BEST PRACTICE ของโรงเรียนวัดโพธิ์ศรีสุขาราม สพป.กาญจนบุรี เขต ๑

Page 1

1

๐ ๐ ๒ ๐ ๘ ๙

การบริหารจัดการที่เป็ นเลิศ (BEST PRACTICE) “POSRIKIDS MODEL เพื่อพัฒนาค ุณภาพผูเ้ รียนสศู่ ตวรรษที่ ๒๑”

โรงเรียนวัดโพธิ์ศรีส ุขาราม หมู่ที่ ๓ ตาบลวังศาลา อาเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบรุ ี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๑


2

คำนำ เอกสารนี้จั ดท าขึ้ น เพื่ อ เสนอข้อ มูล ผลงานที่ เกิ ดจากการดาเนิ น การบริห ารจัด การและ พัฒ นาสถานศึกษาผลงานการปฏิบัติที่ เป็นเลิศ (Best Practice) เรื่อง“POSRIKIDS MODEL เพื่ อ พัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21” ซึ่งเป็นรูปแบบที่โรงเรียนได้คิดค้นขึ้นและใช้ในการบริหารงาน ส่งผลให้งานประสบความสาเร็จ เป็นรูปแบบการบริหารที่ให้ความสาคัญในเรื่องของการร่วมมือกัน ทางานของทุกฝ่าย มีการติดต่อสื่อสารและการประสานงานกันอย่างสม่าเสมอ การทางานเป็นระบบ ขั้น ตอน PDCA และบู ร ณาการหลัก ปรัช ญาของเศรษฐกิ จพอเพี ยงในทุ ก ขั้น ตอน ผู้ ข อรั บ การ ประเมิ นจึ งนาเสนอผลงานการพัฒ นาที่ เกิด จาก การปฏิ บัติ หน้ าที่เพื่ อ ประกอบการพิ จารณาของ คณะกรรมการ ซึ่งได้นาเสนอข้อมูลคลอบคลุมตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ขอขอบคุณ คณะครูและบุคลากรทางการศึกษา นักเรียนโรงเรียนวัดโพธิ์ศรีสุขาราม ที่ได้ ให้ความช่วยเหลือ สนับสนุนและให้ความร่วมมือในการพัฒนาโรงเรียนวัดโพธิ์ศรีสุขารามด้วยดีตลอด มา จึงขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้

โรงเรียนวัดโพธิ์ศรีสุขาราม 23 พฤศจิกายน 2558


3 สำรบัญ หน้า คานา 1. ชื่อผลงาน 2. วัตถุประสงค์ 3. กระบวนการดาเนินงาน 4. ความรู้สึกต่อผลงานที่ภาคภูมิใจ 5. การนาข้อค้นพบที่ได้ไปใช้ประโยชน์/พัฒนางานต่อไปในอนาคต 6. การสะท้อนความรู้สึกต่อการบริหารแบบ POSRIKIDS Management เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 7. วิธีการปฏิบัติสู่ความเป็นเลิศ 8. ปัจจัยเกื้อหนุนและปัจจัยแห่งความสาเร็จ 9. ผลการดาเนินงาน/ผลสาเร็จที่ดีเด่น 10. ความคาดหวัง 11. ภาคผนวก

1 1 3 4 4 5 6 12 13 18 20


1

“ผลกำรปฏิบัติงำนที่เป็นเลิศ (BEST PRACTICE)” 1. ชื่อผลงำน

POSRIKIDS MODEL เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 โรงเรียนประถมศึกษาขนาดใหญ่

2. ข้อมูลทั่วไปของผู้พัฒนำ BP 2.1 ชื่อผู้พัฒนา โรงเรียนวัดโพธิ์ศรีสุขาราม 2.2 โรงเรียนวัดโพธิ์ศรีสุขาราม หมู่ 3 ตาบลวังศาลา อาเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 2.3 โทรศัพท์ : 034-561584 , 081-7361805 e-mail : wilaikwang@gmail.com 3. เป้ำหมำย / วัตถุประสงค์ของกำรพัฒนำ BP 3.1 เพื่อสร้างเครื่องมือในการบริหารจัดการศึกษาที่มีความเหมาะสมกับบริบทของโรงเรียน 3.2 เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 3.3 เพื่อพัฒนาคุณภาพสู่ผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 บรรลุจุดหมายของหลักสูตรและผ่านเกณฑ์ มาตรฐานการศึกษา 4. ระยะเวลำในกำรพัฒนำ BP ระยะเวลาการพัฒนาจะดาเนินการพัฒนาต่อเนื่องทุกปีการศึกษา 5. สภำพทั่วไป ควำมเป็นมำ สถานการณ์ของโลกในยุคปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงไปสู่การนาวิทยาการและเทคโนโลยี ใหม่ๆมาใช้ในการอานวยความสะดวกแก่มนุษย์ ไม่เว้นแม้กระทั่งการจัดการศึกษา ดังจะเห็นได้ว่า การจัดการศึกษาในปัจจุบันนั้น ได้ให้ความสาคัญกับการใช้สื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัยในการจัดการศึกษา มากขึ้น เนื่องจากผู้เรียนสามารถค้นหาความรู้ได้อย่างรวดเร็วและทันต่อเหตุการณ์ เพราะในทุกซอก ทุกมุมบนโลกกลายเป็นแหล่งเรียนรู้และแหล่งเก็บรวบรวมองค์ความรู้ขนาดใหญ่ ที่สามารถค้นหาได้ ผ่านทางอินเทอร์เน็ต ที่เป็นเช่นนี้นั่นเป็นเพราะว่าโลกของเรากาลังก้าวเดินเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 ซึ่งเป็น ยุคที่ค วามรู้หาได้ง่าย แต่ก ารพั ฒ นาให้ มนุษ ย์มี ทักษะในการแสวงหาความรู้ได้ อย่างชาญฉลาด มี ความรู้ความสามารถในการปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์และดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข เป็นเรื่องที่สาคัญยิ่งกว่า ดังนั้นการจัดการศึกษาจึงเป็นบันไดขั้นพื้นฐานที่มีความสาคัญยิ่งในการนาพา เด็กไทยก้าวสู่ศตวรรษที่ 21 ได้อย่างมั่นคง แต่ทั้งนี้การจัดการศึกษาจะสามารถพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ได้มากน้อยเพียงใดนั้นย่อมขึ้นอยู่กับการบริหารจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา ซึ่งเป็นผู้นาองค์กรที่มี สาคัญในการขับเคลื่อนงานต่างๆของสถานศึกษาให้ดาเนินไปอย่างมีระบบ ทันสมัย และเหมาะสมกับ สถานการณ์


2 โรงเรี ย นวั ด โพธิ์ ศ รี สุ ข าราม เป็ น สถานศึ ก ษาที่ จั ด การศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐานระดั บ ก่ อ น ประถมศึ ก ษาและระดั บ ประถมศึ ก ษา ที่ ผ่ า นมานั้ น การจั ด การศึ ก ษาของโรงเรี ย นยั ง ไม่ ป ระสบ ความส าเร็ จ เท่ าที่ ค วร ทั้ งนี้ เนื่ อ งจากการการบริ ห ารจัด การด้ านการพั ฒ นาคุณ ภาพผู้เรีย นไปสู่ ศตวรรษที่ 21 นั้นยังไม่มีความชัดเจนและเหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา ซึ่งการจัดการศึกษาเพื่อ พั ฒ นาผู้ เรี ย นในศตวรรษที่ 21 นั้ น ครู จ ะต้ อ งจั ด กระบวนการเรี ย นรู้ ที่ ท าให้ ผู้ เรี ย นรู้ สึ ก ท้ า ทาย มีกิจกรรมให้ปฏิบัติอย่างเหมาะสม ส่งเสริมผู้เรียนในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง จัดแหล่งเรียนรู้ ที่เอื้อต่อการจัดการศึกษาทั้งในและนอกห้องเรียน โดยต้องมีการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนแบบบูรณาการ ทั้งในด้านการกระตุ้นสมองของผู้เรียนด้วยวิธีการ Brain-base Learning การใช้ห ลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการเรียนการสอน รวมทั้ง การส่งเสริมและพั ฒนาสุขภาพร่างกายของ ผู้เรียนให้มีความสมบูรณ์ ใช้สื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัยในการจัดการเรียนการสอน ซึ่งการจะเป็นเช่นนั้น ได้โรงเรียนต้องมีบรรยากาศทางด้านกายภาพและทางด้านสังคมที่เอื้อต่อการทางานร่วมกันทั้งฝ่าย บริหารและฝ่ายปฏิบัติก าร เพื่ อให้ก ารจัดการศึกษาบรรลุเป้ าหมายตามหลักสูตร อย่างไรก็ดีเมื่ อ พิจ ารณารู ปแบบการบริห ารจัด การศึ กษาของสถานศึก ษาที่ ผ่านมาพบว่า รูป แบบการบริห ารจั ด การศึกษายังไม่มีรูปแบบที่ชัดเจน การทางานไม่เป็นระบบ การร่วมมือกันในการวางแผนจัดการเรียน การสอน การประสานงาน การติ ด ต่อ สื่อ สารด้า นการจั ดการเรียนการสอนมี น้ อ ย มีขั้ น ตอนการ ดาเนินงานมากเกินไป ดังนั้นฝ่ายบริหารจึงได้มีการคิดค้นรูปแบบการบริหารจัดการศึกษาเพื่อพัฒนา คุ ณ ภาพผู้ เ รี ย น ที่ มี ค วามเหมาะสมกั บ บริ บ ทของโรงเรี ย น โดยการศึ ก ษารู ป แบบการบริ ห าร สถานศึกษาและองค์การต่างๆทั้งในและต่างประเทศ ในที่สุดก็ได้รูปแบบการบริหารที่เหมาะสมกับ บริบทของโรงเรียนโดยใช้ชื่อว่า POSRIKIDS Model เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 ซึ่งการ บริหารแบบ POSRIKIDS Model เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 เป็นการบริหารงานที่ได้ น าแน วคิ ด และหลั ก การของการบริ ห ารงาน โดยใช้ โ รงเรี ย น เป็ น ฐาน (School – based Management : SBM) การบริ ห ารคุ ณ ภาพทั้ ง องค์ ก าร (Total Quality Model :TQM) ระบบการ ควบคุ มคุ ณ ภาพ (Quality Control Circle : Q.C.C. ) และการพั ฒ นาสถานศึ ก ษาทั้ ง ระบบ (Whole School Approach : WSA) ทั้ งนี้เพื่ อ ให้ ก ารจั ดการศึ กษาสามารถพั ฒ นาคุณ ภาพผู้ เรีย นได้ เต็ ม ตาม ศักยภาพ ผู้เรียนมีความสามารถในด้านการอ่านและเขียน(Literacy) การคิดคานวณ(Numeracy) การคิ ด อย่ า งมี เหตุ ผ ล (Reasoning Ability) และมี คุ ณ ลั ก ษณะที่ พึ ง ประสงค์ ต ามหลั ก สู ต รโดย บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการบริหารจัดการและการจัดการเรียนการสอน ซึ่ง เป็นการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพพร้อมก้าวเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 ได้อย่างแท้จริง 6. กระบวนกำรดำเนินงำน 6.1 การวางแผน (Plan) 6.1.1 ศึ ก ษาสภาพปั จ จุ บั น ปั ญ หา และอุ ป สรรคในการบริ ห ารจั ด การศึ ก ษา เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21ของโรงเรียนทั้งในด้านสภาพแวดล้อมภายในที่เป็นจุดแข็ง และจุดอ่อน เช่น รูปแบบการบริหารงานของโรงเรียน การจัดการเรียนการสอนของครู และสภาพ


3 การเรียนรู้ของนักเรียนในปัจจุบัน และในด้านสภาพแวดล้อมภายนอกที่เป็นโอกาส และเป็นอุปสรรค ในการจั ด การศึ ก ษา โดยให้ ทุ ก ฝ่ า ยที่ เกี่ ย วข้ อ งมี ส่ ว นร่ ว ม ได้ แ ก่ ผู้ บ ริ ห าร ครู คณะกรรมการ สถานศึกษา นักเรียน ผู้ปกครองและชุมชน 6.1.2 วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการศึกษา และศึกษาแนวทางการบริหารจัดการศึกษา เพื่ อ พั ฒ นาคุ ณ ภาพผู้เรี ยนสู่ ศตวรรษที่ 21ที่ เหมาะสมกั บ บริบ ทของโรงเรีย นเพื่ อ กาหนดรูป แบบ ขอบข่าย และแนวทางในการพัฒนา และแก้ปัญหาการบริหารจัดการศึกษา 6.1.3 สร้างรูปแบบการบริหารที่เหมาะสมกับบริบทของโรงเรียน และเอื้อ ต่อการ บริหารจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ซึ่งในการสร้างเครื่องมือนั้น ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยใช้ชื่อว่า “POSRIKIDS MODEL เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน สู่ศตวรรษที่ 21” 6.2 การลงมือปฏิบัติ (Do) 6.2.1 บริ ห ารจั ด การศึ ก ษาเพื่ อ พั ฒ นาคุ ณ ภาพผู้ เ รี ย น ตามรู ป แบบบริ ห าร PHOSRIKIDS Model เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 6.2.2 สอบถามความพึงพอใจของบุคลากรต่อการบริหารแบบ POSRIKIDS MODEL เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 6.3 การตรวจสอบ (Check) การตรวจสอบโดยการประเมินผลความพึงพอใจของบุคลากรต่อการบริหารแบบ POSRIKIDS MODEL เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 6.4 การสะท้อนผล (Action) 6.4.1 ศึ ก ษาปั ญ หาอุ ป สรรค จุ ด บกพร่ อ งที่ ต้ อ งปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ขในการบริ ห ารจั ด การศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนโดยใช้ การบริหารแบบ POSRIKIDS MODEL เพื่อพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 6.4.2 นาการบริหารแบบ POSRIKIDS MODEL เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษ ที่ 21 ไปใช้และพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 6.4.3 เผยแพร่ก ารบริห ารแบบ POSRIKIDS MODEL เพื่ อ พั ฒ นาคุณ ภาพผู้ เรีย นสู่ ศตวรรษที่ 21 7. ควำมรู้สึกต่อผลงำนที่ภำคภูมิใจ 1. โรงเรียนมีเครื่องมือในการบริหารจัดการศึกษาที่เหมาะสมกับบริบทของตนเอง 2. การบริหารแบบ POSRIKIDS MODEL เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 สามารถ พัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้บรรลุจุดหมายของหลักสูตรและผ่านเกณฑ์มาตรฐานการศึกษา 3. โรงเรีย นสามารถใช้ การบริ ห ารแบบ POSRIKIDS MODEL เพื่ อ พั ฒ นาคุ ณ ภาพผู้ เรี ยนสู่ ศตวรรษที่ 21 ในการบริหารจัดการงาน/โครงการ/กิจกรรมของโรงเรียนได้ทุกกิจกรรม


4 4. บุคลากรมีความพึ งพอใจต่อการบริหารแบบ POSRIKIDS MODEL เพื่ อพัฒ นาคุณ ภาพ ผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 8. กำรนำข้อค้นพบที่ได้ไปใช้ประโยชน์/พัฒนำงำนต่อไปในอนำคต 8.1 การทางานเป็นทีม โดยทุกฝ่ายมีส่วนร่ วมในการจัดการศึกษาของโรงเรียนไม่ว่าจะเป็น ผู้บริหาร ครู ผู้ปกครอง นักเรียน คณะกรรมการสถานศึกษา องค์กรภาครัฐ ภาคเอกชน และชุมชน ช่วยเสริมสร้างคุณภาพผู้เรียนได้ 8.2 โครงสร้างการบริหารงานที่ชัดเจน การทางานที่เป็นระบบ มีขั้นตอนการทางานที่ชัดเจน ไม่ซ้าซ้อนและมากเกินไปช่วยให้การทางานมีโอกาสประสบความสาเร็จและมีคุณภาพมากยิ่งขึ้น 8.3 การใช้รูป แบบการบริห ารจั ดการที่ เหมาะสมกั บ บริ บ ทขององค์ ก าร/งาน/โครงการ/ กิจกรรม จะทาให้โรงเรียนมีบรรยากาศที่เอื้อต่อการทางานทั้งทางด้านกายภาพและทางด้านสังคม 8.4 การบริห ารจั ด การองค์ ก ารให้ ป ระสบผลส าเร็ จ นั้ น ต้ อ งใช้ ก ารท างานเป็ น ที ม การมี ส่วนร่วมของทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง 8.5 การประสานงาน การสื่อ สาร การกระจายอานาจ และการใช้ กระบวนการตั ด สิน ใจ ที่เหมาะสมในการทางาน ช่วยให้การทางานประสบผลสาเร็จได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 8.6 การบริหารงานที่เป็นระบบ มีการดาเนินงานตามขั้นตอน มีการกากับ ติดตาม ดูแล และ สร้างขวัญกาลังใจแก่ผู้ปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่องช่วยให้งานมีโอกาสประสบผลสาเร็จได้เร็วขึ้น 8.7 การทางานต้องมีการสรุปผลและรายงานผลเพื่อทราบผลลัพธ์ทั้ง ทางบวกและทางลบ ทั้งนี้เพื่อนาผลลัพธ์ที่ได้มาเป็นข้อมูลในการปรับปรุงและพัฒนางานต่างๆให้ดีขึ้น 8.8 การเผยแพร่ผลการปฏิบัติงานที่ประสบผลสาเร็จจะช่วยให้ผู้ปฏิบัติง านมีขวัญ กาลังใจ และแรงจูงใจในการทางานมากยิ่งขึ้น 8.9 ผู้บริหารต้องบริหารจัดการสถานศึกษาโดยยึดหลักธรรมาภิบาล เพื่อสร้างความเชื่อมั่น ศรัทธาและความไว้วางใจแก่ผู้ร่วมงานและผู้ที่เกี่ยวข้อง 8.10 ผู้บริหารต้องปฏิบัติงานด้วยความจริงใจ อานวยการ แนะนา ช่วยเหลือ และร่วมทุกข์ ร่ว มสุ ข กั บ ผู้ ใต้ บั งคั บ บั ญ ชาในทุ ก สถานการณ์ โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ในสถานการณ์ ที่ มี ปั ญ หาและ มีอุปสรรค 9. กำรสะท้อนควำมรู้สึกต่อกำรบริหำรแบบ POSRIKIDS MODEL เพื่อพัฒนำคุณภำพผู้เรียนสู่ ศตวรรษที่ 21 9.1 รูปแบบการบริหาร POSRIKIDS MODEL เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษ ที่ 21 มี ลักษณะของการบริหารจัดการที่เป็นสากลไม่ซับซ้อนยุ่งยาก สามารถนารูปแบบนี้ไปใช้ได้ ในทุกงาน/ โครงการ/กิจกรรม เป็นรูปแบบการบริหารจัดการที่ง่าย แต่สามารถทาให้บุคลากรมีการประสานความ ร่วมมือกันในการทางานได้อย่างทั่วถึง ผู้ปฏิบัติงานมีโอกาสประสบผลสาเร็จในการทางานสูง และลด ความขัดแย้งที่เป็นอุปสรรคในการทางานได้เป็นอย่างดี


5 9.2 ผู้บริหารสามารถมอบหมายงานให้ครูตามความถนัดและความรู้ความสามารถ 9.3 ผู้บ ริห ารและผู้ป ฏิ บัติ ง านมี การสื่ อสารกัน โดยตรงช่วยให้ เกิ ด ความเข้ าใจที่ต รงกัน ใน เป้าหมายและรูปแบบวิธีการทางาน สร้างความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน 9.4 ผู้บ ริห ารส่ งเสริมและสนั บ สนุ น ให้ ค รูมี ส่ว นร่ วม และมี การทางานเป็ นที ม ในทุ ก งาน/ โครงการ/กิจกรรม เพื่อให้มกี ารพัฒนาคุณภาพผู้เรียนเต็มตามศักยภาพ จึงทาให้ครูมีขวัญและกาลังใจ ในการทางาน ไม่รู้สึกโดดเดี่ยวในการทางาน 9.5 ผู้บริหารสามารถนิเทศ กากับ ติดตาม และตรวจสอบการทางานของครูไ ด้โดยที่ครูไ ม่ รู้สึกอึดอัด หวาดระแวงหรือเคลือบแคลงใจในการทางาน 9.6 ผู้บริหารมีการบริหารจัดการศึกษาอย่างเป็นระบบ มีขั้นตอนการทางานที่ชัดเจน มีการ พั ฒ นาครูในด้ า นความรู้ ค วามสามารถและทั ก ษะในการปฏิ บั ติ ง าน รวมทั้ ง การพั ฒ นางานของ สถานศึก ษาในด้านอื่นๆอย่างครอบคลุม เพื่อ เพิ่ม ประสิท ธิภาพในการปฏิ บัติง าน การดาเนิน งาน ราบรื่นและมีประสิทธิภาพ 9.7 ทุกฝ่ายที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาของโรงเรียนทั้งผู้บริหาร ครู คณะกรรมการ สถานศึกษา ผู้ปกครอง นักเรียน และชุมชน ให้ความร่วมมือช่วยเหลือในการบริหารจัดการศึกษา เป็นอย่างดี ทั้งในด้านการวางแผนการทางาน การดาเนิ นงาน การกากับ ติดตาม ตรวจสอบการ ปฏิบัติงาน การสรุปผล ประเมินผล การรายงานผลการปฏิบัติงาน และการปรับปรุงแก้ไข 10. วิธีกำรปฏิบัติสู่ควำมเป็นเลิศ (BEST PRACTICE) การบริห ารจัดการสถานศึกษารูปแบบ POSRIKIDS MODEL เพื่อพั ฒนาคุณ ภาพ ผู้เรียนสู่ศตวรรษ ที่ 21 มีวิธีการปฏิบัติสู่ความเป็นเลิศ (BEST PRACTICE) จานวน 9 ข้อ ได้แก่ P - Planning วางแผน O - Organizing การจัดองค์การ S - Supporting การสนับสนุน R - Reviewing การตรวจสอบ I - Improving การปรับปรุง K - Knowing การรู้งาน I - Instructing การสั่งการ D - Developing การพัฒนา S - Sharing การแบ่งปัน


6 โดยมีรายรายเอียดของการดาเนินงานในแต่ละข้อ ดังนี้

P-Planning กำรวำงแผน ศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหา จัดทาแผนงาน/ โครงการ /กิจกรรม

O-Organizing กำรจัดองค์กำร การจัดโครงสร้างงาน ภารกิจ ขอบข่ายงาน มอบอานาจหน้าที่

S-Supporting กำรสนับสนุน การสนับสนุนทรัพยากรในการทางาน

R-Reviewing กำรตรวจสอบ การตรวจสอบ พิจารณาไตร่ตรองการทางาน

I-Improving กำรปรับปรุง ปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาการปฏิบัติงาน

K-Knowing กำรรู้งำน การมีความรู้ความเข้าใจในงานที่ทาอย่างแท้จริง

I-Instructing กำรสั่งกำร การให้คาแนะนา การสอน การสั่ง หรือคาสั่ง

D-Developing กำรพัฒนำ การพัฒนางานให้มีความเจริญก้าวหน้า

S-Sharing กำรแบ่งปัน การแบ่งปันสิ่งที่ดีและมีค่าให้กับผูร้ ่วมงานและผู้อื่นในสังคม


7 10.1 P-Planning วำงแผน การวางแผนเป็นงานหลักที่สาคัญ ขั้นแรกของการบริหารจัดการองค์การ เป็นการ จัดระบบการทางาน เป็ น การวางแนวทางการปฏิบั ติที่ให้การทางานดาเนิน การไปอย่างมี ขั้นตอน สามารถกากับติดตาม ตรวจสอบ ได้ง่าย การดาเนินงานมีระบบระเบียบ กฎเกณฑ์ที่แน่นอน ชัดเจน ซึ่ง ในการวางแผนนั้นผู้บริหารมีการดาเนินงานในด้านการประชุมสร้างความตระหนัก และกาหนด นโยบายให้หัวหน้างานและคณะครูในการปฏิบตั ิงานเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 โดยใช้ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ผู้บริหารและบุคลากรร่วมกัน ศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญ หา และ อุปสรรคในการบริหารจัด การเพื่ อพัฒ นาคุณ ภาพผู้ เรียน โดยวิธีการ SWOT analysis จัดให้ มีการ วางแผนกาหนดทิศทาง กาหนดเป้าหมาย และวิ ธีการปฏิบัติงานที่สอดคล้องกับนโยบาย บริบทของ สถานศึกษา วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ จุดเน้นในการจัดการศึกษาและจุดหมายของหลักสูตร สถานศึกษา และการกาหนดยุทธศาสตร์ในการบริหารจัดการเพื่อพัฒนาคุณ ภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษ ที่ 21 ที่ครอบคลุมการทางานทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ งานวิชาการ งานงบประมาณ งานบุคลากร และงาน บริหารทั่วไป โดยนอกเหนือจากการจัดกิจกรรมเรียนการสอนตามกลุ่มสาระวิชาต่างๆแล้ว โรงเรียน ยังมีการจัดทาโครงการ/กิจกรรมที่ครอบคลุมทั้ง 4 งาน เพื่อการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน 10.2 O-Organizing กำรจัดองค์กำร การจัดองค์การในการบริหารจัดการเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 นั้น เป็นการ ออกแบบงานหรือ การวางงาน กาหนดภาระหน้าที่และความรับผิด ชอบของบุคลากร ทั้ งนี้ เพื่อให้ การปฏิบัติงานดาเนินไปอย่างเป็นระบบและบรรลุเป้าหมาย ผู้บริหารจึงต้องใช้ภาวะผู้นาในการวางคน สร้างแรงจูงใจในการทางานแก่บุคลากร เพื่อให้การทางานดาเนินไปอย่างราบรื่น ผู้ปฏิบัติงานมีความ พึงพอใจต่องานที่รับผิดชอบ การปฏิบัติงานประสบผลสาเร็จ สามารถแก้ไขและพัฒ นาผู้เรียนให้มี คุณ ภาพได้ ในการจัดองค์การนั้นผู้บริหารต้องมี การจัดโครงสร้างการบริหารงานที่ชัดเจน กาหนด ภารกิจงาน ขอบข่ายงาน การแบ่งงาน กาหนดรายละเอียดกิจกรรมการดาเนินงาน กาหนดขั้นตอน วิ ธี ก ารด าเนิ น งานเพื่ อ ให้ บ รรลุ เป้ า หมายที่ ก าหนดไว้ ก าหนดขอบเขตหน้ า ที่ ค วามรั บ ผิ ด ชอบ ตามโครงสร้ างการบริห ารงาน จั ดท าระเบี ยบวิ ธีก ารปฏิ บั ติ ง าน มี ก ารจั ดท าแผนงาน/โครงการ/ กิจกรรม/ปฏิทินการปฏิบัติงานให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของการบริหารงานเพื่อพัฒ นาคุณภาพ ผู้เรียน สู่ศตวรรษที่ 21 จัดให้มีการประชุมหัวหน้างานและคณะครูเพื่อทบทวนโครงการ กิจกรรม ต่างๆ ให้สอดคล้องกับนโยบาย บริบทของสถานศึกษา วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ จุดเน้นใน การจัดการศึกษาและจุดหมายของหลักสูตรสถานศึกษา แต่งตั้งผู้รับผิดชอบงาน/โครงการ/กิจกรรม โดยคานึงถึงความรู้ความสามารถความถนัดหรือความสนใจ ประชุม/อบรม/ เพื่อสร้างความตระหนัก ให้หัวหน้างานและคณะครู ในการบริหารจัดการเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน สู่ศตวรรษที่ 21 จัดทา แนวทางการปฏิบั ติงานเพื่ อพั ฒ นาคุณ ภาพผู้เรียนสู่ศ ตวรรษที่ 21 วิเคราะห์ ความรู้ความสามารถ ของบุคลากรในการปฏิบัติงานตามโครงสร้างการบริหารงาน


8 10.3 S-Supporting กำรสนับสนุน ผู้บริหารมีการสนับสนุนส่งเสริมการปฏิบัติงานของบุคลากรด้วยวิธีการที่หลากหลาย เพื่อให้ การปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพและการทางานบรรลุป้าหมาย โดยการสนับสนุนทรัพยากรในการทางาน ได้แก่ งบประมาณ สื่อ อุปกรณ์ วัสดุ ครุภัณฑ์ และสิ่งอานวยความสะดวกในการปฏิบัติงาน เช่น โต๊ะ เก้าอี้ คอมพิวเตอร์ โปรเจคเตอร์ เป็นต้น มีการจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการ ทางานและการจัดการเรียนการสอน เช่น ห้องเรียน ห้องทางาน ห้องปฏิบัติการ แหล่งเรียนรู้ ที่นั่ง พักผ่อน นอกจากนี้ยังสนับสนุนให้มีความรู้ความสามารถในการปฏิบัติงานตามตาแหน่งหน้าที่ เช่น การให้เข้าประชุม อบรม สัมมนา และศึกษาดูงานในโอกาสอันควรและตามความสนใจ สนับสนุนให้มี ความก้าวหน้าในงานอาชีพโดยการสนับสนุนให้ทาผลงานทางวิชาการเพื่อเลื่อนขั้นหรือวิทยฐานะใน ระดับ ที่สู งขึ้ น สนับ สนุ นในการศึกษาต่อ และการเรียนรู้ในด้านต่างๆตามกาลั งความสามารถและ ศักยภาพของแต่ละบุคคล ในการสนับสนุนในด้านต่างๆนั้น ผู้บริหารใช้เทคนิควิธีการสร้างแรงจูงใจ สร้างขวัญและกาลังใจให้แก่บุคลากรอย่างต่อเนื่อง 10.4 R-Reviewing กำรตรวจสอบ ผู้บริหารจัดให้มีการพิจารณาไตร่ตรอง นิเทศ กากับ ติดตาม และการตรวจสอบการทางาน ของบุคลากรทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ และทั้งทางตรงและทางอ้อม เพื่อให้การดาเนินงาน ต่างๆบรรลุเป้าหมายที่กาหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยผู้ปฏิบัติงานไม่รู้สึกอึดอัดและหวาดระแวง หรือมีความคับข้องใจ จัดให้มีการประเมินผลและสรุปผลการปฏิบัติงานของบุคลากรเพื่อเป็น ข้อมูล ในการปรับ ปรุง และพั ฒ นางานให้มี ป ระสิ ทธิ ภาพมากยิ่ ง ขึ้น โดยการตรวจสอบในด้านปั จจั ยการ บริหารงาน ได้แก่ คน งบประมาณ วัสดุสิ่งของ และการบริหารจัดการ ตรวจสอบเพื่อให้ทราบว่ามี ปัญหาและอุปสรรคเรื่องใดในการทางาน ทั้งที่เป็นปัจจัยภายในและภายนอกสถานศึกษา ตรวจสอบ การบริหารจัดการว่ามีสิ่งใดที่ต้องปรับปรุงแก้ไขเพื่อให้มีความเหมาะสมกับบริบทของงานนั้นๆ รวมทั้ง มีการประเมินผลและสรุปผลการปฏิบัติงานของบุคลากรเพื่อเป็นข้อมูลในการปรับปรุงและพัฒ นา ประสิทธิภาพในการทางานต่อไป 10.5 I-Improving กำรปรับปรุง การปรั บ ปรุ ง แก้ ไขและพั ฒ นาการปฏิ บั ติ ง านของแผนงาน/โครงการ/กิ จ กรรมเพื่ อ ให้ งานมีประสิทธิภาพ โดยทบทวนการดาเนินงานในทุ กขั้นตอนว่ามีปัญ หาหรืออุปสรรคใดที่ต้องแก้ไข ปรับปรุงเพื่อให้งานบรรลุเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพภายใต้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัด โดยการ ประหยัดค่าใช้จ่ายและเวลาในการทางาน และใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดให้เกิดประโยชน์คุ้มค่าทั้ง ในด้านทรัพยากรบุคคล งบประมาณ วัสดุครุภัณฑ์ รวมทั้งการพัฒนาผลการปฏิบัติให้ดียิ่งขึ้น เพื่อ เป็นแบบอย่างให้กับผู้อื่น ในการปรับปรุงนั้นจะหมายรวมทั้งการปรับปรุงตนเองของบุคลากรในการ ทางานและการปรับปรุงเทคนิควิธีการ ขั้นตอนการทางานในด้านต่างๆด้วย


9 10.6 K-Knowing กำรรูง้ ำน ผู้บริหารต้องมีความรู้ความสามารถในการบริหารงาน และสามารถส่ง เสริมให้บุค ลากรมี ความรู้ค วามเข้าใจในงานที่ ปฏิบั ติอย่างแท้จริง โดยการเสริม สร้างและพั ฒ นาเพื่อ ให้มี ความรู้ด้ วย วิธีการที่หลากหลายตามความสนใจ ความถนัดและตามโอกาสอันเหมาะสม ส่งเสริมให้บุคลากรศึกษา หาความรู้ที่เกี่ยวข้องกับงานที่ทา โดยการศึกษาหาความรู้ด้วยตนเองจากเอกสาร สื่อ สิ่งพิมพ์ต่างๆ ส่งเสริมให้เข้าประชุม อบรม สัมมนา และศึกษาดูงานตามความต้องการ ความสนใจ ในโอกาสอัน ควร ซึ่งหากทั้งผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานมีความรู้ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่และภาระงานที่ตนเอง รับผิดชอบอย่างแท้จริงแล้ว การทางานก็จะไม่เกิดความผิดพลาดหรือมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดความ ผิดพลาดในการทางานน้อย ซึ่งในการบริหารจัดการและการปฏิบัติงานของสถานศึกษานั้น หากเกิด ความผิดพลาด ก็จะสร้างความสูญเสียต่อทรัพย์สินของทางราชการ นอกจากนี้ยังสร้างความสูญเสียต่อ ร่างกายและจิตใจ อันจะก่อให้เกิดผลเสียต่อการทางานเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย อาทิเช่น การทางานไม่ มีความปลอดภัย การใช้งบประมาณไม่คุ้มค่า เกิดความสูญเปล่า หรือถ้าหากเป็นการผิดพลาดในเรื่อง ของการดาเนินงานด้านวิชาการหรือการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ก็จะทาให้นักเรียนขาดการพัฒนาใน ด้านความรู้ความสามารถและทักษะในด้านต่างๆอย่างเต็มตามศักยภาพ ผู้เรียนขาดคุณธรรมจริยธรรม ในการดาเนินชีวิตและการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่นในสังคม เป็นต้น 10.7 I-Instructing กำรสั่งกำร การปฏิบัติงานในสถานศึกษานั้น จาเป็นต้องมีการสั่ง การหรือการออกคาสั่ง โดยผู้บริหาร จะต้องมีการจัดการในเรื่องของการให้คาแนะนา การสอนงาน การมอบหมายงาน การสั่ง การหรือ การออกคาสั่งที่เป็นทางการและเป็นลายลักษณ์อักษรอย่างชัดเจนนอกเหนือจากการพูดคุยด้วยวาจา ในเบื้องต้น ทั้งนี้เพื่อให้การทางานเป็นระบบ มีความชัดเจน ไม่ขาดตกบกพร่อง การทางานเป็นลาดับ ขั้น ตอน PDCA ผู้ ป ฏิ บั ติ ง านมี ค วามเข้ าใจในบทบาทหน้ าที่ แ ละภาระงานของตนเองเป็ น อย่ างดี ไม่ทางานที่ซ้าซ้อนกัน ไม่เกิดการหลีกเลี่ยงงานหรือเกี่ยงงานกันทา นอกจากนี้ยังทาให้ผู้บริหารหรือ ผู้ที่ได้รับมอบหมายสามารถกากับ ติดตามการทางานของบุคลากรได้อย่างสะดวกและง่ายมากยิ่งขึ้น อย่างไรก็ดี ในการสั่งการนั้นเป็นวิธีการหนึ่งที่สาคัญ ในการทางาน ดังนั้นในการสั่งการ ผู้บริหารหรือผู้ ที่สั่งการต้องมีความรู้ความเข้าใจในระเบียบ ข้อบังคับและกฎหมาย รวมทั้งรู้ในสิ่งที่สั่งการด้วย ทั้งนี้ เพื่อมิให้การสั่งการเป็นการละเมิดสิทธิของผู้อื่น และเกิดความผิดพลาดในการสั่งการ 10.8 D-Developing กำรพัฒนำ การพัฒนางานให้มีความก้าวหน้าและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นอย่างต่อเนื่องเป็นสิ่งที่สาคัญ ที่ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานต้องถือปฏิบัติ เนื่องจากในการปฏิบัติงานด้านต่างๆนั้นย่อมมีความบกพร่อง ผิดพลาดและไม่สมบู รณ์ แบบเสมอไปอย่างแน่นอน ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของความคุ้มค่ า ในด้านเวลา ค่าใช้จ่าย อาคารสถานที่ไม่เอื้ออานวย ปัญหาสภาพดินฟ้าอากาศ ปัจจัยสาคัญในการบริหารทั้งในด้าน บุคลากร งบประมาณ วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือ วิธีการดาเนินงานและการปฏิบัติงาน หรือแม้ กระทั่ง การบริหารจัดการที่ไม่เหมาะสม นอกจากนี้อาจจะมีปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้นโดยไม่คาดคิดในระหว่าง


10 การปฏิบัติงานหรือหลังจากที่ปฏิบัติงานเสร็จสิ้นแล้ ว เป็นต้น ซึ่งสิ่ง เหล่านี้ล้วนแต่ส่งผลต่อความ มีประสิทธิภาพและความสมบูรณ์แบบของการทางานได้ทั้งสิ้น ดังนั้น การพัฒนางาน โครงการ และ กิจกรรมต่างๆให้มีความเจริญก้าวหน้า และมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น รวมทั้งการพัฒนาประสิทธิภาพ ในการปฏิบัติงานให้บรรลุเป้าหมายอย่างแท้จริง จึงเป็นสิ่งที่จาเป็นยิ่งและไม่ควรมองข้ามหรือละเลย เพราะไม่เช่นนั้นการทางานก็เหมือนกับการย่าอยู่กับที่ หรือถอยหลัง ไม่มีการพัฒนา ซึ่งจะเป็นการ สร้างความเสียหายและเสื่อมเสียในการทางานในที่สุด ผู้บริหารควรมีการพัฒนางานต่างๆภายใต้ความ ร่วมมือของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องกับงานนั้นๆ ทั้งนี้เพื่อให้เกิดความร่วมมือร่วมใจกันทางาน มีความเข้าใจ ในเป้าหมายของการทางานและทางานร่วมกันอย่างมีความสุข 10.9 S-Sharing กำรแบ่งปัน ผู้บริหารจัดให้มีการแบ่งปันความรู้ สิ่งที่ดีและมีค่าของบุคลากรแต่ละคน โดยการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ การพูดคุยเสนอและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น เปิดโอกาสให้มีการแสดงความรู้ความสามารถ และแสดงผลงานที่ได้ดาเนินการเสร็จสิ้ นไปแล้วแก่ผู้ร่วมงานและผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายทั้งในและนอก สถานศึกษา เป็นการรายงานผลการปฏิบัติงานเพื่อขยายผลและเผยแพร่ผลงานที่เป็นแบบอย่างให้แก่ ผู้อื่น และสาธารณชน โดยการจัด ประชุม อบรม จัดนิ ท รรศการ การจั ดท าแผ่น พั บ เอกสาร และ การเผยแพร่ทางอินเทอร์เน็ต เป็นต้น ทั้งนี้เพื่อเป็นการเผยแพร่ผลงานและประชาสัมพันธ์ตนเองและ หน่วยงานให้เป็นที่รู้จักแก่บุคคลโดยทั่ว อย่างกว้างขวาง เป็นการสร้างเครือข่ายในการทางานในด้าน การบริหารจัดการศึกษาร่วมกัน อย่างไรก็ ดีในการบริหารแบบ POSRIKIDS MODEL เพื่ อพั ฒ นาคุ ณ ภาพผู้เรียน สู่ ศตวรรษที่ 21 นั้น ในการดาเนินงานจะใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นหลักคิดและปฏิบัติใน ทุกงาน/โครงการและกิจกรรม ซึ่งประกอบด้วย ความพอประมาณ ความมีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน ที่ ดี เงื่อนไขความรู้ เงื่อนไขคุณ ธรรม มิติด้านเศรษฐกิจ มิติด้านสัง คม มิติด้านสิ่งแวดล้ อม และมิติด้าน วัฒนธรรม ทั้งนี้เพื่อให้การปฏิบัติงานมีความคุ้มค่า เกิดประโยชน์สูงสุดและประสิทธิภาพอย่างแท้จริง ผู้บริหารสถานศึกษา ครู บุคลากรและผู้เรียนมีการน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ใน การดาเนินชีวิตประจาวัน ทั้งในส่วนตัวและการทางานอย่างต่อเนื่องจนเกิดเป็นลักษณะนิสัยที่แท้จริง และยั่งยืนตลอดไป 11. ปัจจัยเกื้อหนุนและปัจจัยแห่งควำมสำเร็จ 11.1 คณะครู แ ละบุ ค ลากรมี ค วามตระหนั ก เข้ า ใจ และท างานในรู ป แบบการบริ ห าร POSRIKIDS MODEL เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 อย่างจริงจังและต่อเนื่อง 11.2 การบริหารแบบ POSRIKIDS MODEL เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 เป็น การบริหารจัดการที่สนองความต้องการของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องทั้งผู้บริหารและบุคลากร เป็น การบริหารที่ทาให้ผู้ปฏิบัติงานบรรลุเป้าหมายทั้งโดยส่วนตัว ส่วนรวม และของหน่วยงาน 11.3 การบริหารแบบ POSRIKIDS MODEL เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 เป็น การบริ ห ารที่ เน้ น การท างานเป็ น ที ม ทุ ก ฝ่ า ยมี ส่ ว นร่ ว ม การติ ด ต่ อ สื่ อ สารกั น โดยตรง จึ ง ท าให้


11 การทางานดาเนินไปได้ด้วยบรรยากาศของความเป็นมิตร ความเข้าใจ การรับฟังความคิดเห็น และ การยอมรับซึ่งกันและกัน 11.4 การบริหารแบบ POSRIKIDS MODEL เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 เป็น การบริหารที่กระจายอานาจการทางาน และกระจายอานาจในการตัดสินใจ ดังนั้นผู้ปฏิบัติงานทุกคน จึงมีโอกาสที่จะเป็นได้ทั้งผู้นาและผู้ตาม ผู้ปฏิบัติงานมีความรู้สึกภาคภูมิใจในตนเองและเห็นคุณค่า ของตนเอง 11.5 การบริ ห ารแบบ POSRIKIDS MODEL เพื่ อ พั ฒ นาคุ ณ ภาพผู้ เรี ย นสู่ ศ ตวรรษที่ 21 ผู้บริหารจะให้ความสาคัญกับทุกคนอย่างเสมอภาค มีความไว้วางใจ เชื่อมั่นในความรู้ความสามารถ และศักยภาพของผู้ปฏิบัติงานทุกคน ดังนั้นทุกคนจึงมีโอกาสในการทางานเพื่อ พัฒนาคุณภาพผู้เรียน อย่างเท่าเทียมกัน มีความรู้สึกถึงความเสมอภาคกันในการทางาน 11.6 การบริห ารแบบ POSRIKIDS MODEL เพื่ อ พั ฒ นาคุ ณ ภาพผู้ เรี ยนสู่ ศ ตวรรษที่ 21 ผู้บริหารมีการสร้างขวัญและกาลังใจแก่บุคลากรอย่างหลากหลายวิธี เช่น การให้เกียรติยกย่องชมเชย ทั้ ง โดยส่ ว นตั ว ในที่ เปิ ด เผยหรื อ ในที่ ส าธารณะ ให้ โ อกาสในการพั ฒ นาตนเอง ส่ ง เสริ ม ให้ มี ความก้ าวหน้ า ในงานอาชี พ เปิ ด โอกาสให้ ผู้ ร่ว มงานแสดงความคิ ด เห็ น และรับ ฟั ง ความคิ ด เห็ น ของผู้ร่วมงาน ส่งเสริมให้มีการพัฒนาความรู้ความสามารถในโอกาสต่างๆตามความสนใจ เป็นต้น ซึ่ง ขวัญและกาลังใจถือเป็นสิ่งสาคัญยิ่งของผู้ปฏิบัติงานทุกคนในหน่วยงาน ถ้าทุกคนมีขวัญและกาลังใจที่ ดี เข้มแข็ง และมี แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ ในการทางาน ก็จะท าให้การทางานดาเนิ นไปได้อย่างราบรื่น ผู้ปฏิบัติงานมีความเต็มใจ มีความพึงพอใจและมีความสุ ขในงานที่ทา ผลการปฏิบัติงานก็จะเป็นที่น่า พอใจและมีประสิทธิภาพในที่สุด 11.7 ผู้บริหารมีการใช้รูปแบบการบริหาร POSRIKIDS MODEL เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน สู่ศตวรรษที่ 21 อย่างจริงจังและต่อเนื่อง 12. ผลกำรดำเนินงำน / ผลสำเร็จที่ดีเด่น จากการใช้รูปแบบบริหาร POSRIKIDS MODEL เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 อย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้การดาเนินงานในด้านต่างๆของโรงเรียนวัดโพธิ์ศรีสุขาราม เพื่อพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 ประสบผลสาเร็จที่ดีเด่น และได้รับการยกย่องชมเชย ดังนี้ 12.1 ผลกำรดำเนินงำน 12.1.1 โรงเรียนมีรูปแบบการบริหารจัดการสถานศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษ ที่ 21 ที่สร้างและพัฒนาขึ้นโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการดาเนินงาน 12.1.2 โรงเรี ย นมี เครื่อ งมื อ ในการบริห ารจั ด การสถานศึ ก ษาเพื่ อ พั ฒ นาคุ ณ ภาพผู้ เรี ย น สู่ศตวรรษที่ 21 12.1.3 โรงเรียนมี รู ปแบบการบริห ารจั ดการสถานศึ กษาที่ ชัด เจน มี ความสอดคล้อ งและ เหมาะสมกับบริบทของโรงเรียน


12 12.1.4 โรงเรียนมี การบริหารจัดการสถานศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 ได้อย่างมีประสิทธิภาพและบรรลุจุดหมายของหลักสูตร 12.1.5 บุคลากรมีขวัญกาลังใจและแรงจูงใจในการทางานให้บรรลุ จุดหมายทั้ง โดยส่วนตัว และหน่วยงาน 12.1.6 นักเรียนมีแนวโน้มในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ที่สูงขึ้นและมีคุณลักษณะ ที่พึงประสงค์ตามหลักสูตร 12.1.7 นักเรียนมีการพัฒนาทั้งในด้านวิชาการและคุณธรรมจริยธรรม โดยมีการน้อมนาหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดาเนินชีวิตประจาวัน 12.1.8 ทุก ฝ่ายที่เกี่ ยวข้องไม่ว่าจะเป็ นผู้บ ริหาร ครู บุคลากร คณะกรรมการสถานศึ กษา ผู้ปกครอง นักเรียน และชุมชนมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ไม่มีความขัดแย้งอย่างรุนแรงที่จะนามาซึ่ง ปัญหาและอุปสรรคในการจัดการศึกษาและการทางานของโรงเรียน 12.1.9 โรงเรียนมีบรรยากาศที่ดีทั้งทางด้านกายภาพและทางด้านสังคม อาทิเช่น บุคลากร มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ให้การยอมรับในความรู้สามารถและความคิดเห็นซึ่งกันและกัน ยิ้มแย้มแจ่มใส มีความไว้วางใจต่อกัน โรงเรียนมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการปฏิบัติงานและการจัดการเรียนการสอน สะอาด ร่มรื่น สวยงามและมีความปลอดภัย เป็นต้น 12.1.10 โรงเรี ย น ผู้ บ ริ ห าร ครู และนั ก เรี ย นได้ รั บ การยกย่ อ งชมเชยและได้ รั บ รางวั ล เกียรติยศในด้านต่างๆ 12.2 ผลสำเร็จที่ดีเด่น รางวัลเหรียญทอง การประกวดห้องสมุดมีชีวิต ตามโครงการกิจกรรมการพัฒนาห้องสมุดมี ชีวิต 3 ดี ระดับเขตพื้นที่การศึกษา ปี 2553 รางวั ล เหรี ย ญทอง ขั บ ร้ อ งเพลงพระราชนิ พ นธ์ (หญิ ง ) ระดั บ เขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา งาน ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปี 2554 รางวั ล เหรี ย ญทอง ขั บ ร้ อ งเพลงไทยสากล-สากล (หญิ ง ) ระดั บ เขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปี 2554 รางวั ล เหรี ย ญทอง มารยาทไทย ป. 4-6 ระดั บ เขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา งานศิ ล ปหั ต ถกรรม นักเรียน ปี 2554 รางวั ล เหรี ย ญเงิ น การสร้ า งหนั ง สื อ อิ เล็ ก ทรอนิ ก ส์ ( E-book) ระดั บ เขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปี 2554 รางวัลเหรียญเงิน การแข่งขันประติมากรรมลอยตัว ชั้น ป. 4-6 ระดับเขตพื้นที่การศึกษา งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปี 2554 รางวัลชมเชย การแข่งขันอัจฉริยภาพทางคณิตศาสตร์ ชั้น ป. 1-3 ระดับเขตพื้นที่การศึกษา งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปี 2554


13 รางวัลชมเชย การแข่งขันคิดเลขเร็ว ชั้น ป. 1-3 ระดับเขตพื้นที่การศึกษา งาน ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปี 2554 รางวัลรองชนะเลิศ การประกวดห้องสมุดดีเด่น ประเภทโรงเรียนประถมศึกษาขนาดกลาง ระดับเขตพื้นที่การศึกษา ปี 2555 12.2.1 สถานศึกษาต้นแบบโครงการความร่วมมือในการพัฒนาครูโดยใช้กระบวนการสร้าง ระบบพี่เลี้ยง Coaching and Mentoring ปี 2555 12.2.2 โรงเรียนส่งเสริมการอ่านในโครงการ 11th NANMEEBOOKS READING CLUB จาก บริษัทนานมีบุ๊คส์ จากัด ปี 2555 12.2.3 โรงเรียนได้รับรางวัลการจัดสหกรณ์ดีเด่น ระดับจังหวัด ปี 2555 12.2.4 นักเรียนระดับชั้นอนุบาล 1และระดับประถมศึกษาปีที่ 1 ได้รับรางวัลดีเด่น ปี 2555 โครงการตอบปัญ หาธรรมะ “ทางก้าวหน้ า” ครั้งที่ 30 ชมรมพุ ทธศาสตร์สากล ในอุปถัมภ์ สมเด็จ พระมหารัชมังคลาจารย์ 12.2.5 นักเรียนระดับชั้นระดับประถมศึกษาตอนปลาย ได้รับรางวัลชมเชย อันดับ 2 และ 3 ปี 2555 ระดับประเทศ โครงการตอบปัญหาธรรมะ “ทางก้าวหน้า” ครั้งที่ 30 ชมรมพุทธศาสตร์ สากล ในอุปถัมภ์สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ 12.2.6 นักเรียนได้เข้าร่วมโครงการ การเล่านิทาน “สืบสานนิทานไทย” โครงการวิถีชุมชน เยาวชนรักษ์ถิ่น กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม ปี 2555 12.2.7 นักเรียนได้รับรางวัลเหรียญทอง การสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิก ส์(E-book) ระดับชั้น ป.4-6 ระดับเขตพื้นที่การศึกษา การแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปี 2555 12.2.8 นักเรียนได้รับรางวัลเหรียญทอง การสร้างเกมสร้างสรรค์จากคอมพิวเตอร์ ระดับชั้น ป.4-6 ระดับเขตพื้นที่การศึกษา การแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปี 2555 12.2.9 โรงเรียนผ่านการประเมินเป็นสถานศึกษาพอเพียงต้นแบบ ปี 2556 12.2.10 โรงเรียนได้รับรางวัลรองชนะเลิศ ห้องสมุดดีเด่น ประจาปี 2556 ประเภทโรงเรียน ประถมศึกษาขนาดกลาง จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 12.2.11 โรงเรียนเครือข่ายเด็กไทยฟั นดี อาเภอท่ าม่ วง ประจาปี 2556 จากโรงพยาบาล สมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 19 12.2.12 ครูได้รับรางวัลรองชนะเลิศ ครูบรรณารักษ์โรงเรียน ในการประกวดห้องสมุดดีเด่น ระดับเขตพื้นที่การศึกษาประจาปี 2556 12.2.13 โรงเรียนได้รับใบประกาศเกียรติคุณ สนับสนุนโครงการอนุรักษ์และพัฒนา แม่น้า คู คลอง จังหวัดกาญจนบุ รี เฉลิม พระเกี ยรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีน าถ ระดั บ จังหวัดกาญจนบุรี 12.2.14 สถานศึกษาพอเพียงต้นแบบ ปี 2556 12.2.15 นักเรียนเข้าร่วมโครงการตอบปัญหาธรรมะ”ทางก้าวหน้า” ชมรมพุทธศาสตร์สากล ในอุปถัมภ์สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ ครั้งที่ 31 ปี 2556


14 12.2.16 นักเรียนได้รับรางวัลเหรียญทอง การขับร้องเพลงลูกทุ่ง เด็กที่มีความต้องการพิเศษ ระดับภาคกลางและภาคตะวันออก การแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปี 2556 12.2.17 นักเรียนได้รับ รางวัลเหรียญเงิน ระบ ามาตรฐาน ระดับ ประถมศึกษา ระดั บ ภาค กลางและภาคตะวันออก การแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปี 2556 12.2.18 นักเรียนได้รับรางวัลเหรียญเงิน การเล่านิทานประกอบสื่อ ระดับอนุบาล ระดับเขต พื้นที่การศึกษา การแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปี 2556 12.2.19 นักเรียนได้รับรางวัลเหรียญทอง การเล่านิทานคุณธรรม ระดับชั้น ป.1-3 ระดับเขต พื้นที่การศึกษา การแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปี 2556 12.2.20 นักเรียนได้รับรางวัลเหรียญทอง ท่องอาขยานทานองเสนาะ ระดับชั้น ป.1-3 ระดับ เขตพื้นที่การศึกษา การแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปี 2556 12.2.21 นัก เรียนได้รับ รางวัล เหรียญทอง ประติม ากรรมงานปั้ นนู น ต่า ระดับ ชั้น ป.1-3 ระดับเขตพื้นที่การศึกษา การแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปี 2556 12.2.22 นักเรียนได้รับรางวัลเหรียญเงิน การแข่งขันสร้างภาพด้วยการปะติดระดับชั้น ป.1-3 ระดับเขตพื้นที่การศึกษา การแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปี 2556 12.2.23 นักเรียนได้รับ รางวัลเหรียญทอง เล่านิท านคุณ ธรรม ระดั บชั้น ป.4-6 ระดับเขต พื้นที่การศึกษา การแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปี 2556 12.2.24 นักเรียนได้รับรางวัลเหรียญทอง ประติมากรรมงานปั้นนูนสูง ระดับชั้น ป.4-6 ระดับ เขตพื้นที่การศึกษา การแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปี 2556 12.2.25 นักเรียนได้รับรางวัลเหรียญทอง การใช้โปรแกรมนาเสนอ(Presentation) ระดับชั้น ป.4-6 ระดับเขตพื้นที่การศึกษา การแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปี 2556 12.2.26 นักเรียนได้รับรางวัลเหรียญทอง ราวงมาตรฐาน ระดับชั้น ป.4-6 ระดับเขตพื้นที่ การศึกษา การแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปี 2556 12.2.27 นั ก เรี ย นได้ รั บ รางวั ล เหรี ย ญทอง กิ จ กรรมวาดภาพระบายสี ระดั บ เขตพื้ น ที่ การศึกษา การแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปี 2556 12.2.28 นักเรียนได้รับ รางวัลเหรียญเงิน กิจกรรมแข่ง ขันซูโดกุ ระดับเขตพื้นที่การศึกษา การแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปี 2556 12.2.29 นั ก เรี ย นได้ รั บ รางวั ล เหรี ย ญทองแดง กิ จ กรรมแข่ ง ขั น ค าคม ระดั บ เขตพื้ น ที่ การศึกษา การแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปี 2556 12.2.30 นักเรียนได้รับ รางวัลเหรียญทองแดง กิจกรรมแข่งขัน Crossword ระดับเขตพื้นที่ การศึกษา การแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปี 2556 12.2.31 นักเรียนเข้าร่วมโครงการแข่งขันตอบคาถามสารานุกรมไทยสาหรับเยาวชนฯ ครั้งที่ 19 ระดับจังหวัด ปี 2556 12.2.32 ครู ได้ รับ รางวัล หนึ่ ง แสนครู ดี โดยนางญาริ ด า สิ ท ธิโชค และ นางอนงค์ รัต น์ มากมีทรัพย์ ได้รับรางวัลหนึ่งแสนครูดี ปี 2556 12.2.33 โรงเรียนได้รับพระราชทานตรา “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย” ปี 2557


15 12.2.34 นั ก เรี ย นเข้ า ร่ ว มแข่ ง ขั น อั จ ฉริ ย ภาพทางคณิ ต ศาสตร์ ป.4-6 ระดั บ เขตพื้ น ที่ การศึกษาการแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปี 2557 12.2.35 นักเรียนได้รับรางวัลเหรียญทอง รองชนะเลิศอันดับ 1 ประติมากรรมนูนต่า ป.4-6 ระดับเขตพื้นที่การศึกษา การแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปี 2557 12.2.36 นักเรียนได้รับ รางวัลเหรียญทอง รองชนะเลิศอั นดับ 1 ร้อ งเพลงไทยลูกทุ่ งหญิ ง ป.1-6 ระดับเขตพื้นที่การศึกษา การแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปี 2557 12.2.37 นักเรียนได้รับรางวัลเหรียญทอง รองชนะเลิศอันดับ 2 ราวงมาตรฐาน ป.1-6 ระดับ เขตพื้นที่การศึกษา การแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปี 2557 12.2.38 นักเรียนได้รับรางวัลเหรียญทอง รองชนะเลิศอันดับ 1 นาฏศิลป์ไทยอนุรักษ์ ป.1-6 ระดับเขตพื้นที่การศึกษา การแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปี 2557 12.2.39 นักเรียนได้รับรางวัลเหรียญทอง รองชนะเลิศอันดับ 1 ยุวบรรณารักษ์ส่งเสริมการ อ่าน ป.4-6 ระดับเขตพื้นที่การศึกษา การแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปี 2557 12.2.40 นักเรียนได้รับ รางวัลเหรียญทอง การใช้โปรแกรมนาเสนอ(Presentation) ป.4-6 ระดับเขตพื้นที่การศึกษา การแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปี 2557 12.2.41 นักเรียนได้รับรางวัลเหรียญทอง เล่านิทานประกอบท่าทาง ปฐมวัย ระดับเขตพื้นที่ การศึกษา การแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปี 2557 12.2.42 ผู้บริหารได้รับรางวัลหนึ่งแสนครูดี ปี 2557 12.2.43 ครู ได้ รั บ รางวั ล หนึ่ ง แสนครู ดี โดย นางมาริ ส า ไชยะโชค และนางพิ ช ญานิ น จงจินารี ได้รับรางวัลหนึ่งแสนครูดี ปี 2557 12.2.44 นั ก เรี ย นได้ รั บ รางวั ล เหรี ย ญทอง การสร้ างภาพด้ ว ยการฉี ก ปะ ติ ด กระดาษ ชั้น อนุบาล ระดับเขตพื้นที่การศึกษา การแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปี 2558 12.2.45 นักเรียนได้รับรางวัลเหรียญทอง การขับร้องเพลงพระราชนิพนธ์(หญิง) ชั้น ป.1-6 ระดับเขตพื้นที่การศึกษา การแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปี 2558 12.2.46 นักเรียนได้รับรางวัลเหรียญทอง การใช้โปรแกรมนาเสนอ(Presentation) ป.4-6 ระดับเขตพื้นที่การศึกษา การแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปี 2558 12.2.47 นั ก เรีย นได้ รับ รางวัล เหรีย ญทอง การประดิ ษ ฐ์ข องใช้จ ากวัส ดุธ รรมชาติ ป.4-6 ระดับเขตพื้นที่การศึกษา การแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปี 2558 12.2.48 นั ก เรี ย นได้ รั บ รางวั ล เหรี ย ญทอง ประติ ม ากรรมนู น สู ง ป.4-6 ระดั บ เขตพื้ น ที่ การศึกษา การแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปี 2558 12.2.49 นั กเรีย นได้ รับ รางวั ลเหรี ยญทองแดง ประเภทวิ่ง 80 เมตร (ชาย) รุ่น อายุ 8 ปี ระดับเขตพื้นที่การศึกษา การแข่งขันกรีฑานักเรียน “เสมากาญจน์ 1 เกมส์” ปีการศึกษา 2558 12.2.50 นั กเรีย นได้รับ รางวัล เหรียญทองแดง วิ่ งผลัด 4x50 ประเภทหญิ ง รุ่น อายุ 8 ปี ระดับเขตพื้นที่การศึกษา การแข่งขันกรีฑานักเรียน “เสมากาญจน์ 1 เกมส์” ปีการศึกษา 2558


16 12.2.51 ผู้บริหารเป็นคณะกรรมการประเมินสถานศึกษาพอเพียง และสถานศึกษาพอเพียง ต้นแบบ ปี 2556-2558 12.2.52 ครู แ ละบุ ค ลากรได้ รั บ การยอมรั บ ในความรู้ ค วามสามารถในการท างานจาก หน่วยงานต่างๆ เช่น เป็นวิทยากรอบรมการใช้ภาษาอังกฤษ เป็นคณะกรรมการสอบคัดเลือกครูพี่ เลี้ยงของเทศบาล เป็นคณะกรรมการตัดสินการแข่งขันทักษะทางด้านวิชาการ เป็นต้น 12.2.53 ได้รับการยอมรับจากโรงเรียนต่างๆ ทั้งในเขตพื้นที่และนอกเขตพื้นที่ในการมาศึกษา ดูงานด้านการบริหารจัดการและการจัดการเรียนการสอนโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เช่น โรงเรียนบ้านแหลมทอง โรงเรียนบ้านทุ่งนานางหรอก กลุ่ มหนองอ้อโนนหวาย อาเภอหนองวัว ซอ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 1 โรงเรียนบ้านหนองสองห้อง โรงเรียน บ้านรางสาลี่ โรงเรียนวัดหนองตะโก โรงเรียนวัดกร่างทองราษฏร์บูรณะ เป็นต้น 13. ควำมคำดหวัง 13.1 การบริหารจัดการแบบ POSRIKIDS MODEL เพื่อพัฒ นาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษ ที่ 21 สามารถพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในด้านการอ่านและเขียน(Literacy) การคิดคานวณ(Numeracy) และ การคิด(Reasoning Ability) เพิ่มขึ้น นักเรียนมีความมั่นใจและกล้าแสดงออก 13.2 การบริหารจัดการแบบ POSRIKIDS MODEL เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ ศตวรรษ ที่ 21 สามารถส่งเสริมและสนับสนุน ครูในการพัฒ นาคุณภาพผู้เรียนให้ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สูง ขึ้น อย่างต่อเนื่องและมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตร 13.3 การบริหารจัดการแบบ POSRIKIDS MODEL เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษ ที่ 21 ช่ว ยเสริม สร้า งการปฏิ บั ติ ง านและการด ารงชี วิ ต ประจ าวั น ของบุ ค ลากรโดยใช้ ห ลั ก ปรั ช ญาของ เศรษฐกิจพอเพียงเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง 13.4 การบริหารจัดการแบบ POSRIKIDS MODEL เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษ ที่ 21 สามารถนาไปใช้ในการบริหารจัดการงานด้านอื่นๆของสถานศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ 13.5 การบริหารจัดการแบบ POSRIKIDS MODEL เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษ ที่ 21 สามารถนาไปใช้ในการบริหารจัดการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 ในสถานศึกษาอื่นๆได้ด้วย 13.6 พัฒนารูปแบบการบริหารจัดการแบบ POSRIKIDS MODEL เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรีย นสู่ ศตวรรษ ที่ 21 ให้มีประสิทธิภาพและเป็นแบบอย่างแก่หน่วยงานหรือองค์การโดยทั่วไป เนื่องจาก เป็นรูปแบบที่มีความเป็นสากล ไม่จาเป็นต้องใช้รูปแบบนี้เฉพาะในหน่วยงานทางการศึกษาเท่านั้น


17

ภำคผนวก


18

รับตรำพระรำชทำน บ้ำนนักวิทยำศำสตร์น้อย ได้รับกำรรับรองมำตรฐำนกำรศึกษำ รอบสำม

ผ่ำนกำรประเมินสถำนศึกษำพอเพียงต้นแบบ

เป็นคณะทำงำน/วิทยำกรให้ควำมรู้และเผยแพร่ผลงำน

นักเรียนได้รับรำงวัลระดับประเทศ


19

ครูและบุคลำกรมีกำรแลกเปลี่ยนเรียนรู้ กับสถำนศึกษำอื่นๆ

กำรให้ควำมร่วมมือกับชุมชน และหน่วยงำนอื่น


20

จัดโครงกำร/กิจกรรมพัฒนำคุณภำพผู้เรียน เพื่อให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตำมหลักสูตร

ผู้ปกครองมีส่วนร่วม ในกำรจัดกำรศึกษำ

ส่งเสริมกำรใช้ห้องสมุด เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน


21

จัดโครงกำร/กิจกรรมเพื่อพัฒนำคุณภำพผูเ้ รียน ด้ำนวิชำกำรและคุณลักษณะ ที่พึงประสงค์ตำมหลักสูตร


22


26 ผลกำรวิเครำะห์ข้อมูล การน าเสนอผลการวิ เคราะห์ ข้ อ มู ล เรื่ อ ง “ความพึ ง พอใจต่ อ การบริ ห าร POSRIKIDS Management เพื่ อ พั ฒ นาคุณ ภาพผู้เรีย นสู่ ศ ตวรรษที่ 21” ประจาปี 2557 เพื่ อ ให้ เป็ น ไปตาม วั ต ถุ ป ระสงค์ แ ละตอบข้ อ ค าถามนี้ ได้ น าข้ อ มู ล จากการตอบแบบสอบถามของบุ ค ลากรและ คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ให้ข้อมูลประกอบด้วย ครูและกรรมการสถานศึกษา รวมทั้งสิ้น 19 คน นามาวิเคราะห์และเสนอผลการวิเคราะห์ โดยใช้ตารางประกอบคาบรรยาย จาแนกเป็น 2 ตอน คือ ตอนที่ 1 ข้อมูลเกี่ยวกับสถานภาพส่วนตัวของผู้ตอบแบบสอบถาม ตอนที่ 2 ความพึ ง พอใจต่ อ การบริ ห าร POSRIKIDS Management เพื่ อ พั ฒ นาคุ ณ ภาพ ผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 ตอนที่ 1 ข้อมูลเกี่ยวกับสถำนภำพส่วนตัวของผู้ตอบแบบสอบถำม ข้อมูลเกี่ยวกับสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถามซึ่งได้จากการตอบแบบสอบถาม ของครู และกรรมการสถานศึ ก ษา มี ผู้ให้ ข้ อ มู ล จ านวน 19 คน แยกพิ จ ารณาตาม เพศ อายุ ระดั บ การศึกษาสูงสุด ประสบการณ์ในการทางาน และตาแหน่งหน้าที่หลักในโรงเรียน ดังรายละเอียดใน ตารางที่ 1 ตารางที่ 1 ร้อยละของผู้ให้ข้อมูลจาแนกตาม เพศ อายุ ระดับการศึกษาสูงสุด ประสบการณ์ ในการทางาน และตาแหน่งหน้าที่หลักในโรงเรียน ข้อที่ 1 เพศ

สถำนภำพ 1. ชาย 2. หญิง

2

จำนวน (คน)

ร้อยละ

รวม

7 12 19

36.84 63.16 100.00

1. ไม่เกิน 30 ปี 2. 31 - 40 ปี 3. 41 ปีขึ้นไป รวม

1 2 16 19

5.26 10.53 84.21 100.00

อายุ


27 ตารางที่ 1 ร้อยละของผู้ให้ข้อมูลจาแนกตาม เพศ อายุ ระดับการศึกษาสูงสุด ประสบการณ์ ในการทางาน และตาแหน่งหน้าที่หลักในโรงเรียน (ต่อ) ข้อที่ สถำนภำพ 3 ระดับการศึกษาสูงสุด 1. ต่ากว่าปริญญาตรี 2. ปริญญาตรี 3. ปริญญาโท 4. ปริญญาเอก รวม 4 ประสบการณ์ในการทางาน 1. ไม่เกิน 10 ปี 2. 11 - 30 ปี 3. 31 ปีขึ้นไป รวม 5 ตาแหน่งหน้าที่หลักในโรงเรียน 1. หัวหน้างาน 2. ครู 3. กรรมการสถานศึกษา รวม

จำนวน (คน)

ร้อยละ

8 10 1 19

42.11 52.63 5.26 100.00

6 9 4 19

31.58 47.37 21.05 100.00

4 6 9 19

21.05 31.58 47.37 100.00

จากตารางที่ 1 พบว่าผู้ให้ข้อมูลเป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย คือมีจานวน 12 คน คิดเป็น ร้อยละ 63.16 เป็นเพศชาย จานวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 36.84 ในจานวนนี้ส่วนใหญ่มีอายุ 41 ปี ขึ้นไป จานวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 84.21 รองลงมาคือ อายุระหว่าง 31-40 ปี จานวน 2 คน คิด เป็ นร้อยละ 10.53 และน้อยที่สุดคืออายุไม่เกิน 30 ปี จานวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 5.26 ทั้ง นี้ ระดับการศึกษาระดับปริญญาตรีมีมากที่สุด จานวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 52.63 รองลงมาคื อ ระดับต่ากว่าปริญ ญาตรี จานวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 42.11 และน้อยที่สุดคือระดับปริญ ญาโท จานวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 5.26 บุคลากรมีประสบการณ์ในการทางานมากที่สุด คือ ประสบการณ์ 11-30 ปี จานวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 47.37 รองลงมาประสบการณ์ ไม่เกิน 10 ปี จานวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 31.58 และน้อยที่สุด คือ ประสบการณ์ 31 ปีขึ้นไป จานวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 21.05 ตาแหน่งหน้าที่หลักในโรงเรียน พบว่า กรรมการสถานศึกษามีมากที่สุด จานวน 9 คน คิดเป็น ร้อยละ 47.37 รองลงมาคือครูจานวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 31.58 และตาแหน่งสุดท้ายคื อหัวหน้า งาน จานวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 21.05


28 ตอนที่ 2 ควำมพึงพอใจต่อกำรบริหำร POSRIKIDS Management เพื่อพัฒนำคุณภำพผู้เรียน สู่ ศตวรรษที่ 21 ในการวิ เคราะห์ ค วามพึ ง พอใจต่ อ การบริ ห าร POSRIKIDS Management เพื่ อ พั ฒ นา คุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 วิเคราะห์โดยใช้ค่ามัชฌิมเลขคณิต ( X ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) จากผู้ให้ 19 คน แล้วนาไปเปรียบเทียบตามแนวคิดของเบสท์ (Best) ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ดังรายละเอียดตารางที่ 2 ถึงตารางที่ 10 ตารางที่ 2 ค่ามัชฌิ มเลขคณิ ต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดั บความพึง พอใจต่ อการบริห าร POSRIKIDS Management เพื่ อพั ฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 โดยภาพรวม และรายด้าน (n= 19) ควำมพึงพอใจต่อกำรบริหำร ด้ำนที่ S.D. ระดับ X POSRIKIDS Management 1 P-Planning การวางแผน 4.51 0.509 มากที่สุด 2 O-Organizing การจัดองค์การ 4.50 0.594 มากที่สุด 3 S-Supporting การสนับสนุน 4.48 0.540 มาก 4 R-Reviewing การตรวจสอบ 4.46 0.548 มาก 5 I-Improving การปรับปรุงแก้ไข 4.56 0.585 มากที่สุด 6 K-Knowing การรู้งาน 4.52 0.657 มากที่สุด 7 I-Instructing การสั่งการ 4.57 0.595 มากที่สุด 8 D-Developing การพัฒนา 4.65 0.564 มากที่สุด 9 S-Sharing การแบ่งปัน 4.59 0.664 มากที่สุด รวม 4.54 0.584 มำกที่สุด จากตารางที่ 2 พบว่า ระดับความพึงพอใจต่อการบริหาร POSRIKIDS Management เพื่อ พัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ( X = 4.54) ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐานมีการกระจายน้อย (S.D.= 0.584) แสดงว่าผู้ให้ข้อมูลมีความคิดเห็นสอดคล้ องกัน เมื่อ จาแนกตามรายด้าน พบว่า ผู้ให้ข้อมูลมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากและมากที่สุด ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐานอยู่ระหว่าง 0.509 - 0.664 ค่ามัชฌิมเลขคณิตตั้งแต่ 4.46 - 4.65 โดยเรียงลาดับจากค่า มัชฌิมเลขคณิตมากไปหาน้อย ดังนี้ การพัฒนา ( X = 4.65, S.D.= 0.564) การแบ่งปัน ( X = 4.59, S.D.= 0.664) การสั่งการ ( X = 4.57, S.D.= 0.595) การปรับปรุงแก้ไข ( X = 4.56, S.D.= 0.585) การรู้ ง าน ( X = 4.52, S.D.= 0.657) การวางแผน ( X = 4.51, S.D.= 0.509) การจั ด องค์ ก าร ( X = 4.50, S.D.= 0.594) การสนั บ สนุ น ( X = 4.48, S.D.= 0.540) และการตรวจสอบ ( X = 4.46, S.D.= 0.548)


29 ตารางที่ 3 ค่ามัชฌิ มเลขคณิ ต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับความพึง พอใจต่ อการบริห าร POSRIKIDS Management เพื่ อ พั ฒ นาคุ ณ ภาพผู้ เรี ย นสู่ ศ ตวรรษที่ 21 ด้ า นการ วางแผน (n= 19) ควำมพึงพอใจต่อกำรบริหำร ข้อที่ S.D. ระดับ X POSRIKIDS Management ผู้บริหารมีการศึกษาสภาพปัจจุบันและปัญหาในการ 1 4.53 0.513 มากที่สุด บริหารจัดการเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 ผู้บริหารมีการวิเคราะห์สภาพปัจจุบันปัญหาของการ 2 บริหารจัดการเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 4.53 0.513 มากที่สุด โดย SWOT analysis ผู้บริหารมีการจัดทาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเพื่อ 3 4.37 0.597 มาก พัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 ผู้บริหารมีการทางานตามแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม 4 4.32 0.478 มาก ตามที่กาหนดไว้ 5 ผู้บริหารมีการประชุมครูและบุคลากรทุกเดือน 4.68 0.478 มากที่สุด ผู้บริหารมีการประชุมผู้ปกครองนักเรียนอย่างน้อยปีละ 2 6 4.42 0.507 มาก ครั้ง ผู้บริหารมีการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาอย่าง 7 4.68 0.478 มากที่สุด น้อยภาคเรียนละ 2 ครั้ง ผู้บริหารมีการบริหารจัดการในด้านการวางแผนการ 8 4.58 0.507 มากที่สุด ทางานโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รวม 4.51 0.509 มำกที่สุด จากตารางที่ 3 พบว่าระดับความพึงพอใจต่อการบริหาร POSRIKIDS Management เพื่อ พัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 ด้านการวางแผน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ( X = 4.51) ส่ ว นเบี่ย งเบนมาตรฐานมี ก ารกระจายน้ อย (S.D.= 0.509) แสดงว่ าผู้ ให้ ข้อ มู ลมี ความ คิดเห็นสอดคล้องกัน เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า ความพึงพอใจต่อการบริหารด้านการวางแผนอยู่ใน ระดับมากและมากที่สุด ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ระหว่าง 0.478 - 0.597 ค่ามัชฌิมเลขคณิตตั้งแต่ 4.32 - 4.68 ข้อ ที่มี ค่ามั ชฌิ ม เลขคณิ ตมากที่ สุด คือ ข้ อ 7 ผู้บ ริห ารมีก ารประชุม คณะกรรมการ สถานศึ ก ษาอย่ างน้ อ ยภาคเรีย นละ 2 ครั้ ง ( X = 4.68, S.D.= 0.478) และข้อ 5 ผู้ บ ริห ารมีก าร ประชุม ครูแ ละบุ ค ลากรทุ ก เดื อน ( X = 4.68, S.D.= 0.478) ค่ ามั ช ฌิ ม เลขคณิ ต ต่ าสุ ด คื อ ข้ อ 4 ผู้บริหารมีการทางานตามแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ตามที่กาหนดไว้ ( X = 4.32, S.D.= 0.478)


30 ตารางที่ 4 ค่ามัชฌิ มเลขคณิ ต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับความพึง พอใจต่ อการบริห าร POSRIKIDS Management เพื่ อ พั ฒ นาคุณ ภาพผู้ เรีย นสู่ ศตวรรษที่ 21 ด้ านการจั ด องค์การ (n= 19) ควำมพึงพอใจต่อกำรบริหำร ข้อที่ S.D. ระดับ X POSRIKIDS Management 1 ผู้บริหารมีการจัดโครงสร้าง ภารกิจ/ขอบข่ายงานอย่างชัดเจน 4.47 0.612 มาก ผู้บริหารมีการกาหนดรูปแบบ ขั้นตอน/วิธีการดาเนินงานที่ 2 เหมาะสมกับทรัพยากรที่มีอยู่ เพื่อให้งานบรรลุเป้าหมายที่กาหนด 4.47 0.513 มาก ไว้ ผู้บริหารมีการดาเนินงานที่สอดคล้องกับกลยุทธ์และจุดเน้นของการ 3 4.37 0.597 มาก บริหารงาน 4 ผู้บริหารมีการแต่งตั้งคณะทางานและจัดให้มีปฏิทินการปฏิบัติงาน 4.63 0.597 มากที่สุด ผู้บริหารมีการมอบหมายงานโดยคานึงถึงความรู้ความสามารถ 5 4.47 0.697 มาก ความถนัดหรือความสนใจ 6 ผู้บริหารมีการแบ่งงานให้ครูและบุคลากรรับผิดชอบอย่างทั่วถึง 4.53 0.612 มากที่สุด 7 ผู้บริหารให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการทางาน 4.47 0.612 มาก 8 ผู้บริหารให้ครูทุกคนมีโอกาสในการทางานอย่างเสมอภาค 4.32 0.671 มาก 9 ผู้บริหารเปิดโอกาสให้ครูแสดงความคิดเห็นและรับฟังความคิดเห็น 4.32 0.671 มาก ผู้บริหารมีการให้คาแนะนาปรึกษาและช่วยเหลือเพื่อให้การ 10 4.53 0.612 มากที่สุด ดาเนินงานบรรลุเป้าหมายที่กาหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ ผู้บริหารจัดให้มีการพัฒนาครู เพื่อสร้างความตระหนักในการ 11 4.74 0.452 มากที่สุด ทางาน ผู้บริหารมีการบริหารจัดการในด้านการจัดองค์การโดยยึดหลัก 12 4.68 0.478 มากที่สุด ปรัชญาของเศรษฐกิจพอพียง รวม 4.50 0.594 มำกที่สุด จากตารางที่ 4 พบว่าระดับความพึงพอใจต่อการบริหาร POSRIKIDS Management เพื่อ พั ฒ นาคุ ณ ภาพผู้ เรี ย นสู่ ศ ตวรรษที่ 21 ด้ า นการจั ด องค์ ก าร โดยภาพรวมอยู่ ในระดั บ มากที่ สุ ด ( X = 4.50) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานมีการกระจายน้อย (S.D.= 0.594) แสดงว่าผู้ให้ข้อมูลมี ความ คิดเห็นสอดคล้องกัน เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า ความพึงพอใจต่อการบริหารด้านการจัดองค์การอยู่ ในระดับมากและมากที่สุด ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ระหว่าง 0.478 - 0.697 ค่ามัชฌิมเลขคณิต ตั้งแต่ 4.32 - 4.74 ข้อที่มีค่ามัชฌิมเลขคณิตมากที่สุด คือ ข้อ 11 ผู้บริหารจัดให้มีการพัฒนาครู เพื่อ สร้างความตระหนักในการทางาน ( X = 4.74, S.D.= 0.452) รองลงมา คือ ข้อ 12 ผู้บริหารมีการ บริหารจัดการในด้านการจัดองค์การโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอพียง ( X = 4.68, S.D.= 0.478) ค่ามัชฌิมเลขคณิตต่าสุด คือ ข้อ 8 ผู้บริหารให้ครูทุกคนมีโอกาสในการทางานอย่างเสมอภาค และข้อ 9 ผู้บริห ารเปิด โอกาสให้ค รูแสดงความคิดเห็ นและรับฟั งความคิดเห็น ( X = 4.32, S.D.= 0.671)


31 ตารางที่ 5 ค่ามัชฌิ มเลขคณิ ต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับความพึง พอใจต่ อการบริห าร POSRIKIDS Management เพื่ อ พั ฒ นาคุ ณ ภาพผู้ เรี ย นสู่ ศ ตวรรษที่ 21 ด้ า นการ สนับสนุน (n= 19) ควำมพึงพอใจต่อกำรบริหำร ข้อที่ S.D. ระดับ X POSRIKIDS Management ผู้บริหารสนับสนุนและส่งเสริมการปฏิบัติงานของบุคลากร 1 4.53 0.513 มากที่สุด ด้วยวิธีการที่หลากหลาย ผู้บริหารมีการสนับสนุนงบประมาณ สื่อ วัสดุอุปกรณ์ 2 4.47 0.513 มาก ครุภัณฑ์ และสิ่งอานวยความสะดวกในการปฏิบัติงาน โรงเรียนมีการจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่ 3 4.37 0.597 มาก เอื้อต่อการทางานและการจัดการเรียนการสอน ผู้บริหารมีการสร้างขวัญและกาลังใจให้แก่บุคลากรอย่าง 4 4.37 0.597 มาก ต่อเนื่อง ผู้บ ริห ารมี ก ารบริ ห ารจั ด การในด้ า นการสนั บ สนุ น การ 5 4.68 0.478 มากที่สุด ทางานโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอพียง รวม 4.48 0.540 มำก จากตารางที่ 5 พบว่าระดับความพึงพอใจต่อการบริหาร POSRIKIDS Management เพื่อ พัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 ด้านการสนับสนุน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( X = 4.48) ส่ ว นเบี่ ย งเบนมาตรฐานมี ก ารกระจายน้ อ ย (S.D.= 0.540) แสดงว่ า ผู้ ใ ห้ ข้ อ มู ล มี ค วามคิ ด เห็ น สอดคล้องกัน เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า ความพึงพอใจต่อการบริหารด้านการสนับสนุนอยู่ในระดับ มากและมากที่สุด ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ระหว่าง 0.478 - 0.597 ค่ามัชฌิมเลขคณิตตั้งแต่ 4.37 - 4.68 ข้ อ ที่ มี ค่ า มั ช ฌิ ม เลขคณิ ต มากที่ สุ ด คื อ ข้ อ 5 ผู้ บ ริห ารมี ก ารบริ ห ารจั ด การในด้ า นการ สนับสนุนการทางานโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอพียง ( X = 4.68, S.D.= 0.478) รองลงมา คือ ข้อ 1 ผู้บริหารสนับสนุนและส่งเสริมการปฏิบัติงานของบุคลากรด้วยวิธีการที่หลากหลาย ( X = 4.53, S.D.= 0.513) ค่ า มั ช ฌิ ม เลขคณิ ต ต่ าสุ ด คื อ ข้ อ 3 โรงเรี ย นมี ก ารจั ด สภาพแวดล้ อ มทาง กายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการทางานและการจัดการเรียนการสอน และข้อ 4 ผู้บริหารมีการสร้าง ขวัญและกาลังใจให้แก่บุคลากรอย่างต่อเนื่อง ( X = 4.32, S.D.= 0.582)


32 ตารางที่ 6 ค่ามัชฌิ มเลขคณิ ต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับความพึง พอใจต่ อการบริห าร POSRIKIDS Management เพื่ อ พั ฒ นาคุ ณ ภาพผู้ เรี ย นสู่ ศ ตวรรษที่ 21 ด้ า นการ ตรวจสอบ (n= 19) ควำมพึงพอใจต่อกำรบริหำร ข้อที่ S.D. ระดับ X POSRIKIDS Management ผู้ บ ริ ห ารจั ด ให้ มี ก ารประชุ ม หั ว หน้ า งานและครู เพื่ อ ตรวจสอบการปฏิบัติงานให้มีความสอดคล้องกับนโยบาย 1 4.47 0.513 มาก วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ จุดเน้นหรือจุดหมายของ หลักสูตรสถานศึกษา ผู้บริหารมีการตรวจสอบการดาเนินงาน เพื่อลดความเสี่ยง 2 ต่อการทางานที่ผิดพลาดและไม่เป็นไปตามขั้นตอนหรือ 4.53 0.513 มากที่สุด แผนงานที่กาหนดไว้ ผู้ บ ริ ห ารจั ด ให้ มี ก ารประชุ ม หั ว หน้ า งานและครู เพื่ อ 3 4.16 0.688 มาก ทบทวนการปฏิบัติงาน ผู้บ ริห ารจั ด ให้ มี ก ารตรวจสอบ พิ จ ารณาไตร่ ต รองการ 4 4.53 0.513 มากที่สุด ทางานในแต่ละงานทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ ผู้บริ หารจัด ให้ มีก ารตรวจสอบในด้ านปั จจัย การท างาน 5 4.42 0.607 มาก ได้แก่ คน งบประมาณ วัสดุสิ่งของ และการบริหารจัดการ ผู้ บ ริ ห ารจั ด ให้ มี ก ารนิ เ ทศ ก ากั บ และติ ด ตาม การ 6 4.68 0.478 มากที่สุด ปฏิบัติงานอย่างสม่าเสมอ ผู้บริหารจัดให้มีการประเมินผลและสรุปผลการปฏิบัติงาน 7 4.21 0.631 มาก โดยจัดทาเป็นข้อมูลและสารสนเทศ ผู้บริหารจัดให้มีการรายงานผลการปฏิบัติงานเมื่อเสร็จสิ้น 8 4.42 0.507 มาก การดาเนินงานทุกงาน/โครงการ/กิจกรรม ผู้ บ ริ ห ารมี ก ารข้ อ มู ล และสารสนเทศที่ ไ ด้ จ ากการ 9 ประเมิ น ผล และสรุ ป ผลการปฏิ บั ติ ง านมาใช้ ใ นการ 4.42 0.607 มาก ปรับปรุงและพัฒนาประสิทธิภาพในการทางาน ผู้บ ริห ารมี ก ารบริห ารจัด การในด้ านการตรวจสอบการ 10 4.79 0.419 มากที่สุด ปฏิบัติงานโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รวม 4.46 0.548 มำก จากตารางที่ 6 พบว่าระดับความพึงพอใจต่อการบริหาร POSRIKIDS Management เพื่อ พัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 ด้านการตรวจสอบ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( X = 4.46) ส่ ว นเบี่ ย งเบนมาตรฐานมี ก ารกระจายน้ อ ย (S.D.= 0.548) แสดงว่ า ผู้ ใ ห้ ข้ อ มู ล มี ค วามคิ ด เห็ น สอดคล้องกัน เมื่อพิ จารณารายข้อ พบว่า ความพึ งพอใจต่อการบริหารด้านการตรวจสอบอยู่ใน ระดับมากและมากที่สุด ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ระหว่าง 0.419 - 0.688 ค่ามัชฌิมเลขคณิตตั้งแต่ 4.16 - 4.79 ข้อที่มีค่ามัชฌิมเลขคณิตมากที่สุด คือ ข้อ 10 ผู้บริหารมีการบริหารจัดการในด้านการ


33 ตรวจสอบการปฏิบัติงานโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ( X = 4.79, S.D.= 0.419) รองลงมา คือ ข้อ 6 ผู้บริหารจัดให้มีการนิเทศ กากับ และติดตาม การปฏิบัติงานอย่างสม่าเสมอ ( X = 4.68, S.D.= 0.478) ค่ามัชฌิมเลขคณิตต่าสุด คือ ข้อ 3 ผู้บริหารจัดให้มีการประชุมหัวหน้างานและ ครู เพื่อทบทวนการปฏิบัติงาน ( X = 4.16, S.D.= 0.688) ตารางที่ 7 ค่ามัชฌิ มเลขคณิ ต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับความพึง พอใจต่ อการบริห าร POSRIKIDS Management เพื่ อ พั ฒ นาคุ ณ ภาพผู้ เรี ย นสู่ ศ ตวรรษที่ 21 ด้ า นการ ปรับปรุงแก้ไข (n= 19) ควำมพึงพอใจต่อกำรบริหำร ข้อที่ S.D. ระดับ X POSRIKIDS Management ผู้บริหารจัดให้มีการปรับปรุงแก้ไขงานในส่วนที่ผิดพลาด 1 4.37 0.496 มาก และบกพร่อง ผู้บริหารจัดให้มีการพัฒนาการปฏิบัติงานเพื่อให้แผนงาน/ 2 4.47 0.513 มาก โครงการ/กิจกรรมมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ผู้บริหารจัดให้มีการทบทวนการดาเนินงานในทุกขั้นตอน 3 4.53 0.772 มากที่สุด ว่ามีปัญหาหรืออุปสรรคใดที่ต้องแก้ไขปรับปรุง ผู้บริหารมีการปรับปรุงและแก้ไขประสิทธิภาพการบริหาร 4 4.74 0.562 มากที่สุด จัดการโดยคานึงถึงความประหยัดและคุ้มค่า ผู้บริหารมีการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดทั้งในด้าน 5 ทรัพยากรบุคคล งบประมาณ วัสดุครุภัณฑ์ ในการ 4.42 0.769 มาก บริหารงานได้อย่างคุ้มค่า ผู้บริหารจัดให้มีการปรับปรุงและพัฒนาผลการปฏิบัติให้ดี 6 4.58 0.607 มากที่สุด ยิ่งขึ้น เพื่อเป็นแบบอย่างให้กับผู้อื่น ผู้บริหารมีการบริหารจัดการในด้านการปรับปรุงแก้ไข 7 4.84 0.375 มากที่สุด การปฏิบัติงานโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รวม 4.56 0.585 มำกที่สุด จากตารางที่ 7 พบว่าระดับความพึงพอใจต่อการบริหาร POSRIKIDS Management เพื่อ พัฒ นาคุณ ภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 ด้านการปรับปรุง แก้ไข โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุ ด ( X = 4.56) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานมีการกระจายน้อย (S.D.= 0.585) แสดงว่าผู้ให้ข้อมูลมีความ คิดเห็นสอดคล้องกัน เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า ความพึงพอใจต่อการบริหารด้านการปรับปรุงแก้ไข อยู่ในระดับมากและมากที่สุด ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ระหว่าง 0.375 - 0.772 ค่ามัชฌิมเลขคณิต ตั้งแต่ 4.37 - 4.84 ข้อที่มีค่ามัชฌิมเลขคณิตมากที่สุด คือ ข้อ 7 ผู้บริหารมีการบริหารจัดการในด้าน การปรับปรุงแก้ไขการปฏิบัติงานโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ( X = 4.84, S.D.= 0.375) รองลงมา คือ ข้อ 4 ผู้บริหารมีการปรับปรุงและแก้ไขประสิทธิภาพการบริหารจัดการโดยคานึงถึง ความประหยัดและคุ้มค่า ( X = 4.74, S.D.= 0.562) ค่ามัชฌิมเลขคณิตต่าสุด คือ ข้อ 1 ผู้บริหารจัด ให้มีการปรับปรุงแก้ไขงานในส่วนที่ผิดพลาดและบกพร่อง ( X = 4.37, S.D.= 0.496)


34 ตารางที่ 8 ค่ามัชฌิ มเลขคณิ ต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับความพึง พอใจต่ อการบริห าร POSRIKIDS Management เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 ด้านการรู้งาน (n= 19) ควำมพึงพอใจต่อกำรบริหำร ข้อที่ S.D. ระดับ X POSRIKIDS Management 1 ผู้บริหารเป็นผู้ที่มีความรู้ในความสามารถในการบริหารงาน 4.32 0.820 มาก ผู้บริหารเป็นผู้ที่มีความใฝ่รู้ใฝ่เรียนเพื่อการพัฒนาตนเอง 2 4.58 0.769 มากที่สุด ให้มีความรู้ความสามารถในการทางานในหน้าที่ ผู้บริหารมีการส่งเสริมและพัฒนาครูให้มีความรู้ความสามารถใน 3 4.42 0.769 มาก การทางานอย่างแท้จริง ผู้บริหารส่งเสริมให้ครูศึกษาหาความรู้ โดยการประชุม อบรม 4 สัมมนา ศึกษาดูงานหรือศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้นตามความ 4.58 0.607 มากที่สุด ต้องการและความสนใจ ครูมีความรู้ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่และภาระงานที่ได้รับ 5 4.58 0.692 มากที่สุด มอบหมาย ครูมีความสามารถในการทางานที่ได้รับมอบหมาย จึงทาให้การ 6 4.63 0.597 มากที่สุด ทางานไม่ผิดพลาดหรือการทางานมีความผิดพลาดน้อยมาก ผู้บริหารมีความรับผิดชอบและมีความละเอียดรอบคอบในการ 7 4.58 0.507 มากที่สุด ทางาน 8 ครูมีความรับผิดชอบและมีความละเอียดรอบคอบในการทางาน 4.53 0.612 มากที่สุด ผู้บริหารส่งเสริมให้ครูมีความรู้ความสามารถในการทางาน 9 4.37 0.761 มาก และจัดการเรียนการสอนตามความสนใจ ครูมีความรู้ความสามารถในการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนา 10 4.32 0.671 มาก คุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 ครูมีความรู้ความสามารถในการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนา 11 4.53 0.697 มากที่สุด คุณภาพผู้เรียนเต็มตามศักยภาพ ครูมีความรู้ความสามารถในการจัดการเรียนการสอนและการจัด 12 4.42 0.769 มาก กิจกรรมต่างๆ เพื่อพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมนักเรียน ครูมีความรู้ความสามารถในการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเพื่อให้ 13 4.68 0.478 มากที่สุด มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตร ผู้บริหารมีการบริหารจัดการในด้านความรู้หรือการเสริมสร้าง 14 ความรู้ในงานที่ทาแก่บุคลากรโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ 4.74 0.452 มากที่สุด พอเเพียง รวม 4.52 0.657 มำกที่สุด


35 จากตารางที่ 8 พบว่าระดับความพึงพอใจต่อการบริหาร POSRIKIDS Management เพื่อ พัฒ นาคุณ ภาพผู้เรีย นสู่ศตวรรษที่ 21 ด้านการรู้ง าน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( X = 4.52) ส่ ว นเบี่ ย งเบนมาตรฐานมี ก ารกระจายน้ อ ย (S.D.= 0.657) แสดงว่ า ผู้ ใ ห้ ข้ อ มู ล มี ค วามคิ ด เห็ น สอดคล้องกัน เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า ความพึงพอใจต่อการบริหารด้านการรู้งานอยู่ในระดับมาก และมากที่สุด ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ระหว่าง 0.452 - 0.820 ค่ามัชฌิมเลขคณิตตั้งแต่ 4.32 4.74 ข้อที่มีค่ามัชฌิมเลขคณิตมากที่สุด คือ ข้อ 14 ผู้บริหารมีการบริหารจัดการในด้านความรู้หรือ การเสริมสร้างความรู้ในงานที่ท าแก่บุค ลากรโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิ จพอเพียง ( X = 4.74, S.D.= 0.452) รองลงมา คือ ข้อ 13 ครูมีความรู้ความสามารถในการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เพื่อให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตร ( X = 4.68, S.D.= 0.478) ค่ามัชฌิมเลขคณิตต่าสุด คือ ข้อ 1 ผู้บริหารเป็นผู้ที่มีความรู้ในความสามารถในการบริหารงาน 21 ( X = 4.32, S.D.= 0.820) ตารางที่ 9 ค่ามัชฌิ มเลขคณิ ต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับความพึง พอใจต่ อการบริห าร POSRIKIDS Management เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 ด้านการสั่งการ (n= 19) ควำมพึงพอใจต่อกำรบริหำร ข้อที่ S.D. ระดับ X POSRIKIDS Management 1 ผู้บริหารมีการทางานที่เป็นระบบและขั้นตอน PDCA 4.42 0.692 มาก 2 ผู้บริหารมีการมอบหมายงานในแต่ละงานเป็นลายลักษณ์อักษร 4.68 0.478 มากที่สุด 3 ผู้บริหารมีการให้คาแนะนาในการปฏิบัติงานแก่ครู 4.53 0.772 มากที่สุด ผู้ บ ริ ห ารจั ด ให้ มี ก ารสอนงานแก่ ผู้ ป ฏิ บั ติ ง านใหม่ ห รื อ ผู้ ที่ ไ ม่ มี 4 4.37 0.684 มาก ประสบการณ์ในการทางานนั้นๆ ผู้บริหารมีคาสั่งมอบหมายงานในแต่ละงานอย่างชัดเจน จึงทาให้ 5 4.58 0.607 มากที่สุด การทางานไม่ซ้าซ้อน ผู้บริหารมีคาสั่งมอบหมายงานในแต่ละงานอย่างชัดเจน จึงทาให้ 6 4.68 0.478 มากที่สุด สามารถกากับ ติดตามและตรวจสอบการทางานได้ง่าย ผู้บริหารมีการบริหารจัดการในด้านการสั่งการโดยยึดหลักปรัชญา 7 4.74 0.452 มากที่สุด ของเศรษฐกิจพอเพียง รวม 4.57 0.595 มำกที่สุด จากตารางที่ 9 พบว่าระดับความพึงพอใจต่อการบริหาร POSRIKIDS Management เพื่อ พัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 ด้านการสั่งการ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ( X = 4.57) ส่ ว นเบี่ ย งเบนมาตรฐานมี ก ารกระจายน้ อ ย (S.D.= 0.595) แสดงว่ า ผู้ ใ ห้ ข้ อ มู ล มี ค วามคิ ด เห็ น สอดคล้องกัน เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า ความพึงพอใจต่อการบริหารด้านการสั่งการอยู่ในระดับ มากและมากที่สุด ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ระหว่าง 0.452 - 0.772 ค่ามัชฌิมเลขคณิตตั้งแต่ 4.37 - 4.74 ข้อที่มีค่ามัชฌิมเลขคณิตมากที่สุด คือ ข้อ 7 ผู้บริหารมีการบริหารจัดการในด้านการสั่งการ โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ( X = 4.74, S.D.= 0.452) รองลงมา คือ ข้อ 2 ผู้บริหารมี การมอบหมายงานในแต่ละงานเป็นลายลักษณ์อักษร และข้อ 6 ผู้บริหารมีคาสั่งมอบหมายงานในแต่ ละงานอย่างชัดเจน จึงทาให้สามารถกากับ ติดตามและตรวจสอบการทางานได้ง่าย ( X = 4.68,


36 S.D.= 0.478) ค่ามัชฌิมเลขคณิตต่าสุด คือ ข้อ 4 ผู้บริหารจัดให้มีการสอนงานแก่ผู้ปฏิบัติงานใหม่ หรือผู้ที่ไม่มีประสบการณ์ในการทางานนั้นๆ ( X = 4.32, S.D.= 0.749) ตารางที่ 10 ค่ามัชฌิ มเลขคณิ ต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับความพึง พอใจต่ อการบริห าร POSRIKIDS Management เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 ด้านการพัฒนา (n= 19) ควำมพึงพอใจต่อกำรบริหำร ข้อที่ S.D. ระดับ X POSRIKIDS Management ผู้ บ ริ ห ารจั ด ให้ มี ก ารพั ฒ น างาน ให้ มี ค วามก้ าวห น้ าและ 1 4.79 0.419 มากที่สุด มีประสิทธิภาพในทุกงาน/โครงการ/กิจกรรม ผู้ บ ริ ห ารจั ด ให้ มี ก ารพั ฒ น างาน ให้ มี ค วามก้ าวห น้ าและ 2 4.68 0.478 มากที่สุด มีประสิทธิภาพโดยพิจารณาในด้านการใช้เวลาอย่างคุ้มค่า ผู้ บ ริ ห ารจั ด ให้ มี ก ารพั ฒ น างาน ให้ มี ค วามก้ าวห น้ าและ 3 4.63 0.496 มากที่สุด มีประสิทธิภาพโดยพิจารณาในด้านการเสียค่าใช้จ่ายน้อยที่สุด ผู้ บ ริ ห ารจั ด ให้ มี ก ารพั ฒ น างาน ให้ มี ค วามก้ าวห น้ าและ 4 4.74 0.452 มากที่สุด มีประสิทธิภาพโดยการพัฒนาบุคลากร ผู้ บ ริ ห ารจั ด ให้ มี ก ารพั ฒ น างาน ให้ มี ค วามก้ าวห น้ าและ 5 4.58 0.692 มากที่สุด มีประสิทธิภาพโดยการสนับสนุนด้านงบประมาณ ผู้ บ ริ ห ารจั ด ให้ มี ก ารพั ฒ น างาน ให้ มี ค วามก้ าวห น้ าและ 6 มีประสิทธิภาพโดยพิจารณาในด้านวัสดุอุปกรณ์หรือเครื่องมือใน 4.37 0.761 มาก การทางาน ผู้ บ ริ ห ารจั ด ให้ มี ก ารพั ฒ น างาน ให้ มี ค วามก้ าวห น้ าและ 7 มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพโดยพิ จ ารณาในด้ า นวิ ธี ก ารด าเนิ น งานและ 4.68 0.582 มากที่สุด การปฏิบัติงาน ผู้ บ ริ ห ารจั ด ให้ มี ก ารพั ฒ น างาน ให้ มี ค วามก้ าวห น้ าและ 8 4.68 0.671 มากที่สุด มีประสิทธิภาพโดยพิจารณาในด้านการบริหารจัดการ ผู้ บ ริ ห ารจั ด ให้ มี ก ารพั ฒ น างาน ให้ มี ค วามก้ าวห น้ า และ 9 มีประสิทธิภาพโดยพิจารณาไตร่ตรองปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้น 4.42 0.769 มาก ในทุกด้าน ผู้บ ริห ารมีก ารบริห ารจัด การในด้านการพั ฒ นางานโดยยึ ดหลั ก 10 4.89 0.315 มากที่สุด ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รวม 4.65 0.564 มำกที่สุด จากตารางที่ 10 พบว่าระดับความพึงพอใจต่อการบริหาร POSRIKIDS Management เพื่อ พัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 ด้านการพัฒนา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ( X = 4.65) ส่ ว นเบี่ย งเบนมาตรฐานมี ก ารกระจายน้ อย (S.D.= 0.564) แสดงว่ าผู้ ให้ ข้อ มู ลมี ความ คิดเห็นสอดคล้องกัน เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า ความพึงพอใจต่อการบริหารด้านการพัฒนาอยู่ใน ระดับมากและมากที่สุด ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ระหว่าง 0.315 - 0.769 ค่ามัชฌิมเลขคณิตตั้งแต่


37 4.37 - 4.89 ข้อที่มีค่ามัชฌิมเลขคณิตมากที่สุด คือ ข้อ 10 ผู้บริหารมีการบริหารจัดการในด้านการ พัฒนางานโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ( X = 4.89, S.D.= 0.315) รองลงมา คือ ข้อ 1 ผู้บริหารจัดให้มีการพัฒนางานให้มีความก้าวหน้าและ มีประสิทธิภาพในทุกงาน/โครงการ/กิจกรรม ( X = 4.79, S.D.= 0.419) ค่ ามั ชฌิ ม เลขคณิ ตต่ าสุ ด คื อ ข้อ 6 ผู้ บริห ารจัดให้ มี การพั ฒ นางานให้ มี ความก้าวหน้าและมีประสิทธิภาพโดยพิจารณาในด้านวัสดุอุปกรณ์หรือเครื่องมือในการทางาน ( X = 4.37, S.D.= 0.761) ตารางที่ 11 ค่ามัชฌิ มเลขคณิ ต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับความพึง พอใจต่ อการบริห าร POSRIKIDS Management เพื่ อ พั ฒ นาคุ ณ ภาพผู้ เรี ย นสู่ ศ ตวรรษที่ 21 ด้ า นการ แบ่งปัน (n= 19) ควำมพึงพอใจต่อกำรบริหำร ข้อที่ S.D. ระดับ X POSRIKIDS Management ผู้ บ ริ ห ารเปิ ด โอกาสให้ บุ ค ลากรมี ก ารพู ด คุ ย เสนอและ 1 4.74 0.653 มากที่สุด แลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกันอย่างสม่าเสมอ ผู้บริหารเปิดโอกาสให้บุคลากรแสดงความรู้ความสามารถ 2 4.47 0.772 มาก และผลงานแก่ผู้ร่วมงาน ผู้บริหารเปิดโอกาสให้บุคลากรแสดงความรู้ความสามารถ 3 และผลงานแก่ผู้ที่เกี่ยวข้องภายนอกสถานศึกษา 4.58 0.692 มากที่สุด 4 5 6

7

ผู้บริหารจัดให้มีการรายงานผลการปฏิบัติงานเพื่อขยาย ผลและเผยแพร่ผ ลงานที่ เป็ น แบบอย่ างให้ แ ก่ ผู้ อื่ น และ สาธารณชน ผู้บริหารจัดให้มีการเผยแพร่และขยายผลที่ได้จากการเข้า ประชุม อบรม สัมมนาและศึกษาดูงานแก่ผู้ร่วมงานทุกคน ผู้บริหารจัดให้มีการเผยแพร่ผลงานของโรงเรียน ครู และ นัก เรี ยน ด้ วยวิธีก ารที่ ห ลากหลาย เช่ น จัด นิ ท รรศการ การจัดทาแผ่นพับ เอกสารสิ่งพิมพ์ และการเผยแพร่ทาง อินเทอร์เน็ต เป็นต้น ผู้บริหารมีการบริหารจัดการในด้านการแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์และเผยแพร่ผลงาน โดยยึดหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง รวม

4.53

0.612

มากที่สุด

4.47

0.697

มาก

4.58

0.769

มากที่สุด

4.74

0.452

มากที่สุด

4.59

0.664

มำกที่สุด

จากตารางที่ 11 พบว่าระดับความพึงพอใจต่อการบริหาร POSRIKIDS Management เพื่อ พัฒนาคุณ ภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 ด้านการแบ่ง ปัน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ( X = 4.59) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานมีการกระจายน้อย (S.D.= 0.664) แสดงว่าผู้ให้ข้อมูลมีความคิดเห็น สอดคล้องกัน เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า ความพึงพอใจต่อการบริหารด้านการแบ่งปันอยู่ในระดับ


38 มากและมากที่สุด ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ระหว่าง 0.452 - 0.772 ค่ามัชฌิมเลขคณิตตั้งแต่ 4.47 - 4.74 ข้ อ ที่ มี ค่ า มั ช ฌิ ม เลขคณิ ต มากที่ สุ ด คื อ ข้ อ 7 ผู้ บ ริ ห ารมี ก ารบริ ห ารจั ด การในด้ านการ แลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์และเผยแพร่ผลงาน โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ( X = 4.74, S.D.= 0.452) รองลงมา คือ ข้อ 1 ผู้บ ริหารเปิ ดโอกาสให้บุ คลากรมีการพู ดคุย เสนอและ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกันอย่างสม่าเสมอ ( X = 4.74, S.D.= 0.653) ค่ามัชฌิมเลขคณิต ต่าสุด คือ ข้อ 2 ผู้บริหารเปิดโอกาสให้บุคลากรแสดงความรู้ความสามารถและผลงานแก่ผู้ร่วมงาน ( X = 4.47, S.D.= 0.772)


39 แผนภูมิแสดงควำมพึงพอใจต่อกำรบริหำร POSRIKIDS Management เพื่อพัฒนำคุณภำพผูเ้ รียน สู่ศตวรรษที่ 21 4.70 4.60 4.50 4.40 4.30 4.20 4.10

4.00 3.90

P

O

S

R ปี 2554

I

K

ปี 2555

I ปี 2556

POSRIKIDS Management P O S R I K I D S

Planning Organizing Supporting Reviewing Improving Knowing Instructing Developing Sharing

การวางแผน การจัดองค์การ การสนับสนุน การตรวจสอบ การปรับปรุ งแก้ไข การรู ้งาน การสัง่ การ การพัฒนา การแบ่งปั น

D

S ปี 2557

เฉลี่ย


40 แผนภูมิแสดงควำมพึงพอใจต่อกำรบริหำร POSRIKIDS Management เพื่อพัฒนำคุณภำพผูเ้ รียน สู่ศตวรรษที่ 21 ด้ำนกำรวำงแผน (Planning) 4.8 4.7 4.6 4.5 4.4 4.3 4.2 4.1 4 3.9 3.8 3.7 ข้อ 1

ข้อ 2

ข้อ 3 ปี 2554

ข้ อที่ 1 2 3 4 5 6 7 8

ข้อ 4 ปี 2555

ข้อ 5

ข้อ 6

ปี 2556

ข้อ 7

ข้อ 8

เฉลี่ย

ปี 2557

ความพึงพอใจต่ อการบริหาร POSRIKIDS Management ด้ านการวางแผน (Planning) ผู้บริหารมีการศึกษาสภาพปัจจุบนั และปัญหาในการบริ หารจัดการเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรี ยน สู่ศตวรรษที่ 21 ผู้บริหารมีการวิเคราะห์สภาพปัจจุบนั ปัญหาของการบริ หารจัดการเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรี ยน สูศ่ ตวรรษที่ 21 โดย SWOT analysis ผู้บริหารมีการจัดทาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรี ยนสู่ศตวรรษที่ 21 ผู้บริหารมีการทางานตามแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ตามที่กาหนดไว้ ผู้บริหารมีการประชุมครูและบุคลากรทุกเดือน ผู้บริหารมีการประชุมผู้ปกครองนักเรี ยนอย่างน้ อยปี ละ 2 ครัง้ ผู้บริหารมีการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาอย่างน้ อยภาคเรี ยนละ 2 ครัง้ ผู้บริหารมีการบริหารจัดการในด้ านการวางแผนการทางานโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง


41 แผนภูมิแสดงควำมพึงพอใจต่อกำรบริหำร POSRIKIDS Management เพื่อพัฒนำคุณภำพผูเ้ รียน สู่ศตวรรษที่ 21 ด้ำนกำรจัดองค์กำร (Organizing) 5.00 4.50 4.00 3.50 3.00 2.50 2.00 1.50 1.00 0.50 0.00 ข้อ 1 ข้อ 2 ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5 ข้อ 6 ข้อ 7 ข้อ 8 ข้อ 9 ข้อ 10 ข้อ 11 ข้อ 12 เฉลี่ย ปี 2554

ข้ อที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12

ปี 2555

ปี 2556

ปี 2557

ความพึงพอใจต่ อการบริหาร POSRIKIDS Management ด้ านการจัดองค์ การ (Organizing) ผู้บริหารมีการจัดโครงสร้ าง ภารกิจ/ขอบข่ายงานอย่างชัดเจน ผู้บริหารมีการกาหนดรูปแบบ ขันตอน/วิ ้ ธีการดาเนินงานที่เหมาะสมกับทรัพยากรที่มีอยู่ เพื่อให้ งานบรรลุเป้าหมายที่กาหนดไว้ ผู้บริหารมีการดาเนินงานที่สอดคล้ องกับกลยุทธ์และจุดเน้ นของการบริหารงาน ผู้บริหารมีการแต่งตังคณะท ้ างานและจัดให้ มีปฏิทินการปฏิบตั งิ าน ผู้บริหารมีการมอบหมายงานโดยคานึงถึงความรู้ความสามารถ ความถนัดหรื อความสนใจ ผู้บริหารมีการแบ่งงานให้ ครูและบุคลากรรับผิดชอบอย่างทัว่ ถึง ผู้บริหารให้ ทกุ ฝ่ ายที่เกี่ยวข้ องมีสว่ นร่วมในการทางาน ผู้บริหารให้ ครูทกุ คนมีโอกาสในการทางานอย่างเสมอภาค ผู้บริหารเปิ ดโอกาสให้ ครูแสดงความคิดเห็นและรับฟังความคิดเห็น ผู้บริหารมีการให้ คาแนะนาปรึกษาและช่วยเหลือเพื่อให้ การดาเนินงานบรรลุเป้าหมายที่กาหนดไว้ อย่างมี ประสิทธิภาพ ผู้บริหารจัดให้ มีการพัฒนาครู เพื่อสร้ างความตระหนักในการทางาน ผู้บริหารมีการบริหารจัดการในด้ านการจัดองค์การโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอพียง


42 แผนภูมิแสดงควำมพึงพอใจต่อกำรบริหำร POSRIKIDS Management เพื่อพัฒนำคุณภำพผูเ้ รียน สู่ศตวรรษที่ 21 ด้ำนกำรจัดสนับสนุน (Supporting) 4.8 4.7 4.6 4.5 4.4 4.3 4.2 4.1 4 3.9 3.8 ข้อ 1

ข้อ 2 ปี 2554

ข้ อที่ 1 2 3 4 5

ข้อ 3 ปี 2555

ข้อ 4 ปี 2556

ข้อ 5

เฉลี่ย

ปี 2557

ความพึงพอใจต่ อการบริหาร POSRIKIDS Management ด้ านการจัดสนับสนุน (Supporting) ผู้บริหารสนับสนุนและส่งเสริมการปฏิบตั งิ านของบุคลากร ด้ วยวิธีการที่หลากหลาย ผู้บริหารมีการสนับสนุนงบประมาณ สื่อ วัสดุอุปกรณ์ ครุภณ ั ฑ์ และสิง่ อานวยความสะดวกในการปฏิบตั งิ าน โรงเรี ยนมีการจัดสภาพแวดล้ อมทางกายภาพและสังคมที่เอื ้อต่อการทางานและการจัดการเรี ยนการสอน ผู้บริหารมีการสร้ างขวัญและกาลังใจให้ แก่บคุ ลากรอย่างต่อเนื่อง ผู้บริหารมีการบริหารจัดการในด้ านการสนับสนุนการทางานโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอพียง


43 แผนภูมิแสดงควำมพึงพอใจต่อกำรบริหำร POSRIKIDS Management เพื่อพัฒนำคุณภำพผูเ้ รียน สู่ศตวรรษที่ 21 ด้ำนกำรตรวจสอบ (Reviewing) 6.00 5.00 4.00 3.00 2.00

1.00 0.00 ข้อ 1

ข้อ 2

ข้อ 3

ข้อ 4 ปี 2554

ข้ อที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ข้อ 5 ปี 2555

ข้อ 6

ข้อ 7

ปี 2556

ข้อ 8

ข้อ 9 ข้อ 10 เฉลี่ย

ปี 2557

ความพึงพอใจต่ อการบริหาร POSRIKIDS Management ด้ านการตรวจสอบ (Reviewing) ผู้บริหารจัดให้ มีการประชุมหัวหน้ างานและครู เพื่อตรวจสอบการปฏิบตั งิ านให้ มีความสอดคล้ องกับ นโยบาย วิสยั ทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ จุดเน้ นหรื อจุดหมายของหลักสูตรสถานศึกษา ผู้บริหารมีการตรวจสอบการดาเนินงาน เพื่อลดความเสี่ยงต่อการทางานที่ผดิ พลาดและไม่เป็ นไปตามขันตอน ้ หรื อแผนงานที่กาหนดไว้ ผู้บริหารจัดให้ มีการประชุมหัวหน้ างานและครู เพื่อทบทวนการปฏิบตั งิ าน ผู้บริหารจัดให้ มีการตรวจสอบ พิจารณาไตร่ตรองการทางานในแต่ละงานทังที ้ ่เป็ นทางการและไม่เป็ นทางการ ผู้บริหารจัดให้ มีการตรวจสอบในด้ านปัจจัยการทางาน ได้ แก่ คน งบประมาณ วัสดุสงิ่ ของ และการบริหารจัดการ ผู้บริหารจัดให้ มีการนิเทศ กากับ และติดตาม การปฏิบตั งิ านอย่างสม่าเสมอ ผู้บริหารจัดให้ มีการประเมินผลและสรุปผลการปฏิบตั งิ าน โดยจัดทาเป็ นข้ อมูลและสารสนเทศ ผู้บริหารจัดให้ มีการรายงานผลการปฏิบตั งิ านเมื่อเสร็จสิ ้น การดาเนินงานทุกงาน/โครงการ/กิจกรรม ผู้บริหารมีการข้ อมูลและสารสนเทศที่ได้ จากการประเมินผล และสรุปผลการปฏิบตั งิ านมาใช้ ในการปรับปรุง และพัฒนาประสิทธิภาพในการทางาน ผู้บริหารมีการบริหารจัดการในด้ านการตรวจสอบการปฏิบตั งิ านโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง


44 แผนภูมิแสดงควำมพึงพอใจต่อกำรบริหำร POSRIKIDS Management เพื่อพัฒนำคุณภำพผูเ้ รียน สู่ศตวรรษที่ 21 ด้ำนกำรปรับปรุงแก้ไข (Improving) 6.00 5.00 4.00 3.00 2.00

1.00 0.00 ข้อ 1

ข้ อที่ 1 2 3 4 5 6 7

ข้อ 2

ข้อ 3

ข้อ 4

ข้อ 5

ข้อ 6

ปี 2554

ปี 2555

ปี 2556

ปี 2557

ข้อ 7

เฉลี่ย

ความพึงพอใจต่ อการบริหาร POSRIKIDS Management ด้ านการปรับปรุงแก้ ไข (Improving) ผู้บริหารจัดให้ มีการปรับปรุงแก้ ไขงานในส่วนที่ผดิ พลาดและบกพร่อง ผู้บริหารจัดให้ มีการพัฒนาการปฏิบตั งิ านเพื่อให้ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ ้น ผู้บริหารจัดให้ มีการทบทวนการดาเนินงานในทุกขันตอนว่ ้ ามีปัญหา หรื ออุปสรรคใดที่ต้องแก้ ไขปรับปรุง ผู้บริหารมีการปรับปรุงและแก้ ไขประสิทธิภาพการบริหารจัดการ โดยคานึงถึงความประหยัดและคุ้มค่า ผู้บริหารมีการใช้ ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดทังในด้ ้ านทรัพยากรบุคคล งบประมาณ วัสดุครุภณ ั ฑ์ ในการบริหารงานได้ อย่างคุ้มค่า ผู้บริหารจัดให้ มีการปรับปรุงและพัฒนาผลการปฏิบตั ิให้ ดียิ่งขึ ้น เพื่อเป็ นแบบอย่างให้ กบั ผู้อื่น ผู้บริหารมีการบริหารจัดการในด้ านการปรับปรุงแก้ ไขการปฏิบตั งิ าน โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง


45 แผนภูมิแสดงควำมพึงพอใจต่อกำรบริหำร POSRIKIDS Management เพื่อพัฒนำคุณภำพผูเ้ รียน สู่ศตวรรษที่ 21 ด้ำนกำรรู้งำน (Knowing) 4.8 4.7 4.6 4.5 4.4 4.3 4.2 4.1 4 3.9 3.8 3.7 ข้อ 1 ข้อ 2 ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5 ข้อ 6 ข้อ 7 ข้อ 8 ข้อ 9 ข้อ 10 ข้อ 11 ข้อ 12 ข้อ 13 ข้อ 14 เฉลี่ย ปี 2554

ข้ อที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14

ปี 2555

ปี 2556

ปี 2557

ความพึงพอใจต่ อการบริ หาร POSRIKIDS Management ด้ านการรู้ งาน (Knowing) ผู้บริ หารเป็ นผู้ที่มีความรู้ ในความสามารถในการบริ หารงาน ผู้บริ หารเป็ นผู้ที่มีความใฝ่ ร้ ู ใฝ่ เรี ยนเพื่อการพัฒนาตนเอง ให้ มีความรู้ ความสามารถในการทางานในหน้ าที่ ผู้บริ หารมีการส่งเสริ มและพัฒนาครู ให้ มีความรู้ ความสามารถในการทางานอย่างแท้ จริ ง ผู้บริ หารส่งเสริ มให้ ครู ศกึ ษาหาความรู้ โดยการประชุม อบรม สัมมนา ศึกษาดูงานหรื อศึกษาต่อในระดับที่สงู ขึน้ ตามความต้ องการและความสนใจ ครู มีความรู้ ความเข้ าใจในบทบาทหน้ าทีแ่ ละภาระงานที่ได้ รับมอบหมาย ครู มีความสามารถในการทางานทีไ่ ด้ รับมอบหมาย จึงทาให้ การทางานไม่ผิดพลาด หรื อการทางานมีความผิดพลาดน้ อยมาก ผู้บริ หารมีความรับผิดชอบและมีความละเอียดรอบคอบในการทางาน ครู มีความรับผิดชอบและมีความละเอียดรอบคอบในการทางาน ผู้บริ หารส่งเสริ มให้ ครู มีความรู้ ความสามารถในการทางาน และจัดการเรี ยนการสอนตามความสนใจ ครู มีความรู้ ความสามารถในการจัดการเรี ยนการสอนเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรี ยนสู่ศตวรรษที่ 21 ครู มีความรู้ ความสามารถในการจัดการเรี ยนการสอนเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรี ยนเต็มตามศักยภาพ ครู มีความรู้ ความสามารถในการจัดการเรี ยนการสอนและการจัดกิจกรรมต่างๆ เพื่อพัฒนาคุณธรรมจริ ยธรรมนักเรี ยน ครู มีความรู้ ความสามารถในการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยนเพื่อให้ มีคณ ุ ลักษณะที่พงึ ประสงค์ตามหลักสูตร ผู้บริ หารมีการบริ หารจัดการในด้ านความรู้ หรื อการเสริ มสร้ างความรู้ ในงานที่ทาแก่บุคลากร โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง


46 แผนภูมิแสดงควำมพึงพอใจต่อกำรบริหำร POSRIKIDS Management เพื่อพัฒนำคุณภำพผูเ้ รียน สู่ศตวรรษที่ 21 ด้ำนกำรสั่งกำร (Instructing) 4.8 4.7 4.6 4.5 4.4 4.3 4.2 4.1 4 3.9 ข้อ 1

ข้ อที่ 1 2 3 4 5 6 7

ข้อ 2

ข้อ 3

ข้อ 4

ข้อ 5

ข้อ 6

ปี 2554

ปี 2555

ปี 2556

ปี 2557

ข้อ 7

ความพึงพอใจต่ อการบริหาร POSRIKIDS Management ด้ านการสั่งการ (Instructing) ผู้บริหารมีการทางานที่เป็ นระบบและขันตอน ้ PDCA ผู้บริหารมีการมอบหมายงานในแต่ละงานเป็ นลายลักษณ์อกั ษร ผู้บริหารมีการให้ คาแนะนาในการปฏิบตั งิ านแก่ครู ผู้บริหารจัดให้ มีการสอนงานแก่ผ้ ปู ฏิบตั งิ านใหม่หรื อผู้ที่ไม่มีประสบการณ์ ในการทางานนันๆ ้ ผู้บริหารมีคาสัง่ มอบหมายงานในแต่ละงานอย่างชัดเจน จึงทาให้ การทางานไม่ซ ้าซ้ อน ผู้บริหารมีคาสัง่ มอบหมายงานในแต่ละงานอย่างชัดเจน จึงทาให้ สามารถกากับ ติดตามและตรวจสอบการทางานได้ ง่าย ผู้บริหารมีการบริหารจัดการในด้ านการสัง่ การโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

เฉลี่ย


47 แผนภูมิแสดงควำมพึงพอใจต่อกำรบริหำร POSRIKIDS Management เพื่อพัฒนำคุณภำพผูเ้ รียน สู่ศตวรรษที่ 21 ด้ำนกำรพัฒนำ (Developing) 5 4.8 4.6 4.4 4.2

4 3.8 ข้อ 1

ข้อ 2

ข้อ 3

ข้อ 4 ปี 2554

ข้ อที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ข้อ 5 ปี 2555

ข้อ 6

ข้อ 7

ปี 2556

ข้อ 8

ข้อ 9

ข้อ 10

เฉลี่ย

ปี 2557

ความพึงพอใจต่ อการบริหาร POSRIKIDS Management ด้ านการพัฒนา (Developing) ผู้บริหารจัดให้ มีการพัฒนางานให้ มีความก้ าวหน้ าและมีประสิทธิภาพในทุกงาน/โครงการ/กิจกรรม ผู้บริหารจัดให้ มีการพัฒนางานให้ มีความก้ าวหน้ าและมีประสิทธิภาพโดยพิจารณาในด้ านการใช้ เวลาอย่างคุ้มค่า ผู้บริ หารจัดให้ มีการพัฒนางานให้ มีความก้ าวหน้ าและมีประสิทธิภาพโดยพิจารณาในด้ า นการเสียค่าใช้ จ่ายน้ อย ที่สดุ ผู้บริหารจัดให้ มีการพัฒนางานให้ มีความก้ าวหน้ าและมีประสิทธิภาพโดยการพัฒนาบุคลากร ผู้บริหารจัดให้ มีการพัฒนางานให้ มีความก้ าวหน้ าและมีประสิทธิภาพโดยการสนับสนุนด้ านงบประมาณ ผู้บริหารจัดให้ มีการพัฒนางานให้ มีความก้ าวหน้ าและมีประสิทธิภาพ โดยพิจารณาในด้ านวัสดุอปุ กรณ์หรื อเครื่ องมือในการทางาน ผู้บริหารจัดให้ มีการพัฒนางานให้ มีความก้ าวหน้ าและมีประสิทธิภาพ โดยพิจารณาในด้ านวิธีการดาเนินงานและการปฏิบตั งิ าน ผู้บริหารจัดให้ มีการพัฒนางานให้ มีความก้ าวหน้ าและมีประสิทธิภาพโดยพิจารณาในด้ านการบริหารจัดการ ผู้บริหารจัดให้ มีการพัฒนางานให้ มีความก้ าวหน้ าและมีประสิทธิภาพ โดยพิจารณาไตร่ตรองปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ ้นในทุกด้ าน ผู้บริหารมีการบริหารจัดการในด้ านการพัฒนางานโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง


48 แผนภูมิแสดงควำมพึงพอใจต่อกำรบริหำร POSRIKIDS Management เพื่อพัฒนำคุณภำพผูเ้ รียน สู่ศตวรรษที่ 21 ด้ำนกำรแบ่งปัน (Sharing) 4.8 4.7 4.6 4.5 4.4 4.3 4.2 4.1 4 3.9 ข้อ 1

ข้ อที่ 1 2 3 4 5 6 7

ข้อ 2

ข้อ 3

ข้อ 4

ข้อ 5

ข้อ 6

ปี 2554

ปี 2555

ปี 2556

ปี 2557

ข้อ 7

เฉลี่ย

ความพึงพอใจต่ อการบริหาร POSRIKIDS Management ด้ านการแบ่ งปั น (Sharing) ผู้บริหารเปิ ดโอกาสให้ บคุ ลากรมีการพูดคุยเสนอและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกันอย่างสม่าเสมอ ผู้บริหารเปิ ดโอกาสให้ บคุ ลากรแสดงความรู้ความสามารถและผลงานแก่ผ้ รู ่ วมงาน ผู้บริหารเปิ ดโอกาสให้ บคุ ลากรแสดงความรู้ความสามารถและผลงานแก่ผ้ ทู ี่เกี่ยวข้ องภายนอกสถานศึกษา ผู้บริหารจัดให้ มีการรายงานผลการปฏิบตั งิ านเพื่อขยายผลและเผยแพร่ผลงานที่เป็ นแบบอย่างให้ แก่ผ้ อู ื่น และสาธารณชน ผู้บริหารจัดให้ มีการเผยแพร่ และขยายผลที่ได้ จากการเข้ าประชุม อบรม สัมมนาและศึกษาดูงานแก่ผ้ รู ่ วมงานทุก คน ผู้บริหารจัดให้ มีการเผยแพร่ผลงานของโรงเรี ยน ครู และนักเรี ยน ด้ วยวิธีการที่หลากหลาย เช่น จัดนิทรรศการ การจัดทาแผ่นพับ เอกสารสิง่ พิมพ์ และการเผยแพร่ทางอินเทอร์ เน็ต เป็ นต้ น ผู้บริหารมีการบริหารจัดการในด้ านการแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์และเผยแพร่ผลงาน โดยยึดหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง


49 แบบสอบถำมควำมพึงพอใจต่อกำรบริหำร “POSRIKIDS Management เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21” โรงเรียนวัดโพธิ์ศรีสุขาราม ปีการศึกษา ............... ......................................................... ตอนที่ 1 แบบสอบถามเกี่ยวกับสถานภาพส่วนตัวของผู้ตอบแบบสอบถาม คำชี้แจง โปรดทาเครื่องหมาย  ลงใน  หน้าข้อความที่ตรงกับสภาพความเป็นจริงในปัจจุบันของท่าน 1. เพศ  ชาย  หญิง 2. อายุ (เศษปีที่เกิน 6 เดือน นับเพิ่มอีกหนึ่งปี)  ไม่เกิน 30 ปี  31 - 40 ปี  41 ปีขึ้นไป 3. ระดับการศึกษาสูงสุด  ต่ากว่าปริญญาตรี  ปริญญาตรี  ปริญญาโท 4. ประสบการณ์ในการทางาน (เศษปีที่เกิน 6 เดือน นับเพิ่มอีกหนึ่งปี)  ไม่เกิน 10 ปี  11 - 30 ปี  31 ปีขึ้นไป 5. ตาแหน่งหน้าที่หลักในโรงเรียน  หัวหน้างาน  ครู  กรรมการสถานศึกษา ตอนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับความพึงพอใจต่อการบริหาร POSRIKIDS Management เพื่อพัฒนา คุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 คำชี้แจง โปรดใส่เครื่องหมาย / ลงในช่องที่ตรงกับความพึงพอใจของท่าน ดังนี้ ระดับ 5 หมายถึง มีความพึงพอใจต่อการบริหาร POSRIKIDS Management เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 ในระดับมากที่สุด ระดับ 4 หมายถึง มีความพึงพอใจต่อการบริหาร POSRIKIDS Management เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 ในระดับมาก ระดับ 3 หมายถึง มีความพึงพอใจต่อการบริหาร POSRIKIDS Management เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 ในระดับปานกลาง ระดับ 2 หมายถึง มีความพึงพอใจต่อการบริหาร POSRIKIDS Management เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 ในระดับน้อย ระดับ 1 หมายถึง มีความพึงพอใจต่อการบริหาร POSRIKIDS Management เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 ในระดับน้อยที่สุด


50 กำรบริหำรแบบ POSRIKIDS Management เพื่อพัฒนำคุณภำพผู้เรียน ระดับควำมพึงพอใจ สู่ศตวรรษที่ 21 5 4 3 2 1 P-Planning วำงแผน 1 ผู้บ ริห ารมี ก ารศึ กษาสภาพปั จจุ บั น และปั ญ หาในการบริห ารจั ด การเพื่ อ พัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 2 ผู้บ ริห ารมีก ารวิเคราะห์ ส ภาพปั จ จุบั นปั ญ หาของการบริห ารจัด การเพื่ อ พัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 โดย SWOT analysis 3 ผู้บริหารมีการจัดทาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ ศตวรรษที่ 21 4 ผู้บริหารมีการทางานตามแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ตามที่กาหนดไว้ 5 ผู้บริหารมีการประชุมครูและบุคลากรทุกเดือน 6 ผู้บริหารมีการประชุมผู้ปกครองนักเรียนอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง 7 ผู้บริหารมีการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาอย่างน้อย ภาคเรียนละ 2 ครั้ง 8 ผู้บ ริห ารมี การบริ ห ารจัด การในด้ านการวางแผนการทางานโดยยึ ดหลั ก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอพียง O-Organizing กำรจัดองค์กำร 9 ผู้บริหารมีการจัดโครงสร้างการบริหารงานที่ชัดเจน 10 ผู้บริหารมีการกาหนดภารกิจ/ขอบข่ายงานในแต่ละงานอย่างชัดเจน 11 ผู้บริหารมีการกาหนดรูปแบบการทางานที่เหมาะสมกับทรัพยากรที่มีอยู่ 12 ผู้บริหารมีการกาหนดขั้นตอน/วิธีการดาเนินงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่ กาหนดไว้ 13 ผู้บริหารมีการดาเนินงาน/โครงการ/กิจกรรม/เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ที่ สอดคล้องกับกลยุทธ์และจุดเน้นของการบริหารงาน 14 ผู้บริหารจัดให้มีปฏิทินการปฏิบัติงาน/โครงการ/กิจกรรม 15 ผู้บริหารมีการแต่งตั้งคณะทางานในแต่ละงาน/กิจกรรม 16 ผู้บริหารมีการวิเคราะห์ความรู้ความสามารถของบุคลากรในการปฏิบัติงาน แต่ละงาน 17 ผู้บริหารมีการมอบหมายงานโดยคานึงถึงความรู้ความสามารถ ความถนัด หรือความสนใจ 18 ผู้บริหารมีการแบ่งงานให้ครูและบุคลากรรับผิดชอบอย่างทั่วถึงและเสมอ ภาค ข้อที่

ลลลล


51 กำรบริหำรแบบ POSRIKIDS Management เพื่อพัฒนำคุณภำพผู้เรียน ระดับควำมพึงพอใจ สู่ศตวรรษที่ 21 5 4 3 2 1 19 ผู้บริหารให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการทางาน 20 ผู้บริหารให้ครูทุกคนมีโอกาสในการทางานอย่างเสมอภาค 21 ผู้บริหารเปิดโอกาสให้ครูแสดงความคิดเห็นและรับฟังความคิดเห็น 22 ผู้บริหารจัดให้มีการนิเทศ กากับติดตามการทางาน 23 ผู้บ ริห ารให้ คาแนะน าปรึก ษาและช่ว ยเหลื อเพื่ อให้ การดาเนิ นงานบรรลุ เป้าหมายที่กาหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ 24 ผู้บริหารจัดให้มีการพัฒนาครู เพื่อสร้างความตระหนักในการทางาน 25 ผู้บริหารมีการบริหารจัดการในด้านการจัดองค์การโดยยึดหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอพียง R-Reviewing กำรตรวจสอบ 26 ผู้ บ ริ ห ารจั ด ให้ มี ก ารประชุ ม หั ว หน้ า งานและครู เพื่ อ ตรวจสอบ การ ปฏิบัติงานให้มีความสอดคล้องกับนโยบาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ จุดเน้นหรือจุดหมายของหลักสูตรสถานศึกษา 27 ผู้บริหารมีการตรวจสอบการดาเนินงาน เพื่อลดความเสี่ยงต่อการทางานที่ ผิดพลาดและไม่เป็นไปตามขั้นตอนหรือแผนงานที่กาหนดไว้ 28 ผู้ บ ริ ห ารจั ด ให้ มี ก ารประชุ ม หั ว หน้ า งานและครู เพื่ อ ทบทวน การ ปฏิบัติงาน 29 ผู้บริหารจัดให้มีการตรวจสอบ พิจารณาไตร่ตรองการทางาน ในแต่ละ งานทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ 30 ผู้ บ ริ ห ารจั ด ให้ มี ก ารตรวจสอบในด้ า นปั จ จั ย การท างาน ได้ แ ก่ คน งบประมาณ วัสดุสิ่งของ และการบริหารจัดการ 31 ผู้ บ ริ ห ารจั ด ให้ มี ก ารนิ เทศ ก ากั บ และติ ด ตาม การปฏิ บั ติ ง าน อย่ า ง สม่าเสมอ 32 ผู้บริหารจัดให้มีการประเมินผลและสรุปผลการปฏิบัติงาน โดยจัดทา เป็นข้อมูลและสารสนเทศ 33 ผู้ บ ริ ห ารจั ด ให้ มี ก ารรายงานผลการปฏิ บั ติ ง านเมื่ อ เสร็ จ สิ้ น การ ดาเนินงานทุกงาน/โครงการ/กิจกรรม 34 ผู้บริหารมีการข้อมูลและสารสนเทศที่ได้จากการประเมินผล และสรุปผล การปฏิบัติงานมาใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาประสิทธิภาพในการทางาน ข้อที่

Hhhh


52 กำรบริหำรแบบ POSRIKIDS Management เพื่อพัฒนำคุณภำพผู้เรียน ระดับควำมพึงพอใจ สู่ศตวรรษที่ 21 5 4 3 2 1 35 ผู้บริหารมีการบริหารจัดการในด้านการตรวจสอบการปฏิบัติงานโดยยึดหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอพียง I-Improving กำรปรับปรุงแก้ไข 36 ผู้บริหารจัดให้มีการปรับปรุงแก้ไขงานในส่วนที่ผิดพลาดและบกพร่อง 37 ผู้ บ ริ ห ารจั ด ให้ มี ก ารพั ฒ นาการปฏิ บั ติ ง านเพื่ อ ให้ แ ผนงาน/โครงการ/ กิจกรรมมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 38 ผู้บ ริหารจัดให้มีการทบทวนการดาเนินงานในทุกขั้นตอนว่ามีปัญ หาหรือ อุปสรรคใดที่ต้องแก้ไขปรับปรุง 39 ผู้ บ ริ ห ารมี ก ารปรั บ ปรุ งและแก้ ไ ขประสิ ท ธิ ภ าพการบริ ห ารจั ด การโดย คานึงถึงความประหยัดและคุ้มค่า 40 ผู้บ ริห ารมีก ารใช้ท รัพ ยากรที่ มีอ ยู่อ ย่างจากั ดทั้ ง ในด้านทรัพ ยากรบุค คล งบประมาณ วัสดุครุภัณฑ์ ในการบริหารงานได้อย่างคุ้มค่า 41 ผู้บริหารจัดให้มีการปรับปรุงและพัฒนาผลการปฏิบัติให้ดียิ่งขึ้น เพื่อเป็น แบบอย่างให้กับผู้อื่น 42 ผู้ บ ริ ห ารมี ก ารบริ ห ารจั ด การในด้ า นการปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ข การ ปฏิบัติงานโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอพียง K-Knowing กำรรู้งำน 43 ผู้บริหารเป็นผู้ที่มีความรู้ในความสามารถในการบริหารงาน 44 ผู้บ ริห ารเป็ น ผู้ที่ มี ความใฝ่ รู้ใฝ่เรีย นเพื่ อการพั ฒ นาตนเอง ให้มี ค วามรู้ ความสามารถในการทางานในหน้าที่ 45 ผู้บริหารมีการส่งเสริมและพัฒนาครูให้มีความรู้ความสามารถ ในการทางาน อย่างแท้จริง 46 ผู้ บ ริ ห ารส่ งเสริ ม ให้ ค รูศึ ก ษาหาความรู้ โดยการประชุ ม อบรม สั ม มนา ศึกษาดูงานหรือศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้นตามความต้องการและความสนใจ 47 ครูมีความรู้ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่และภาระงานที่ได้รับมอบหมาย 48 ครูมีความสามารถในการทางานที่ได้รับมอบหมาย จึงทาให้ การทางาน ไม่ผิดพลาดหรือการทางานมีความผิดพลาดน้อยมาก 49 ผู้บริหารมีความรับผิดชอบและมีความละเอียดรอบคอบในการทางาน 50 ครูมีความรับผิดชอบและมีความละเอียดรอบคอบในการทางาน ข้อที่


53 ยยยยยย

กำรบริหำรแบบ POSRIKIDS Management เพื่อพัฒนำคุณภำพผู้เรียน ระดับควำมพึงพอใจ สู่ศตวรรษที่ 21 5 4 3 2 1 51 ผู้บริหารส่งเสริมให้ครูมีความรู้ความสามารถในการทางาน และจัดการ เรียนการสอนตามความสนใจ 52 ครูมีความรู้ความสามารถในการจัดการเรียนการสอนเพื่ อพั ฒนาคุณ ภาพ ผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 53 ครูมีความรู้ความสามารถในการจัดการเรียนการสอนเพื่ อพั ฒนาคุณ ภาพ ผู้เรียนเต็มตามศักยภาพ 54 ครูมีความรู้ความสามารถในการจัดการเรียนการสอนและการจัดกิจกรรม ต่างๆ เพื่อพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมนักเรียน 55 ครู มี ค วามรู้ ค วามสามารถในการจั ด กิ จ กรรมพั ฒ นาผู้ เ รี ย นเพื่ อ ให้ มี คุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตร 56 ผู้บริหารมีการบริหารจัดการในด้านความรู้หรือการเสริมสร้างความรู้ในงาน ที่ทาแก่บุคลากรโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง I-Instructing กำรสั่งกำร 57 ผู้บริหารมีการทางานที่เป็นระบบและขั้นตอน PDCA 58 ผู้บริหารมีการมอบหมายงานในแต่ละงานเป็นลายลักษณ์อักษร 59 ผู้บริหารมีการให้คาแนะนาในการปฏิบัติงานแก่ครู 60 ผู้บริหารจัดให้มีการสอนงานแก่ผู้ปฏิบัติงานใหม่หรือผู้ที่ไม่มีประสบการณ์ใน การทางานนั้นๆ 61 ผู้บริหารมีคาสั่งมอบหมายงานในแต่ละงานอย่างชัดเจน จึงทาให้การทางาน ไม่ซ้าซ้อน 62 ผู้บริหารมีคาสั่งมอบหมายงานในแต่ละงานอย่างชัดเจน จึง ทาให้สามารถ กากับ ติดตามและตรวจสอบการทางานได้ง่าย 63 ผู้บ ริห ารมี ก ารบริ ห ารจั ด การในด้ านการสั่ ง การโดยยึ ด หลั ก ปรัช ญาของ เศรษฐกิจพอพียง D-Developing กำรพัฒนำ 64 ผู้บริหารจัดให้มีการพั ฒนางานให้มีความก้าวหน้าและ มีประสิทธิภาพใน ทุกงาน/โครงการ/กิจกรรม 65 ผู้บริหารจัดให้มีการพัฒนางานให้มีความก้าวหน้าและ มีประสิทธิภาพโดย พิจารณาในด้านการใช้เวลาอย่างคุ้มค่า 66 ผู้บริหารจัดให้มีการพัฒนางานให้มีความก้าวหน้าและ มีประสิทธิภาพโดย พิจารณาในด้านการเสียค่าใช้จ่ายน้อยที่สุด 67 ผู้บริหารจัดให้มีการพัฒนางานให้มีความก้าวหน้าและ มีประสิทธิภาพโดย การพัฒนาบุคลากร ข้อที่


54 กำรบริหำรแบบ POSRIKIDS Management เพื่อพัฒนำคุณภำพผู้เรียน สู่ศตวรรษที่ 21 68 ผู้บริหารจัดให้มีการพัฒนางานให้มีความก้าวหน้าและ มีประสิทธิภาพโดย การสนับสนุนด้านงบประมาณ 69 ผู้บริหารจัดให้มีการพัฒนางานให้มีความก้าวหน้าและ มีประสิทธิภาพโดย พิจารณาในด้านวัสดุอุปกรณ์หรือเครื่องมือในการทางาน 70 ผู้บริหารจัดให้มีการพัฒนางานให้มีความก้ าวหน้าและ มีประสิทธิภาพโดย พิจารณาในด้านวิธีการดาเนินงานและการปฏิบัติงาน 71 ผู้บริหารจัดให้มีการพัฒนางานให้มีความก้าวหน้าและ มีประสิทธิภาพโดย พิจารณาในด้านการบริหารจัดการ 72 ผู้บริหารจัดให้มีการพัฒนางานให้มีความก้าวหน้าและ มีประสิทธิภาพโดย พิจารณาไตร่ตรองปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นในทุกด้าน 73 ผู้บริหารมีการบริหารจัดการในด้านการพัฒนางานโดยยึดหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอพียง S-Sharing กำรแบ่งปัน 74 ผู้บ ริห ารเปิ ด โอกาสให้ บุ ค ลากรมี ก ารพู ด คุ ย เสนอและแลกเปลี่ ย นความ คิดเห็นซึ่งกันและกันอย่างสม่าเสมอ 75 ผู้บ ริห ารเปิดโอกาสให้บุคลากรแสดงความรู้ค วามสามารถและผลงานแก่ ผู้ร่วมงาน 76 ผู้บริหารเปิดโอกาสให้บุคลากรแสดงความรู้ความสามารถและผลงานแก่ผู้ที่ เกี่ยวข้องภายนอกสถานศึกษา 77 ผู้บริห ารจัด ให้ มีก ารรายงานผลการปฏิบั ติง านเพื่ อขยายผลและเผยแพร่ ผลงานที่เป็นแบบอย่างให้แก่ผู้อื่นและสาธารณชน 78 ผู้บริหารจัดให้ มีการเผยแพร่และขยายผลที่ ได้จากการเข้าประชุ ม อบรม สัมมนาและศึกษาดูงานแก่ผู้ร่วมงานทุกคน 79 ผู้บ ริห ารจั ดให้ มี การเผยแพร่ผ ลงานของโรงเรียน ครู และนัก เรี ยน ด้ว ย วิธีการที่หลากหลาย เช่น จัดนิทรรศการ การจัดทาแผ่นพับ เอกสารสิ่งพิมพ์ และการเผยแพร่ทางอินเทอร์เน็ต เป็นต้น 80 ผู้บริหารมีการบริหารจัดการในด้านการแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ และเผยแพร่ผลงาน โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอพียง ข้อที่

ระดับควำมพึงพอใจ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.