ทุกข์ไม่ต้องบ่น ทนเอา

Page 1



รําลึกพระคุณแม


โชคดีที่สุดในโลกที่เกิดเปนลูกแม จารุณี คงศิริวัฒนา ตัง้ แตเกิดมาจนถึงทุกวันนี้ ความรูส กึ ตอพระคุณแมของลูกคนนี้ คงยากทีจ่ ะอธิบายออกมาเปนคําพูด เพราะมันมากมายจริงๆ แมจารุณีเปนผูหญิงสูชีวิต เปน Single Mom เปนคนขยัน อดทน มัธยัสถ ใจดี ใจบุญ มีเมตตา และรักสวยรักงาม ตัวอยาง ของความสูช วี ติ อาทิเชน แมเกิดและโตทีอ่ าํ เภอนางรอง จังหวัด บุรรี มั ย แตพอแตงงานกับเตีย่ (นายสันต คงศิรวิ ฒ ั นา) ก็ตดั สินใจมา ปกหลักทํางานที่เชียงใหม ไกลจากพอแมพี่นองทางภาคอีสาน ซึ่งสวนใหญยังคงปกหลักอยูที่เดิมหรือไมก็อยูจังหวัดใกลเคียง มี แ ม ค นเดี ย วที่ ม าอยู ไ กลที่ สุ ด ในบรรดาพี่ น อ ง ครั้ น พอเตี่ ย เสียชีวิต แมก็ยังสูอดทนสงเสียลูกๆ จนจบการศึกษาระดับ ปริญญาตรี 2 คน ปริญญาโท 3 คน ถึงขนาดทีว่ า ครัง้ หนึง่ กิจการ เสริมสวยที่แมทําเริ่มไมดี แมจึงตัดสินใจไปเรียนตัดผมดวยบัต ตาเลี่ยนหาความรูเพิ่มเติมที่กรุงเทพฯ คนเดียว ทั้งๆ ที่ขณะนั้น อายุ 40 กวาๆ แลว หรือแมกระทัง่ ชวงบัน้ ปลายของชีวติ ทีไ่ มได ทําเสริมสวยแลว แมก็ยังหารายไดพิเศษเพิ่มจากการวิ่งที่ดิน จนถึงขนาดลูกๆ เคยพูดเลนกับแมวา แมรจู กั ทุกซอกทุกมุมของ เชียงใหมมากกวาใครๆ หรือปฏิกิริยาแรกที่หมอวินิจฉัยบอกวา แมเปนมะเร็งระยะสุดทาย แมก็รูสึกเฉยๆ มีแคบนเล็กนอยวา ถารูกอนหนานี้นานๆ จะไดรักษาใหหาย เพื่อจะไดอยูกับลูกๆ นานกวานี้ ใหกินยาสมุนไพร ยาแผนปจจุบันกี่ขนานก็ไมเคยบน


เพราะแมมีความหวังมีกําลังใจที่จะอยูกับลูกๆ ใหนานที่สุด ทัง้ หมดขางบนนี้ สําหรับคนอืน่ อาจจะมองวาเปนเรือ่ งธรรมดา ใครๆ เขาก็ปฏิบตั กิ นั แตสาํ หรับตัวลูกแลว สิง่ ทีแ่ มทาํ มาทัง้ หมด ตลอดชีวติ ถือเปนโชคดีทส่ี ดุ ในโลกทีไ่ ดเกิดมาเปนลูกของแม สุดทายนี้ ดังคําทีพ่ ระพุทธเจาสอนพุทธศาสนิกชนใหรวู า เกิด แก เจ็บ ตาย เปนเรื่องปกติ ดังนั้นแมวาแมจารุณีจะไมไดอยูกับ ลูกๆ แลว แตลูกคนนี้มีความเชื่อวาคงมีสักวันที่เราแมลูกจะได พบเจอกันอีกแนนอนในอนาคต หลับใหสบายนะแม ตี๋ชัย


รําลึกพระคุณแม “พระคุณแม” แทจริงยิง่ ใหญไพศาลเกินกวาทีจ่ ะเขาใจดวย คําพูดหรือคําอธิบายดวยตัวหนังสือใดๆ หากแตเขาใจไดดวย จิตผูรูที่มีอยูในตัวตนของเราทานทั้งหลาย การฝกจิตใหเปยม ดวยสติความระลึกไดจึงเปนหนทางที่จะเขาใจถึงพระคุณแม อยางแทจริง การจัดพิมพหนังสือ “ทุกข....ไมตองบนอดทน เอา” มี วั ต ถุ ป ระสงค ห ลั ก เพื่ อ เผยแพร สั จ ธรรมคํ า สอนของ หลวงปูสิม พุทธาจาโร อริยสงฆแหงสํานักสงฆถ้ําผาปลอง อ.เชียงดาว จังหวัดเชียงใหม ทั้งนี้เพื่อเปนการตอบแทนคุณ และรําลึกถึงแมผูใหชีวิตและการดํารงอยูตามสายธารแหงธรรม ของลูกทุกคน การปฏิบัติตนทามกลางสายธารแหงธรรมเพื่อ นําตนไปสูความประเสริฐไมวาจะดวยหนทางใดจึงนับเปนการ ทดแทนพระคุณแมเชนกัน การรําลึกพระคุณแมควรเจริญให เกิดขึ้นในทุกขณะจิต ทุกลมหายใจเขาออก มิใชรําลึกไดเมื่อ ทานจากไปแลว หนังสือเลมนี้จึงไมไดมีจุดมุงหมายในการจัด พิมพเพื่อเปนอนุสรณในยามที่ทานจากไปเพราะยามนั้นทาน จะไมมีโอกาสไดรับรูในเจตนาอันเปนกุศลนี้ ทุกคนลวนมีความ ตายติ ด ตั ว มาตั้ ง แต เ กิ ด หากฝ ก จิ ต ให ดี จ ะรู ค วามจริ ง ว า เรา ตายอยูทุกเวลา ตายทีละนอย นับถอยหลังเพื่อละทิ้งสังขาร จากโลกนี้ ไ ปอยู ทุ ก เวลา ให แ ม ไ ด รั บ รู ใ นขณะที่ ยั ง มี ชี วิ ต อยู วาทานเปนแรงบันดาลใจในการจัดพิมพหนังสือเพื่อใหธรรม เปนทานดีกวาจัดพิมพเปนอนุสรณเมื่อทานจากโลกนี้ไปแลว ผูจัดพิมพไดกราบขออนุญาตจากพระอาจารยเมธา สุเมโธ ในการจัดพิมพและไดรับเมตตาจากทานใหนําจัดพิมพเผยแพร


ได “ทุกข....ไมตองบนอดทนเอา” จัดพิมพครัง้ แรกเมือ่ ป พ.ศ. 2537 ผูจ ดั พิมพเห็นวาเปนมรดกธรรมทีล่ กึ ซึง้ ทวาเขาใจงายและ ชวนติดตามยิง่ จึงจัดพิมพขน้ึ ใหมเพือ่ เปนอานิสงสแกแมและผูน าํ ธรรมคําสอนของหลวงปูไ ปประพฤติปฏิบตั ใิ หเจริญจิตยิง่ ขึน้ ตอไป พฤษภาคม 2552

ประวัติแมจารุณี คุณแมจารุณี คงศิรวิ ฒ ั นา เกิดเมือ่ วันอังคารที่ 20 กุมภาพันธ 2482 ที่บานตําบลนางรอง อําเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย บิดา มารดาชือ่ นายเชีย่ ว นางนกแกว ชุณหะวิเชียร มีพนี่ อ งทัง้ หมด 5 คน เปนหญิง 4 คน ชาย 1 คน คุณแมเปนลูกคนที่ 4 ของครอบครัว สมรสกับนายสันต คงศิริวัฒนา มีบุตรธิดารวมทั้งหมด 5 คน คนที่ 1 นางสาวประภัสสร คงศิริวัฒนา วุฒิการศึกษา ปริญญาโทบัญชีมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม อาจารย ประจําแผนกบัญชี วิทยาลัยเทคนิคลําพูน คนที่ 2 นางดรรชนี คงศิริวัฒนา วุฒิการศึกษาปริญญา โทวิศวกรรมศาสรมหาบัณฑิต สาขาสิ่งแวดลอม จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย ผูอํานวยการโครงการ บริษัท ทีม คอนซัลติ้ง เอน จิเนียริ่ง แอนด แมเนจเมนท จํากัด คนที่ 3 นางศิริพร รักษวรรณวงศ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี ศิลปศาสตรบณ ั ฑิต (นิเทศศาสตร) วิทยาลัยครูเชียงใหม ประกอบ ธุรกิจสวนตัว


คนที่ 4 นายศิริชัย คงศิริวัฒนา วุฒิการศึกษาปริญญาตรี บัญชีบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม ผูจัดการฝายโปรแกรมมิ่ง บมจ. เมเจอรซีนีเพล็กซ กรุป คนที่ 5 นายวัชรชัย คงศิริวัฒนา วุฒิการศึกษาปริญญาโท วิทยาศาสตรมหาบัณฑิตเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ อาจารยประจําภาควิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ คณะเทคโนโลยีและการจัดการอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ

รูจักแมจารุณีของเรา คุณแมประกอบอาชีพเปดรานเสริมสวย เปนคนใจบุญ ขยัน ขันแข็ง อดทน ไมเคยหยุดนิง่ แทบจะเรียกไดวา 365 วันไมเคยมี วันหยุด ทุกนาทีของชีวิตเปนนาทีที่มีคา นอกจากการที่แมสนุก กับการทํางานและการสรางรายไดเพื่อครอบครัวแลว ในขณะ เดียวกันยังมอบ ความหวงใย ความรักและความอบอุน ใหแกลกู ทุก คนอยูเ สมอ ไมวา ลูกคนใดประสบอุปสรรค ปญหา แมเปนคนแรก ทีเ่ ขามารวมเผชิญปญหา ชวยเหลือ ใหกาํ ลังใจ เพือ่ ฝาฟนปญหา นัน้ ใหลลุ ว งไปได ชวงเวลาสวนใหญของชีวติ ทีผ่ า นมา แมเปนผูม ี สุขภาพแข็งแรงมาโดยตลอด แมเปนผูดูแลสุขภาพของตนเอง อยางดี พบแพทยและตรวจสุขภาพสม่าํ เสมอ จนกระทัง่ เมือ่ เดือน กันยายน 2551 ไดประสบอุบตั เิ หตุแขนซายหัก หลังจากนัน้ คุณแม เริม่ มีอาการไอแหงบอยๆ จึงไดไปพบแพทย ผลการตรวจอาการ วินิจฉัยอยางละเอียด พบวาแมเปนมะเร็งที่ขั้วปอดขวาระยะ สุดทาย ทําใหครอบครัวตกใจกับผลการตรวจที่ขัดแยงกับการ


ดูแลสุขภาพที่ผานมา ราวกับวาพระเจาทานปดซอนอาการที่แท จริงและเปดเผยใหเราไดรับทราบในวันนั้น แตแมก็มีจิตใจที่เขม แข็งยอมรับกับสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ พรอมกับการแผเมตตา การสวดมนต ตอจากนั้นโรครายไดลุกลามเขาสูกระดูกกนกบและลามมาที่เขา ขางซาย อยางไรก็ตามแมก็ยังมีความเขมแข็งเชนเดิม เพียงแต ความเจ็ บ ปวดที่ ข าข า งซ า ยนั้ น เริ่ ม ทํ า ให ยื น และเดิ น ไม ไ ด ถึงกระนั้นแมก็ยังตอสูกับความเจ็บปวด และยังสอนลูกใหรักกัน ชวยเหลือซึ่งกันและกัน ใหลูกมีเมตตา เอื้อเฟอเผื่อแผแกผูอื่น ชวยเหลือผูด อ ยกวา ไมเอาเปรียบผูอ นื่ อยางเชนทีเ่ ราเห็นตัวอยาง ทีแ่ มปฏิบตั ติ ง้ั แตเล็กจนโต จนกระทัง่ ในทีส่ ดุ แมตอ งทนทุกขเวทนา กับความเจ็บปวด จนถึงวาระสุดทายของชีวิต สุดทายนี้ ดังคําสอนของพระพุทธเจาตอพุทธศาสนิกชน ใหตระหนักถึงการ เกิด แก เจ็บ และตาย เปนเรื่องปกติ ดังนั้น แมวาแมจะไมไดอยูกับลูกๆ แลว แตลูกทุกคนเชื่อวาคงมีสักวัน ที่เราแมลูกจะไดพบเจอกันอีกแนนอนในอนาคต จากลูกทุกคน หลี หลิน แมว ตี๋ชัย ตี๋บอย


กิจกรรมเชงเมงของครอบครัว

หลี แม ตี๋ชัย บอย แมว เชงเมงหนากูเตี่ย

หลิน แม หลี แมว

พวกเราไหวกูเตี่ย ที่วัดผาขาว


แมสอนใหไหวเจาที่

ตี๋ชัยเชียรแมสูสู บอยเอาใจชวย

เจหลีพาแมไหวพระทําบุญ


พระบอยขอบวชใหแมชื่นใจ

ตรุษจีนแมสอนลูกใหตองทําตามธรรมเนียมจีน


รวมยินดีที่ลูกแมวแตงงาน

ตัดผมใหลูก ตั้งแตเล็กจนโต

แมไปกรุงเทพฯ รักษาแบบแพทยแผนไทย ฟูฟูมาสงอามากลับเชียงใหมที่ดอนเมือง



ทุกข...

ไมตองบน อดทนเอา

มรดกธรรม

หลวงปูสิม พุทธาจาโร สํานักสงฆถําผาปลอง อําเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม


คํานํา “ทุ ก ข . ...ไม ต อ งบ น อดทนเอา” เป น คํ า สอนของหลวงปู ที่ ผู จั ด ทํ า ได นํ า มาตั้ ง เป น ชื่ อ หนั ง สื อ เล ม นี้ คํ า สอนและหลั ก ปฏิ บั ติ ที่ ป รากฎเป น ตั ว อั ก ษรทั้ ง หมด ผู จั ด ทํ า ได ตั ด ตอน เรียบเรียงมาจากเทปธรรมเทศนาของหลวงปูและจากหนังสือ พุทธาจาโรลิขิต ซึ่งเปนหนังสือรวบรวมธรรมคําสอนที่หลวงปู ทานไดบันทึกไวดวยลายมือทานเอง แม ว า หลวงปู ท า นจะได ล ว งลั บ ไปแล ว ก็ ต าม แต สิ่ ง ที่เหลือไวนั้นนับวาเปนสิ่งที่ทรงคุณคายิ่ง ไดแก มรดกธรรม อั น ประเสริ ฐ เปรี ย บดั ง แสงประที ป ส อ งนํ า ทางไปสู ค วาม หลุ ด พ น แห ง สมมติ โ ลกทั้ ง หลาย จึ ง ควรที่ ส าธุ ช นทุ ก ท า น จะได น อ มนํ า ไปประพฤติ ปฏิ บั ติ ดํ า เนิ น ไปตามแนวทาง ที่ ห ลวงปู ท า นได มี เ มตตาจุ ด ประที ป ธรรมส อ งนํ า ทางไว ใ ห “แสงสว า งแห ง ดวงประที ป ธรรมที่ ส อ งกลางใจเราท า น ทั้งหลายนี้ ยอมเปนไปเพื่อความเจริญรุงเรืองแหงชีวิตที่ แทจริง” ผูจัดทํา


ประวัติยอหลวงปู หลวงปูเปนบุตรของนายสาน และนางสิงหคํา วงศเข็มมา เกิดวันศุกรที่ 26 พฤศจิกายน 2452 เวลา 21.00 น. ที่บานบัว ตํ า บลสว า ง อํ า เภอพรรณานิ ค ม จั ง หวั ด สกลนคร มี พี่ น อ ง ร ว มบิ ด ามารดารวม 10 คน บรรพบุ รุ ษ ของชาวบ า นบั ว เปนชาวภูไทอพยพมาจากเมืองบก เมืองวัง ประเทศลาว สกุล วงศ เ ข็ ม มาของหลวงปู เ ป น สกุ ล เก า แก ส กุ ล หนึ่ ง ของบ า นบั ว หลวงปูไดบรรพชาเปนสามเณร เมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2469 ณ อุโบสถวัดศรีรัตนาราม บานบัว โดยมีพระอาจารย สี ท อง สอนวงศ ษ า เป น พระอุ ป ช ฌาย ต อ มาเมื่ อ กองทั พ ธรรมของหลวงปู มั่ น ภู ริ ทั ต โต ได เ ดิ น ทางมาเผยแพร ธ รรม ปฏิ บั ติ ที่ วั ด ศรี ส งคราม ตํ า บลสามผง อํ า เภอศรี ส งคราม จังหวัดนครพนม หลวงปูจึงไดมีโอกาสเขาฟงธรรมจากทาน พระอาจารย ใ หญ จนบั ง เกิ ด ความเลื่ อ มใส ตั ด สิ น ใจถวาย ตั ว เป น ศิ ษ ย แ ละได ข อญั ต ติ ใ หม เ ป น ธรรมยุ ติ ก นิ ก ายโดยมี หลวงปูม นั่ เปนประธาน และมีทา นเจาคุณธรรมเจดีย (จูม พันธุโล) เปนพระอุปชฌาย ณ วัดปาบานสามผง อําเภอศรีสงคราม จังหวัดนครพนม เมื่อหลวงปูอายุครบบวชจึงไดเขาพิธีอุปสมบท ณ วัดศรี จันทราวาส ตําบลพระลับ อําเภอเมือง จังหวัดขอนแกน ในวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2472 โดยมีทานเจาคุณพระเทพสิทธาจารย (จั น ทร เขมิ โ ย) เป น พระอุ ป ช ฌาย และมี พ ระอาจารย สิ ง ห ขั น ตยาคโม เป น พระกรรมวาจาจารย พระปลั ด ดวงจั น ทร หลวงปูสิม พุทธาจาโร

15


เปนพระอนุสาวนาจารย ไดฉายาวา “พุทธาจาโร” หลวงปู ไ ด รั บพระราชทานสมณศักดิ์ที่ “พระครู สั น ติ ว ร ญาณ” เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2502 จนกระทั่งในป พ.ศ. 2503 หลวงปูไดธุดงคตามปาเขาเขาสูเขตดอยเชียงดาว และไดพบ ถ้ําผาปลองในปนี้เอง กระทั่งในป 2510 หลวงปูไดเริ่มพัฒนา ถ้าํ ผาปลอง เปนทีพ่ าํ นักสงฆ หลวงปูไ ดรบั พระราชทานสมณศักดิ์ ที่ “พระญาณสิทธาจารย” เมื่อวันที่ 12 สิงหาคม 2535 และ ไดมรณภาพ เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 2535 รวมสิริอายุ 82 ป 9 เดือน 19 วัน อายุพรรษา 63 พรรษา

16

ทุกข...ไมตองบน อดทนเอา


แสงประทีป

ผูเขาถึงอริยะสัจธรรมของพระสัมมาสัมพุทธเจา ไดแกผูไม ยึดในขันธ เชนผูเห็นทุกขในทุกข เห็นธรรมในธรรม ตามความ เปนจริง พระธรรมแสงประทีปนั้นแจงเสมอ เปนของกลาง ผูใด จะยึดเอามาเปนเจาของครอบครองไมได

แกจากใจ

“การละ” ไม มี ก ารกั ง วล ไม รุ ง รั ง ใจ ว า งใจ เบาใจ ไม ห นั ก ใจ แกะออกจากใจ แก อ อกจากใจ ไม นํ า มามั ด ใจ เปาะไหน ปมไหน ปุ ม ไหน เป า ไหน มั น ยั ง ส ง ใจออกไป เกาะอยู ก็ จ งพยายามแก อ อก อย า ไปหลงเชื่ อ ใจดวงนั้ น ที่จะชักนําจูงเราไปสูความไมเที่ยง เปนทุกข เปนอนัตตา

กอนกรรมฐาน

พระธรรมแปดหมื่นสี่พันพระธรรมขันธ หากหลงก็จะมัว ไปตามหาอยู ใ นโลก จึ ง ย อ ลงมาใกล ๆ กรรมฐานก อ นกาย กองกระดู ก ตน เรี ย กว า “พิ จ ารณาตน” ขุ ด ค น อยู ใ นก อ น กรรมฐานที่ มี อ ยู ใ นกายนี้ หากค น พบ เรี ย กว า “สั จ ธรรม” เห็ น ทุ ก ข ค น หาสาเหตุ ข องความทุ ก ข ดั บ ทุ ก ข ละกิ เ ลส ปลอยวาง “พระธรรมแปดหมื่นสี่พันพระธรรมขันธก็ไดแกพระนิพพาน”

หลวงปูสิม พุทธาจาโร

17


แบก

ผูใดแบกขันธ ผูนั้นแบกความโง ผูใดยึดในขันธ ผูนั้นยึดเอาความทุกข ผูที่ยังแบกเอาทั้งความโงและความฉลาด ผูนั้นยิ่งหนัก

เมตตาตน

เมตตาตน สงสารตน อยานําตนสูทางที่เสื่อม อยาประพฤติ ตนไปในทางที่เสื่อม คําวาเสื่อมคือจิตใจไหลลงสู ทิฏฐิ อวิชชา ลามก ตกต่ํา ดํามืด

ดูอื่นนอกตน

หากเขาใจรู “ไมยึด” หากยึดตัวอวิชชาก็ไมรู ไดแกความไม แจงแหงตนของตน เหตุวาตนของตนไมพิจารณาตน มัวไปดูอื่น นอกตน นําสายตาออกไปเที่ยวดูนอกใจ ตนก็ออกติดตาม ขาด การสังวร ไมสาํ รวมตน จึงตกอยูใ นความมืด เรือนอวิชชา ตัณหา มืดเมา

บาป-บุญ

เกิ ด จากจิ ต เป น บาปจึ ง ทํ า บาป เกิ ด จากจิ ต เป น บุ ญ จึงทําบุญ บาป-บุญ ดีชั่ว หยาบหรือละเอียด ปราณีต หรือ เลวทราม ตนนั้นแลเปนผูรู ผูรับผลของกรรมที่ตนทํามา

18

ทุกข...ไมตองบน อดทนเอา


ไมเปนอะไร

คําวา “ตนตั้งอยูตรงไหน” ไดแก ผูไมหลงตน ผูไมสําคัญ ว า เป น นั่ น เปนนี่ ไมมีการยึดในอุปาทาน หากยั ง แสดงตน อวดวาเปนคนเฉย ๆ ไมโง ไมฉลาด ก็คอื ผูแ สดงทิฎฐิในตน ธรรม ทีส่ าํ คัญตนเอาวา ตนรู ตนเห็น ธรรมอุปาทาน ธรรมโมหะ ธรรม สําคัญตนวาเปนผูเห็นธรรมเรียกวา “ธรรมอวิชชา”

ทางหลุดพน

พระสัมมาปญญาไดแกปญญาอันบริสุทธิ์ จะหลุดพนไปได ก็ดว ยปญญามิใชพน ดวยทรัพย จะกาวถึงองคอริยมรรค อริยผล ได ก็เนื่องมาจากการละกิเลส ทุกสิ่งเปนเพียงสมมติ เพียงอาศัย เปนอาการอยางนั้น อาการอยางนี้ เปนเพียงอาการของธรรม นอมนํามาประพฤติตนใหบริสุทธิ์ หลุดพน หางไกลกิเลส

ธรรมปฏิบัติ

ธรรมขั้นปฏิบัติ ขัดใจ ชําระจิต ใหบริสุทธิ์ผองใส ไดแกผูมี ความพยายามละ ราคะ โทสะ โมหะ ใหเบาบาง หมดไป สิ้นไป ละ แลว เบา ปลอย แลว บาง วาง แลว ไมหนัก

หลวงปูสิม พุทธาจาโร

19


สําคัญที่ใจ

ใจนั้นแลตัวสําคัญจะจูงเราไปตกนรกก็ใจนั้นแล จะทําความ ชั่วก็ใจนั้นแล ใหรักษาใจตน อยาปลอยไปตามใจชอบหรือไม ชอบ อยาเชื่อความหลง ไมหลงตามใจตน มีขันติ อดทน ยับยั้ง ไมเอนเอียงไปกับสิ่งธรรมดาใดๆ ทุกอารมณ ดวยความบริสุทธิ์ โดยทุกประการ

สุขที่แท

กายจะเบาได ก็ เ นื่ อ งมาจากใจละกิ เ ลส วาจาจะเบาได ก็เนื่องมาจากใจละกิเลส จิตจะเบาบางได ก็เนื่องมาจากใจ ละกิ เ ลส จะอยู ต รงไหนสถานใดก็ เ ป น สุ ข จะมาก็ เ ป น สุ ข ยืน เดิน นั่ง นอน ก็บริสุทธิ์ เปนสุขที่ไมมีทุกขเจือปน

เห็นอยางไร

“เห็นทุกขในทุกข” เห็นอยางไร “เห็นทุกขในทุกข” “ทุกข” เกิดจากอะไร อะไรกอใหเกิดทุกข “สมุทัย” สาเหตุแหงทุกข ใหคนหาสาเหตุ “นิโรธ” คือการดับทุกข หยั่งรูญาณทัสนัง “มรรค” ทางแหงอริยผล หมายถึง ชําระจิต “จิตที่ชําระดีแลว สูทางแหงวิมุติ”

20

ทุกข...ไมตองบน อดทนเอา


ขามทุกข พนสุข

ผู ป ฏิ บั ติ โ ดยมากมั ก ติ ด สุ ข คื อ ได ญ าณแล ว มั ก ติ ด อยู ในญาณ ไม มี ค วามพยายามข า ม ก็ เ นื่ อ งมาจากความหลง มาจากอุปาทาน ยึดในสิ่งที่เปนอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา เมื่อติด ก็หลง เมื่อหลงก็ติด เรียกวา โมหะ คือ ความหลงเขาครอบงํา อวิชชาเขาปดบัง จึงมองไมเห็นแสงสวาง คือ ดวงธรรม

ใครจะชวย

จิตมืดก็มองไมเห็นจิตตน จิตเบา จิตหลง จิตชั่ว จิตไหล ลงสูแองน้ําเนาที่สกปรกไปดวยยางราคิน แลวจะไปรองเรียก หาพระอรหันตใหลงไปชวยฉุด ชวยดึง จะไดมาแตไหน ก็พระ อรหันตปนผูไกลจากกิเลส บริสุทธิ์ หลุดพนจากมลทินเครื่อง เศร า หมองแล ว พระอรหั น ต ที่ ไ หนจะมาฉุ ด ช ว ยคนที่ มี จิ ต รั่วไหล หลงไปในที่ต่ํา

เห็นธรรม

หากยั ง สํ า คั ญ ว า ตนเห็ น ธรรมแล ว ก็ คื อ ผู ยึ ด เอากิ เ ลส ผูอยูกับกิเลส ยึดเอากิเลสก็ไดตัวกิเลสนั่นแหละเขาไปปกครอง ใจ จึ ง เข า ไม ถึ ง พระธรรม จะให เ ข า ถึ ง พระธรรมได อ ย า งไร “พระธรรมไม เขาใกลกิเลส” หากไมละกิ เ ลสแล ว พระธรรม ไม เ ข า ใกล เหตุ ว า พระธรรมของพระสั ม มาสั ม พุ ท ธเจ า อยู หางไกลจากกิเลสเครื่องเศราหมอง

หลวงปูสิม พุทธาจาโร

21


หนา - หยาบ – อับ

“กิเลสหนา ปญญาหยาบ” ทําใหเศราหมอง ไมผองใส เนือ่ งมาจากการปลอยใจตนใหชวั่ ไหลลงสูก ระแสต่าํ เปนหนทาง ที่นําไปสูทุคติ “กิเลสหนา ปญญาอับ” เนื่องมาจากจิตหนา จิตแนน จิตเหนียวไปดวยยางกิเลส

รากเหงา

ละ ราคะ โทสะ โมหะ ไมหวั่นไหวไปตามอารมณที่ผาน เขามากระทบ มีสติรูทันกับเหตุการณ เกิดตรงไหน ดับตรงนั้น กิเลสเกิดที่ใจ ก็ดับที่ใจ ไมปลอยใจออกไปกังวลกับสิ่งที่เปน อารมณที่ไรสาระ หากละราคะอันเปนเหตุเบื้องตนไดแลวไม ยากเลย ละรากเหงาของกิเลสไดแลว กิง่ กาน สาขามันก็ตายสิน้

เหมือนแตไมเหมือน

คนจน คนมี คนดี คนชั่ว คนมียศถาบรรดาศักดิ์ คนไมมี ยศถาบรรดาศักดิ์ คนสูง ต่ํา ดํา ขาว เจก มอญ แขก ฝรั่ง อะไร เหล า นี้ ล ว นมี อ ยู ใ นโลก หรื อ จะมี ดี อ ะไรยิ่ ง ไปกว า นี้ คนเรา เกิดมามีดี มีไมดี คนเราตายไป มีดี มีไมดี คนดีก็ตาย คนไมดี ก็ตาย ตายเหมือนกัน แต “ตายไป” ไมเหมือนกัน

22

ทุกข...ไมตองบน อดทนเอา


ละใจ

สมาธิจะตั้งมั่น ก็เนื่องมาจากความบริสุทธิ์ดวยศีล ศีลเปน บาทเบื้องตนของสมาธิ สมาธิจะตั้งมั่น ไมหวั่นไหว ก็เนื่องมา จากการละกิเลส ปลอยวาง เพื่อความบริสุทธิ์อยูเนืองๆ “ไมยึด ไมหลง” สังวรศีล มิใชเปนเพียงปรารถนาเอาแตปาก หากใจ เปนผูละกิเลส ไมยึด ไมหลง ปลอยวาง

ทุนเกา

ทีเ่ กิดมาร่าํ รวย มัง่ มีในชาติปจ จุบนั นี้ ก็เนือ่ งมาจาก “นาบุญ” ที่ทํามาแตกาลกอนชาติอดีตตามมาใหผลคือ “บุญ” เมื่อเราเชื่อ มัน่ วาบุญมีจริง เราเกิดมาแลวในปจจุบนั นี้ คือลมหายใจอยูเ วลา นี้ อยามานอนกิน “ทุนเกา” อยาอยูม ดื ใหมองแสวงหาแสงสวาง คือ “ศีลธรรม” ไมเปนผูประมาทในชีวิตที่เกิดมา

เนื้อนาดี

จงทําแตความดีทกุ ลมหายใจเขา-ออก หากยังเวียนวายตาย เกิดอยูในภพในชาติ ก็จะเปนผูมีทุน คือ “นาบุญ” เปนเนื้อหนอ นาดี ไมมานั่งกินทุนเกาที่เราทํามาแลว หมั่นประกอบกระทํา “เนือ้ นาดี” คือ ทําบุญ ใหทาน รักษาศีล ภาวนา เกิดมาอีก “ทุน” นั้น ตามสนองเปนคนหูดี ตาดี มีสติ ปญญา

หลวงปูสิม พุทธาจาโร

23


ดับสนิท

ไมวาสิ่งใดในรูป เวทนา สัญญาตางๆ ดับใหสนิท สังขาร วิญญาณก็ดับไมเหลือเชื้ออีก อดีต อนาคต ปจจุบัน ก็ดับไป ไมสงเสริมเชื้อไฟเหลานี้อีก ไดแก ไมยอนใจกลับไปคํานึงถึง ไมถอยหลังกลับมาที่เกา

รูอยูคือหยุดดู

ดวยเหตุแหงอวิชชาปกปดใจ จึงมีไมแจง มีแตความหลง ความไมปลอยวาง คือ ตัวทิฏฐิภายในใจตนที่ยึดในอุปาทาน ไมทําตนใหแจง จึงตกอยูในความฝนแหงเงามืด คือ หลงโลก หลงทาง งมงาย

รั้วแกว กําแพงเพชร

“สติ” คือ ความระลึกอยูกับ “ผูรู” ไมหลง “สัมปชัญญะ” คือผูกํากับการควบคุมสติ จิตไมเลินเลอออกนอกกรรมฐาน “สติกับจิต จิตกับสติสัมปชัญญะ” เปนรั้วแกว กําแพงเพชร

หลงโลก

เมื่อตนไมประพฤติตามพระธรรมคําสอนของพระพุทธเจา ก็ยังหลงวาโลกยังจะมีสิ่งที่ดียิ่งอีก ใจลังเล ใจสงสัย ยังเดิน วนเวียนแหวกวายอยูในเมืองที่ไมพอแหงกงเกวียนของกงกรรม หากตนหลงลังเล สงสัยอยู ยากนักที่จะเขาใจในพระธรรม

24

ทุกข...ไมตองบน อดทนเอา


ไมละ

เหตุที่ผูปฏิบัติไมละราคะ ตัวสําคัญในโลก จึงทําใหเกิด โทสะโมหะ เกิดทิฏฐิมานะ ถือตน ถือตัว ถือเรา ถือเขา วามีจริง มีจังในโลกตางๆ แหงความหลงอันมึนเมาแหงจิตใจ ผูละราคะ คือผูละทิฏฐิ ผูละทิฏฐิ คือผูละอวิชชา ไดแก ความไมหลง

ไหวพระ

“ไหวพระ” มิใชสงใจออกไปหาพระที่ตั้งอยูในโบสถวิหาร หรือพระสถูปเจดีย ไหวมสี ติ สวดมีสติ บูชามีสติในตนอยูเ นืองๆ เสมอๆ “ไหว ต รง น อ มให ต รง สวดให ต รง” ก็ ห มายถึ ง สติ มี ส ติ รู อ ยู ใ นตน ไม ป ล อ ยใจให เ พลิ ด เพลิ น ไป ไม ส ง ใจออก ไปหาพระพุทธรูปภายโบสถ นอกโบสถที่ไหน ก็พระพุทธรูป ทานจะลุกขึ้นมาชวยละกิเลสใหเราไดอยางไร ก็ทุกรูปนิ่งสงบ ไมมีทุกขเดือดรอนแตประการใด “ผูไมละกิเลสตางหากเปน ผูเดือดรอนวุนวาย”

สายกลาง

ปฏิบัติสายกลางไมถอยหลัง ดําเนินตามองคอริยมรรค 8 มีสมาธิตั้งมั่น ไมหวั่นไหวไปตามอารมณที่ชอบ หรือไมชอบ ไมยินดียินราย ตั้งจิตใหตรง ดํารงสติใหมั่น อุเบกขาเปนกลาง วางเที่ยงปฏิปทาธรรมสายกลาง สํารวมตน สังวรอินทรีย

หลวงปูสิม พุทธาจาโร

25


เปนของทุกคน

ชาติ ชรา พยาธิ มรณะ ทุกข สมบัติเหลานี้เปนของมนุษย ทุกคน ทุกรูป ทุกนาม ไมเลือกวา คนชั่ว คนดี คนมี คนจน มีอยูประจําตนทุกรูป ทุกนาม หนทางที่พระพุทธองคคนพบ ที่ จ ะข า มออกจากวั ฏ ฏะทุ ก แห ง นี้ มี อ ยู ใ นอริ ย ะสั จ ธรรมทั้ ง 4 ประการ ไดแก “ทุกข สมุทัย นิโรธ มรรค”

สิ่งเดียวกัน

ทุ ก ข อ ยู ต รงไหน ผู ใ ดเป น ผู เ ห็ น ทุ ก ข เมื่ อ ติ ด อยู ใ นสุ ข ไม พ น ทุ ก ข ไปยึ ด เอาสุ ข เวทนา ทุ ก ข เ วทนาก็ ต ามติ ด ไม มี หางกันได แยกกันไมออกเพราะเหตุเนื่องมาจากของไมเที่ยง เปนอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา เวทนา ทุกขๆ สุขๆ เหลานี้มัน เป น ของคู กั น มาด ว ยกั น หากวางสุ ข ไม ไ ด ทุ ก ข ก็ ว างไม ไ ด หากเราติ ด สุ ข ก็ คื อ ติ ด ทุ ก ข นั้ น เอง หากเราหลงสุ ข ก็ คื อ หลงทุกขนั้นเอง

ตะแกรงรอนทอง

ประตู นิ พ พานเปรี ย บเหมื อ นตะแกรงร อ นทองคํ า ผู ที่ มี กิ เ ลสเครื่ อ งเศร า หมอง หมกดองอยู เปรี ย บเหมื อ น โค กระบือ ตนไหนรอดพนชองตะแกรงไปได ตนนั้นก็เรียกวาเขา ประตูนิพพานได หมายถึงละกิเลสภายในสันดานตนเบาบาง หมดสิ้ น ไป ผู ที่ ห ลุ ด พ น จากกิ เ ลสเป น ผู รู แ จ ง เห็ น ตามความ เปนจริง 26

ทุกข...ไมตองบน อดทนเอา


โลกภายใน

“โลกภายใน” หมายถึงตน คําวาตนก็ไดแก กาย วาจา ใจ ของตน เรี ย กว า ตนที่ ม าเกิ ด แก เจ็ บ ตาย เปลี่ ย นแปลง แปรปรวน ยักยาย ผันแปร อยูทุกกระบวนการ ทุกลมหายใจเขา หายใจออก เกิดขึน้ ตัง้ อยู ก็เสือ่ มไปเปนธรรมดา ทุกกาล ทุกเวลา

ไหวศีล

“ไหวถึงศีล” แลวหรือยัง ศีลอยูกับใคร หากครู-อาจารย เปนผูมีศีล ทานก็เปนผูรักษาศีลของทานเอง มิใชผูอื่นมารักษา ให หากตนไม มี ศี ล จะไปไหว ข อศี ล เอากั บ ใคร รั บ มาแล ว ก็ ใหตนอยูในศีล ไมประพฤติผิดศีล ครู-อาจารยทานไมไดติดตาม มาชวยรักษาให ศีลมิไดอยูก บั หลวงพอ หลวงตาโนน อยูท ผี่ รู กั ษา ตนอยูในศีล ตนไมผิดศีล เรียกวา “ผูทรงศีล”

ยุติธรรม

“บาปกรรม” ยุติธรรมตอผูประพฤติตน จน มี ดี ชั่ว ขึ้นอยู กั บ ผู ทํ า กรรมมา หากหนี ก รรมชั่ ว ได คนเราเกิ ด มาดี ทั้ ง นั้ น ไมมีใบ บา บอด หนวก เสียจริตผิดมนุษยธรรมดา กรรมเปน เผาพันธุจะเลือกที่เกิดได ก็สุดอยูที่กรรมตามสติปญญา

หลวงปูสิม พุทธาจาโร

27


พึ่งตน

พึ่ ง กั น ภายนอก เรื่ อ งที่ อ ยู อ าศั ย อาหารคาวหวาน เครื่ อ งนุ ง ห ม ยารั ก ษาโรค พยาธิ เหล า นี้ พอช ว ยกั น ได เรื่องภายนอกธรรมดา ๆ สวนการที่จิตจะบริสุทธิ์นี้ “อัตตาหิ อัตตโน นาโถ” ตนนั้นแลเปนที่พึ่งของตน หากเราไมปฏิบัติ ละกิเลส พระอรหันตที่ไหนเลาจะมาชวยใหเราพนทุกขได

วางสุข ทุกขวาง

จะมายึดอาแตสุข ที่ไหนเลาจะได “ไมมี” หากมีสุขเล็กๆ นอยๆ ก็มที กุ ขประจํา ทีเ่ ห็นกันวา สุขๆ นัน้ แทจริงก็ทกุ ขบรรเทา ลงตางหาก เราจะวางทุกขอยางเดียวจะมีมาแตไหน ผูปฏิบัติ จะรู ไ ด ก็ เ นื่ อ งจากมี ส ติ พิ จ ารณาเห็ น ธรรมในธรรม เห็ น ทุ ก ข ในทุกข เราจะบังคับใหมีแตสุข “เปนไปไมได” ทุกขก็จะตองตาม มาดวยกัน เมื่อเราวางสุขไดแลว ทุกขก็วางได

เหนือดี

อย า ให ใ จอิ จ ฉาริ ษ ยาผู อื่ น จงรั ก ษาใจตน อย า มี ค วาม อาฆาตพยาบาท จองเวรกับผูใดทั้งสิ้น ผูที่ไมอยากใหผูอื่นไดดี อะไรๆ ก็ จ ะให ต นนั้ น แหละดี ก ว า ผู อื่ น บุ ค คลอื่ น “แล ว มั น จะไปดีเหนือเขาไดตรงไหน”

28

ทุกข...ไมตองบน อดทนเอา


ขันติคืออํานาจ

“ผูมีขันติ มีอํานาจในตน” คําวา อํานาจในตน มิใชอวดตน วาเปนผูมีอํานาจ ในเมื่อตนยังอวดตน แสดงตนดวยอํานาจ ปาเถื่อนกับผูอื่น มิใช “ธัมมะขันติ” จะเรียกวา ผูมีขันติไมได

เบียดเบียน

เบียดเบียนผูอื่นก็คือเบียดเบียนตนเอง ขมผูอื่นก็ขมตน นั้นแล อิจฉาผูอื่น ก็อิจฉาตนนั้นแหละ เหยียบย่ําผูอื่นก็คือ เหยียบย่ําตัวเอง เหยียดหยามผูอื่นก็คือเหยียดหยามตัวเอง ทําลายผูอื่นก็คือทําลายตนเอง “หาทางเจริญไดยาก”

ของเที่ยง

“ของเที่ยง” ก็คือความตาย ไมมีผูใดจะเหลือคางซึ่งแผนดิน เกิดมาแลวยอมจะตองตายทุกคน จะหนีความเกิด แก เจ็บ ตาย ไปไมพน ขอนี้เปนของเที่ยงคือความตายแนนอน

มาตางกัน

คนเราเกิดมาไมเหมือนกัน “มามืด อยูมืด ไปมืด มาสวาง อยูสวาง ไปสวาง” คําวา “มามืด” ก็เขาเกิดมาในโลก ทั้งที่ โลกมนุษยมี “แสงสวาง” เขาก็มองไมเห็น “แสง” เชนทางจะไป วัดก็มี หากวา “มามืด” เลยไปไมได ความมืดมันปกปดจิตใจ ไมใหหันหนาหาศีลหาธรรม หลวงปูสิม พุทธาจาโร

29


หนีไมพน

กรรมไม ดี ขึ้ น อยู กั บ ผู ทํ า มา จงมี ส ติ ใ ช ป ญ ญาพิ จ ารณา ตนอยูเสมอ อยาประมาท วัน เดือน ป ไมคอยใคร ลวงเลย ไปทุกลมหายใจเขา-ออก เกิดมาก็มีกรรม หนีกรรมไมพน ทุกคน ควรพิจารณาดูดี ๆ มีอยูในตน กรรมสูง กรรมต่ํา กรรมดี กรรมไมดี ก็ตนนั้นแลจะรูเห็นกอนผูอื่น

คาถาวิเศษ

อด อัต ลด ละ

“อด อัต ลด ละ” = อดทน = อัตตาหิ อัตตโน นาโถ = ลดทิฏฐิ = ละกิเลส

กิจที่พึงกระทํา

กิจทีพ่ งึ กระทําคือเปนผูม สี ติ เปนผูไ มประมาท คือไมอยูด ว ย ความประมาท มีสติอยูเนืองๆ เสมอๆ ทุกลมหายใจเขา หายใจ ออก หาอุบายที่จะทําใหจิตสงบจากกิเลสเพื่อความบริสุทธิ์ มิใช เราจะทําเอาความบริสุทธิ์ เราทําเพื่อบริสุทธิ์

บาปปดใจ

การแผเมตตาหากผูรับยังมีจิตใจหนาไปดวยบาปก็ไมมา เห็นผล เหตุวาบุญที่แผหาหรือแผไปใหนั้น เขาไมถึงใจที่ยังหนา “บุญไมทะลุถึงใจ” เหตุวาบาปปดใจไว บุญจึงเขาไมถึง 30

ทุกข...ไมตองบน อดทนเอา


รูดวยตนเอง

“มรรคผล” นี้ ไ ม ใ ช สํ า เร็ จ ได ด ว ยการอยาก หากเป น ผู ละกิเลส ปลอยวาง ใหเบาบาง หมดไป สิ้นไป “ปจจัตตัง” ผูปฏิบัติละกิเลสจะรูเอง จําเพาะตน ปญญาอันบริสุทธิ์หยั่งรู หยั่งเห็น เรียกวา “ปญญาญาณ” สําเร็จแลวดวยใจ เกิดจากการ ละกิเลส ปลอยวาง

พระคลองใจ

“พบพระแล ว อย า ทิ้ ง พระ” หากมิ ใ ช พ ระที่ ห อ ยคอเป น พวงๆ หามิได พระสรณะนี้ไดแก พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ ไมเสียเที่ยวที่มาเห็นก็คือตนแสวงหาที่พี่งตอไปไมกินทุนเกาที่ ไดมา

ไมมีเมืองพอ

จงพิ จ ารณาธรรมในธรรม เห็ น ธรรมในธรรม เห็ น ทุ ก ข ในทุกข “ทุกขอยูตรงไหน” ผูใดเปนผูเห็นทุกข หากวาทุกขยังไม พอ ทุกขยังไมเบื่อจึงไมคนควาหาเมืองพอ จึงเห็นแตความโลภ ความโกรธ ความหลง เห็นผิดจากครองธรรมของพระสัมมา สัมพุทธเจา

หลวงปูสิม พุทธาจาโร

31


หนัก หนา แนน เหนียว

ผี 1 โลง เรียกวา ขันธ 5 มีอยู 5 ขันธ ก็ทุกขหนักพอตัว อยูแลวเปนภาระที่ “หนักหนาแนนเหนียว” หนัก ไดแก ยึด หนา ไดแก หนากิเลส ตัณหา แนน ไดแก หวง เหนียว ไดแก ละไมได คลายไมออก

ละครชีวิต

ชีวิตเปรียบเหมือนละครโรงใหญ แสดงไปไหนไมรูจักจบ ถึงแมวากายจะไมมีอาการออกแสดง แตหมายถึงใจที่ยังหลงไป ตามอารมณโลก ไมใชใจออกจากกิเสล หากเปนใจออกไปตาม กิเลส หากหลงทางก็เหมือนโคมไฟสองโรงลิเก มิใชดวงประทีป หรือแสงสวาง “จิตที่หลงยอมเอนเอียงไปตามอารมณ”

ออกจากทุกข

ผูเห็นทุกข จึงจะออกจากทุกขได ผูใดละ ผูนั้นแลเห็นสุข ผู ใ ดไม ยึ ด ผู นั้ น แลไม ทุ ก ข ผู ใ ดไม ห ลง ผู นั้ น แลไม ทุ ก ข ทุกขอยูที่ใจ ไมละกิเลส มีสติรูอยู มีปญญาละกิเลส มิใชปญญา หลงไปตามใจชอบหรือไมชอบ

32

ทุกข...ไมตองบน อดทนเอา


“แจง” อยางไร

แจงโดย แจงโดย แจงดวย แจงดวย แจงดวย

เชื่อฟง เคารพในผูออนนอม ความไมเกียจคราน การละกิเลส ความอดทน

บุญเพื่อบุญ

รักษาศีล บริจาคทาน การกุศล ผลบุญเกื้อกูลหนุนนําจิตตน เข า สู ก ระแสแห ง ใบบุ ญ จะได เ ป น ทุ น ติ ด ตน เป น สมบั ติ ข อง คนดี ไมเสียเที่ยวที่ไดมาเกิดเปนมนุษย อยาไปคิดวาทําบุญ แขงขันกับผูใด จงทําบุญเอาบุญ อยาทําบุญเอาหนา ศรัทธา เอาชื่อ อยาหลงไปในทางนั้น “บุญ” ไมไดสําเร็จดวยความ อยากได อยากมี อยากเป น “บุ ญ ” สํ า เร็ จ ได ด ว ยเจตนา เลิก ละ ความชั่ว

หยาบ กลาง ละเอียด

ศีล อยางหยาบ ไดแก ศีลเปลือก คือ ศีล กาย วาจา ใจ มารักษาศีล ภาวนากุศล เรียกวา ศีลอยางหยาบ ศีลอยางกลาง ไดแก จิตตั้งมั่นเปนสมาธิไมหวั่นไหว ศีลอยางละเอียด ไดแก ศีลขั้นละ ปลอยวาง

หลวงปูสิม พุทธาจาโร

33


อด

ลูกพระตถาคต อยามัวคิดวา “อดตาย” การตายนี้ อดก็ตาย ไมอดก็ตาย เราผูป ฏิบตั ติ อ งมีความ “อดทน” เมือ่ มีการ “กลัวอด” แลวก็ “อยาก” เมื่อไมมีการ “กลัวอด” ก็ “ไมอยาก” เรียกวา “แกกลาสามารถ” เขาใหถึงอริยทรัพยภายในไดแลวไมตองกลัว อด

หามา-ไดมา

“หามากั บ ได ม าด ว ยความบริ สุ ท ธิ์ ” การไปหามาก็ เ ป น กิเลสในการหา เมื่อไดมาตามเกิด ตามมี ก็ใชไปตามเกิด ตามมี ไมตองไปเดินหา นั่งหา นอนหา ยืนหา ใดๆ “ละตัณหาก็คือไม ตองไปหา”

ชําระใจ

“ชําระใจ” ไดแกการปฏิบัติขัดจิตใจใหผองใส คือปฏิบัติ ขัดเกลากิเลสตนใหเบาบางหมดไป สิ้นไป ของก็ไมมี ไมของ ก็ไมมี มีไมใช ใชไมมี ละกิเลสที่ใจ เมื่อใจไมละ ก็ปลอยยากนัก วางยากนัก

ตาบอดจูงตาดี

คนตาดีจูงคนตาบอดขามน้ําเขาจูงกันได หากคนตาบอดไป จูงคนตาดีขามน้ํา อันตรายจะถึงคนไหนกอน เพราะเหตุนี้ภาษา โลกเขามักพูดกันวา “อยาเสือกดี ตาไมดีแลวยังเสือกตาบอด สอดรู หลับตาคลํา” ใครจะแนะนําอยางไรก็ชั่งใคร 34

ทุกข...ไมตองบน อดทนเอา


แลวจากดี

ดี ม าก ดี น อ ย ขึ้ น อยู กั บ ผู ส ะสมดี ดี ล ะ ดี ป ล อ ย ดี ว าง “ก็ด”ี ดีไมละ ดีไมปลอย ดีไมวาง “ก็ด”ี ดีคนละแนวทางตางก็หลง วาตนจะไดดี “ดีแลว” คือ “แลวจากดี” ไมกลับมาวนเวียน มาหลง ดี สิน้ ซากจากดีแหงสมบัตโิ ลก พระอรหันตสามารถยกจิตขามโลก ได “ไปก็ดี” หากยกจิตขามโลกไมได “ไปก็ไมดี”

ของดี

ไปหาพระผูม ธี รรม ตัง้ ใจไปคนหาอะไรทีพ่ ระ มีความประสงค สิ่งใด หากไปขอ “ของดี” กับพระก็มีไดแก ศีลธรรม คําสั่งสอน เอาหรือไมเอา “ของดี” หากตนไมนอบนอมรับนํามาประพฤติตน ไปในทางทีด่ จี ะเทีย่ วไปหาพระวันละหลายหน ก็ไมพบพระจะไป นั่งเฝา นอนเฝาพระอยูก็ไมพบพระ

เห็นชอบ

ในเมื่อตนไมเห็นชอบ ไมดําริชอบ ไมปฏิบัติชอบ แลวจะ เอาอะไรมารูแจงแหงกองสังขารธรรม คําวา “รูแจง แทงตลอด” อยางไรจึงจะรอดฝงหวงน้ําแหงโอฆะสงสารอันกันดารแหงนี้ ไดแกตนตองปฏิบตั ติ นใหแจง ในเมือ่ ตนไมทาํ ตนใหแจงอยูต ราบ ใด ตราบนั้นก็ลังเล สงสัย ไมรอดฝง

หลวงปูสิม พุทธาจาโร

35


เวทนา

พิจารณาตนใหดี ที่ไหนจะหนีพนจากสิ่งประจําโลก เกิด แก เจ็บ ตาย มันจะหายไปทางไหน ทุกขประจําสัตวโลก ไดแก “เวทนา ทุกข เวทนาสุข” คนพบแลวหรือยังในสงสารนี้ ผูไมทุกข ไดแกไมยึด ไมวา จะเปนเวทนาใดๆ ทุกข หรือ สุข “ผูละ ไมยึด” ผูไมยึด คือ ผูสิ้นจากเวทนาสองอยาง

เชื่ออยางไร

เชื่อมีเหตุ มีผล เชื่อกันอยางไร เหตุเกิดที่ไหน ดับที่นั่น เชือ่ โดยไมปราศจากเหตุผล ตนเปนทีพ่ งึ่ ของตน นอกจาก ตนจะพิจารณาตนแลวทางอื่นไมมี ผลไหลมาแตเหตุ มีเหตุ มีผล ตนเปนผูมีสติ นอกจาก สติจะมองไมเห็นผล

มารผจญ (ตน)

“มาร” มิ ไ ด อยูที่อื่นโดยทุกประการ “มาร” คํ า นี้ ได แ ก ตนไมละกิเลสในเมื่อตนยังคิดไปวา “มาร” อยูนอกใจตนออกไป เรียกวา จิตเปนโมหะ คือ ความหลง จิตอวิชชา คือ ความไมแจง จิตอุปาทาน คือการยึดเอามาวา สื่งอื่นมาเปนมารตน ที่แทก็ได แกใจไมละกิเลส ใจยึด ใจหลง

36

ทุกข...ไมตองบน อดทนเอา


ตบมือขางเดียว

ผูรักษาตนอยาตบมือสองขาง หมายถึง ปาก ลิ้น วาจา อยาอวดดี ตางก็รักษากาย วาจา ใจตนไว อยาใหกระทบกัน หากผูที่เขาวาเรา หากเราไปวาตอบเขา ผูตอบก็ผิด ผูวาก็ผิด ทางธรรม ไมสรรเสริญกับผูตอบ เปรียบเหมือนตบมือสองขาง มันดัง ตบมือขางเดียวไมดัง หากผูใดยังอยากดังอยูเรียกวา “ปลอยจิต ออกไปชกกัน” เปนผูประพฤติตนไปตามใจชอบ ปฏิบัติตนไปนอกหลักศีลธรรมคําสั่งสอน เอาศาสนาบังหนา

ชั้นไหน

หากผูปฏิบัติมัวเมา หลงชั้นโนน ชั้นนี้ เปนตัวทิฏฐิ อวิชชา ปกป ด โมหะเข า ครอบงํ า เป น ผู ป ฏิ บั ติ เ ลยจากความเป น จริง มองไกล ดูไกล สายตายาวเห็นไกลออกไปทุกชั้นที่ยึด จะมัวไปวัดกันอยูท ชี่ นั้ สําคัญตนวาเปนชัน้ นัน้ ชัน้ นี้ “จะเปนอะไร ชั้นไหนก็ไมเที่ยง”

ตาใจ

วัยของคนตาใส ก็เนื่องมาจากตาไมฟาง วัยของคนตาแจง ก็เนื่องมาจากตาไมมืด วัยของตนตาสวาง เหตุมีมาจากใจ พยายามรักษา อินทรีย อายตนะตน สํารวม ระวัง สังวรศีล

หลวงปูสิม พุทธาจาโร

37


ฝากใจใหคุณ

การละกิ เ ลส ปลอยวาง ไมยึด ไมหลง ใช เ ราจะเอาใจ ของเราไปฝากกับหญิงคนนั้น ชายคนนี้ อยางนี้เขาเรียกวา เอากิ เ ลสไปมอบให กั น หรื อ เอากิ เ ลสไปฝากกั น เอากิ เ ลส ไปโยนใหกับคนนั้น ๆ อยางนี้ มิใชละกิเลสแตอยางใดเลย หาก เปนการปลูกกิเลส ใหมีความกําหนัดยินดีเปนยิ่งขึ้น

กระแสบุญ

ทางแก ไ ขใจตนนั้ น ไม ย ากเลย นํ า จิ ต เข า สู ก ระแสบุ ญ กลับใจตนออกจากทางเสื่อม นําตนเขาสูความเจริญ ละเวน จากบาป กรรมชั่วอันเปนอกุศล อยาพึงกระทํา ควรละเสีย หาก เมตตาตน สงสารตนตองนําตนออกจากทางอบายมุข อยา นําตนไปในทางบาป ใหนําตนขึ้นสูความเจริญตามแนวทาง คําสั่งสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจา

ของคูกัน

“โลก” กั บ “ธรรม” เป น ของคู กั น เมื่ อ ผู ยึ ด แต “โลก” ไมมี “ธรรม” ก็ตั้งไวไมได ทําลายกัน แยงชิงกัน โลภอยากได ของกันและกัน หากหมูใด คณะใดตั้งอยูในประเภทนี้ “หาความ เจริญไดยาก” มีแตทางเสื่อม เหมือนไฟไหมตนลนอยูไมรูตน

38

ทุกข...ไมตองบน อดทนเอา


วางจริงๆ

ผู ไ ม ห ลงหมายถึ ง ผู ล ะอุ ป าทาน ได แ ก ใ จ ไม มี อุ ป าทาน “ทุกสิ่งทุกอยางมีแตความวาง แมกระทั่งคําวา วาง ก็ไมมี” หากยังยึดวาตนวาง ก็เปนทิฏฐิของความหลง เรียกวาอารมณ ของผู ข อ งหรื อ ยั ง ข อ งอยู ผู ไ ม ห ลงก็ คื อ ผู มี ส ติ พิ จ ารณาตน จะเปนผูไมหลงก็เนื่องมาจากเปนผูมีศีล ผูปฏิบัติธรรม ชําระ จิตตน ถอดถอนอุปาทาน

พิจารณาตน

ธรรมป จ จุ บั น หมายถึ ง ผู มี ส ติ พิ จ ารณาตนในเวลา ปจจุบัน ทุกลมหายใจเขา หายใจออก เวลานี้มีสติ หากตน มี ส ติ ก็ เ รี ย กว า พิ จ ารณาตน หากตนไม มี ส ติ มิ ใ ช ก ารที่ เ รี ย ก วา พิจารณา เปนอาการของผูขาดการพิจารณาตน บกพรอง ในการปฏิ บั ติ เป น ทางประมาท มิ ใ ช ผู มี ส ติ ผู พิ จ ารณาตน ตองมีสติเสมอทั้งหลับและตื่น ยืน เดิน นั่ง นอนก็มีสติ หลับตา กับสติ ลืมตากับสติ เรียกวา “พิจารณาตน”

สําคัญที่ปจจุบัน

อดีตที่ผานพนมาแลวไมคํานึงถึง มิใชผานมาแตกายหรือ คํ า พู ด หากแต ใ จต า งหาก ผู ถ อดถอนอุ ป าทาน ปล อ ยวาง อนาคตก็ยังมาไมถึง ไมสงใจออกไปกังงวลในเรื่องอนาคตกาล ขางหนา เวลาปจจุบันมีสติพิจารณา ตนเปนผูไมหลง ถอดถอน จิตออกจากอุปาทานไมยนิ ดี ไมยนิ รายตออารมณใดทุกประการ หลวงปูสิม พุทธาจาโร

39


กิเลสเผาใจ

สะสมกิเลสมาดองไว แลวพระธรรมอะไรจะมาอยูใหปฏิบัติ ในเมือ่ ใจของตนยังลุกลนไปดวยไฟกิเลส แลวใจจะแจงดวยธรรม อะไร ก็เหมือนตนเอามือสองขางไปแหวกตาตนหรือตี่ตาตนใส กองไฟ แลวจะเอาธรรมอะไรมาเห็นแสงสวาง มันก็มีแตควันไฟ กับความรอนเผาลูกตาตน

ตัณหาพาไป

อํานาจตัณหานั่นแหละพาไป กินเทาไหรไมหายอยาก นอนมากไมรูตื่น รักคนอื่นยิ่งกวาตัว สิ่งที่นากลัวกลับกลา

ไหวธรรม

“ไหวถึงธรรม” แลวหรือยัง ธรรมอยูไหน หากจะเรียกวาอยู กับพระสัมมาสัมพุทธเจาจะไดอยางไร พระองคตรัสรูเ องโดยชอบ ไดมีพระมหากรุณาวางหลักพระธรรมคําสั่งสอนไว ไมหาบหอบ ไปนิพพานแตประการใดเลยจะเรียกวา “วางไวในโลก” ก็ได

จบแลว

ความเจริญ อยูที่ผูมีจิตใจสูง ผูประเสริฐ คือผูสงบ ผูจบแลวซึ่งพรหมจรรย คือ พระอรหันต 40

ทุกข...ไมตองบน อดทนเอา


ทุกขทั้งนั้น

ทุกขภายนอก ทุกขภายใน ไดแก ตนไปเก็บเอามาสูตน ให คนหาสาเหตุของความทุกขแลวก็ดับทุกข ขันธทั้งหาเปนภาระที่ หนัก “หากยึดเปนทุกข” ใจหาบ ใจคอน ใจแบก ใจหาม ไดแก ใจ ไมละ คือ ใจยึด “เปนทุกข” รูทุกข เห็นทุกข ตนพิจารณาเอง จึง จะพนทุกข ทุกข จน มาร ผูเลิศ ผูชนะ ผูรูแจง

อยูกับ อยูกับ อยูกับ คือ คือ คือ

อยูกับใคร

ผูหลง ผูมีอุปาทาน ผูไมละกิเลส

ใครคือใคร

ผูละ ผูรูแจง ผู ล ะกิ เ ลสได จ ริ ง จึ ง รู แ จ ง เห็ น จริ ง

หวง หวง หวง

มี “หวง” ก็มี “หวง” มี “หวง” ก็มี “หวง” ตราบใดยังหวงไว ไมละ ตราบนั้นก็คงอยูในหวงมหันตภพ เรียกวา หวงผูกคอไวในหวงแหงภพ

หลวงปูสิม พุทธาจาโร

41


นึกวาไมมี

สิ่งใดเปนบาป “ละทิ้ง” สิ่งใดเปนบุญ “รีบทํา” สิ่งที่ไมดีไมตองสนใจ ใหเอาแตสิ่งที่ดี แมแตคําวา “ไมดี” ก็มี “ดี” อยูในนั้น

“พอ” อยูที่ไหน

“มี” แลว ก็ใหปลอยออกไป ละออกไป ละตัณหาทุกสิ่ง ทุกอยาง ไมหามาปดใหตันอีก “พอ” อยูที่ “ละ”

อยาทิ้งวัด

หากผูใหญทิ้งวัดก็เปรียบเหมือนปลอยใหเด็กรุนหลังตา ฟาง ควรพิจารณาไวบา ง มิใชเราจะเมิน เราบูรณะไวไมปลอยให เสื่อมโทรม ก็เหมือนดํารงศาสนาไวไมใหทําลาย หากเราเคารพ บูชา เด็กรุนหลังก็มาปฏิบัติตาม

รังโลก

“ใจเปนรังโลก กายเปนเรือนโรค” ใจเปนโรคเรือ้ รัง คําสัง่ สอน วาใหรกั ษาใจดวยการปฏิบตั ใิ นสมณะธรรม กําจัดรังโลก เรียกวา ชําระจิตตนใหผองใส นอกจากใจตนจะบริสุทธิ์แลว ทางอื่นไมมี รักษาใจ

42

ทุกข...ไมตองบน อดทนเอา


อบายภูมิ

อบายภู มิ ทั้ ง สี่ ได แ ก ภู มิ ข องผู ป ระพฤติ ต นชั่ ว คื อ การ ทําบาป หากจะรอดพนจากภูมิทั้งสี่นี้ได ตนจะตองประพฤติดี ปฏิ บั ติ ดี ทางกาย วาจา ใจ “ป ด ภู มิ ที่ จิ ต ตนได ก อ น” มิ ใ ช จะออกไปป ดอบายภูมิสี่ ภายนอกตนออกไป หากป ด ภู มิ ที่ จิตตนได ก็ปดภูมิทั้งสี่ได

สิ่งที่หมดไป

หายใจเขามาชีวิตก็หมดไป หายใจออกมาชีวิตก็หมดไป เดือน ป ไมไปไหน วันนี้หมดไป วันใหมก็มาแตชีวิตของคนเรา นัน้ หมดไป สิน้ ไป จงทําความรูส กึ อยูภ ายในใจวา “เราตองตาย” ทุกลมหายใจ

ตายเหมือนกัน

“กลัวตาย” จะไมตายหรือ “ไมกลัวตาย” จะไมตายหรือ จิต อยาไดหลงมัวเมา ใหรับรูดูใจอยูตลอดเวลา เกิด-ตาย อยูที่ “ใจไมร”ู เกิดมาแลว อยาเห็นแต “ความเกิด” ใหเห็น “ความตาย” ดวย โลกนี้มีมืด มีแจง คนเราที่เกิดที่ตายนี้ ก็ตองมีที่ไมเกิด ไม ตาย “นิพพานอยูที่จิตหมดกิเลส”

หลวงปูสิม พุทธาจาโร

43


เรื่องของใจ

ใจหยุด ใจอยู ใจรูภายใน ไมใชรูภายนอก เมื่อใจสงบแลว อะไรๆ ก็สงบหมด เมื่อใจสบายแลว อะไรๆ ก็สบายหมด “ใจเสีย” อะไรๆ ก็เสียหมด “ใจดี” อะไรๆ ก็ดีหมด

มีแตปจจุบัน

คนเราเกิดมาก็เกิดในปจจุบัน แกก็ในปจจุบัน เจ็บไขไดปวย ก็ในปจจุบัน ตายก็ในปจจุบัน ความจริงมีอยูในปจจุบัน จิตดวง ผูรูก็มีอยูในปจจุบัน ชีวิตคนเราก็มีอยูในปจจุบัน ไมไดมีอยูใน อดีต อนาคต “มรรคผล นิพพาน ก็มีอยูในปจจุบัน”

สมมติ

ทุกสิ่งในโลกเปนโลกสมมติ มนุษยสมมติขึ้นมาทั้งสิ้น “สมมติโลก” ไมมีวันหมดสิ้น “วิมุติ” หลุดพน คือการพนจากสมมติโลกทั้งหลาย เมื่อไมรูเทา “สมมติ” ก็ไมรู “วิมุติ” หลุดพน

อยูที่ “รู”

ถาจิตยังคิดวาเปนสุข มันก็เปนทุกขอยูอยางนี้แหละ เอาจิตสอนจิต หนามปกเอาหนามบงจึงจะออกได จิตนี้ไมตองไปหา ถา “หา” แลวมันเปนตัณหาจึงหาไมพบ จิตอยูที่ “รู” 44

ทุกข...ไมตองบน อดทนเอา


ที่พึ่งอันสําคัญ

เวลาเรายังมีชีวิตลมหายใจอยูนี่เหมือนกับวาจะพึ่งคนโนน ไดพึ่งคนนี้ได เมื่อเวลาความตายมาถึง “เราตองพึ่งตนเอง” พึ่งภาวนา นี่แหละ พุทโธในใจ รวมจิต รวมใจ เขามาภายใน นี้แหละเปนที่พึ่งอันสําคัญ

ปญญาหลง

ผูเห็นแสงสวางคือผูเห็นธรรม ความทุกขนั้นไมไดอยูกับ ผูจนทรัพย หากอยูกับผูอับปญญา จะมีทรัพยนับเรือนลาน ยังเปนคนพาล สันดานหยาบ ไหลลงสูอเวจีนรกหมกไหมใตถุน เทวทัต เนื่องโดย “ทิฏฐิหนา ปญญาหลง” หลง เขลา เจริญ ตรัสรู

ผูเห็นจริง

อยูกับ อยูกับ อยูกับ แจงกับ

ผูเมา ผูเพลิน ผูสงบ ผูเห็นตามความเปนจริง

ไมเสื่อม

ศาสนาไมมีทางเสื่อม คนตางหากทําตนใหเสื่อม พระธรรม ไมตาย คนละบาปตางหากรูจักพระธรรม พระธรรมไมตาย คน ไมละบาปตางหากตายจากศีลธรรม “พระธรรมไมเขาใกลกิเลส” ตางคนก็ตางเกิด ตางคนก็ตางตาย “นิพพานมิไดพวงกันไปเชน เรือหาง” หลวงปูสิม พุทธาจาโร

45


อายุที่แท

ลมหายใจเข า -ออก นี่ แ หละ คื อ ชี วิ ต ของแต ล ะบุ ค คล อายุจริงๆ อยูที่ลมหายใจเขา-ออก อายุที่นับกันอยูก็คือสิ่งที่ ลวงหายไป อายุที่แทเหลืออยูแคลมใจหาย เขา-ออก ปลอย ออกมาแลวสูดเขาไปไมไดก็ “ตาย” สูดเขาไปแลวปลอยออกมา ไมไดก็ “ตาย”

ผีที่ไมตาย

ความตายนั้นแกไมได พระพุทธเจาจึงใหแกใจตัวเองให สงบนิ่งอยูภายใน ผีที่ตายแลวไมสรางความเดือดรอนอะไร แตผีที่ยังไมตาย ยังลืมตา หลับตา ฟงเสียงได นี่แหละสําคัญนัก ใหเอาผีตัวนี้มาพิจารณา ภาวนาใหได

จิตเดิม

จิตเดิมใสเหมือนพระจันทร ปราศจากเมฆหมอกปกคลุม หากอาศัยกิเลสพอกพูน ตนของตนจึงแลไมเห็นจิตเดิม มีแตกเิ ลส พันหา ตัณหารอยแปด หลั่งไหลเขามาปกปด จิตดวงเดิมจึงคน ไมเห็น หยั่งไมถึงจิตตน

46

ทุกข...ไมตองบน อดทนเอา


มนุษยที่แท

มนุษยพุทธคุณ หรือมนุษยพุทธธรรม คือ ผูสดุงตอบาป แปลวา กลัวบาป ไมทาํ บาป ดวยกาย ดวยวาจา ดวยใจ เปนผูไ ม ประพฤติตนไปในทางที่ชั่วหรือกรรมอันเปนบาปอกุศล เรียกวา ผูสดุงตอบาป เปนผูละอายตอบาป มีมะโนอันสะอาดปราศจาก ความชั่ว

ดูตน

คํ า ว า “พิ จ ารณาตน” คํ า นี้ บางท า นก็ อ าจจะสงสั ย ว า “เราก็ดูตนของตนเสมอก็มี ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ไมผิดอะไร กับผูอื่น” นี้เปนเพียงการ “ดูตน” ไมมีสติ ขาดการพิจารณา ตาย แลวมาเกิดอีก กี่ภพ กี่ชาติ ก็มาดูตนวามีตา มีหู มีจมูก มีลิ้น มีกาย มีใจ เชนเดิม

หลวงปูสิม พุทธาจาโร

47


48

ทุกข...ไมตองบน อดทนเอา




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.