ก ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง
ชุดที่ 1
เศษส่วน
เศษส่วนที่มคี ่าเท่ากัน
ก ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง
เศษส่วน
คานา ชุดกิจกรรมการเรียนเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษา ปีที่ 6 เรื่อง เศษส่วน ชุดนี้ ได้จัดทาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการเรียนการสอนของนักเรียน โดยเน้น ให้นักเรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองและเพื่อฝึกให้นักเรียนได้ช่วยเหลือซึ่งกันและกั น เป็นกลุ่ม การจัดกิจกรรมจะเริ่มจากง่ายไปหายากและเป็นชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริม ให้นักเรียนได้คิดวิเคราะห์และเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยมีครูคอยให้คาแนะนาและชี้แนะ ดังนั้น นักเรียนต้องปฏิบัติกิจกรรมให้ครบทุกขั้นตอนตามที่กาหนดไว้จึงจะบรรลุผล ชุดกิจกรรมการเรียนเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษา ปีที่ 6 มีทั้งหมด 11 ชุด ดังนี้ ชุดที่ 1 เรื่อง เศษส่วนที่มีค่าเท่ากัน ชุดที่ 2 เรื่อง การเปรียบเทียบเศษส่วน ชุดที่ 3 เรื่อง การเรียงลาดับเศษส่วน ชุดที่ 4 เรื่อง เศษส่วนอย่างต่า เศษส่วนแท้ เศษเกินและจานวนคละ ชุดที่ 5 เรื่อง การบวกและการลบเศษส่วน ชุดที่ 6 เรื่อง โจทย์ปัญหาการบวกและการลบเศษส่วน ชุดที่ 7 เรื่อง การคูณเศษส่วน ชุดที่ 8 เรื่อง การหารเศษส่วน ชุดที่ 9 เรื่อง โจทย์ปัญหาการคูณและการหารเศษส่วน ชุดที่ 10 เรื่อง การบวก ลบ คูณ หารเศษส่วนระคน ชุดที่ 11 เรื่อง โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารเศษส่วนระคน ในแต่ละชุดกิ จกรรมการเรี ยนรู้ จะมี ก ารเฉลย เพื่ อ ให้ นัก เรี ย นสามารถตรวจ คาตอบได้ด้วยตนเอง หวังว่าชุดกิจกรรมการเรียนรู้นี้ จะเป็นประโยชน์ต่อครูผู้สอนและ นักเรียนในการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ต่อไป นางชีวรัตน์ ข่ายคา ผู้จัดทา ชุดที่ 1
เศษส่วนที่มคี ่าเท่ากัน
ข ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง
เศษส่วน
สารบัญ หน้า คานา สารบัญ บทบาทครู สิ่งที่ครูต้องเตรียม บทบาทนักเรียน แบบบันทึกสมาชิกกลุ่ม จุดประสงค์การเรียนรู้ ใบความรู้ เรื่อง เศษส่วนที่มีค่าเท่ากัน กิจกรรมที่ 1 เรื่อง เศษส่วนที่มีค่าเท่ากัน กิจกรรมที่ 2 เรื่อง เศษส่วนที่มีค่าเท่ากัน แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง เศษส่วนที่มีค่าเท่ากัน กระดาษคาตอบแบบทดสอบหลังเรียน ภาคผนวก เฉลยกิจกรรมที่ 1 เรื่อง เศษส่วนที่มีค่าเท่ากัน เฉลยกิจกรรมที่ 2 เรื่อง เศษส่วนที่มีค่าเท่ากัน เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง เศษส่วนที่มีค่าเท่ากัน สรุปผลการเรียน ชุดที่ 1 เรื่อง เศษส่วนที่มีค่าเท่ากัน บรรณานุกรม ประวัติผู้เขียน
ก ข 1 1 3 4 5 6 8 11 12 14 15 16 17 18 19 20 22
ชุดที่ 1
เศษส่วนที่มคี ่าเท่ากัน
1 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง
เศษส่วน
บทบาทครู
สิ่งที่ครูควรปฏิบัติก่อน หลัง และขณะที่ใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ มีดังนี้ 1. ครูต้องศึกษาวิธีการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ ตลอดจน วิธีการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลให้เข้าใจ 2. ครูต้องค้นคว้า และอ่านเนื้อหาที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติม 3. ครูต้องเตรียมการสอนล่วงหน้า เตรียมสถานที่ สื่อการสอนต่างๆ ตลอดจน วัสดุ อุปกรณ์อื่นๆ ที่ไม่ได้จัดไว้ในชุดกิจกรรมการเรียนรู้ให้พร้อมก่อนที่จะใช้ 4. รูปแบบการแบ่งนักเรียนให้เรียนเป็นกลุ่มมีหลายรูปแบบ ในที่นี้ขอเสนอการเรียน เป็นกลุ่มแบบ STAD ซึ่งการจัดห้องเรียนควรแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 3-4 คน การจัดวางสื่อการสอนตามแผนผัง (อาจเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม) แผนผังการจัดชั้นเรียน กระดาน โต๊ะครู
ชุดที่ 1
เศษส่วนที่มคี ่าเท่ากัน
2 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง
เศษส่วน
5. ครู ต้ อ งดู แ ลตรวจสื่ อ และอุ ป กรณ์ ต่ า งๆ ที่ มี อ ยู่ ใ นชุ ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู้ ให้เรียบร้อยก่อนและหลังการใช้ทุกครั้ง 6. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเลือกหัวหน้ากลุ่ม กลุ่มละ 1 คน และเลขานุการกลุ่ม กลุ่มละ 1 คน 7. ขณะที่นักเรียนประกอบกิจกรรม ครูผู้สอนควรดูแลอย่างใกล้ชิด ถ้าเกิดปัญหา ในการเรียนจะได้ให้ความช่วยเหลือทันที รวมทั้งอธิบายข้อสงสัยในการเรียนเป็นรายบุคคล ด้วย 8. ขณะนักเรียนทากิจกรรม ครูไม่ควรพูดเสียงดัง หากมีอะไรจะต้องพูดเป็นรายกลุ่ม หรือรายบุคคล ต้องไม่รบกวนการทากิจกรรมของนักเรียนกลุ่มอื่น ยกเว้นกรณีที่นักเรียน มีข้อสงสัย 9. การสรุปบทเรียนควรเป็นกิจกรรมร่วมกันของนักเรียนทุกกลุ่ม 10. หลังการเรียนและสรุปบทเรียนแล้ว ให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียนประจา ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ในแต่ละชุดกิจกรรมทุกชุด
สิ่งที่ครูต้องเตรียม 1. ใบความรู้ 2. ใบกิจกรรม 3. แบบทดสอบหลังเรียน 4. เฉลยใบกิจกรรม 5. เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน 6. แบบประเมินพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
ชุดที่ 1
เศษส่วนที่มคี ่าเท่ากัน
3 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง
เศษส่วน
บทบาทนักเรียน หากครูต้องการให้นักเรียนทากิจกรรมกลุ่มครูต้องชี้แจงให้นักเรียนทราบถึงบทบาท ของนักเรียนในการทากิจกรรมกลุ่ม ดังนี้ 1. หัวหน้ากลุ่ม มีหน้าที่ ดังนี้ - เป็นผู้นาในการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่ม โดยทาหน้าที่เป็นผู้นาอ่านใบความรู้ อ่าน ใบกิจกรรม เพื่อให้ทุกคนทาตามคาสั่งในการประกอบกิจกรรม ให้เป็นไปตามลาดับขั้นตอน - ควบคุมดูแลการทางาน หรือการประกอบกิจกรรมภายในกลุ่มให้เป็นระเบียบ เรียบร้อย ไม่ส่งเสียงดังรบกวนกลุ่มอื่น - ตรวจเช็คการเก็บอุปกรณ์ให้เรียบร้อยหลังเสร็จกิจกรรมการเรียนแล้ว - เป็นผู้ติดต่อกับครูเมื่อมีปัญหาภายในกลุ่ม - เป็นผู้อ่านเฉลยแต่ละกิจกรรมให้เพื่อนฟังเพื่อตรวจคาตอบ 2. เลขานุการ มีหน้าที่ดังนี้ - เป็นผู้บันทึกกิจกรรมในใบกิจกรรมต่างๆ - เป็นผู้แจกใบความรู้ ใบกิจกรรมและรวบรวมส่ง ครูเมื่อสมาชิกทุกคนทาเสร็จ เรียบร้อยแล้ว 3. สมาชิกกลุ่ม มีหน้าที่ ดังนี้ - ปฏิบัติกิจกรรมด้วยความตั้งใจและให้ทันตามกาหนดโดยไม่ชวนเพื่อนคุยหรือ เล่น - ศึกษาใบความรู้ ใบกิจกรรมและปรึกษาหารือกันภายในกลุ่ม - ร่วมอภิปรายและสรุปผลจากการปฏิบัติกิจกรรม - ช่วยเก็บวัสดุอุปกรณ์ สื่อการสอนต่างๆ ของกลุ่มตนเองใส่ซองให้เรียบร้อ ย นอกจากบัตรบันทึกกิจกรรมที่ต้องส่งให้ครูให้รวบรวมส่งครู หมายเหตุ บทบาทหน้าที่ของนักเรียนควรหมุนเวียนกันปฏิบัติในแต่ละชุด เพื่อให้ นักเรียนทุกคนได้เรียนรู้หน้าที่ทั้งการเป็นผู้นาและผู้ตาม
ชุดที่ 1
เศษส่วนที่มคี ่าเท่ากัน
4 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง
เศษส่วน
แบบบันทึกสมาชิกกลุ่ม ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง เศษส่วน
ชุดที่ 1 เรื่อง เศษส่วนที่มีค่าเท่ากัน
ชื่อกลุ่ม................................................ 1…………………………………………………………………………………… 2…………………………………………………………………………………… 3…………………………………………………………………………………… 4…………………………………………………………………………………… 5……………………………………………………………………………………
ชุดที่ 1
เศษส่วนที่มคี ่าเท่ากัน
5 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง
เศษส่วน
จุดประสงค์การเรียนรู้ เมื่อกาหนดเศษส่วนให้ สามารถเขียนเศษส่วนที่เท่ากับเศษส่วนนั้นได้ 1. ด้านความรู้ 1.1 เมื่อกาหนดเศษส่วนให้ สามารถเขียนเศษส่วนที่มีค่าเท่ากัน โดยใช้การคูณได้ 1.2 เมื่อกาหนดเศษส่วนให้ สามารถเขียนเป็นเศษส่วนที่มีค่าเท่ากัน โดยใช้การหารได้ 2. ด้านทักษะกระบวนการ 2.1 นักเรียนสามารถให้เหตุผลได้ 2.2 นักเรียนมีทักษะการทางานกลุ่ม 3. ด้านคุณลักษณะ 3.1 มีความรับผิดชอบ 3.2 มีระเบียบวินยั 3.3 การทางานเป็นระบบ รอบคอบ
ชุดที่ 1
เศษส่วนที่มคี ่าเท่ากัน
6 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง
เศษส่วน
เรื่อง เศษส่วนที่มีค่าเท่ากัน
คาชี้แจง : นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาใบความรู้เรื่องเศษส่วนที่มีค่าเท่ากันด้วยตนเองโดย พิจารณาเศษส่วนต่อไปนี้
ส่วนที่แรเงาเท่ากับ
ส่วนที่แรเงาเท่ากับ
ส่วนที่แรเงาเท่ากับ
ส่วนที่แรเงาเท่ากับ
จะสังเกตเห็นว่า ส่วนที่แรเงา มีขนาดเท่ากัน จะได้ว่า
= = = ชุดที่ 1
เศษส่วนที่มคี ่าเท่ากัน
7 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง
เศษส่วน
การหาเศษส่วนที่เท่ากัน ทาได้โดย 1. นาจานวนที่เท่ากันที่ไม่ใช่ศูนย์ มาคูณทั้งตัวเศษและตัวส่วน ตัวอย่าง 9
ตอบ
9
=
วิธีคิด หาจานวนที่มาคูณ 9 แล้วได้ 63 นามาคูณทั้งตัวเศษและตัวส่วน
จ
9 × 7 = 63
=
ดังนั้น
= 9
×7 5 = 9×7
2. นาจานวนที่เท่ากันที่ไม่ใช่ศูนย์ มาหารทั้งตัวเศษและตัวส่วน ตัวอย่าง
ตอบ
0 90 0 90
=0
วิธีคิด หาจานวนที่มาหาร 60 แล้วเท่ากับ 6 นามาหารทั้งตัวเศษและตัวส่วน 60 ÷ 10 = 6
=
9
ดังนั้น
0 90
0÷ 0 0
= 90÷
ชุดที่ 1
=9
เศษส่วนที่มคี ่าเท่ากัน
8 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง
เศษส่วน
กิจกรรมที่ 1 เรื่อง เศษส่วนที่มีค่าเท่ากัน คาชี้แจง : พิจารณารูปภาพ แล้วเขียนเศษส่วนลงใน
ให้ถูกต้อง
ตัวอย่าง
=
1. =
0 0
2.
=
0 0
ชุดที่ 1
เศษส่วนที่มคี ่าเท่ากัน
9 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง
เศษส่วน
3.
=
0 0
4.
=
0 0
5.
=
0 0
ชุดที่ 1
เศษส่วนที่มคี ่าเท่ากัน
10 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง
เศษส่วน
6.
=
0 0
=
0 0
7.
5 0
ไปทากิจกรรม ต่อกันเลย
8.
=
0 0
ชุดที่ 1
เศษส่วนที่มคี ่าเท่ากัน
11 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง
เศษส่วน
กิจกรรมที่ 2 เรื่อง เศษส่วนที่มีค่าเท่ากัน คาชี้แจง: จงเติมตัวเลขลงใน
ให้ถูกต้อง
ตัวอย่างที่ 1
ตัวอย่างที่ 2 × ×
=
1.
3.
5.
7.
7
9
9 5
× 7×
=
=
× 9×
=
=
9 ÷ 5÷
÷ ÷
=
÷ ÷
=
=
2.
=
4.
=
6.
5
=
9
8.
× ×
=
5 0
99
99
=
=
=
5× 0×
=
=
÷ 99÷
=
=
÷ 99÷
=
ชุดที่ 1
5 0
0 0
9
7
เศษส่วนที่มคี ่าเท่ากัน
12 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง
เศษส่วน
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง เศษส่วนที่มีค่าเท่ากัน คาชี้แจง: เลือกคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียวแล้วทาเครื่องหมายกากบาท () ลงในข้อ ก, ข, ค หรือ ง ในกระดาษคาตอบ =
1.
×
=
ก. 1 2.
5 5
ข. 2 =
5 ÷ 5
ก. 3
0
=
= ก. 16, 24
ควรเติมจานวนใดในช่องว่าง ค. 5
ข. 8
ง. 6
ค. 9
ข. 6 5
ง. 10
ควรเติมจานวนใดในช่องว่าง
7
ก. 5 5.
5
ง. 4
ควรเติมจานวนใดในช่องว่าง
ก. 6 4.
=
ค. 3
ข. 4 =
3.
ควรเติมจานวนใดในช่องว่าง
=
ค. 7
ง. 8
ควรเติมจานวนใดในช่องว่างตามลาดับ ข. 24, 16
ค. 20, 18
ง. 18, 20
ชุดที่ 1
เศษส่วนที่มคี ่าเท่ากัน
13 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง
6.
5 5
5
=
ก. 25, 4 7.
=
9
ควรเติมจานวนใดในช่องว่างตามลาดับ
ข. 27, 5
เศษส่วนในข้อใดมีค่าเท่ากันกับ
ค. 5, 27 7
ก.
8.
9.
7 9
7
ง. 7
7
เศษส่วนในข้อใดมีค่าไม่เท่ากับ ก.
ง. 4, 22
ทุกจานวน ข.
ค. 7
เศษส่วน
ข.
9
5 0
5
ค. 7
ง.
90 0
ข้อใดไม่ถูกต้อง ก.
0 5
=9
ค.
9 9
=
7 5
=
ข. ง.
5
=
5 7
10. ข้อใดถูกต้อง 5
ก. = ค.
7
5 0
=
ข.
5 0
ง.
70 90
= 9
=7 ชุดที่ 1
เศษส่วนที่มคี ่าเท่ากัน
14 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง
เศษส่วน
กระดาษคาตอบ แบบทดสอบหลังเรียน ชุดที่ 1 เศษส่วนที่มีค่าเท่ากัน ชื่อ-สกุล.................................................... ชั้น ........................ เลขที่ ........... ข้อ
ก
ข
ค
ง
ข้อ ก
1
6
2
7
3
8
4
9
5
10
ข
ค
ง
ผู้ผ่านประเมิน : ทาได้ 8 ข้อขึ้นไป
ผ่าน
ไม่ผ่าน
ชุดที่ 1
เศษส่วนที่มคี ่าเท่ากัน
15 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง
เศษส่วน
ภาคผนวก
ชุดที่ 1
เศษส่วนที่มคี ่าเท่ากัน
16 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง
เศษส่วน
กิจกรรมที่ 1 เรื่อง เศษส่วนที่มีค่าเท่ากัน ข้อ 1
คาตอบ 0
2 3
ข้อ
คาตอบ
6 7
9
8
4
9
5
10
ชุดที่ 1
เศษส่วนที่มคี ่าเท่ากัน
17 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง
เศษส่วน
กิจกรรมที่ 2 เรื่อง เศษส่วนที่มีค่าเท่ากัน คาชี้แจง: จงเติมตัวเลขลงใน
1.
3.
5.
7.
7
9
9 5
× 7×
=
=
× 7 9× 7
ให้ถูกต้อง
=
2.
=
4.
=
9÷ 5÷
=
=
÷ ÷
=
5
9
6.
8.
× 5 × 5
=
5 0
99
5 0
=
=
5× 0×
=
=
÷ 99÷
=
= 99
÷ 99 ÷
ชุดที่ 1
=
0 0
9
7
เศษส่วนที่มคี ่าเท่ากัน
18 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง
เศษส่วน
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง เศษส่วนที่มีค่าเท่ากัน
ข้อ คาตอบ
1 ง
2 ค
3 ค
4 ก
5 ข
6 ข
7 ก
8 ข
9 ง
10 ก
ทาถูกหมดทุกข้อกันเลยหรือเปล่าคะเด็กๆ
ชุดที่ 1
เศษส่วนที่มคี ่าเท่ากัน
19 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง
เศษส่วน
ชุดที่ 1 เรื่อง เศษส่วนที่มีค่าเท่ากัน ชื่อ-สกุล.................................................... ชั้น ........................ เลขที่ ........... แบบทดสอบ กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ 2 แบบทดสอบหลังเรียน
คะแนนเต็ม 8 8 10
คะแนนที่ได้ หมายเหตุ
น้องๆ ทุกคนเก่งมากๆ เลยค่ะ
ชุดที่ 1
เศษส่วนที่มคี ่าเท่ากัน
20 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง
เศษส่วน
บรรณานุกรม กระทรวงศึกษาธิการ. (2558). คู่มือครูสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระ การเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. กรุงเทพฯ : สถาบัน ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. . (2551). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์. . (2551). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระ การเรียนรู้คณิตศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่ง ประเทศไทย จากัด. . (2552). แบบฝึกทักษะสาระการเรียนรู้พื้นฐานคณิตศาสตร์ เล่ม 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชันประถมศึกษาปีที่ 6. พิมพ์ ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ : สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กรมวิชาการ. (2545). คู่มือการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การค้ารับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์. ทรงวิทย์ สุวรรณธาดา และคณะ. (2553). หนังสือเรียน แบบฝึกหัด คณิตศาสตร์พื้นฐาน ป.6 เทอม 1 (หลักสูตรแกนกลาง 2551). กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์แม็ค. ฝ่ายวิชาการดอกหญ้า. (2559). เก่งคณิตคิดเลขเร็ว ป.6 เล่ม 1. กรุงเทพฯ : บริษัท ดอกหญ้าวิชาการ จากัด. ฝ่ายวิชาการ พีบีซี. (2545). ยอดคณิตศาสตร์เรื่องเศษส่วน. กรุงเทพฯ : บริษัท สานักพิมพ์ พีบีซี จากัด.
ชุดที่ 1
เศษส่วนที่มคี ่าเท่ากัน
21 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง
เศษส่วน
ไพศาล จรรยา. (2557). คู่มือเตรียมสอบคณิตศาสตร์ ป.6 เทอม 1 (หลักสูตร แกนกลาง 2551). กรุงเทพฯ : หจก.สานักพิมพ์ ภูมิบัณฑิต. สมจิต ชีวปรีชา และ พรทิพย์ ยาวะประภาษ. (2558). หนังสือเรียนรายวิชา พื้นฐาน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. กรุงเทพฯ : บริษัท พัฒนาคุณภาพ วิชาการ (พว.) จากัด. สราวุธ เปล่งชัย. (2556). ชุดกิจกรรม เรื่อง เศษส่วน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. : วิทยานิพนธ์ปริญญาโท สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน :มหาวิทยาลัย ราชภัฏบุรีรัมย์. สุนทรี ทองชิตร์. (2549). เสริมศักยภาพคณิตศาสตร์ ป.6 เล่ม 1. กรุงเทพฯ : เดอะบุคส์.
ชุดที่ 1
เศษส่วนที่มคี ่าเท่ากัน
22 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง
เศษส่วน
ประวัติผู้เขียน
นางชีวรัตน์ ข่ายคา การศึกษาบัณฑิต (กศ.บ) คณิตศาสตร์ สาขาวิชาเอกคณิตศาสตร์ มหาวิทยานเรศวร จังหวัดพิษณุโลก ครูโรงเรียนวัดศรีอุปลาราม วิทยฐานะชานาญการ อาเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี
เกียรติบัตรเหรียญทองระดับชาติ รางวัลทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ครูผู้สอนยอดเยี่ยม ระดับประถมศึกษา กลุ่มสาระ การเรียนรู้คณิตศาสตร์ ด้านวิชาการ ปีการศึกษา 2558 - ครูผู้สอนนัก เรียนที่มีผลการสอบวิชาคณิตศาสตร์ O-NET ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2556 ได้คะแนนเต็ม 100 - ครูผู้สอนนักเรียนที่มีผลการสอบวิชาคณิตศาสตร์ O-NET ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2556-2558 สูงกว่าระดับประเทศ ชุดที่ 1
เศษส่วนที่มคี ่าเท่ากัน