บทคัดย่อ r&d

Page 1

ชื่อเรื่ อง

: การพัฒนารู ปแบบการเรี ยนการสอนการงานอาชีพและเทคโนโลยีตามหลักการ ทางานแบบมีส่วนร่ วม เพื่อส่ งเสริ มทักษะการปฏิบตั ิงานประดิษฐ์อย่างสร้างสรรค์ ของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5โรงเรี ยนตลาดสารอง ชื่อผูว้ จิ ยั : นางเพชรรัตน์ นามมัน่ หน่วยงาน : โรงเรี ยนตลาดสารอง สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิ การ ปี การศึกษา : 2559 บทคัดย่อ การวิจยั ครั้งนี้ มีวตั ถุ ประสงค์ 1)เพื่อพัฒนารู ปแบบการเรี ยนการสอนการงานอาชี พและ เทคโนโลยีตามหลักการทางานแบบมี ส่วนร่ วม เพื่อส่ งเสริ มทักษะการปฏิ บตั ิ งานประดิ ษฐ์อย่าง สร้างสรรค์ของนักเรี ยน ชั้นประถม ศึกษาปี ที่ 5 2) เพื่อศึกษาประสิ ทธิ ภาพเชิงประจักษ์ของรู ปแบบ การเรี ยนการสอนการงานอาชี พและเทคโนโลยีตามหลักการทางานแบบมีส่วนร่ วม เพื่อส่ งเสริ ม ทักษะการปฏิบตั ิงานประดิษฐ์อย่างสร้างสรรค์ของนักเรี ยน ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 ดังนี้ 2.1 เพื่อ ศึกษาประสิ ทธิภาพของรู ปแบบการเรี ยนการสอนการงานอาชีพและเทคโนโลยีตามหลักการทางาน แบบมี ส่ ว นร่ ว ม เพื่ อ ส่ ง เสริ มทัก ษะการปฏิ บ ัติ ง านประดิ ษ ฐ์ อ ย่ า งสร้ า งสรรค์ ข องนั ก เรี ยน ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 ตามเกณฑ์ที่กาหนด 80/80 2.2 ประเมินผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนเรื่ องงาน ประดิ ษ ฐ์ ข องนัก เรี ย นก่ อ นและหลัง การทดลองใช้รูป แบบการสอน 2.3 ประเมิ นทัก ษะการ ปฏิบตั ิงานประดิษฐ์อย่างสร้างสรรค์ของนักเรี ยนระหว่างเรี ยน 2.4 ประเมินความคิดสร้างสรรค์ใน การปฏิ บ ตั ิ ง านประดิ ษฐ์ข องนัก เรี ย นหลังเรี ย น 2.5 ประเมิ นการมี ส่ วนร่ วมในการปฏิ บ ตั ิ ง าน ประดิษฐ์ของนักเรี ยนหลังเรี ยน 2.6 ประเมินความพึงพอใจของนักเรี ยนที่มีต่อการจัดการเรี ยนรู ้ ตามรู ปแบบการเรี ยนการสอนที่พฒั นาขึ้น กลุ่มตัวอย่างในการวิจยั ได้แก่ นักเรี ยนชั้นประถมศึกษา ปี ที่ 5 โรงเรี ยนตลาดสารอง ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2559 จานวน 22 คน เครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช้ใ นการ วิ จ ัย ได้แ ก่ แบบวิ เ คราะห์ เ อกสาร แผนการจัดการเรี ยนรู ้ โดยใช้รูปแบบการเรี ยนการสอนการ งานอาชี พและเทคโนโลยีตามหลักการทางานแบบมี ส่วนร่ วม เพื่อส่ งเสริ มทักษะการปฏิ บตั ิ งาน ประดิษฐ์อย่างสร้ างสรรค์ของนักเรี ยน แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนเรื่ องงานประดิ ษฐ์ แบบประเมินทักษะการปฏิ บตั ิงานประดิ ษฐ์อย่างสร้ างสรรค์ แบบทดสอบความคิดสร้ างสรรค์ใน การปฏิบตั ิงานประดิษฐ์ แบบประเมินการมีส่วนร่ วมในการปฏิบตั ิงานประดิษฐ์ และแบบสอบถาม ความพึ ง พอใจของนัก เรี ยนที่ มี ต่อการจัด การเรี ย นรู ้ ตามรู ป แบบการเรี ย นการสอนที่ พ ฒ ั นาขึ้ น


การวิเคราะห์ ข อ้ มู ล ใช้ค่า ร้ อยละ (%) ค่า เฉลี่ ย ( X ) ค่า ส่ วนเบี่ ย งเบนมาตรฐาน (S.D.) และค่า t-test ผลการวิจยั พบว่า 1) รู ปแบบการเรี ยนการสอนการงานอาชีพและเทคโนโลยีตามหลักการทางานแบบมีส่วน ร่ วม เพื่อส่ งเสริ มทักษะการปฏิบตั ิงานประดิษฐ์อย่างสร้างสรรค์ของนักเรี ยนที่พฒั นาขึ้นมีชื่อว่า อาร์ ดีพีดีอีบี (RDPDEB Model) มี องค์ป ระกอบของรู ป แบบ 4 องค์ป ระกอบ ได้แ ก่ 1.หลัก การ การ จัดการเรี ยนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการปฏิบตั ิงานอาชี พ โดยใช้หลักการทางานแบบมีส่วนร่ วม ส่ ง ผลให้ผูเ้ รี ย นปฏิ บตั ิ ง านอาชี พ ได้อย่างสร้ า งสรรค์ 2.วัต ถุ ป ระสงค์ เพื่อส่ ง เสริ ม ทัก ษะการ ปฏิ บตั ิ ง านอาชี พอย่างสร้ างสรรค์ข องนักเรี ยน โดยผ่า นกระบวนการจัดการเรี ยนรู ้ ตามหลักการ ทางานแบบมีส่วนร่ วม 3. กระบวนการเรี ย นการสอนมี 6 ขั้น ตอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 การร่ วมรับรู ้ (Receiving: R) จัดกิ จกรรมเพื่อให้นกั เรี ยนได้ร่วมกันศึกษาความรู ้ อนั เป็ นข้อมู ลพื้นฐานงาน ประดิ ษฐ์ด้านนั้น ๆ ตลอดจนร่ วมกันศึ กษาขั้นตอนการประดิ ษฐ์ และได้ร่วมกันทดลองประดิ ษฐ์ ตามแบบที่ ค รู ไ ด้ออกแบบไว้ จนเกิ ดความเข้า ใจและเห็ นแนวทางการปฏิ บ ตั ิ ที่ ชัดเจน ขั้นที่ 2 การร่ วมคิดและตัดสิ นใจ (DecisionMaking : D) จัดกิจกรรมเพื่อให้นกั เรี ยนร่ วมกันระดมความคิด ในการประดิ ษฐ์งานนั้น ๆ อย่างหลากหลาย และร่ วมกันแสดงความคิดเห็ นอย่างมีเหตุผลโดยยึด หลักปรั ชญาของเศรษฐกิ จพอเพียงในการตัดสิ นใจสร้ างสรรค์งานประดิ ษฐ์ ขั้นที่ 3 การร่ วม วางแผน (Planning : P) จัดกิจกรรมเพื่อให้นกั เรี ยนได้ร่วมกันออกแบบชิ้นงานการประดิษฐ์ ตาม ความคิ ดสร้ า งสรรค์ และร่ วมกันวางแผนการปฏิ บตั ิ ง าน โดยการกาหนดวัสดุ อุป กรณ์ ก าหนด ขั้นตอนปฏิบตั ิงาน แบ่งความรับผิดชอบ ขั้นที่ 4 การร่ วมปฏิบตั ิ (Doing : D) จัดกิจกรรมเพื่อให้ นักเรี ยนได้ร่วมกันปฏิ บ ตั ิ งานการประดิ ษฐ์ตามแผนที่ วางไว้ และร่ วมกันสังเกตและสะท้อนผล การปฏิบตั ิในแต่ละขั้นตอนของการปฏิบตั ิงานประดิษฐ์ ขั้นที่ 5 การร่ วมประเมินผล(Evaluating: E )จัดกิ จกรรมเพื่อให้นกั เรี ยนได้ร่วมกันวิเคราะห์และประเมินผลการปฏิบตั ิงานประดิ ษฐ์ โดยใช้ ทฤษฎี การคิดวิเคราะห์หมวกความคิดหกใบ รวมทั้งร่ วมกันเสนอแนะเพื่อการปรับปรุ งพัฒนางาน ขั้นที่ 6 การร่ วมรับผลประโยชน์ (Benefit: B) จัดกิจกรรมให้นกั เรี ยนร่ วมกันชื่ นชมผลงานของ ตนเองและของกลุ่ ม อื่ น ๆ ตลอดจนร่ วมกันเสนอแนะแนวทางในการนาผลงานไปประยุก ต์ใ ช้ เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง สมาชิ กในกลุ่มและประโยชน์ต่อส่ วนรวม และ 4.เงื่ อ นไขการนา รู ป แบบไปใช้ ได้แก่ ระบบสังคม(Social System) การเรี ยนรู ้ ตามรู ปแบบต้องมีระบบสังคมแห่ ง การเรี ยนรู ้ ดัง นี้ 1) นัก เรี ย นต้องเป็ นผูร้ ับผิ ดชอบการเรี ย นรู ้ ของตนเอง และการเรี ยนรู ้ ข องกลุ่ ม 2) นักเรี ยนต้องมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างกัน กล้าพูด กล้าเสนอความคิด กล้าที่จะซักถาม 3) นักเรี ยน ต้องมีปฏิ สัมพันธ์กบั ผูส้ อนอย่างต่อเนื่ องกล้าที่จะเสนอความคิด และกล้าที่จะซักถาม 4) นักเรี ยน


ต้องมีทกั ษะและกล้าที่จะตั้งคาถามเพื่อค้นหาคาตอบในสิ่ งที่อยากรู ้เกี่ยวกับงานสร้างสรรค์ ระบบ สนับสนุน (Support System) การจัดการเรี ยนรู ้ตามรู ปแบบผูส้ อนจะต้องจัดระบบสนับสนุ นดังนี้ 1) ผูส้ อนเป็ นผูจ้ ดั บรรยากาศการเรี ยนรู ้ท้ งั ด้านกายภาพและจิตภาพในเชิ งบวก 2) ผูส้ อนจัดเตรี ยม วัสดุและอุปกรณ์ การเรี ยนรู ้ให้เพียงพอกับความต้องการของนักเรี ยน 3) ผูส้ อนจัดบรรยากาศการ เรี ยนให้อบอุ่น ผ่อนคลาย เป็ นกันเอง และมี จิตสานึ กในการมีส่วนร่ วมอย่างจริ งจัง 4) ผูส้ อนต้อง กระตุ ้นให้นัก เรี ย นใช้เทคนิ ค การระดมสมองในการระดมความคิ ดสร้ า งสรรค์ก ารปฏิ บ ัติง าน ประดิษฐ์อย่างจริ งจัง 5) ผูส้ อนต้องกระตุน้ ให้นกั เรี ยนกล้าที่จะตั้งคาถามในการวิเคราะห์และพัฒนา งานสร้างสรรค์ผสู ้ อนจัดหาตัวอย่างผลงานการประดิษฐ์อนั เป็ นความคิดสร้างสรรค์อย่างหลากหลาย เพื่อเป็ นต้นทุนการคิดสร้างสรรค์ให้กบั ผูเ้ รี ยน หลักการตอบสนอง การนารู ปแบบการจัดการเรี ยนรู ้ ไปใช้ตอ้ งคานึงถึงการตอบสนองต่อนักเรี ยนในระหว่างการเรี ยนรู ้ตามรู ปแบบดังต่อไปนี้ 1) ผูส้ อน เป็ นผูอ้ านวยความสะดวกทั้งก่อน ระหว่าง และหลังการเรี ยนรู ้ 2) ผูส้ อนสนทนาซักถามเพื่อกระตุน้ การคิดสร้างสรรค์ ของนักเรี ยนอย่างต่อเนื่ อง 3) ผูส้ อนดูแล และติดตามให้นกั เรี ยนเรี ยนรู ้แบบมี ส่ วนร่ วมเพื่อให้เกิดผลงานการประดิษฐ์ที่เป็ นความคิดสร้างสรรค์ และพบว่ารู ปแบบการเรี ยนการ สอนการงานอาชี พ และเทคโนโลยีตามหลัก การท างานแบบมี ส่ วนร่ วม เพื่อส่ ง เสริ ม ทักษะการ ปฏิบตั ิงานประดิษฐ์อย่างสร้างสรรค์ของนักเรี ยนที่พฒั นาขึ้นเป็ นรู ปแบบการเรี ยนการสอนที่มีความ สมเหตุสมผลเชิ งทฤษฎี ความเป็ นไปได้และความสอดคล้องของรู ปแบบสู ง และเป็ นรู ปแบบการ เรี ยนการสอนที่มีประสิ ทธิ ภาพสู งกว่าเกณฑ์ที่กาหนด 80/80 2) ผลการใช้รูปแบบการเรี ยนการสอนการงานอาชี พและเทคโนโลยีตามหลักการทางาน แบบมี ส่ ว นร่ ว ม เพื่ อ ส่ ง เสริ ม ทัก ษะการปฏิ บ ัติ ง านประดิ ษ ฐ์ อ ย่า งสร้ า งสรรค์ข องนัก เรี ย นชั้น ประถมศึกษาปี ที่ 5 โรงเรี ยนตลาดสารอง พบว่านักเรี ยนมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนเรื่ องงานประดิษฐ์ ก่อนและหลังการจัดการเรี ยนรู ้ ตามรู ปแบบการเรี ยนการสอนการงานอาชี พและเทคโนโลยีตาม หลักการทางานแบบมีส่วนร่ วม เพื่อส่ งเสริ มทักษะการปฏิบตั ิงานประดิษฐ์อย่างสร้างสรรค์แตกต่าง กันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ .01 โดยหลังการใช้รูปแบบการเรี ยนการสอน นักเรี ยนมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนสู งกว่าก่อนการใช้รูปแบบการเรี ยนการสอน นักเรี ยนมีทกั ษะการปฏิบตั ิงานประดิษฐ์ อย่างสร้างสรรค์ระหว่างเรี ยนในระดับสู งมาก และมีความคิดสร้างสรรค์ในการปฏิบตั ิงานประดิษฐ์ หลังเรี ยนในระดับสู งมาก ส่ วนการมีส่วนร่ วมในการปฏิบตั ิงานประดิ ษฐ์ของนักเรี ยนอยู่ในระดับ มากที่สุด และยังพบอี กว่านักเรี ยนมี ความพึงพอใจต่อการจัดการเรี ยนรู ้ ตามรู ปแบบการเรี ยนการ สอนการงานอาชี พ และเทคโนโลยีตามหลัก การท างานแบบมี ส่ วนร่ วม เพื่อส่ ง เสริ ม ทักษะการ ปฏิบตั ิงานประดิษฐ์อย่างสร้างสรรค์อยูใ่ นระดับมากที่สุด



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.