืองเปลี่ยนไป

ประชาชนมากขึ้น การขับถายตามที่เคยทํากันมา เริม่ มีปญ  หา ในป พ.ศ.2440 มีการตัง้ กรมศุขาภิบาล ตอมาเปลีย่ นเปน สุขาภิบาล มีหนาทีจ่ ดั สรางสวม สาธารณะและดูแลเรื่องการขับถายของประชาชน อันเปนทีม่ าของคําวา “สุขา” แปลวา “ความสุข” สรุปไดวา การพัฒนาสวมของไทยเริม่ จากการทีเ่ คย ไปทุง ไปทา ไปปา ก็มาเปนขับถายในสวมหลุมมี ฝากั้น, สวมถังเท มีบริษัทสะอาดรับจางขนไปทิ้ง ตอมาโอนกิจการใหบริษัท ออนเหวง หลังจากนั้น ก็กลายเปนสวมคอหาน หรือที่คนทั่วไปเรียกวา สวมซึม โดยมีพระยานครพระรามสวัสดิ์ มหากายี เป น ผู ป ระดิ ษ ฐ ส ว มคอห า นยั ง คงใช กั น อยู ใ น ปจจุบนั สวนสวมแบบชักโครก ไดรบั วัฒนธรรมมา จากตะวันตก คุณพงษศักดิ์ไดนําดวยแนวคิดจาก ประสบการณตระเวนเที่ยวทั้งในและตางประเทศ

กวา 20 ป อยากสรางสวมในฝนทีส่ อดคลองกับวิถี ไทย ผูใชจะใกลชิดกับธรรมชาติ ประหยัดพลังงาน เย็นสบายโดยไมตองติดแอร และฝากบอกวาหาก คุณอยากใหสวมสะอาด คนใชสวมก็ตองรักษา ความสะอาดดวย สวมในสวนนายดํามีใหลองใช หลากหลายรูปแบบคะ ไมวาจะเปนสวมคุณชาย, สวมคุณหญิง, สวมคุณหนู, สวมรู และที่ทาทาย ความสามารถผูใ ชจะตองปนปาย ก็คอื สวมทาซาน ในอนาคตสวนนายดําจะสรางสวมสามโลก สวน นาตาจะเปนอยางไรนั้นตองรอชมกัน สนใจเขาไป ติดตามรายละเอียดไดที่ www.suannaidum.com ในตอนหนาเรื่องราว ชาวเหนือ ON TOUR จะพา ทานไปติดตามปาฏิหารยแหงความสุขของลุงนิล พลาดไมไดคะ!!!!


6

it.03 เมื่อคอมพิวเตอรเล็กลงแตฉลาดยิ่งขึ้น " ศุภชัย กัลปสันติ / ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร suphachai@prdnorth.in.th

หากทานผูอ า นเคยไดยนิ หรือเคยรูจ กั มักคุน กับกฎของมัวร ( Moore’s Low ) ทีอ่ ธิบายโดยกอรดอน มัวร(Gordon Moore) ผูซ ง่ึ ไดสงั เกตการณพฒ ั นา อุปกรณทางอิเล็กทรอนิกสและวงจรรวม (Integrate Circuit: IC) แลวนํามา เขียนนําเสนอแนวคิดไววา ในอนาคตราคาของทรานซิสเตอรตอ วงจรจะลดลง ในขณะทีป่ ระสิทธิภาพจะสูงขึน้ (“The number of transistors per chip that yields the minimum cost per transistor has increased at a rate of roughly a factor of two per year.” [Moore,1964]) นัน่ หมายถึงความกาวหนาของ เทคโนโลยีและความซับซอนของเทคโนโลยีอเิ ล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอร จะทําใหสามารถผลิตไอซีทม่ี ี ความหนาแนนไดเปนสองเทาทุกๆ ชวงระยะ เวลาหนึง่ ซึง่ ก็เปนไปตามนัน้ จริงๆ จนกระทัง่ ปจจุบนั ยังจะพบวากฎของมัวร ยังสงผลใหเกิดการพัฒนาอยางกาวกระโดดยิง่ ๆ ขึน้ ไปเมือ่ INTEL ผูผ ลิตซิป ประมวลผลคอมพิวเตอรชน้ั นํา ไดมงุ หนาพัฒนาเทคโนโลยีตามกฎของมัวร อยางเขมขน เมือ่ นายพอล โอเทลลินี ประธานและ ซีอโี อของอินเทลไดนาํ แผนเวเฟอร ทีป่ ระกอบดวย Processer ทีใ่ ชเทคโนโลยีการผลิตแบบ 22 นาโนเมตร มาแสดงในงาน IDF2009 (Intel Developer Forum) โดยในแผนเวเฟอรนน้ั ประกอบไปดวยดาย (DIE) ทีม่ ขี นาดเล็กเพียงเทาเล็บมือ แตมที รานซิสเตอร บรรจุอยูม ากกวา 2.9 พันลานตัว โดยโปรเซสเซอรแบบ 22 นาโนเมตรนี้ จะประกอบไปดวยเมมโมรี่ SRAM มากถึง 364 ลานบิต โดนเปน SRAM ทีเ่ ล็กทีส่ ดุ เทาทีเ่ คยมีการผลิตมาคือมีขนาดเพียง 0.092 ตารางไมครอน

เทานัน้ ซึง่ ซิปประมวลผลเหลานีจ้ ะถูกนําไปใชในการผลิตคอมพิวเตอรใน ยุคตอๆไป และนัน่ หมายถึงเราจะมี PC หรือคอมพิวเตอรรปู แบบอืน่ ๆ ทีม่ ขี นาดเล็กลง สิน้ เปลืองกระแสไฟฟานอยลง มีการประมวลผลทีเ่ ร็วขึน้ มีความฉลาดมากขึน้ ซึง่ ตามการคาดการณตามกฎของมัวรแลวเทคโนโลยี ทางคอมพิวเตอรจะสามารถประสานการทํางานประสานเปนหนึง่ เดียวกัน กับเทคโนโลยีดา นการสือ่ สาร และการกระจายสัญญาณภาพและเสียงไดดี ยิง่ ขึน้ ดังนัน้ คงถึงเวลาแลวที่ กปส.จะไดนาํ เทคโนโลยีสารสนเทศมาเปนสือ่ หลักของกรมประชาสัมพันธ เพือ่ เพิม่ ศักยภาพดานการประชาสัมพันธกนั เสียที

การจัดตั้งศูนยขอมูลขาวสาร News Repositories

บทความสารพัน " ลัดดารัตน สุขกิจประเสริฐ นักประชาสัมพันธ ชํานาญการ จากข อ มู ล คูมือ การมี สว นร ว มของประชาชน (มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร) ไดระบุถงึ วัตถุประสงคของ เทคนิคนี้ วา ศูนยขอ มูลขาวสาร (News Repositories) เปนแหลงใหบริการขอมูลและขาวสารแกประชาชน โดยเฉพาะอยางยิ่งขอมูลและขาวสารที่เกี่ยวของกับ โครงการหรือกิจกรรมทีป่ ระสงคใหประชาชนมีสว นรวม แสดงความคิดเห็น ศูนยขอ มูลขาวสารสามารถใชใหเปน ประโยชนในการจัดขอมูลและขาวสารไวใหประชาชนที่ สนใจไดศึกษาคนควาเกี่ยวกับโครงการหรือกิจกรรมที่ เกิดขึน้ ในชุมชนหรือบริเวณใกลเคียงได ลักษณะของเทคนิค ศูนยขอมูลขาวสารอาจจัดตั้งขึ้นโดยหนวยงานที่ รับผิดชอบโครงการหรือกิจกรรมทีป่ ระสงคใหประชาชน มีสว นรวมแสดงความคิดเห็น นอกจากนัน้ เพือ่ ใหขอ มูล และขาวสารสามารถเผยแพรไปยังประชาชนไดทว่ั ถึงยิง่ ขึ้น บุคคลหรือองคกรอื่นที่สนใจอาจจัดตั้งศูนยขอมูล ขาวสารควบคูก นั ไปดวยก็ได ไมมขี อ จํากัดทีแ่ นนอนเกีย่ วกับขนาดและสถานที่ ตัง้ ของศูนยขอ มูลขาวสาร ขนาดและสถานทีต่ ง้ั ของศูนย ขอมูลขาวสารยอมขึน้ อยูก บั ประเภทของโครงการหรือ กิจกรรมที่ประสงคใหประชาชนมีสวนรวมแสดงความ คิดเห็น อยางไรก็ตามที่ต้งั ของศูนยขอมูลขาวสารควร อยูในบริเวณที่ประชาชนสามารถเขาไปศึกษาคนควา

บทความสารพันฉบับนี้ ขอนําเสนอประเด็นทีน่ า สนใจเกีย่ วกับเทคนิคการมีสว นรวม ในการใหขอ มูลแกประชาชน ซึง่ เปนกลุม เทคนิคทีเ่ ปนการสือ่ สารทางเดียวเพือ่ ให ประชาชนรับทราบขอมูล หนึง่ ในเทคนิคนีค้ อื การจัดตัง้ ขอมูลขาวสาร ขอมูลและขาวสารไดโดยสะดวก เพื่อใหม่ันใจไดวา ประชาชนจะไดรับความสะดวกอยางแทจริง ผูท่จี ัดตั้ง ศูนยขอมูลขาวสารอาจใหประชาชนมีสวนรวมในการ พิจารณากําหนดสถานทีต่ ง้ั ศูนยขอ มูลขาวสารทีเ่ หมาะ สมดวยก็ได ข อ มู ล และข า วสารที่ จั ด ให บ ริ ก ารไว ใ นศู น ย ขอมูลขาวสารยอมแตกตางกันไปตามประเภทของ โครงการหรือกิจกรรมทีป่ ระสงคใหประชาชนมีสว นรวม แสดงความคิดเห็นแตละโครงการหรือแตละกิจกรรม โดยทัว่ ไปหนวยงาน บุคคลหรือองคกรอืน่ ทีจ่ ดั ตัง้ ศูนย ขอมูลขาวสารเปนผูพิจารณาวาขอมูลและขาวสารใด เปนประโยชนมากทีส่ ดุ อยางไรก็ตาม สมควรจัดขอมูล และขาวสารทีช่ ว ยใหประชาชนซึง่ ไมมพี น้ื ฐานความรูท าง เทคนิค เฉพาะเรือ่ งไวในศูนยขอ มูลขาวสารดวย เพือ่ ชวย ใหประชาชนทีไ่ มมพี น้ื ฐานความรูท างเทคนิคเฉพาะเรือ่ ง สามารถทําความเขาใจขอมูลและขาวสารทางเทคนิค เฉพาะเรือ่ งนัน้ ไดงา ยขึน้ อยางไรก็ตามหนวยงานหรือองคกรอื่นที่จัดตั้ง ศูนยขอ มูลขาวสารสมควรพิจารณาความเหมาะสมของ ขอมูลและขาวสารทีจ่ ะจัดไวในศูนยฯ ของแตละโครงการ หรือแตละกิจกรรมดวย ทัง้ นี้ อาจพิจารณาจากปจจัย หลายประการ เชน ระดับความสนใจของประชาชนตอ โครงการหรือกิจกรรม ประเภทของโครงการหรือกิจกรรม

เปนตน ซึ่งปจจัยเหลานี้มีประโยชนในการประเมิน ความจําเปนในการจัดตั้งศูนยขอมูลขาวสาร รวมทั้ง การประเมินลักษณะของขอมูลและขาวสารทีต่ อ งจัดไว ในศูนยขอ มูลขาวสารทีจ่ ะจัดตัง้ ขึน้ ดวย สวนเรื่องวิธีดําเนินการจัดตั้งศูนยขอมูลขาวสาร ประโยชนและขอจํากัดนัน้ โปรดติดตามในฉบับตอไป


7

1

2

3

4

5

6

7

8

9

มองผานเลนส า่ นเลนส์ 11

10 ที่ปรึกษา บรรณาธิการ

12 นางสาวสมใจ สะสมทรัพย ผูอํานวยการสํานักประชาสัมพันธเขต 3 นางจิรพร ทองบอ ผูอํานวยการสวนแผนงาน และพัฒนางานประชาสัมพันธ

ภาพ 1-2 นายภูเบศ จันทนิมิ ที่ปรึกษารัฐมนตรีประจําสํานักนายกรัฐมนตรี เดินทางมาตรวจเยี่ยมติดตามงานของ สปข.3 โดยนายยรรยงค สมจิตต ผ.สวท.เชียงใหม รักษาราชการแทน ผอ.สปข.3 ใหการตอนรับ (9 ก.ย.2552) ภาพ 3 สพป. จัด FOCUS GROUP ศึกษาความคาดหวังและจัดทําแบบสํารวจ ความพึงพอใจของผูม สี ว นไดสว นเสียและผูร บั บริการ ณ โรงแรมอิมพีเรียลแม ปง จ.เชียงใหม (11 ก.ย.2552) ภาพ 4 – 5 สปข.3 จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ การเปลี่ยนกระบวนทัศนตาม คานิยมกรมประชาสัมพันธแกขา ราชการในสังกัด ณ สวนพฤกษศาสตรทวีชล จ.เชียงใหม (4-6 ก.ย.2552) ภาพ 6-12 สปข.3 จัดงาน “วันใส วัยสุข” เพือ่ แสดงมุทติ าจิตขาราชการและ ลูกจางในสังกัด ทีเ่ กษียณอายุราชการ จํานวน 16 คน ณ สปข.3 (22 ก.ย. 2552)

กองบรรณาธิการ นางดุษฎี ถาวรจตุรวัฒน นางลัดดารัตน สุขกิจประเสริฐ นายอธิชัย ตนกันยา นางนวพรรณ ไชยวรรณ อุทัยยศ ออกแบบ/พิมพ หจก. กลุม ธุรกิจแม็กซ (MaxxPRINTING

นางสาวปริยา เธียรประดิษฐ นางศศิธร สุดเจริญ นางเหมือนใจ วงศใหญ นางสาวปรัศนียาภรณ ตันเกียรติชัย ) 086 6547376, 053221097 | maxx.me

TM


เที่ยวกิน ถิ่นเหนือ " นางสาวนั​ันทพร ใใจกาวิลิ

นักศึกษาฝกงานมหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง

อุทยานแหงชาติ ่ แมวะ ่ ...แหลงศึ ่ กษาสัตวป์ ่ าและธรรมชาติที่นาแวะชม ่

จ.ลําปาง

รวมไปถึง อ.สามเงา อ.บานตาก จ.ตาก อุทยานแหงชาติแมวะ ยังเปนตนกําเนิดของน้ําตกแมวะ และกอใหเกิดแหลงทองเที่ยวอีกหลายสถานที่ ไดแก ถ้ําน้ําผาผางาม ถ้ําพระเจดีย และเสนทางศึกษาทางธรรมชาติที่อุดมไปดวยพืชพรรณ และสัตวปานานาชนิด แตที่นาสนใจยิ่งกวา คือ กิ้งกาบิน ปจจุบันพบเห็นไดยาก ในชวง เดือนสิงหาคม – พฤศจิกายน เปนชวงที่ปางามมากที่สุด เต็มไปดวยสีสันของดอกไมปา ยอดเขามีหมอกปกคลุม น้ําตกและลําหวยมีน้ําไหลแรง จึงมักจะมีนักทองเที่ยวแวะมา เที่ยวชมกันเปนจํานวนมาก น้าํ ตกแมวะอยูใ นเขตพืน้ ทีบ่ า นน้าํ ดิบ หมูท ี่ 3 ต.แมวะ อ.เถิน จ.ลําปาง บริเวณ โดยรอบประกอบดวยภูเขาสูงชัน มีดอยแปลหลวงเปนตนกําเนิดของน้ําตก และในที่สุด จะไหลลงสูแ มนา้ํ วัง น้าํ ตกมีทงั้ หมด 9 ชัน้ แตละชัน้ มีความงามทีแ่ ตกตางกัน สภาพเสนทาง สามารถเดินทางไดสะดวกจนถึงน้ําตกชั้นที่ 8 จากนั้นทางจะเริ่มสูงชันตองปนหนาผา จากน้ําตกชั้นที่ 8 ขึ้นไปอีกประมาณ 100 เมตร จึงจะพบกับความสวยงามของน้ําตก ชั้นที่ 9 ที่มีชื่อวา “ตาดหลวง” นอกจากนี้ ยังมีถ้ําน้ําผาผางามที่เปนถ้ําหินปูนขนาดใหญ มีทางวกไปวนมา และมีความลึกมาก ภายในถ้ํามีน้ําไหลผาน ทั้งยังมีหินงอกหินยอยรูปรางตางๆ ตั้งอยู ในเขตพื้นที่บานวังสําราญ ต.พระบาทวังตวง อ.แมพริก จ.ลําปาง นอกจากถ้ําน้ําผาผา งามแลวยังมีถา้ํ พระเจดีย ตัง้ อยูใ นเขตทองทีบ่ า นน้าํ ดิบ หมูท ี่ 3 ต.แมวะ อ.เถิน จ.ลําปาง ซึ่งเปนถ้ําหินปูนขนาดกลาง ภายในถ้ํามีหินงอกรูปทรงเจดียอยูบนพื้น และรูปอางเก็บ น้ําเปนชั้นๆอยางสวยงาม อีกทั้งบริเวณใกลเคียงกับถ้ําพระเจดียยังมีถ้ําชางและถ้ําเล็ก ถ้ํานอยอีกหลายแหง รอใหนักทองเที่ยวแวะมาชื่นชมความงดงาม ผูที่สนใจสามารถเดินทางโดยใชทางหลวงหมายเลข 1 ถนนพหลโยธิน สังเกต หลักกิโลเมตรที่ 497 – 498 จะมีทางแยกขวามมือขางโรงเรียนแมวะวิทยา เขาไปอีก ประมาณ 5 กิโลเมตรจะถึงที่ทําการอุทยานแหงชาติแมวะ โดยคิดคาธรรมเนียมเขา ชมผูใหญคนละ 20 บาท เด็กคนละ 10 บาท สวนนักทองเที่ยวที่อยากชมบรรยากาศ ยามค่ําคืน ทางอุทยานฯมีบริการที่พักให พรอมมีสถานที่กางเตนทและเตนทไวรองรับ นักทองเที่ยวอีกดวย

วิสัยทัศน์

สํานักประชาสัมพันธเขต 3 เปนองคกรหลักดานการวางแผนการประชาสัมพันธของรัฐ เพื่อสนับสนุนยุทธศาสตรกลุมจังหวัด มุงเสริมสรางความเขาใจ และสงเสริมการมีสวนรวมระหวางภาครัฐ ภาคเอกชนและภาคประชาชนในพื้นที่ภาคเหนือตอนบนอยางเสมอภาคและทั่วถึง

สํานักประชาสัมพันธ์เขต 3 49 ถ.ประชาสัมพันธ ต.ชางคลาน อ.เมือง จ.เชียงใหม 50100 โทรศัพท/โทรสาร 0-5328-3748

สื่อสัมพันธ์ สปข.3 สง่ เสริมวิชาการประชาสัมพันธ์ สรา้ งสรรคภ์ าพลักษณอ์ งคก์ ร

ชําระคาฝากสงเปนรายเดือน ใบอนุญาตเลขที่ 9/2543 ไปรษณียชางคลาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.