บทความเผยแพร่ ทางวารสารสิ่ งพิมพ์ สอนงานอาชีพอย่ างไรให้ นักเรียนเกิดความคิดสร้ างสรรค์ ในศตวรรษที่ 21 ถือเป็ นช่วงเวลาที่ทา้ ทายความสามารถของมนุ ษย์ เพราะเป็ นยุคที่โลกต้อง เผชิ ญกับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ ว ประกอบกับข้อมูลข่าวสารทุกอย่างก็ไม่ได้จากัด อยูเ่ พียงเฉพาะรอบตัวเราอีกต่อไป แค่เพียงคลิกที่ปลายนิ้ว เราก็สามารถก้าวข้าวพรมแดนไปได้ทุก ซอกทุกมุมโลก ซึ่ งแวดวงทางการศึ กษาทัว่ โลกต่างก้าวพ้นรู ปแบบการเรี ยนการสอนที่ใช้ครู เป็ น ศูนย์กลาง มาเป็ นการเรี ยนรู ้ ในแบบกระบวนทัศน์ใหม่ เรี ยกได้ว่าเป็ นการจัดการศึกษายุคฐานแห่ ง เทคโนโลยี หรื อ Technology Based Paradigm ดังนั้น จึงกล่าวได้ว่าในยุคศตวรรษที่ 21 จะเห็ น การเปลี่ ยนแปลงของโลก ซึ่ งส่ งผลกระทบที่สาคัญภายในและภายนอกประเทศในด้านเศรษฐกิ จ สั ง คม และเทคโนโลยีที่ เ ข้า มามี บ ทบาทต่ อ การดารงชี วิต ของคนในชาติ ที่ ไ ม่ อาจหลี ก เลี่ ย งได้ การปรับเปลี่ยนที่รวดเร็ ว และความซับซ้อนจาเป็ นต้องสร้างภูมิคุม้ กันเพื่อเตรี ยมความพร้อมของคน สังคม และระบบเศรษฐกิ จ ให้สามารถปรับตัวรองรับผลกระทบจากการเปลี่ ยนแปลงที่เหมาะสม กล่ า วคื อ ต้องพัฒ นาคนไทยให้ มี ก ารเรี ย นรู ้ ตลอดชี วิ ต และต่ อเนื่ องในเรื่ อ งการศึ ก ษา ทัก ษะ การทางาน และการดาเนิ นชี วิต เพื่อเป็ นการยกระดับคุณภาพให้คนไทยทุกกลุ่มทุกวัยมีความพร้อม ทั้งกาย ใจ และสติปัญญา ตลอดจนมีระเบียบวินยั มีจิตสานึ กวัฒนธรรมที่ดีงามและรู ้ ค่าความเป็ น ไทย ในศตวรรษที่ 21 มีทกั ษะพื้นฐานการเรี ยนรู ้ซ่ ึ งเป็ นทักษะชี วิตที่สาคัญของผูเ้ รี ยน ได้แก่ ทักษะ การอ่าน ทักษะการเขียน ทักษะการคิดเลข ทักษะการคิดวิเคราะห์ ทักษะการคิดสร้ างสรรค์ ทักษะ การแก้ปัญหา และทักษะการทางานเป็ นทีม ซึ่ งทักษะเหล่านี้ เป็ นทักษะพื้นฐานที่มุ่งเน้นให้เกิดกับ ผูเ้ รี ยน เนื่ องจากในศตวรรษที่ 21 การจัดการเรี ยนการสอนจะไม่ได้มุ่งเป้ าหมายสาคัญที่นักเรี ยน จะต้องได้ความรู ้ แต่เป้ าหมายสาคัญคือ การพัฒนาทักษะการเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยน เพื่อเป็ นเส้นทางไปสู่ ความรู ้ที่ตอ้ งการ และทักษะเหล่านี้ เป็ นทักษะพื้นฐานของผูเ้ รี ยนในการเรี ยนวิชาการงานอาชีพและ เทคโนโลยี เช่ นเดี ยวกัน โดยเฉพาะทักษะการคิ ดวิเคราะห์ ทัก ษะการคิ ดสร้ างสรรค์ ทักษะการ แก้ปัญหา และทักษะการทางานเป็ นทีม เป็ นหัวใจสาคัญของการพัฒนาผูเ้ รี ยนในการจัดการเรี ยนรู ้ วิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี ในปั จจุบนั จากการศึกษาเอกสารและงานวิจยั ต่าง ๆ สะท้อนให้เห็นว่าการจัดกระบวนการ เรี ยนรู ้ การงานอาชี พและเทคโนโลยี ที่จะส่ งเสริ มหรื อพัฒนาทักษะการปฏิ บตั ิ งานประดิ ษฐ์อย่าง สร้างสรรค์ยงั ไม่ประสบความสาเร็ จ ตัวชี้ วดั สาคัญที่บ่งบอกว่า ผูเ้ รี ยนมีความคิดสร้างสรรค์หรื อไม่ นั้น ก็คือ ผลงานที่เป็ นความคิดสร้างสรรค์ทางด้านการงานอาชี พและเทคโนโลยีของนักเรี ยน ทั้ง ความคิดสร้ างสรรค์ที่เป็ นกระบวนการคิดหรื อ วิธีคิดและความคิดสร้ างสรรค์ที่เป็ นผลผลิ ตหรื อ
ชิ้นงาน ซึ่ งมีนอ้ ยมาก สภาพดังกล่าวบ่งบอกถึงความอ่อนด้อยในการจัดการเรี ยนการสอนของครู ที่ จัดกระบวนการเรี ยนการสอนไม่ได้มุ่งเน้นให้นกั เรี ยนได้เรี ยนรู ้ โดยการปฏิบตั ิ (Active Learning) โดยเฉพาะการได้ฝึกปฏิบตั ิเรื่ องราวที่ สัมพันธ์กบั ชี วิตจริ ง เพื่อให้เกิดการเรี ยนรู ้เพื่อการนาไปใช้ใน การแก้ปัญหาและพัฒนาอาชี พเป็ นการเรี ยนรู ้เพื่อชี วิต (Authentic learning) ซึ่ งเป็ นทางหลักในการ จัดการเรี ยนการสอนกลุ่ มสาระการเรี ยนรู ้ การงานอาชี พและเทคโนโลยี การพัฒนากระบวนการ จัดการเรี ยนรู ้ของครู ผูส้ อนการงานอาชีพและเทคโนโลยีที่จะส่ งเสริ มทักษะการปฏิบตั ิงานประดิษฐ์ อย่างสร้างสรรค์ของผูเ้ รี ยนจึงเป็ นงานเร่ งด่วนที่จะต้องดาเนิ นการ จากปั ญ หาดัง กล่ า วได้มี นัก วิ ช าการศึ ก ษาและครู ผู ้ส อนหลายท่ า นได้พ ยายามคิ ด ค้น นวัตกรรมการจัดกระบวนการเรี ย นการสอนเพื่ อพัฒนาความคิ ดสร้ างสรรค์ใ นการปฏิ บ ัติงาน ประดิษฐ์ของนักเรี ยน หนึ่ งในจานวนหลาย ๆ ท่าน ได้แก่ อาจารย์เพชรรัตน์ นามมัน่ ครู ชานาญ การพิเศษ โรงเรี ยนตลาดสารอง สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 ได้พฒั นารู ปแบบการเรียนการสอนการงานอาชีพและเทคโนโลยีตามหลักการทางานแบบมีส่วนร่ วม เพื่อส่ งเสริมทักษะการปฏิบัติงานประดิษฐ์ อย่างสร้ างสรรค์ ของนักเรียน โดยมี ข้ นั ตอนกระบวนการเรี ย นการสอน 6 ขั้นตอนดังนี้ ขั้นที่ 1 การร่ วมรับรู ้ (Receiving : R) จัดกิจกรรมเพื่อให้นกั เรี ยนได้ร่วมกันศึกษาความรู ้ อัน เป็ นข้อ มู ล พื้ น ฐานงานประดิ ษ ฐ์ ด้ า นนั้ น ๆ ตลอดจนร่ วมกันศึกษาขั้นตอนการประดิ ษฐ์ และ ได้ ร่ วมกั น ทดลองประดิ ษ ฐ์ ต ามแบบที่ ค รู ได้ ออกแบบไว้ จนเกิ ด ความเข้า ใจและเห็ น แนว ทางการปฏิบตั ิที่ชดั เจน ขั้นที่ 2 การร่ วมคิดและตัดสิ นใจ (DecisionMaking : D) จัดกิจกรรมเพื่อให้นกั เรี ยนร่ วมกันระดม ความคิดในการประดิ ษฐ์งานนั้น ๆ อย่างหลากหลาย และร่ วมกันตัดสิ นใจในการประดิษฐ์ชิ้นงาน นั้นอย่างสร้างสรรค์ และมีเหตุผลตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ขั้นที่ 3 การร่ วมวางแผน (Planning : P)จัดกิจกรรมเพื่อให้นกั เรี ยนได้ร่วมกันออกแบบชิ้ นงานการประดิษฐ์ ตามความคิด สร้ า งสรรค์ และร่ วมกันวางแผนการปฏิ บ ตั ิ ง าน โดยการก าหนดวัส ดุ อุ ป กรณ์ ก าหนดขั้นตอน ปฏิบตั ิงาน แบ่งความรับผิดชอบ ขั้นที่ 4 การร่ วมปฏิบตั ิ(Doing : D)จัดกิจกรรมเพื่อให้นกั เรี ยนได้ ร่ วมกันปฏิบตั ิงานการประดิษฐ์ตามแผนที่วางไว้ และร่ วมกันสังเกตและสะท้อนผลการปฏิบตั ิในแต่ ละขั้นตอนของการปฏิบตั ิงานประดิษฐ์ ขั้นที่ 5 การร่ วมประเมินผล (Evaluating : E )จัดกิจกรรม
เพื่อให้นักเรี ยนได้ร่วมกันวิเคราะห์และประเมินผลการปฏิ บตั ิ งานประดิ ษฐ์ โดยใช้ทฤษฎี การคิ ด วิเคราะห์ หมวกความคิ ดหกใบ รวมทั้ง ร่ วมกัน เสนอแนะเพื่ อการปรั บ ปรุ ง พัฒนางาน ขั้น ที่ 6 การร่ วมรับผลประโยชน์ (Benefit: B) จัดกิจกรรมให้นกั เรี ยนร่ วมกันชื่ นชมผลงานของตนเองและ ของกลุ่ ม อื่ น ๆ ตลอดจนร่ วมกันเสนอแนะแนวทางในการนาผลงานไปประยุกต์ใ ช้เพื่ อให้เกิ ด ประโยชน์ต่อตนเอง สมาชิกในกลุ่มและประโยชน์ต่อส่ วนรวม รู ปแบบการเรี ยนการสอนดังกล่าวมี ชื่ อว่า อาร์ ดีพีดีอีบี (RDPDEB Model) ผลจากการนารู ปแบบการเรี ยนการสอน ไปทดลองใช้กบั นักเรี ยน ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 โรงเรี ยนตลาดสารองพบว่าหลังการทดลองนักเรี ยนมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ย นพัฒนาขึ้ นจากก่ อนการทดลอง และนัก เรี ย นมี ทกั ษะการปฏิ บ ตั ิ ง านประดิ ษฐ์อย่า ง สร้างสรรค์ระหว่างเรี ยนอยู่ในระดับสู งมาก ส่ วนความคิ ดสร้ างสรรค์ในการปฏิ บตั ิงานประดิ ษฐ์ หลังเรี ยนพบว่าอยูใ่ นระดับสู งมากเช่นเดียวกัน ข้อค้นพบดังกล่าวเกิดจากการนาเอาหลักการแนวคิด การมีส่วนร่ วมมาใช้และที่สาคัญนักเรี ยนได้มีส่วนร่ วมในการปฏิบตั ิงานทุกขั้นตอนอยูใ่ นระดับมาก และยัง ค้น พบอี ก ว่ า นั ก เรี ยนมี ค วามพึ ง พอใจต่ อ การจัด การเรี ยนรู ้ ต ามรู ปแบบอาร์ ดี พี ดี อี บี (RDPDEB Model) ในระดับมากที่สุด นักเรี ยนเรี ยนรู ้อย่างมีความสุ ขจากการคิดและปฏิบตั ิจริ งใน ลัก ษณะของ Active Learning ซึ่ งเป็ นบรรยากาศการจัดการเรี ย นการสอนที่พึ งประสงค์ในยุค ศตวรรษที่ 21 อย่างไรก็ตามในการนารู ปแบบอาร์ ดีพีดีอีบี (RDPDEB Model) ไปใช้ ครู ผูส้ อน จะต้องถือปฏิบตั ิตามเงื่อนไขการนารู ปแบบไปใช้อย่างเคร่ งครัด โดยครู ผสู ้ อนจะเป็ นผูท้ าหน้าที่ใน ลักษณะของโค้ช (coach) โดยคอยสนับสนุ นส่ งเสริ ม กระตุน้ ให้นกั เรี ยนกล้าที่จะตั้งคาถามเพื่อการ คิ ด วิ เ คราะห์ คิ ด สร้ า งสรรค์ และกล้า ที่ จ ะตัด สิ น ใจเลื อ กการสร้ า งสรรค์ง านอย่ า งมี เ หตุ ผ ล การค้นพบรู ปแบบอาร์ ดีพีดีอีบี (RDPDEB Model) นับเป็ นการค้นพบรู ปแบบการเรี ยนการสอน การงานอาชีพและเทคโนโลยีที่มีคุณค่าต่อการจัดการเรี ยนการสอนในศตวรรษที่ 21 ของครู วิชาการ งานอาชีพและเทคโนโลยีและครู วชิ าอื่น ๆ ซึ่งสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรี ยนการสอน ได้อ ย่า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และเกิ ด ประสิ ท ธิ ผ ลต่ อ ผู เ้ รี ย น โดยเฉพาะท าให้ ผู เ้ รี ย นเกิ ด ความคิ ด สร้างสรรค์ในการปฏิบตั ิงานซึ่ งเป็ นทักษะที่ตอ้ งการให้เกิดกับผูเ้ รี ยนมากที่สุด เพราะเป็ นทักษะชีวิต จึ ง เป็ นการสมควรอย่า งยิ่ง ที่ จะน ารู ป แบบการเรี ยนการสอนการงานอาชี พ และเทคโนโลยีต าม หลักการทางานแบบมีส่วนร่ วม เพื่อส่ งเสริ มทักษะการปฏิบัติงานประดิษฐ์ อย่ างสร้ างสรรค์ ของ นักเรี ยน (RDPDEB Model) เผยแพร่ ให้ครู ผูส้ อนและผูท้ ี่ มีความสนใจนาไปใช้ในการจัดการ เรี ยนรู ้ ใ ห้ ผู ้เ รี ยนได้ พ ัฒ นาความคิ ด สร้ า งสรรค์ ใ นการปฏิ บ ัติ ง านอย่ า งมี ข้ ัน ตอน และน าไป ประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจาวัน ซึ่งจะทาให้ผเู ้ รี ยนมีทกั ษะชีวติ ที่ดี เพชรรัตน์ นามมัน่ ครู ชานาญการพิเศษ โรงเรี ยนตลาดสารอง สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ